โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พริกไทย

ดัชนี พริกไทย

ริกไทย เป็นพืชที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นราชาของเครื่องเทศที่มีกลิ่นฉุน และเป็นเครื่องเทศที่ให้รสเผ็ดร้อน สามารถนำมาทำพริกไทยแห้งเป็นเครื่องปรุงอาหาร ซึ่งถ้าทำแห้งทั้งเปลือกจะได้พริกไทยดำเนื่องจากเปลือกเมื่อทำให้แห้งจะมีสีดำ ส่วนพริกไทยขาวได้จากการลอกเปลือกออกก่อน พบทั้งการใช้ประกอบอาหารทั้งผลแห้งและผลสดที่มีสีเขียว หรือผลแห้งป่นเป็นผงเรียกพริกไทยป่น ซึ่งพริกไทยเป็นพืชคนละสายพันธุ์กับพริก (Chilli).

77 ความสัมพันธ์: บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์บะช่อช็อกโกแลตพะโล้พาโคลบิวทราโซลพิเพอรีนกระสังกัมพูชาเชื้อสายจีนการรับรู้รสการผัดการ์โบนารากำปอต (เมือง)กูไลก๋วยเตี๋ยวมอญมสาลาจายมาซาลาม่อนไข่รัฐยะโฮร์รัฐสุลต่านอาเจะฮ์รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดวัดเสด็จ (จังหวัดปทุมธานี)วงศ์พริกไทยสาคู (อาหาร)หมึก (อาหาร)อะฟลาทอกซินอันดับพริกไทยอาหารกัมพูชาอาหารม้งอาหารเยอรมันอาโดโบอำเภอทุ่งหว้าอูรัปผัดขี้เมาจังหวัดจันทบุรีจิ้มก้องถนนออร์ชาร์ดท็อปอวอร์ด 2008ขนมชะมดขนมแก้อามขนมเบื้องขนมเทียนข้าวต้มมัดคอร์ (อาหาร)คนทีสอซอสทาร์ทาร์ซัมกเยทังประเทศบรูไนประเทศตองงาประเทศเวียดนามปนตียานัก...นาซีเกอบูลีแกงแกงบุ่มไบ่แกงกะหรี่แกงมัสมั่นแกงจีนจ๊วนแกงเผ็ดแก๊สซีอาร์แมกโนลิดแฮหมี่แซนซิบาร์โด่ไม่รู้ล้มโซโตไก่เนยไวน์ร้อนไตปลาเบอร์บล็องเกาะฟู้โกว๊กเกเดเม่าไข่ปลาเศรษฐกิจของอินเดียใต้เหงือกปลาหมอเจลลี่บีนเทือกเขาด็อมเร็ยเทียนดำเครย์ฟิชเครื่องเทศ ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »

บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์

อู่ต่อเรือบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ค.ศ. 1726 วาดโดยโจเซฟ มัลเดอร์ ฟลอริน อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ บริเวณสีเขียวอ่อนคือดินแดนในปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ สหบริษัทอินเดียตะวันออก (Vereenigde Oostindische Compagnie) หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East India Company) มีชื่อย่อว่า เฟโอเซ (VOC) ได้รับก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1602 โดยในช่วงแรกรัฐสภาเนเธอร์แลนด์มอบสิทธิ์ขาดในการค้าเครื่องเทศแก่บริษัทเป็นเวลา 21 ปี บ่อยครั้งบริษัทนี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็นบริษัทข้ามชาติบริษัทแรกในโลก และเป็นบริษัทแรกที่ออกหุ้น สหบริษัทอินเดียตะวันออกเป็นบริษัทที่มีอำนาจสูงเกือบเทียบเท่ารัฐบาล โดยมีความสามารถที่จะเข้าร่วมสงคราม สั่งจำคุกและประหารชีวิตนักโทษ เจรจาสนธิสัญญา ผลิตเหรียญกระษาปณ์เป็นของตนเอง และจัดตั้งอาณานิคม.

ใหม่!!: พริกไทยและบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

บะช่อ

อ หรือบ๊ะฉ่อ(肉脞) เป็นอาหารประเภทเนื้อหมูอย่างหนึ่ง ป็นหมูสับผสมเครื่องต่างๆ ที่ได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนแต้จิ๋ว บ๊ะฉ่อมาจากภาษาจีนแต้จิ๋วหมายถึงหมูที่สับจนละเอียด เป็นการนำเนื้อหมูมาหั่นให้เป็นชิ้นเล็ก แล้วสับให้ละเอียดด้วยปังตอ ปรุงรสขณะสับด้วยซีอิ๊ว น้ำปลา น้ำตาล แป้งข้าวโพด หรือรากผักชี กระเทียมโขลก สูตรดั้งเดิมของชาวแต้จิ๋วจะใส่เพียงซีอิ๊วและพริกไทยป่น บะช่อที่สับเสร็จแล้วใช้ปรุงอาหารได้หลายอย่าง เช่น แกงจืด นำไปยัดไส้มะระหรือหมึก บางครั้งนิยมสับส่วนผสมอื่นปนไปด้วยเช่น วุ้นเส้น กุ้ง ใบตำลึง ใบสะระแหน่ บะช่อมีบทบาทในอาหารจีนหลายชนิดและหลายภูมิภาค ชาวจีนแต้จิ๋วนำบะช่อไปนึ่ง ทอด และต้ม โดยนิยมนึ่งกับไข่ตุ๋นหรือผักกาดดอง ชาวจีนกวางตุ้งนิยมนำบะช่อมาผัด นึ่ง และตุ๋น นำมาปรุงคู่กับปลาเค็ม ผักกาดดองเค็ม ไข่เค็ม ไข่เยี่ยวม้า นำมานึ่งเช่นคลุกกับข้าวเหนียวดิบแล้วนึ่ง ตุ๋นรวมกับน้ำแกงที่ใส่ของเค็มหรือของแห้ง เช่น เป็ดเค็ม หอยเชลล์แห้ง ผักกาดขาวตากแห้ง ชาวจีนฮกเกี้ยนนิยมนำบะช่อมาเป็นส่วนหนึ่งของน้ำแกง เช่งแกงจืดลำไยยัดไส้หมูสับ แกงจืดหมูสับผสมหัวไชเท้า ชาวจีนแคะใช้บะช่อปรุงอาหารมาก โดยนิยมนำสิ่งอื่นสับลงในบะช่อด้วย เช่น หมึกแห้ง ข้าวหมากแดง เนื้อปลา เนื้อกุ้ง อาหารไทยที่มีบะช่อเป็นองค์ประกอบได้แก่ ม้าอ้วน ที่นำหมูบะช่อ มันหมูแข็ง และเนื้อปูมารวมกัน ปรุงรสด้วยรากผักชี กระเทียม พริกไทย น้ำปลา ใส่ถ้วยตะไล นึ่งจนสุก ใช้เป็นอาหารว่าง.

ใหม่!!: พริกไทยและบะช่อ · ดูเพิ่มเติม »

ช็อกโกแลต

็อกโกแลต ช็อกโกแลต (chocolate; ช็อก(กะ)เล็ต) คือผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสมของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกกี้ เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของหวานอย่างหนึ่งที่ถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทำจากการหมัก คั่ว และบดอย่างละเอียดของเมล็ดโกโก้ซึ่งได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้นโกโก้นั้นค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แต่ในปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปทั่วเขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม "ช็อกโกแลต" หรือบางส่วนของโลกในนาม "โกโก้" ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดโกโก้รู้จักภายใต้หลายชื่อที่แตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ในอเมริกา อุตสาหกรรมช็อกโกแลตได้จำกัดความไว้.

ใหม่!!: พริกไทยและช็อกโกแลต · ดูเพิ่มเติม »

พะโล้

ล้ เป็นการปรุงอาหารแบบจีนที่แพร่หลายไปทั่วประเทศจีน และได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทยด้วย พะโล้ในภาษาไทยเป็นคำยืมจากภาษาจีนฮกเกี้ยน ผะโล่ว/ผะโล้ว (拍滷) คือขั้นตอนหนึ่งในการทำเนื้อพะโล้ ซึ่งเป็นการเคี่ยวน้ำตาลทรายแดงให้ละลายในกระทะ ใส่เกลือ ซีอิ๊ว เนื้อสัตว์หรือเครื่องปรุงอื่นๆลงไป เคล้าให้ทั่ว พอสีสวยใส่เครื่องเทศ ใส่น้ำ แล้วเคี่ยวจนสุก ถ้าเป็นเป็ดหรือห่านจะเพิ่มตะไคร้และข่าด้วยเพื่อดับกลิ่นสาบ ลวกด้วยน้ำพะโล้ให้สีสวยแล้วจึงนำลงต้มในน้ำพะโล้ต่อ คำว่าโล่วในภาษาจีนแต้จิ๋วตรงกับหลู่ในภาษาจีนกลางซึ่งหมายถึงน้ำแกงสีเข้ม ใส่เครื่องเทศ เกลือ ซีอิ๊ว ใช้ปรุงเนื้อสัตว์ให้มีสีออกน้ำตาลอมแดงอดุลย์ รัตนมั่นเกษม.

ใหม่!!: พริกไทยและพะโล้ · ดูเพิ่มเติม »

พาโคลบิวทราโซล

ลบิวทราโซล (Paclobutrazol; PBZ) ชื่อทางเคมีคือ (2RS, 3RS)-1-(4-Chlorphenyl)-4,4-dimethyl-2-(1H-1,2,4-triazol-1-yl)pentan-3-ol เป็นสารชะลอการเจริญเติบโตของพืชที่นิยมใช้กับมะม่วงและพืชไร่ และเป็นสารกำจัดเชื้อรากลุ่ม triazole ออกฤทธิ์ในทางตรงข้ามกับจิบเบอเรลลิน โดยยับยั้งการสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน ลดการยืดตัวของปล้อง เพิ่มการเจริญเติบโตของราก เร่งให้เกิดดอก ทำให้ออกลูกเร็วและเพิ่มการผลิตเมล็ดในพืชเช่นมะเขือเทศ และพริกไทย PBZ ลดความไวต่อความเย็นของพืชด้วย PBZ ถูกใช้ในการจัดสวนเพื่อลดการเจริญเติบโตของยอด ใช้ได้ผลดีกับไม้พุ่มและไม้ต้น ช่วยเพิ่มความทนทานต่อความเครียดจากความแล้ง เกิดใบไม้สีเขียวเข้ม มีความต้านทานต่อเชื้อราและแบคทีเรียเพิ่มขึ้นและเพิ่มการพัฒนาของราก การเจริญของแคมเบียมเช่นเดียวกับการยับยั้งการเจริญของยอดในไม้ต้นบางชน.

ใหม่!!: พริกไทยและพาโคลบิวทราโซล · ดูเพิ่มเติม »

พิเพอรีน

พิเพอรีน (Piperine) เป็นแอลคาลอยด์ในกลุ่ม Piperidine พบมากในเมล็ดพริกไทยและดีปลี ซึ่งอยู่ในวงศ์ Piperaceae สารพิเพอรีน เป็นสารที่ให้รสร้อน ออกฤทธิ์กระตุ้นต่อมรับรส ทำให้กรดในในกระเพาะถูกหลั่งขึ้นมา มีฤทธิ์ในการขับเหงื่อ ปัสสาวะ และไล่แมลงด้วย หมวดหมู่:เคมี.

ใหม่!!: พริกไทยและพิเพอรีน · ดูเพิ่มเติม »

กระสัง

กระสัง เป็นไม้ล้มลุก ขนาดเล็ก สูงประมาณ 25 เซนติเมตร ลำต้นสีเขียวใส ใบสีเขียวอ่อน รูปหัวใจ รูปร่างคล้ายใบพลู ต้นและใบอวบน้ำ ออกดอกเป็นช่อ ขนาดเล็ก คล้ายช่อดอกของพริกไทย ในทางสมุนไพรใช้ตำพอกฝี.

ใหม่!!: พริกไทยและกระสัง · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาเชื้อสายจีน

วกัมพูชาเชื้อสายจีน (ចិនកម្ពុជា) คือชาวจีนที่เกิดในประเทศกัมพูชา หรือเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือ ชาวจีนโพ้นทะเล โดยอาจเป็นลูกผสมระหว่างชาวกัมพูชากับจีนที่อาศัยอยู่ภายในประเทศกัมพูชา ในช่วง ค.ศ. 1960-1970 มีชาวจีนอาศัยอยู่ในกัมพูชาประมาณ 425,000 คน แต่ภายหลังเหตุการณ์ของเขมรแดง ชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนจำนวนมากต่างอพยพออกนอกประเทศ ทำให้ประชากรชาวจีนในช่วงปี ค.ศ. 1984 มีจำนวนชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนเพียง 61,400 คน โดยชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนส่วนใหญ่ถือสัญชาติกัมพู.

ใหม่!!: พริกไทยและกัมพูชาเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ใหม่!!: พริกไทยและการรับรู้รส · ดูเพิ่มเติม »

การผัด

การผัด มันฝรั่งผัดเบคอน และหอมใหญ่ Ddeokbokki: เค้กข้าวแบบเกาหลีผัดกับผักและหมู การผัดหอมใหญ่และพริกหยวกในกระทะแบน การผัด (Stir frying) เป็นวิธีการทำอาหารในน้ำมันและไขมัน ซึ่งเป็นเทคนิกการทำอาหารซึ่งเกิดขึ้นเป็นเวลานานกว่า 2,500 ปีมาแล้ว การผัดในอาหารไทยส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากอาหารจีน.

ใหม่!!: พริกไทยและการผัด · ดูเพิ่มเติม »

การ์โบนารา

การ์โบนารา (Carbonara) เป็นอาหารพาสตาชนิดหนึ่งตามแบบฉบับของแคว้นลาซีโอGosetti (1967), pg.

ใหม่!!: พริกไทยและการ์โบนารา · ดูเพิ่มเติม »

กำปอต (เมือง)

กำปอต (ក្រុងកំពត) เป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศกัมพูชา และเป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดกำปอต ตั้งอยู่บริเวณแม่น้ำแพร็กตึกชู ใกล้กับเทือกเขาดมเร็ยและอ่าวไทย กำปอตยังเคยเป็นศูนย์กลางของ Circonscription Résidentielle de Kampot ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส และยังเป็นเมืองท่าที่สำคัญ ก่อนที่เมืองพระสีหนุจะถูกก่อตั้งขึ้น กำปอตแตกต่างจากเมืองอื่น ๆ เพราะมีสิ่งก่อสร้างในยุคอาณานิคมของฝรั่งเศสหลายแห่ง เมืองนี้มีชื่อเสียงในด้านพริกไทย ซึ่งส่งออกไปทั่วโลก และยังส่งออกน้ำปลาท้องถิ่น และทุเรียนอีกด้วย สถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ เทือกเขาดมเร็ย และเทือกเขาบอกอร.

ใหม่!!: พริกไทยและกำปอต (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

กูไล

กูไล (gulai) เป็นแกงรสเผ็ด มักปรุงกับเนื้อสัตว์ เช่น ไก่ เนื้อวัว เนื้อแกะ ปลา อาหารทะเล หรือผักเช่น ใบมันสำปะหลังและขนุนอ่อน น้ำแกงมักเป็นสีเหลืองเพราะเติมผงขมิ้น เครื่องแกงที่ใช้ ได้แก่ ขมิ้น ผักชี พริกไทยดำ ขิง ข่า พริกขี้หนู หัวหอม กระเทียม ยี่หร่า ตะไคร้ อบเชย ลูกผักชี ซึ่งตำให้ละเอียด และนำไปปรุงกับกะทิ พร้อมกับส่วนผสมหลัก.

ใหม่!!: พริกไทยและกูไล · ดูเพิ่มเติม »

ก๋วยเตี๋ยวมอญ

ก๋วยเตี๋ยวมอญหรือฟะเปิงตาว เป็นอาหารมอญชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวแต่ใช้ข้าวตังทอดแทนเส้นก๋วยเตี๋ยว นิยมทำรับประทานในงานศพพระ ที่มาของอาหารสูตรนี้เดิมเป็นอาหารในวัง ชาวมอญได้สูตรอาหารนี้มาแล้วปรับปรุงให้มีลักษณะเฉพาะ เครื่องปรุงที่ใส่ในก๋วยเตี๋ยวนอกจากข้าวตังทอดแล้ว ได้แก่ ไก่บ้านต้มสุก หมึกลวกสุก ไข่เจียวหั่นฝอย กุ้งแห้ง เต้าหู้ทอด ตังฉ่าย ถั่วลิสง พริกไทย กระเทียมเจียว.

ใหม่!!: พริกไทยและก๋วยเตี๋ยวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

มสาลาจาย

มสาลาจาย (मसाला चाय, แปลตรงตัวว่า "ชาใส่เครื่องเทศ"; مصالحہ چائے; मसलेदार चिया; মসলা চা) เป็นเครื่องดื่มชาแต่งกลิ่นชนิดหนึ่งจากเอเชียใต้ ได้จากการต้มใบชาดำกับเครื่องเทศและสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม ปัจจุบันมสาลาจายได้รับความนิยมไปทั่วโลกโดยกลายเป็นรายการเด่นของร้านกาแฟหรือร้านน้ำชาหลายแห่ง บางแห่งอาจเรียกเครื่องดื่มชนิดนี้สั้น ๆ ว่า "จาย" ซึ่งแปลว่าชา หรือเรียกโดยซ้ำคำเป็น "ชาจาย" วิธีการเตรียมแบบดั้งเดิมจะนำใบชาไปต้มกับนมและเครื่องเทศ เช่น เมล็ดกระวานเขียว อบเชยแท่ง ขิงบด กานพลูบด เมล็ดพริกไทยดำ เป็นต้น เสร็จแล้วจึงกรองเอากากออก แต่ก็มีการผลิตมสาลาจายเป็นจำนวนมากเพื่อการค้าปลีกในรูปแบบถุงชาสำหรับชงแช่, ผงส่วนผสมสำเร็จรูป หรือชาเครื่องเทศเข้มข้น (concentrate).

ใหม่!!: พริกไทยและมสาลาจาย · ดูเพิ่มเติม »

มาซาลา

มาซาลา (Masala, Massala) เป็นเครื่องปรุงรสหรือเครื่องเทศอย่างหนึ่ง ที่ใช้ในการปรุงอาหารอินเดีย รวมถึงอาหารอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน โดยคำว่า "มาซาลา" หรือ "มาซซาลา" เป็นภาษาเอเชียใต้ หมายถึง "เครื่องเทศผสม" มาซาลา ไม่ได้มีรสเผ็ดจัดแบบพริกขี้หนู หากแต่มีความจัดจ้านด้วยเครื่องเทศหลากหลายชนิด มาซาลาทำจากเครื่องเทศหลายชนิด เช่น กระวาน, กานพลู, ขมิ้น, ยี่หร่า, หญ้าฝรั่น, อบเชย, พริก, เม็ดพริกไทย หรืออื่น ๆ อีกหลากหลายเพราะมาซาลามีความหลากหลายกันออกไปตามสูตร อาหารอินเดียหลายชนิดที่มีส่วนผสมของมาซาลา เช่น โดไซ รวมถึงผสมเข้าไปในอาหารหรือของหวานหรือขนมขบเคี้ยวชนิดต่าง ๆ เช่น มันฝรั่งทอดมาซาลา, ข้าวโอ๊ตมาซาลา, ขนมปังอบกรอบมาซาลา หรือแม้แต่ไอศกรีม หรือน้ำอัดลมกลิ่นมาซาลาที่หาซื้อทั่วไปตามร้านสะดวกซื้อหรือซูเปอร์มาร์เก็ต แม้มาซาลาจะอยู่ในวัฒนธรรมอาหารอินเดียมากมาย แต่ชาวอินเดียก็ใช่ว่าทุกคนจะชื่นชอบมาซาลาไม่ และในปัจจุบันมีการผลิตมาซาลาสังเคราะห์ออกจำหน.

ใหม่!!: พริกไทยและมาซาลา · ดูเพิ่มเติม »

ม่อนไข่

ผลม่อนไข่ผ่าครึ่ง ผลม่อนไข่พร้อมรับประทานในลาว ผลม่อนไข่อยู่บนต้น ม่อนไข่ เป็นผลไม้เนื้อสีทอง ภาคเหนือและภาคอีสานเรียกม่อนไข่ ราชบุรีเรียกว่า ลูกท้อพื้นบ้าน ปราจีนบุรีเรียกว่าท้อเขมร เพชรบูรณ์เรียกทิสซา ฟิลิปปินส์ เรียก chesa ศรีลังกาเรียก Laulu Lavulu หรือ Lawalu มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา บราซิล และเอลซัลวาดอร์ ม่อนไข่เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบบาง มัน เรียวแหลม ลำต้นมียางสีขาว ก้านอ่อนเป็นสีน้ำตาล ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม ผลสุกสีเหลืองอ่อน เปลือกบาง เนื้อผลสีเหลืองสด เหนียวคล้ายแป้งทำขนม ภายในผลมีเมล็ดขนาดใหญ่ รสหวาน เนื้อผลนิ่มคล้ายไข่แดง.

ใหม่!!: พริกไทยและม่อนไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะโฮร์

ร์ (Johor, อักษรยาวี: جوهور) เป็นรัฐหนึ่งของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 1°20" เหนือ และ 2°35" เหนือ เมืองหลวงของรัฐตั้งอยู่ที่เมืองโจโฮร์บะฮ์รู (Johor Bahru) ซึ่งเมื่อก่อนนี้ชื่อเมืองตันจุงปูเตอรี (Tanjung Puteri) เมืองหลวงเก่าคือเมืองยะโฮร์ลามา (Johor Lama) คำเฉลิมเมืองที่เป็นภาษาอาหรับคือ ดารุลตาอาซิม (Darul Ta'azim) ซึ่งแปลว่า ที่สถิตแห่งเกียรติยศ รัฐนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการ SIJORI เพื่อเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้าระหว่างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร.

ใหม่!!: พริกไทยและรัฐยะโฮร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ (Sultanate of Aceh) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรอาเจะฮ์ดารุซซาลัม (Kingdom of Aceh Darussalam, ภาษาอาเจะฮ์: Keurajeuën Acèh Darussalam; อักษรยาวี: كاورجاون اچيه دارالسلام) เป็นรัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ครองอำนาจในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ก่อนจะเสื่อมอำนาจลง เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กูตาราจา ปัจจุบันคือบันดาอาเจะฮ์ ในช่วงที่มีอำนาจ อาเจะฮ์พยายามเข้ายึดครองรัฐสุลต่านยะโฮร์ และมะละกาที่อยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส พยายามเข้าควบคุมช่องแคบมะละกา และพื้นที่ที่มีพริกไทยและดีบุกมาก อาเจะฮ์เป็นศูนย์กลางของนักปราชญ์อิสลามและการค้.

ใหม่!!: พริกไทยและรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: พริกไทยและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

วัดเสด็จ (จังหวัดปทุมธานี)

วัดเสด็จ เดิมชื่อ วัดสร้อยทอง ตั้งอยู่ที่ หมู่ 5 บ้านคลองกระแชง ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดราษฎร์และโบราณสถานในจังหวัดปทุมธานี ส่วนใหญ่เป็นวัดในพระพุทธศาสนา ซึ่งตั้งกระจัดกระจายอยู่ตลอดพื้นที่สองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้อพยพผู้คนที่นำมาจากเมืองปัตตานี มาตั้งบ้านเรือนอยู่ใต้วัดสร้อยทองบริเวณแม่น้ำอ้อม (ปัจจุบันเรียกว่า คลองน้ำอ้อม) เรียกกันว่า บ้านแขก มีอาชีพทำสวนพริกไทย ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2369 เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์แห่งประเทศลาวเป็นกบฏ พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) ยกทัพไปปราบจนสงบราบคาบแล้ว จึงได้นำครอบครัวชาวลาวมากรุงเทพฯ พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ไปตั้งบ้านเรือนที่เมืองปทุมใกล้วัดสร้อยทองเรียกว่า บ้านลาว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเยี่ยมเยียนผู้คนในย่านวัดสร้อยทอง และประทับอยู่ที่วัดสร้อยทอง ในเวลาต่อมาหลายปีท้องถิ่นนี้ กลายเป็นชุมชนหนาแน่นขึ้น ทางราชการจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นตำบล ให้ชื่อว่าตำบลสวนพริกไทย และวัดสร้อยทองได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดเสด็.

ใหม่!!: พริกไทยและวัดเสด็จ (จังหวัดปทุมธานี) · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์พริกไทย

วงศ์พริกไทย หรือ Piperaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่ามีสมาชิกประมาณ 3,610 สปีชีส์ใน 5 สกุล ส่วนใหญ่จะพบในสองสกุลหลักคือPiper (2000 สปีชีส์) และ Peperomia (1600 สปีชีส์)Stevens, P. F. (2001 onwards).

ใหม่!!: พริกไทยและวงศ์พริกไทย · ดูเพิ่มเติม »

สาคู (อาหาร)

ู.

ใหม่!!: พริกไทยและสาคู (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (อาหาร)

หมึก เป็นสัตว์ที่นิยมนำมาทำอาหารมากมายทั่วโลก คำว่า กาลามารี (calamari) ในภาษาอิตาลีซึ่งหมายถึงหมึกได้กลายเป็นคำสามัญในภาษาอังกฤษหมายถึงอาหารที่ทำจากหมึก โดยเฉพาะหมึกทอด ความหลากหลายของอาหารที่ทำจากหมึกในพื้นที่ต่าง ๆ มีดังนี้.

ใหม่!!: พริกไทยและหมึก (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

อะฟลาทอกซิน

ูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน B1 สูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน G1 อะฟลาทอกซิน (aflatoxins) เป็นสารเคมีมีพิษและก่อมะเร็งที่ผลิตจากราบางชนิด (Aspergillus flavus และ Aspergillus parasiticus) ซึ่งเจริญในดิน พืชพรรณที่ย่อยสลาย ฟางและเมล็ดพืช มักพบในโภคภัณฑ์สำคัญที่เก็บอย่างไม่เหมาะสม เช่น มันสำปะหลัง พริกไทย ข้าวโพด เมล็ดฝ้าย ข้าวเดือย ถั่วลิสง ข้าวฟ่าง เมล็ดดอกทานตะวัน ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว ข้าวสาลี และเครื่องเทศหลายชนิด เมื่ออาหารที่ปนเปื้อนถูกแปรรูป อะฟลาทอกซินจะเข้าสู่แหล่งอาหารทั่วไปซึ่งมีการพบทั้งในอาหารคนและสัตว์ เช่นเดียวกับในอาหารสัตว์สำหรับสัตว์ทางการเกษตร สัตว์ที่ได้อาหารที่ปนเปื้อนสามารถผ่านผลิตภัณฑ์การแปลงอะฟลาทอกซินสู่ไข่ ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์ได้ เด็กได้รับผลกระทบจากการสัมผัสอะฟลาทอกซินมากเป็นพิษ ทำให้การเติบโตช้า พัฒนาการช้า ตับเสียหายและมะเร็งตับ ผู้ใหญ่มีความทนต่อการสัมผัสมากกว่า แต่ก็ยังมีความเสี่ยง ไม่มีสัตว์ชนิดใดมีภูมิต้านทาน อะฟลาทอกซฺนจัดเป็นสารก่อมะเร็งได้มากที่สุดชนิดหนึ่งเท่าที่ทราบ หลังเข้าสู่ร่างกาย อะฟลาทอกซินจะถูกตับสร้างและสลายเป็นสารตัวกลางอีพอกไซด์กัมมันต์หรือถูกย่อยสลายด้วยน้ำกลายเป็นอะฟลาทอกซิน เอ็ม1 ซึ่งเป็นอันตรายน้อยกว่า อะฟลาทอกซินส่วนใหญ่ได้จากการกิน แต่อะฟลาทอกซินชนิดบี1 ซึ่งเป็นพิษมากที่สุด สามารถผ่านเข้าทางผิวหนังได้ ค่าระดับการแสดงฤทธิ์ที่องค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) กำหนดสำหรับอะฟลาทอกซินในอาหารหรืออาหารสัตว์อยู่ที่ 20 ถึง 300 ส่วนต่อพันล้านส่วน FDA ยังสามารถประกาศเรียกคืนอาหารคนและสัตว์ได้เป็นมาตรการล่วงหน้าเพื่อป้องกันการสัมผัส คำว่า "อะฟลาทอกซิน" มาจากชื่อของราตัวหนึ่งที่ผลิตสารนี้ คือ Aspergillus flavus มีการประดิษฐ์คำนี้ประมาณ..

ใหม่!!: พริกไทยและอะฟลาทอกซิน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับพริกไทย

อันดับพริกไทย หรือPiperales เป็นอันดับของพืชมีดอก ซึ่งมีพืชที่สำคัญในอันดับนี้ เช่น กระเช้าสีดา พลู พริกไท.

ใหม่!!: พริกไทยและอันดับพริกไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาหารกัมพูชา

อะม็อก อาหารกัมพูชาที่มีชื่อเสียง อาหารกัมพูชา หรือ อาหารเขมร เป็นอาหารที่บริโภคกันอย่างแพร่หลายในประเทศกัมพูชา อาหารของกัมพูชามีทั้งผลไม้ ข้าว ก๋วยเตี๋ยว เครื่องดื่ม ขนมและซุปต่างๆ ที่รับประทานเกือบทุกมื้อ แต่ก๋วยเตี๋ยวยังเป็นที่นิยม กับข้าวมีความหลากหลายทั้งที่เป็นแกง ซุป ทอดและผัด มีพันธุ์ข้าวจำนวนมากในประเทศกัมพูชารวมทั้งข้าวหอมและข้าวเหนียว ข้าวเหนียวนิยมรับประทานเป็นของหวานกับกับผลไม้ เช่น มะม่วง อาหารเขมรส่วนมากมีความคล้ายคลึงกับอาหารของเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทยแม้ว่าโดยทั่วไปจะไม่เผ็ดเท่า และเวียดนามที่มีประวัติศาสตร์ร่วมกันในการเป็นอาณานิคมฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนและฝรั่งเศสที่เคยมีอิทธิพลต่อกัมพูชาในประวัติศาสตร์ อาหารประเภทแกงหรือที่เรียกว่าการี (ការី) แสดงร่องรอยของอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอาหารอินเดีย ก๋วยเตี๋ยวเส้นหลายรูปแบบแสดงอิทธิพลของอาหารจีน กะทิเป็นส่วนผสมหลักของแกงกะหรี่เขมรและของหวาน ขนมปังฝรั่งเศสเป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากยุคอาณานิคม ซึ่งชาวกัมพูชามักจะกินกับปลากระป๋องหรือไข่ กาแฟปรุงด้วยนมข้นหวาน เป็นตัวอย่างของอาหารเช้ากัมพูชาในกัมพูชาแบบหนึ่ง.

ใหม่!!: พริกไทยและอาหารกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

อาหารม้ง

ซุปหัวแพะของชาวม้งในตลาดเวียดนาม อาหารม้งเป็นอาหารของชาวม้งที่พบส่วนใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีนตอนใต้ และชุมชนม้งอเมริกันในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นอาหารที่มีเอกลักษณ์ แต่ได้รับอิทธิพลจากอาหารลาว อาหารไทย อาหารเวียดนามและอาหารจีน อาหารม้งแตกต่างกันไปบ้างตามภูม.

ใหม่!!: พริกไทยและอาหารม้ง · ดูเพิ่มเติม »

อาหารเยอรมัน

อาหารการกินของชาวเยอรมันจะต่างกันไปตามภูมิภาค แคว้นทางใต้ เช่น บาวาเรีย (Bavaria) อาหารจะคล้ายกับประเทศเพื่อนบ้านทางตอนใต้ คือ สวิตเซอร์แลนด์ และออสเตรีย ส่วนทางตะวันตกจะกรุ่นไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมฝรั่งเศส ในขณะที่อาหารทางตะวันออกจะใกล้เคียงกับอาหารทางยุโรปตะวันออก และอาหารบริเวณชายฝั่งทางตอนเหนือจะใกล้เคียงกับอาหารแถบสแกนดิเนเวี.

ใหม่!!: พริกไทยและอาหารเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

อาโดโบ

อาโดโบ (adobo) เป็นอาหารฟิลิปปินส์ที่ได้รับความนิยมปรุงจากเนื้อสัตว์หรืออาหารทะเลหมักด้วยน้ำส้มสายชูและกระเทียม ทอดในน้ำมันจนเป็นสีน้ำตาล คำว่า "อาโดโบ" มาจากภาษาสเปน แต่วิธีการทำอาหารเป็นของชนพื้นเมืองชาวฟิลิปปินส์ เมื่อสเปนเอาชนะฟิลิปปินส์ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ชาวสเปนจึงรู้จักขั้นตอนการทำอาหารพื้นเมืองที่เกี่ยวข้องกับน้ำส้มสายชูซึ่งเรียกว่า อาโดโบ ซึ่งเป็นภาษาสเปนหมายถึงการปรุงรสหรือหมัก แม้ว่าอาโดโบของฟิลิปปินส์และสเปนมีลักษณะบางอย่างร่วมกัน แต่พวกเขาจะอ้างถึงสิ่งที่มีที่มาต่างกัน อาโดโบของฟิลิปปินส์ได้รับการอธิบายในภาษาสเปนว่าเป็นอาหารที่ปรุงโดยการหมัก แต่อาโดโบสำหรับชาวฟิลิปปินส์มีลักษณะเฉพาะกว่า โดยทั่วไปหมายถึงอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อหมูหรือไก่หรือรวมกันเคี่ยวให้สุกอย่างช้า ๆ ในซอสถั่วเหลือง น้ำส้มสายชู กระเทียมบด ใบกระวาน และพริกไทยดำและมักมีสีน้ำตาลจากการทอดหรืออบในกระทะDavidson, Alan and Tom Jaine.

ใหม่!!: พริกไทยและอาโดโบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งหว้า

ทุ่งหว้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: พริกไทยและอำเภอทุ่งหว้า · ดูเพิ่มเติม »

อูรัป

อูรัป (ล่างขวา) ซึ่งกินกับนาซีกูนิง อูรัป (urap) หรือ อูรัป-อูรัป (urap-urap) หรือยำมะพร้าว เป็นยำผักสุกตามฤดูกาลและใส่มะพร้าวแห้ง เป็นอาหารอินโดนีเซียที่พบได้ทั่วไป โดยเฉพาะในอาหารชวา สามารถกินเดี่ยว ๆ ในรูปของอาหารมังสวิรัติได้ หรือเป็นเครื่องเคียงของอาหารจานเนื้อ เช่นในอาหารชวาใช้กินกับตุมเปิง (ข้าวพูนสูงเป็นรูปกรวย) หรือนาซีกูนิง (ข้าวหุงกับกะทิ ใส่ขมิ้น).

ใหม่!!: พริกไทยและอูรัป · ดูเพิ่มเติม »

ผัดขี้เมา

้นใหญ่ผัดขี้เมา ผัดขี้เมา เป็นอาหารที่ได้รับความนิยมเป็นจำนวนมากในประเทศไทย โดยอาหารชนิดนี้เกิดขึ้นจากการผสมผสานอาหารแบบไทยเข้ากับอาหารของชาวจีนที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในประเทศไทย (หรือชาวไทยเชื้อสายจีน) คำว่า ขี้เมา สันนิษฐานว่า เกิดจากผู้ที่ชอบดื่มสุรามักจะหากับแกล้มจากของเหลือที่มีในตู้เย็น พบผักอะไรก็เติมลงไปได้ ไม่ใคร่จะมีสูตรแน่นอนตายตัว แต่ทำออกมาแล้วอร่อย จึงเป็นที่นิยมต่อ ๆ กันมา ผัดขี้เมาเป็นผัดก๋วยเตี๋ยวกับซอสถั่วเหลือง น้ำปลา กระเทียม เนื้อชนิดต่าง ๆ และในบางครั้งอาจจะใส่เต้าหู้ นอกจากนี้ยังใส่พริก ถั่ว และใบกะเพราหรือใบโหระพา ผัดขี้เมาได้มีวิวัฒนาการเปลี่ยนนำมาทำกับวัตถุดิบชนิดใหม่ ๆ ในบางครั้งผู้ปรุงอาจจะใช้สัตว์ทะเลและพริกไทยอ่อน นอกจากนี้ ยังมีการผัดขี้เมาโดยไม่ใส่เส้น, ผัดขี้เมาโดยใส่ข้าว และการผัดโดยใส่เส้นสปาเกตตี ซึ่งเป็นเส้นแบบอิตาลี ผัดขี้เมาจึงเป็นอาหารเผ็ดต่างจากเมื่อครั้งชาวจีนเพิ่งเข้ามาพำนักในประเทศไทยและลาว ทั้งนี้ ผัดขี้เมาจะมีความต่างจากผัดกะเพรา ผัดฉ่า ผัดเผ็ด และผัดผักรวมมิตรอยู.

ใหม่!!: พริกไทยและผัดขี้เมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: พริกไทยและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จิ้มก้อง

้มก้อง หมายถึง การเจริญทางพระราชไมตรีด้วยการถวายเครื่องราชบรรณาการ จิ้มก้อง เป็นคำจากภาษาจีน จิ้ม แปลว่า ให้, ก้อง แปลว่า ของกำนัล ในการทำการค้ากับจีนในสมัยโบราณ พ่อค้ามักจะนำของกำนัลไปให้เพื่อขอความสะดวกในการทำมาค้าขาย แต่จีนมักถือว่า ผู้ที่มาจิ้มก้อง เป็นผู้ที่มาสวามิภักดิ์ขอเป็นเมืองขึ้น เมื่อมีของกำนัลมาให้ นอกจากจีนจะให้ความสะดวกในการค้าแล้ว พระเจ้ากรุงจีนยังตอบแทนด้วยของกำนัลอย่างมากมายด้วย พ่อค้าไทยจึงนิยมไปจิ้มก้อง ขุนวิจิตรมาตรา ให้ความหมายของจิ้มก้อง หรือ จินก้ง ว่าเป็นคำภาษาจีน บางทีใช้คำว่า ก้อง คำเดียว เป็นความหมายต่างๆ อาทิ ทวงก้อง หมายความว่า ทวงส่วย มาก้อง หมายความว่า มาส่งส่วยฐานเป็นเมืองขึ้น หรือมาขอเป็นเมืองขึ้น เมืองก้อง หมายถึง เมืองขึ้น หรือเมืองส่วย และจิ้มก้อง ก็เรียกว่า ส่งส่วย ภาษาอังกฤษเรียกว่า Tribute.

ใหม่!!: พริกไทยและจิ้มก้อง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนออร์ชาร์ด

นนออร์ชาร์ต ถนนออร์ชาร์ด (Orchard Road) เป็นถนนในสิงคโปร์ ที่เป็นศูนย์รวมของร้านค้าและสิ่งบันเทิง แหล่งช็อปปิ้ง ซึ่งได้รับความนิยมจากชาวสิงคโปร์และเช่นเดียวกันกับนักท่องเที่ยว มักจะเรียกบริเวณนี้อย่างง่ายว่า ออร์ชาร์ด ถนนถูกตั้งชื่อตามสวนพริกไทยและจันทน์เทศ แต่เดิมในช่วงปี 1840 โดยในอดีตเป็นที่ทำการเพาะปลูกพืชสวน มีเจ้าของชื่อ Scotts, Cairnhill และ Cuppage (ในปัจจุบันเป็นชื่อถนนในละแวกเดียวกัน) ต่อมาในปี 1900 เกิดโรคระบาดทำลายพืชผลเสียหายไป เจ้าของจึงต้องอพยพออกไป จนรัฐบาลเริ่มเข้ามาฟื้นฟูและขุดคลอง ในยุคปี 1970 มีการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ขึ้นตามแนวถนน ไล่จาก C. K. Tangs, Plaza Singapura และโรงแรม the Mandarin Hotel จนเกิดเอ็นเตอร์เทนเมนท์ คอมเพล็กซ์ ขึ้นมาในเวลาต่อม.

ใหม่!!: พริกไทยและถนนออร์ชาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ท็อปอวอร์ด 2008

ท็อปอวอร์ด 2008 (Top Awards 2008) จัดเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2552 ที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เป็นการมอบรางวัลให้แก่คนบันเทิง โดยนิตยสารทีวีพูลร่วมกับสวนดุสิตโพลล์ ให้ประชาชนส่งผลโหวตจากผลงานการแสดงของเหล่าดาราช่วงปี 2551 โดยปีนี้เป็นปีแรกที่มีกา่รมอบรางวัลให้สาขาภาพยนตร์ ท็อป อวอร์ด 2008 มีรางวัลทั้งหมด 20 รางวัลดังนี้ (ผู้ที่พิมพ์ตัวหนาคือผู้ที่ได้รับรางวัล).

ใหม่!!: พริกไทยและท็อปอวอร์ด 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ขนมชะมด

นมชะมด เป็นขนมที่มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาและสุโขทัย มีกล่าวไว้ในจดหมายเหตุว่า ในตลาดขายขนมหรือป่าขนมมีขนมชะมดขายด้วย ขนมนี้จัดเป็นขนมเสี่ยงทายในงานแต่งงาน ไส้เป็นถั่วทองแช่น้ำนึ่งสุกโขลกผสมเกลือและพริกไทย เป็น 3 ลูกบีบติดแล้วชุบแป้งทอด ถ้าทอดแล้วแยกออกจากกัน หมายความว่าจะอยู่ด้วยกันไม่ยืด ถ้ายังติดกัน 2 ลูก หมายความว่าจะมีลูกยาก บางทีต้องชุบแป้ง 3-4 ครั้งจึงไม่แตกจากกัน การแตกจากกันของขนมนี้หมายถึงความแตกแยกของคู่สมรส บางครั้งต้องเปลี่ยนคนทำใหม่ เรียกว่า หาหมอมาแก้ ขนมที่ใกล้เคียงกับขนมชะมดได้แก่ ขนมสามเกลอ ซึ่งวิธีทำและรูปร่างคล้ายกันแต่ไส้ต่างไปคือไส้กระฉีกผสมถั่วทองบดหุ้มด้วยแป้งข้าวเหนียวแล้วชุบแป้งทอด กับขนมละมุดที่คล้ายขนมสามเกลอแต่ทำเป็นลูกโดดขนาดใหญ.

ใหม่!!: พริกไทยและขนมชะมด · ดูเพิ่มเติม »

ขนมแก้อาม

นมแก้อามเป็นขนมพื้นบ้านภาคใต้ชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งข้าวเจ้า โดยปั้นแป้งข้าวเจ้าที่นวดแล้วเป็นก้อนกลม นำไปต้มในน้ำพอสุก แล้วนำมาตัดเป็นชิ้น จากนั้นนำไปต้มในน้ำกะทิที่ใส่เกลือและกุ้งสดลงไปต้มให้สุก เมื่อเดือดดีแล้วจึงยกลง เมื่อจะรับประทาน ตักใส่ถ้วย โรยต้นหอมและพริกไท.

ใหม่!!: พริกไทยและขนมแก้อาม · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเบื้อง

นมเบื้องไทย ขนมเบื้องเป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีลักษณะเป็นแผ่นแป้ง มีไส้รสต่างๆ มีหลักฐานกล่าวถึงในคำให้การขุนหลวงหาวัดว่า "บ้านหม้อปั้นหม้อข้าวหม้อแกงใหญ่เล็ก และกระทะเตาขนมครกขนมเบื้อง" ขนมเบื้องมีหลายแ.

ใหม่!!: พริกไทยและขนมเบื้อง · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเทียน

'''ขนมเทียน''' หรือ ขนมนมสาว ทางภาคเหนือเรียกว่า ขนมจ็อก ซึ่งเป็นขนมที่นิยมใช้ในงานบุญ โดยเฉพาะเทศกาลสงกรานต์ แต่เดิมมีไส้มะพร้าวและไส้ถั่วเขียว แต่ในปัจจุบันมีการดัดแปลงไส้ออกไปหลากหลายมาก ชาวจีนใช้ขนมเทียนในการไหว้บรรพบุรุษช่วงวันตรุษและวันสารท ไส้เป็นถั่วเขียวกวนบด ถ้าแบบเค็มจะใส่พริกไทยและเกลือ แบบหวานใส่มะพร้าวและน้ำตาลลงไปเพิ่ม ถ้าตัวแป้งทำด้วยแป้งถั่วเรียกขนมเทียนแก้ว ในพิธีกรรมของชาวชอง จะใช้ขนมเทียนในพิธีไหว้ผีหิ้งด้วย ขนมเทียน.

ใหม่!!: พริกไทยและขนมเทียน · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวต้มมัด

อีบอส ขนมของฟิลิปปินส์ที่คล้ายข้าวต้มมัดของไทย ข้าวต้มมัดไส้กล้วย หรือ ข้าวต้มกล้วย ข้าวต้มมัด หรือ ข้าวต้มผัด เป็นขนมชนิดหนึ่งที่ทำด้วยข้าวเหนียวผัดกับกะทิ แล้วนำไปห่อด้วยใบตองหรือใบมะพร้าวอ่อน ใส่ไส้กล้วย นำไปนึ่งให้สุก ทางภาคใต้ใช้ข้าวเหนียวกับน้ำกะทิ ห่อด้วยใบพ้อ เรียกห่อต้ม ถ้าห่อด้วยใบมะพร้าว และมัดด้วยเชือกเรียกห่อมัด ขนมแบบเดียวกับข้าวต้มยังพบในประเทศอื่นอีก เช่นในฟิลิปปินส์เรียก อีบอส หรือ ซูมัน ที่แบ่งย่อยได้หลายชนิดเช่นเดียวกับข้าวต้มมัดของไทย ข้าวต้มมัดอีกชนิดหนึ่งเรียก ข้าวต้มลูกโยน เป็นขนมที่ใช้ในเทศกาลออกพรรษา ห่อด้วยใบพ้อหรือยอดมะพร้าวเป็นรูปรี ข้างในเป็นข้าวเหนียวผสมถั่วดำไม่มีไส้ ผูกเข้าด้วยกันเป็นพวงแล้วนำไปต้ม ส่วน ข้าวต้มมัดไต้ เป็นข้าวต้มที่ห่อแล้วมัดให้มีลักษณะเหมือนไต้ที่ใช้จุดไฟ ไส้เป็นถั่วทองโขลกกับรากผักชี กระเทียม พริกไทย ใส่หมู มันหมู ปรุงรสด้วยเกลือ น้ำ น้ำตาลทราย ห่อด้วยใบตองเป็นแท่ง มัดเป็นเปลาะ 4-5 เปลาะ แล้วนำไปต้ม บางท้องที่ใช้เป็นขนมไหว้เจ้าในเทศกาลตรุษจีนและสารทจีนด้วย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกข้าวต้มมัดว่า ข้าวต้มกล้วย ใช้ข้าวเหนียวดิบมาห่อ ปรุงรสด้วยเกลือนิดหน่อย ใส่ถั่วลิสงต้มสุกเคล้าให้เข้ากันแล้วจึงห่อเป็นมัด ใส่ไส้กล้วย เอาไปต้มให้สุก ถ้าเป็นแบบผัด จะผัดข้าวเหนียวกับกะทิก่อนแล้วจึงห่อใส่ไส้กล้วย แล้วต้มให้สุก ถ้าต้องการหวานจะเอามาจิ้มน้ำตาล ส่วนทางภาคเหนือนิยมนำข้าวต้มมัดที่สุกแล้วมาหั่นเป็นชิ้นๆ คลุกกับมะพร้าวขูด โรยน้ำตาลทราย เรียก ข้าวต้มหัวหงอก ในประเทศลาวมีข้าวต้มมัดเช่นเดียวกันเรียกว่า "เข้าต้ม" ไส้เค็มใส่มันหมูกับถั่วเขียว ไส้หวานใส่กล้วย ข้าวต้มมัดทางภาคใต้ไม่มีไส้ เป็นข้าวเหนียวผัดกับกะทิ ใส่ถั่วขาว ไม่นิยมใช้ถั่วดำ ออกรสเค็มเป็นหลัก ถ้าต้องการให้มีรสหวานจะเอาไปจิ้มน้ำตาล เส้นทางขนมไท.

ใหม่!!: พริกไทยและข้าวต้มมัด · ดูเพิ่มเติม »

คอร์ (อาหาร)

อร์ (ខ ឬសម្លខ) หรือ คอโตะ (kho tộ) เป็นอาหารกัมพูชาและอาหารเวียดนามประเภทต้มเค็ม เพิ่มการปรุงรสด้วยน้ำตาลที่เคี่ยวให้ข้นเป็นคาราเมล อาหารนี้เป็นอาหารที่พบมากในเวียดนามตอนใต้และกัมพูชา การใส่คาราเมลลงในอาหารนี้ได้รับอิทธิพลมาจากฝรั่งเศส นิยมต้มกับปลาหลายชนิด เช่น ปลาทับทิม ปลาหมอ ปลาช่อน หรือจะเป็นปลาทะเลเช่นปลาอินทรีก็ได้ การปรุงจะนำปลาหั่นเป็นชิ้นหมักกับน้ำปลา น้ำตาล กระเทียม นำไปต้มกับหมูสามชั้นที่รองก้นหม้อ ใส่ขิง ใส่น้ำพอท่วมปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลไหม้ พริกไท.

ใหม่!!: พริกไทยและคอร์ (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

คนทีสอ

นทีสอ เป็นสมุนไพรที่มีคุณประโยชน์ต่างๆ มากมาย สมุนไพรชนิดนี้มีชื่อเรียกตามตำรายาไทย ภาคเหนือเรียก คนทีสอขาว จังหวัดเชียงใหม่เรียก ผีเสื้อน้อย ดอกสมุทร จังหวัดสตูลเรียก คุนตีสอ ภาคกลางเรียก ดินสอ จังหวัดเลยเรียก ผีเสื้อ จังหวัดตากเรียก มุดเพิ่ง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เรียก ลีสอ.

ใหม่!!: พริกไทยและคนทีสอ · ดูเพิ่มเติม »

ซอสทาร์ทาร์

ซอสทาร์ทาร์ (tartar sauce; ในสหราชอาณาจักร, นิวซีแลนด์และออสเตรเลีย สะกด tartare sauce) เป็นซอสที่มีส่วนผสมหลักคือ มายองเนส รสหวานมันเปรี้ยว ใช้ทานคู่กับอาหารทะเล ซอสทาร์ทาร์ปรากฏอยู่ในหนังสือทำอาหารมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 โดยมาจากภาษาฝรั่งเศส คือ sauce tartare สันนิษฐานว่ามาจากนามของชาวตาตาร์ ชนเผ่าเร่ร่อนในเอเชียกลาง สูตรของซอสชนิดนี้มีหลากหลาย นอกจากมายองเนส (หรือผสมไข่แดง, มัสตาร์ด, น้ำส้มสายชูและน้ำมันพืช เข้าด้วยกัน) ยังมีส่วนผสมอื่น ๆ เช่น หัวหอม, พริกไทยดำ, พาร์สลีย์ และผักดอง ซอสทาร์ทาร์นิยมทานร่วมกับอาหารทะเล โดยเฉพาะกับเนื้อปล.

ใหม่!!: พริกไทยและซอสทาร์ทาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัมกเยทัง

ซัมกเยทัง (삼계탕) เป็นอาหารเกาหลีชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นซุปใส่เนื้อไก่ ซึ่งภายในเนื้อไก่จะยัดไส้เครื่องสมุนไพรชนิดต่าง ๆ อาทิ ข้าวเหนียว พริกไทยแดง รากโสม เกาลัด พุทราจีน เป็นต้น รับประทานพร้อมกับเครื่องเคียง อาทิ เส้นแป้งลักษณะคล้ายเส้นขนมจีน เหล้าโสม พริกไทยดำ เกลือ นิยมเสิร์ฟในหม้อซุปที่ทำมาจากหิน รับประทานร้อน ๆ เชื่อกันว่าเสริมสุขภาพและบำรุงกำลัง ในอดีตจัดเป็นอาหารที่รับประทานกันภายในพระราชวัง ซัมกเยทังดูเหมือนจะเป็นอาหารที่นิยมรับประทานกันในฤดูหนาว เพราะลักษณะเหมือนกับจะให้ความอบอุ่นคลายความหนาวได้ แต่ความจริงแล้วชาวเกาหลีจะนิยมรับประทานซัมกเยทังในฤดูร้อน เนื่องจากนิยมว่าเมื่อรับประทานเข้าไปแล้วทำให้เหงื่อออก จะเป็นผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งคำว่า "ซัมกเยทัง" นั้นแปลได้ว่า "ซุปไก่โสม" หรือ "ginseng chicken soup" ในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: พริกไทยและซัมกเยทัง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบรูไน

รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..

