เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พลากร สุวรรณรัฐ

ดัชนี พลากร สุวรรณรัฐ

นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เกิดเมื่อ พ.ศ. 2491 เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (ราชสกุลเดิมทองแถม บุตรีหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม) สมรสกับท่านผู้หญิงทัศนียา สุวรรณรัฐ นายพลากร สุวรรณรัฐ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้.

สารบัญ

  1. 23 ความสัมพันธ์: พรรณวดี จุฑารัตนกุลพระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร)พระนาย สุวรรณรัฐพิชัย วาศนาส่งพิยดา จุฑารัตนกุลพิธีสำเร็จการศึกษาพ่วง สุวรรณรัฐกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39ภูริ หิรัญพฤกษ์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยวชิราวุธวิทยาลัยหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถมจังหวัดเชียงใหม่คณะองคมนตรีไทยงานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์โสมกานดา ภาษวัธน์

พรรณวดี จุฑารัตนกุล

ท่านผู้หญิงพรรณวดี จุฑารัตนกุล (สกุลเดิม: สุวรรณรัฐ) เป็นนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านผู้หญิงพรรณวดี เป็นบุตรีของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (นามเดิม หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ ทองแถม บุตรีหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าเม้า รองทรง) ท่านผู้หญิงพรรณวดี จุฑารัตนกุล มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพรรณวดี จุฑารัตนกุล

พระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร)

ระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร) (นามเดิม: สุพจน์ ใช้สงวน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม วรวิหาร.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร)

พระนาย สุวรรณรัฐ

ระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารชายแดนใต้ (ผอ.ศอ.บต.) พื้นเพเป็นคนกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ เคยตามบิดาซึ่งเป็นข้าหลวงไปปราบโจรสลัดทะเลสาบ เดินทางไปเติบโตที่จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ ปี พ.ศ.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพระนาย สุวรรณรัฐ

พิชัย วาศนาส่ง

ัย วาศนาส่ง (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 — 8 เมษายน พ.ศ. 2555) เป็นอดีตสถาปนิก นักเขียน นักวิเคราะห์สถานการณ์ข่าวต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีคลาสสิก รวมถึงเป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพิชัย วาศนาส่ง

พิยดา จุฑารัตนกุล

ฑารัตนกุล (สกุลเดิม: อัครเศรณี; เกิด: 17 มิถุนายน พ.ศ. 2518) มีชื่อเล่นว่า อ้อม เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของนักแสดงและผู้กำกับ พิศาล อัครเศรณี กับสุดารักษ์ อัครเศรณี มีพี่น้อง 4 คน จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย จบการศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เอกภาษาไทย เข้าสู่วงการครั้งแรกด้วยการแสดง" มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือละครเรื่อง "ทอฝันกับมาวิน" ในปี พ.ศ.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพิยดา จุฑารัตนกุล

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพิธีสำเร็จการศึกษา

พ่วง สุวรรณรัฐ

นายพ่วง สุวรรณัฐ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และเป็นอดีตปลัดกระทรวงมหาดไท.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและพ่วง สุวรรณรัฐ

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ 38 เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ดู พลากร สุวรรณรัฐและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 1-11 พฤษภาคม..

ดู พลากร สุวรรณรัฐและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39

ภูริ หิรัญพฤกษ์

ูริ หิรัญพฤกษ์ (6 มกราคม พ.ศ. 2521) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย ที่มีผลงานเด่นจากการรับบท "ที" ในละคร รักแปดพันเก้.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและภูริ หิรัญพฤกษ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (Nakhon Si Thammarat Rajabhat University; อักษรย่อ:มร.นศ.) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

้านล่างนี้เป็นรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและวชิราวุธวิทยาลัย

หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ

ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ ทองแถม) (17 พฤษภาคม 2467 - 26 เมษายน 2560,อายุ 92 ปี) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าพันธ์สิหิงค์ ทองใหญ่ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม มีพี่น้องร่วมบิดา-มารดา 4 คน ดังนี้.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ

หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม

หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม (17 สิงหาคม พ.ศ. 2427 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าเม้า รองทรง พระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ ราชสกุลวังหน้าในรัชกาลที่ 2 ประสูติเมื่อ พ.ศ.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและจังหวัดเชียงใหม่

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ดู พลากร สุวรรณรัฐและคณะองคมนตรีไทย

งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

งานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ (CU–TU Traditional Rugby–Football Match) เป็นการแข่งขันรักบี้ฟุตบอลระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่า ซึ่งการแข่งขันได้เริ่มมาตั้งแต่ปี..

ดู พลากร สุวรรณรัฐและงานรักบี้ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

โสมกานดา ภาษวัธน์

ท่านหญิงโสมกานดา (จันทรทัต) ภาษวัธน์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าหญิงจำรูญจันทราภา จันทรทัต (ต่อมาได้รับพระราชทานนามใหม่จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "โสมกานดา") ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

ดู พลากร สุวรรณรัฐและโสมกานดา ภาษวัธน์