โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม (17 มีนาคม พ.ศ. 2358 — 22 มกราคม พ.ศ. 2432) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาจัน หรือออกนามว่าจันเขมร พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม เป็นหนึ่งในเจ้านายฝ่ายในที่ได้รับเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

7 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีหอพระนากประเทศไทยใน พ.ศ. 2358

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 51 พระองค์ โดยประสูติก่อนบรมราชาภิเษก 38 พระองค์ และประสูติหลังจากบรมราชาภิเษก 13 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล ดังต่อไปนี้ กรมหลวงวรเสร.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ) เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น "ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก" พระองค์ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรมชนกนาถให้ทำหน้าที่ดูแลพระเจ้าน้องที่ยังทรงพระเยาว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ได้รับพระราชทานเกียรติให้เป็นผู้สั่งพระกนิษฐาให้เป็นสาว เนื่องจากตามธรรมเนียมการเป็นสาวของสตรีในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ก่อน นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงดำรงตำแหน่งอุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง (สภากาชาดไทย) ร่วมกับเจ้านายฝ่ายในอีกหลายพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 พระองค์แรกและเป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าต่างกรมที่ "กรมขุนสุพรรณภาควดี" ซึ่งภายหลังจากการทรงกรมเพียง 1 ปี พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ลง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติ โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่พระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี

ระกุลเชษฐ์ คือพระบรมวงศ์ที่ทรงดำรงฐานะสูงสุด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2358

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2358 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมและประเทศไทยใน พ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »