โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระกนิษฐาแฝดของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย สิ้นพระชนม์วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2429 พระชันษา 1 ปี 3 เดือน พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

8 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเมรุมาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลยรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหอพระนากจอมมารดาหม่อมหลวงปริกเจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระเชษฐภคินีแฝดของพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

จอมมารดาหม่อมหลวงปริก

อมมารดาหม่อมหลวงปริก (สกุลเดิม: เจษฎางกูร; พ.ศ. 2383 — พ.ศ. 2460) เป็นพระสนมในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ และเป็นพระชนนีในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชายแฝด เจ้านายแฝดคู่ที่สามในราชวงศ์จักรี.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและจอมมารดาหม่อมหลวงปริก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาพร้อม เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเป็นบุตรีของพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) กับ ท่านผู้หญิงกลิ่น พิษณุโลกาธิบดี.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสและเจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาศ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »