เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2398 — 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456) พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

สารบัญ

  1. 10 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวงพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรพักตร์รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)สภากาชาดไทยหอพระนากเจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ (30 กันยายน พ.ศ. 2409 — 23 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับองค์ที่ 10 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา (21 ธันวาคม พ.ศ. 2400 — 29 มิถุนายน พ.ศ. 2461) พระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 5 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง (11 มกราคม พ.ศ. 2406 — 19 สิงหาคม พ.ศ. 2472) พระราชธิดาพระองค์ที่ 67 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 8 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรพักตร์

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรพักตร์ (8 ธันวาคม พ.ศ. 2398 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2427) พระราชธิดาพระองค์ที่ 45 ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวประสูติแต่เจ้าจอมมารดาส่าน.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรพักตร์

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและสภากาชาดไทย

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและหอพระนาก

เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเที่ยง ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2374 - พ.ศ. 2456) เป็นเจ้าจอมมารดาของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป เจ้าจอมมารดาเที่ยง เกิดเมื่อ..

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิและเจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4