ใหม่!!: พริกไทยและประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: พริกไทยและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: พริกไทยและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปนตียานัก

ปนตียานัก (Pontianak) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกาลีมันตันตะวันตก อินโดนีเซีย เป็นเมืองอุตสาหกรรมขนาดกลาง ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ที่ปากลำน้ำสายเล็ก ๆ ทางเหนือของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำกาปูอัส เมืองปนตียานักมีพื้นที่ 107.82 กม² เมืองนี้ตั้งอยู่ในแหล่งปลูกมะพร้าว พริกไทย ข้าวเจ้า ยาสูบและอ้อย ส่งยาง น้ำตาล และน้ำมันปาล์มเป็นสินค้าออก เมืองนี้ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: พริกไทยและปนตียานัก · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเกอบูลี

นาซีเกอบูลี (nasi kebuli) เป็นข้าวนึ่งรสเผ็ดแบบอินโดนีเซีย ปรุงด้วยแกงแพะ นมและเนยฆี เป็นที่นิยมในชุมชนชาวอาหรับในอินโดนีเซียและชาวเบอตาวีในจาการ์ตา อาหารชนิดนี้ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอาหรับ และมีจุดกำเนิดจากอาหารตะวันออกกลางโดยเฉพาะอาหารเยเมนที่เรียกมันดี และอาหารอินเดียที่เรียกข้าวหมก ในขณะที่มีผู้ศึกษาว่าอาหารนี้มีต้นกำเนิดจากกาบุลีปะเลา ซึ่งเป็นอาหารอัฟกันจากคาบูล คล้ายกับบิรยานีในเอเชียใต้ ในวัฒนธรรมเบอตาวี นาซีเกอบูลีนิยมรับประทานในงานเทศกาลทางศาสนาอิสลาม เชน ฮารีรายอ หรืองานเมาลิดนบี เป็นที่นิยมในเมืองที่มีชนเชื้อสายอาหรับอยู่มาก เช่น จาการ์ตา ซูราบายา ซูราการ์ตา และเกรอซิก.

ใหม่!!: พริกไทยและนาซีเกอบูลี · ดูเพิ่มเติม »

แกง

อาหารไทยประเภทแกง เป็นอาหารที่มีความหลากหลาย และมีความแตกต่างไปในแต่ละภาค โดยเอกลักษณ์ร่วมกันของอาหารประเภทนี้คือใส่น้ำพริกแกงที่ประกอบด้วยพริก กะปิ และเครื่องแกงอื่น.

ใหม่!!: พริกไทยและแกง · ดูเพิ่มเติม »

แกงบุ่มไบ่

แกงบุ่มไบ่ เป็นแกงโบราณของไทยที่มีลักษณะคล้ายแกงอินเดียมาก นิยมแกงกับไก่หรือเนื้อวัว ใส่เครื่องเทศหลายชนิด เคี่ยวกะทิจนแตกมัน มีรสเปรี้ยวจากมะขามเปียก บันทึกเกี่ยวกับแกงชนิดนี้ที่เก่าที่สุด อยู่ในสมัยรัชกาลที่ 5 นิยมใส่ผักคือหอมใหญ่และแตงร้าน น้ำพริกแกงประกอบด้วย พริกไทย ลูกผักชี ยี่หร่า ดอกจันทน์ (หรือรกหุ้มเมล็ดของผลจันทน์เทศ) ลูกจันทน์ (หรือเมล็ดจันทน์เทศ) พริกแห้ง เกลือ ข่าแก่ ขมิ้น กระเทียม หอมแดง กะป.

ใหม่!!: พริกไทยและแกงบุ่มไบ่ · ดูเพิ่มเติม »

แกงกะหรี่

แกงกะหรี่ผักนานาชนิดในอินเดีย แกงกะหรี่เป็นอาหารประเภทแกงที่ได้รับอิทธิพลจากแกงแบบมัสล่าหรือแกงกุรุหม่าของอินเดียใต้ ซึ่งมีน้ำมากกว่าแกงกุรุหม่าทางอินเดียเหนือ เครื่องเทศหลักที่ใช้ในแกงกะหรี่แบบอินเดีย-ปากีสถาน ได้แก่ ลูกผักชี ยี่หร่า พริกป่นอินเดีย พริกไทยป่น ขมิ้น ลูกกระวานเทศ กานพลู อบเชย นิยมโรยหน้าด้วยใบสำมาหลุย ถ้าเป็นกะหรี่ไก่เพิ่มลูกซัด แกงกะหรี่ปูเพิ่มโป๊ยกั้ก.

ใหม่!!: พริกไทยและแกงกะหรี่ · ดูเพิ่มเติม »

แกงมัสมั่น

แกงมัสมั่น เป็นอาหารประเภทแกงที่ได้รับอิทธิพลมาจากอาหารมลายู ชาวไทยมุสลิมเรียกแกงชนิดนี้ว่า ซาละหมั่น แกงมัสมั่นแบบมุสลิมไทยออกรสหวานในขณะที่ตำรับดั้งเดิมของชาวมุสลิมออกรสเค็มมันในไทยมีวิธีการทำสองแบบคือ แบบไทย น้ำพริกแกงมี พริกแห้ง ข่า ตะไคร้ หอม กระเทียม ลูกผักชี ยี่หร่า ดอกจันทน์ กานพลู ปรุงรสให้หวานนำ เค็มและอมเปรี้ยว เป็นแกงมีน้ำมากเพื่อรับประทานกับข้าว อีกแบบเป็นแบบมุสลิม น้ำขลุกขลิก ใช้จิ้มขนมปังหรือโรตี ในน้ำพริกแกงไม่ใส่ข่า ตะไคร้ ส่วนผสมที่เป็นพริกแห้ง หอม กระเทียม ถั่วลิสงจะทอดก่อน ใส่ผงลูกผักชี ยี่หร่า ใส่มันฝรั่ง บางสูตรใส่มะเขือยาว ก่อนจะมีมันฝรั่งมาปลูกแพร่หลายในไทย จะนิยมใส่มันเทศ สันนิษฐานว่าคำว่า "มัสมั่น" มาจากภาษาเปอร์เซียคำว่า مسلمان (มุสลิมมาน) ซึ่งหมายถึง ชาวมุสลิมในรูปพหูพจน์ จัดเป็นอาหารชนิดแรกที่ปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ความว่า แกงมัสมั่นแบบชาวมุสลิมปักษ์ใต้ ต่างจากการปรุงแกงมัสมั่นของชาวไทยภาคกลางคือ จะไม่ทำเป็นน้ำพริกแกงมัสมั่น แต่จะผสมลูกผักชีป่น ยี่หร่าป่น พริกป่นอินเดียและพริกไทยป่นไว้เป็นผงเครื่องแกง จากนั้นจึงนำลงไปผัดกับน้ำมันที่เจียวหัวหอมแล้ว ส่วนแกงมัสมั่นแบบมลายู-ชวา จะใส่กานพลู อบเชย ลงไปผัดกับน้ำมันและหอมแดงจนหอม แล้วจึงใส่พริกป่นอินเดีย ลูกผักชีป่น ยี่หร่าป่น พริกไทยป่นลงไปผัดให้เข้ากัน นอกจากนั้นยังใส่มะพร้าวคั่ว ผงขมิ้น ดอกไม้จีนและหน่อไม้จีนด้วย เว็บไซต์ CNNGO ได้จัดอันดับ 50 เมนูอาหารที่อร่อยที่สุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียงทางเฟซบุ๊ก ปรากฏว่า แกงมัสมั่นได้รับเลือกให้เป็นอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: พริกไทยและแกงมัสมั่น · ดูเพิ่มเติม »

แกงจีนจ๊วน

แกงจีนจ๊วน เป็นแกงโบราณที่นิยมทำในวัง ได้รับอิทธิพลจากแกงแบบชวา คาดว่าแพร่หลายเข้ามาเมื่อครั้งรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสชวา เป็นแกงกะทิรสอ่อน ใส่ส้มซ่า ถั่วลิสงและพริกหยวก น้ำพริกแกงมี พริกไทย ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกผักชี ยี่หร่า ลูกกระวาน กานพลู อบเชย พริกแห้ง เกลือ ข่าแก่ ตะไคร้ รากผักชี กระเทียม กะป.

ใหม่!!: พริกไทยและแกงจีนจ๊วน · ดูเพิ่มเติม »

แกงเผ็ด

แกงเผ็ด หรืออาจเรียกว่า แกงแดง ก็ได้ เพราะพริกแกงทำจากพริกแดงเป็นหลัก โดยจะมีส่วนผสมของกะทิเป็นหลักในการแกง นิยมที่จะแกงกับเนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อเป็ดหรือกุ้ง หรือเต้าหู้สำหรับผู้เป็นมังสวิรัติและใส่หน่อไม้ มะเขือเปาะ ใบโหระพา เป็นหนึ่งในแกงยอดนิยมของคนไท.

ใหม่!!: พริกไทยและแกงเผ็ด · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สซีอาร์

แก๊สซีอาร์ (Dibenzoxazepine) เป็นยุทธภัณฑ์ชนิด 1 ภายใต้การควบคุมตามพระราชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 กระทรวงกลาโหมของอังกฤษพัฒนาขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 มีลักษณะเป็นผลึกสีเหลืองซีดมีกลิ่นคล้ายพริกไทย ในสหรัฐอเมริกาไม่ใช้สารตัวนี้เป็นสารควบคุมจลาจล เนื่องจากมีสมบัติก่อมะเร็ง.

ใหม่!!: พริกไทยและแก๊สซีอาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมกโนลิด

แมกโนลิด หรือ Magnoliids (หรือMagnoliidae) เป็นกลุ่มของพืชมีดอกประมาณ 9,000 ชนิด เช่น จำปี จำปา จันทน์เทศ อบเชย อาโวกาโด พริกไทย และอื่นๆ พืชเหล่านี้ ละอองเรณูมีช่องเปิดช่องเดียว ใบเรียงเวียน ดอกแบบ trimerous flower.

ใหม่!!: พริกไทยและแมกโนลิด · ดูเพิ่มเติม »

แฮหมี่

แฮหมี่แบบแห้ง แฮหมี่ (Hae mee) หรือหมี่กุ้ง เป็นก๋วยเตี๋ยวที่เป็นที่นิยมในมาเลเซียและสิงคโปร์ ในภาษาจีนฮกเกี้ยน แฮหมี่แปลตรงตัวว่าหมี่กุ้ง จัดเป็นฮกเกี้ยนหมี่แบบหนึ่ง ลักษณะเป็นหมี่ไข่ในน้ำซุปข้น ใส่กุ้ง หมูหั่นชิ้น ลูกชิ้นปลา และถั่วงอก โรยหอมเจียวและหอมใหญ่หั่น น้ำซุปทำจากกุ้งแห้ง พริกไทยขาว กระเทียมและเครื่องเทศอื่นๆ มีหมี่กุ้งแบบแห้ง โดยราดหน้าด้วยน้ำส้มสายชู ซีอิ๊ว น้ำมัน มะนาวและพริกถ้าชอบ หมวดหมู่:อาหารสิงคโปร์ หมวดหมู่:อาหารมาเลเซีย.

ใหม่!!: พริกไทยและแฮหมี่ · ดูเพิ่มเติม »

แซนซิบาร์

แผนที่เกาะหลักของแซนซิบาร์ แซนซิบาร์ (Zanzibar) คือชื่อรวมของเกาะ 2 เกาะของประเทศแทนซาเนีย คือ เกาะอุงกูจา (นิยมเรียกว่าเกาะแซนซิบาร์) และเกาะเพมบา เมืองหลวงของแซนซิบาร์ คือเมืองแซนซิบาร์ตั้งอยู่บนเกาะอุงกูจา ซึ่งมีเขตเมืองเก่าเป็นมรดกโลก แซนซิบาร์มีการปกครองตนเอง อย่างไรก็ดี แซนซิบาร์ยังเป็นส่วนหนึ่งของแทนซาเนีย ประชากรของแซนซิบาร์สำรวจเมื่อ..

ใหม่!!: พริกไทยและแซนซิบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โด่ไม่รู้ล้ม

ม่รู้ล้ม ชื่ออื่น ชื่อ เช่น หนาดมีแคลน, หนาดผา, ตะชีโกวะ, หนาดผา,ขี้ไฟนกคุ่ม คิงไฟนกคุ่ม เคยโบ้ หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปลาบ หญ้าไฟนกคุ่ม หญ้าสามสิบสองหาบ ลักษณะเป็นไม้เนื้ออ่อน ต้นแข็ง ตั้งตรง รากที่มีอายุมากจะมีลัษณะคล้ายเหง้า รากแขนงกลมยาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับที่โคนใกล้ผิวดิน ขอบใบหยัก มีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ใบมีขนสีขาวตรงละเอียด ตรง ห่าง สาก ทอดขนานกับผิวใบ ทั้งสองด้าน ท้องใบมีขนมากกว่าหลังใบ ใบรูปหอกกลับ หรือรูปไข่แกมใบหอกกลับ ส่วนที่ค่อนไปทางปลายใบ ผายกว้าง แล้วสอบแหลมทู่ๆ ส่วนโคนใบสอบแคบจนถึงก้านใบ ขอบใบหยักมน หรือจักฟันเลื่อยห่างๆ เนื้อใบหนาสาก ดอกช่อ แบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อดอกยาว ดอกสีม่วงหรือขาว การขยายพันธุ์ เพาะเมล็.

ใหม่!!: พริกไทยและโด่ไม่รู้ล้ม · ดูเพิ่มเติม »

โซโต

ซโต (soto) เป็นซุปแบบพื้นเมืองในอาหารอินโดนีเซีย ใส่เนื้อและผัก ในบางครั้งจัดเป็นอาหารประจำชาติ มีรับประทานตั้งแต่สุมาตราไปจนถึงปาปัว โดยมีความแตกต่างกันมากมีตั้งแต่ขายข้างถนนไปจนถึงในภัตตาคาร ผู้อพยพชาวชวาได้นำอาหารชนิดนี้ไปยังซูรินามและเรียกว่าซาโอโต.

ใหม่!!: พริกไทยและโซโต · ดูเพิ่มเติม »

ไก่เนย

ก่เนย (Butter chicken, ภาษาฮินดี: मुर्ग़ मक्खनी) หรือมุร์ข มขานี เป็นอาหารทำจากไก่ของอินเดีย ปรุงในซอสรสเผ็.

ใหม่!!: พริกไทยและไก่เนย · ดูเพิ่มเติม »

ไวน์ร้อน

วน์ร้อน (Mulled Wine, Glühwein) เป็นไวน์ที่ปรุงอีกแบบหนึ่ง ปัจจุบันนิยมดื่มในฤดูหนาว ไวน์เป็นเครื่องดื่มประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมในหลายประเทศทั่วโลก แต่เนื่องจากมีอายุในการจัดเก็บที่จำกัด หากเก็บรักษาไม่ดีจะไม่สามารถดื่มได้อีก การทำไวน์ร้อนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ไวน์ที่เสื่อมคุณภาพกลับมาดื่มได้อีกครั้ง โดยทั่วไปแล้วไวน์ร้อนมักหมายถึงไวน์ที่ถูกอุ่นโดยการต้ม แต่งรสด้วยน้ำตาลหรือน้ำผึ้ง และปรุงกลิ่นด้วยอ.

ใหม่!!: พริกไทยและไวน์ร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ไตปลา

แกงไตปลา ไตปลา (ภาคกลาง) หรือ พุงปลา (ภาคใต้) เป็นการถนอมอาหารแบบหมักดองชนิดหนึ่ง โดยใช้กระเพาะของปลา เช่น ปลาทู ปลาลัง ปลาดุก ปลาช่อน หรือปลาอื่นๆมาหมักกับเกลือ โดยนำขี้และดีออกจากกระเพาะก่อน หมักไว้ 10 -30 วันก็ใช้ได้ ไตปลาที่หมักได้ที่จะเหลวและมีมันไหลออกมา นำไปทำเป็นอาหารได้หลายชนิด เช่น ไตปลาที่เป็นเครื่องจิ้มคล้ายน้ำพริกของทางภาคกลาง หรือแกงพุงปลาที่เป็นอาหารที่มีชื่อเสียงของจังหวัดพัทลุง นอกจากนั้น ยังนำไตปลาไปผัดกับน้ำพริกแกง ใส่ปลาจิ้งจ้างและผัก เรียกไตปลาแห้ง ไตปลาที่เป็นเครื่องจิ้มนี้เป็นที่มาของอาหารชาววังที่เรียกว่าแสร้งว่าหรือแสร้งว่าไตปลา ซึ่งเป็นการปรุงแบบเดียวกับน้ำพริกไตปลาเพียงแต่ตัดไตปลาที่มีกลิ่นเหม็นคาวออกไป ใส่เครื่องปรุงอื่นลงไปแทน เช่น กุ้ง แสร้งว่านี้ เป็นอาหารที่มีในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานของรัชกาลที่ 2.

ใหม่!!: พริกไทยและไตปลา · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์บล็อง

อร์บล็อง (beurre blanc) แปลตรงตัวว่าเนยเหลวสีขาว เป็นซอสแบบฝรั่งเศสที่ทำจากหอมแดง น้ำส้มสายชู ไวน์ขาว วิปปิงครีม เนยจืด เกลือ พริกไทย และผักชีฝรั่ง เคี่ยวรวมกันจนเป็นครีมข้น กินกับปลาทอด (1995), "On Cooking", Sarah R. Labensky, Salan M. Hause, Priscilla A. Martel อาหารนี้มีต้นกำเนิดอยู่ที่หุบเขาลัวร์ (Loire Valley).

ใหม่!!: พริกไทยและเบอร์บล็อง · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฟู้โกว๊ก

Dương Đông) เกาะฟู้โกว๊ก (Phú Quốc) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในอ่าวไทย โดยอยู่ในพื้นที่ของจังหวัดเกียนซาง พื้นที่ 574 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรอยู่ถาวร 85,000 คน เขตการปกครองของเกาะฟู้โกว๊กนั้นประกอบด้วยเกาะใหญ่และเกาะเล็กน้อยอีก 21 เกาะ ศูนย์กลางของเกาะตั้งอยู่ที่เมืองใหญ่ที่สุดคือเซืองโดงทางชายฝั่งตะวันตก และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะอีกด้วย เศรษฐกิจของเกาะขึ้นกับการประมง เกษตรกรรมและการท่องเที่ยว เกาะนี้ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญของเวียดนาม.

ใหม่!!: พริกไทยและเกาะฟู้โกว๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เกเด

เกเด้ (Guede) ปีศาจผู้ดูแลคนตาย ในลัทธิวูดู เกเด้ เป็นผีของประเทศเฮติ เกเด้มักปรากฏตัวในรูปร่างชายผอมสวมชุดดำ ใส่หมวกทรงสูงสีดำ และแว่นตาดำ หยั่งรู้เรื่องราวทุกอย่างของมนุษย์ เกเด้มีพ่อชื่อว่าบารอนซาเมดี้ และแม่ชื่อว่ามามองบริจิต เกเด้ชอบเหล้า บุหรี่ ไม่ก็อาหารใส่พริกไทยเยอะๆ ปรากฏได้ทุกเวลา นอกจากเกเด้แล้ว ยังมีบาบาโก้ เกเด้นิโบ และเกเด้มาซากา เป็นต้น หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยา.

ใหม่!!: พริกไทยและเกเด · ดูเพิ่มเติม »

เม่าไข่ปลา

ม่าไข่ปลาหรือเม่าทุ่งหรือส้มเม่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นไม้ผลัดใบ ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก ช่อสั้น เมื่อติดผลลูกเล็กคล้ายเม็ดพริกไทย ผลสด เมล็ดเดียวแข็ง มีขนละเอียดปกคลุมบนผล สีม่วงเข้ม เป็นไม้ยืนต้น ผลสุกสีแดงคล้ำ ใบที่นำมารับประทานคือ ผลรับประทานสดหรือทำแยม ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักหรือใช้เป็นเครื่องเทศ ใบใช้เป็นยาแก้ไข้ เนื้อไม้สีแดง แข็ง ใช้ในงานก่อสร้างได้ ใบอ่อนและผลดิบใช้ปรุงอาหารให้มีรสเปรี้ยวยอดและใบเพสลาดใช้กินแนมกับอาหารอื่นหรือใส่ยำ ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาว.

ใหม่!!: พริกไทยและเม่าไข่ปลา · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจของอินเดียใต้

รษฐกิจของอินเดียใต้ หลังจากเป็นอิสระภาพในปี 1947 เป็นไปตามกรอบสังคมนิยมที่มีการควบคุมอย่างเข้มงวดของรัฐบาลมากกว่าการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนการค้าต่างประเทศและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ผ่าน 1960-1990 เศรษฐกิจภาคใต้ของอินเดียประสบการณ์การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแบบผสม ในปี 1960, เกรละประสบความสำเร็จดังกล่าวข้างต้นเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเฉลี่ยแล้วในขณะที่เศรษฐกิจของรัฐอานธรประเทศลดลงในช่วงเวลานี้ ในทำนองเดียวกัน รัฐเกรละ ประสบการณ์ลดลงของเศรษฐกิจในปี 1970 ในขณะที่เศรษฐกิจของรัฐทมิฬนาฑูรัฐอานธรประเทศและ รัฐกรณาฏกะ เกินสม่ำเสมอชาติอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยปี 1970 หลังจากที่รัฐอานธรประเทศและรัฐทมิฬนาฑูกรณาฏกะได้ระบุไว้โดยบางส่วนจะมีมากขึ้นการปฏิรูปที่มุ่งเน้นในแง่ของเศรษฐกิจ นโยบายเมื่อเทียบกับอินเดียรัฐอื่นๆ กว่าทศวรรษที่ผ่านภาคใต้ของอินเดียมีการเติบโตที่ 8% ต่อปี การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในอนาคตจะมีการใส่กุญแจมือตามสัดส่วนที่ค่อนข้างต่ำของประชากรอายุการใช้งานกับจำนวนของผู้อยู่ในอุปการะ มา 48%ของทางใต้อินเดียเป็นประชากรหมั้นด้วย agriculture ซึ่งเป็น largely ต้องขึ้นอยู่กับ seasonal monsoonsน บางอย่างของหลักของพืชพันธุ์หรส่งน้ำเลี้ยงกันบ้างในตอนใต้อินเดียรวมถึง แพน sorghumน เพิร์ล millet,pulses, sugarcaneนค็อตตอน chilliและ ragiน Arecaกาแฟนชา วนิลา,ยาง, พริกไทยนะ สาคูแล้ว cardamom คือส่งน้ำเลี้ยงกันบ้าอยู่ที่ฮิลล์ในขณะที่มะพร้าวขึ้นใน abundance อยู่ในชายฝั่งแล้วประจำกองได้แล้ว! ข้อมูลของเทคโนโลยีคือกำลังเติบโตอยู่ในสนามทางใต้อินเดีย India. kgm คืออินเดียข้อมูลของฮับเทคโนโลยีและกลับบ้านตั้ง 200 กว่าบริษัทซอฟต์แวร์ได้ มันคือบ่อยครั้งซึ่งอ้างว่าเป็นคน เหมือนน้ำหนักของซิลิกอหุบเขาของอินเดียน สี่คนของประเทศเป็นสุดยอดเจ็ด exporters ของซอฟต์แวร์ viz น India. kgm, india. kgm, india. kgm และ Coimbatore เป็นยังตำแหน่งทางใต้อินเดีย บ้านเจนไน ยักษ์ใหญ่ในการผลิตรถยนต์ในประเทศ กว่า 65% ของหนักรถที่ผลิตในประเทศเช่นรถยนต์, รถโดยสาร, รถบรรทุกรถไฟและจักรยานที่มีการผลิตในเจนไนและมันจะเรียกว่าเป็นดีทรอยต์แห่งเอเชีย โคอิมบะทอร์ (ยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "เมืองฝ้าย" และ "แมนเชสเตอร์ทางใต้ของประเทศอินเดีย") ในรัฐทมิฬนาฑูเป็นที่มาของเกือบ 35% ของการผลิตผ้าฝ้ายของอินเดีย เอโรด และ ติรุปุระ เป็นผู้ผลิตที่ใหญ่ที่สุดของเสื้อผ้าฝ้ายและสิ่งทอในประเทศอินเดีย การส่งออกมากของการผลิตของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศในยุโรป กัดเซาะยังเป็นที่รู้จักในฐานะ "เมืองขมิ้น" เนื่องจากมีตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเอเชียสำหรับขมิ้น Gobichettipalayam เป็นหนึ่งในผู้ผลิตที่ใหญ่ที่สุดของผ้าไหมสีขาวที่มีคนแรกของประเทศหน่วยไหมอัตโนมัติหน้ามืดก่อตั้งขึ้นที่นี่ นามักกาล เป็นหนึ่งในผู้ผลิตที่ใหญ่ที่สุดของสัตว์ปีกในประเท.

ใหม่!!: พริกไทยและเศรษฐกิจของอินเดียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เหงือกปลาหมอ

หงือกปลาหมอ (Sea holly; ชื่อวิทยาศาสตร์ Acanthus ebracteatus; ชื่อท้องถิ่น: แก้มหมอ, แก้มหมอเล, จะเกร็ง, นางเกร็ง, อีเกร็ง, เหงือกปลาหมอน้ำเงิน) เป็นพรรณไม้ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งแม่น้ำลำคลอง อยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเหนือปากคลองมหาวงษ์และโรงเรียนนายเรือ ประโยชน์ของเหงือกปลาหมอนั้น เป็นสมุนไพรใกล้ตัวหรืออาจจะเรียกว่าสมุนไพรชายน้ำ/สมุนไพรชายเลนก็ได้ ช่วยรักษาโรคได้มากมายหลายชน.

ใหม่!!: พริกไทยและเหงือกปลาหมอ · ดูเพิ่มเติม »

เจลลี่บีน

ลลีบีนหลากสี เจลลี่บีน (Jelly bean) เป็นขนมหวานที่ทำเป็นรูปคล้ายเมล็ดถั่ว โดยมีส่วนผสมจากน้ำตาล น้ำเชื่อมข้าวโพด และแป้ง โดยผสมสีและกลิ่นผลไม้ต่างๆ โดยมีต้นกำเนิดจาก ลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พริกไทยและเจลลี่บีน · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาด็อมเร็ย

ทือกเขาด็อมเร็ย ถนนสู่พนมโบกอร์ ภาพมุมสูงของกำปอตและทะเลมองจากพนมโบกอร์ เทือกเขาด็อมเร็ย (Dâmrei Mountains) เป็นเทือกเขาทางตะวันตกเฉียงใต้ของกัมพูชา เทือกเขานี้เป็นเทือกเขาต่อเนื่องจากเทือกเขาบรรทัด ครอบคลุมพื้นที่ขนาดเล็กกว่า ยอดที่สูงที่สดคือพนมโบกอร์ สูง 1,081 เมตรจากระดับน้ำทะเล ทอดยาวลงไปจนถึงอ่าวไทย บริเวณนี้เป็นศูนย์กลางการปลูกพริกไทยจนถึง..

ใหม่!!: พริกไทยและเทือกเขาด็อมเร็ย · ดูเพิ่มเติม »

เทียนดำ

ทียนดำ หรือ black-cumin อยู่ในวงศ์ Ranunculaceae เป็นพืชพื้นเมืองของซีเรียและเลบานอน เป็นไม้ล้มลุกอายุปีเดียว ลำต้นตั้งตรง มีขน ใบเดี่ยว ดอกเดี่ยว ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบ ดอกขนาดใหญ่ สีขาวหรือสีฟ้าอมม่วง ผลเป็นผลแห้งแตกได้ มีเมล็ดหลายเมล็.

ใหม่!!: พริกไทยและเทียนดำ · ดูเพิ่มเติม »

เครย์ฟิช

ำหรับเครย์ฟิชที่พบในทะเล ดูที่: ล็อบสเตอร์ และกุ้งมังกร เครย์ฟิช หรือ หรือ ล็อบสเตอร์น้ำจืด (10088/1372 Crawdad, Mudbug, Freshwater yabby) เป็นกุ้งน้ำจืดจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมลำตัวใหญ่ เปลือกหนา ก้ามใหญ่แลดูแข็งแรง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรป, โอเชียเนียและบริเวณใกล้เคียง เช่น อีเรียนจายา และเอเชียตะวันออก ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานเครย์ฟิชไปแล้วกว่า 500 ชนิด ซึ่งกว่าครึ่งนั้นเป็นเครย์ฟิชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่ก็ยังมีอีกหลายร้อยชนิดที่ยังไม่ได้รับการอนุกรมวิธาน อีกทั้งหลายชนิดยังมีความหลากหลายทางสีสันมากอีกด้วย สำหรับในประเทศไทยไม่มีกุ้งในลักษณะเครย์ฟิช ซึ่งกุ้งน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่สุดที่พบในประเทศไทย คือ กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ซึ่งในลักษณะกุ้งก้ามกรามนี้ ไม่จัดว่าเป็นเครย์ฟ.

ใหม่!!: พริกไทยและเครย์ฟิช · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องเทศ

รื่องเทศนานาชนิด เครื่องเทศ หมายถึง ส่วนต่างๆ ของพืชเช่น เมล็ด เปลือกเมล็ด ผล ผิวนอกของผล ใบ ราก ลำต้น ฯลฯ ที่ทำให้แห้ง แล้วนำมาเป็นเครื่องปรุงในอาหาร เพื่อให้ได้รสชาติ สีสัน กลิ่น หรือคุณสมบัติอื่นๆ ที่ต้องการ ด้วยเหตุนี้เราจึงมีเครื่องเทศเป็นจำนวนมาก เช่น กระวาน กานพลู จันทน์เทศ ดีปลี ยี่หร่า หญ้าฝรั่น มะกรูด พริก พริกไทย อบเชย แม้กระทั่ง งา เครื่องเทศมีปรากฏในหลายวัฒนธรรมมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เครื่องเทศของไทยแต่เดิมอาศัยพืชผักที่ปรากฏเฉพาะในท้องถิ่นของเรา แต่เมื่อได้ติดต่อกับต่างชาติ ทำให้เรารับเอาเครื่องเทศจากชาติอื่นมาใช้ด้วย ขึ้นชื่อว่าเครื่องเทศมีอยู่ 1 ชนิดที่ถูกกล่าวขานกันว่าเป็นราชาของเครื่องเทศนั้นก็คือพริกไทยมีรสชาติเผ็ดร้อนนิยมใช้กันเป็นเครื่องปรุงและเป็นส่วนประกอบในการทำอาหารชนิดต่างๆ อย่างไรก็ตามในชาติตะวันตก ถือว่าเครื่องเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญของอาหาร จึงมีการเดินทางเสาะหาเครื่องเทศจากทั่วโลก ทำให้เกิดการค้าเครื่องเทศขึ้นอย่างจริงจัง และเป็นสาเหตุหนึ่งของการเดินทางสำรวจโลกของชาติตะวันตก นอกจากนี้ยังก่อให้เกิด "เส้นทางสายเครื่องเทศ" ขึ้นอีกด้ว.

ใหม่!!: พริกไทยและเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Black pepperPiper nigrumพริกไทพริกไทย (เครื่องเทศ)พริกไทยขาวพริกไทยดำ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »