สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์ราชสกุลรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตรหม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตรหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์หอพระนากปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษปราจีนบุรี (แก้ความกำกวม)โรงเรียนมหาวชิราวุธโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลาโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)27 พฤษภาคม
พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี
มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..
กรมราชเลขานุการในพระองค์
กรมราชเลขานุการในพระองค์ (เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ) เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด สำนักพระราชวัง ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเลขานุการในองค์ พระมหากษัตริย์ เกี่ยวกับงานหนังสือที่หน่วยราชการ เอกชนและบุคคลทั่วไปส่งเข้ามา เพื่อขอให้นำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบรมราชวินิจฉัยและพระมหากรุณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งทำหน้าที่รับพระราชทานพระราชดำริและพระราชดำรัส เพื่อเชิญไปยังหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทเป็นผู้ประสานงานระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐหรือเอกชนและบุคคลทั่วไป ทั้งที่เป็นราชการแผ่นดินและการส่วนพระองค์ ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนนั้นเรียกว่าออฟฟิศไปรเวตสิเกรตารีหลวง หรือกรมราชเลขาธิการ.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและกรมราชเลขานุการในพระองค์
ราชสกุล
ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและราชสกุล
รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5
นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.
รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก.
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.
รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.
รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.
รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน น.ร.
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายหน้า) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร.
รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี
้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..
รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..
สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.
หม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร
หม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร (28 เมษายน พ.ศ. 2454 - 1 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นนักเขียนชาวไทย ใช้นามปากกาว่า ดวงดาว และบังใบ มีผลงานที่มีชื่อเสียง อาทิ "ผยอง", "เชลยศักดิ์", "เคหาสน์สีแดง" และ "ม่านไฟ" เป็นต้น.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและหม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร
หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร
หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี ที่ประสูติแต่หม่อมชื้น กัลยาณมิตร หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร มีบุตรธิดา 4 คน.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและหม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร
หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์
หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโคลง,ฉันท์,กาพย์,ร่าย: พระนิพนธ์หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์, 2478 และบิดาของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์
หอพระนาก
หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและหอพระนาก
ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ
ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ป..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 1 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานเฉพาะฝ่ายหน้า (บุรุษ) เท่านั้น โดยไม่จำกัดจำนวน ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 4 และถือเป็นชั้นสูงสุดของเครื่องอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ
ปราจีนบุรี (แก้ความกำกวม)
ปราจีนบุรี อาจหมายถึง.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและปราจีนบุรี (แก้ความกำกวม)
โรงเรียนมหาวชิราวุธ
รงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ชื่อภาษาอังกฤษ: Mahavajiravudh Songkhla School) (อักษรย่อ: ม.ว., M.V.) (สุภาษิตประจำโรงเรียน: รฺกขาม อตฺตโน สาธุ (รัก - ขา - มะ - อัด - ตะ - โน - สา - ทุง) แปลว่า " พึงรักษาความดีของตนไว้ (ประดุจเกลือรักษาความเค็ม) ") เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 03900101(เดิม), 1003900101 (ใหม่) มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 99.9 ตารางวา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา มีประวัติความเป็นมาและชื่อเสียงเกียรติยศที่สั่งสมมายาวนานจนถึงปัจจุบันกว่า 118 ปี เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรกในภาคใต้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา โดยมีกุลบุตร - กุลธิดา ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง มาศึกษาเล่าเรียนกันเป็นจำนวนมาก ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนคือ มหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ขณะท่านมีบรรดาศักดิ์เป็น " พระยาสุขุมนัยวินิต " ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยในเดือนมกราคม พุทธศักราช 2439 ในวาระโอกาสวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เจ้าพระยายมราชได้ขอพระราชทานพระนามของพระองค์ในขณะนั้นมาเป็นนามของโรงเรียน ว่าโรงเรียน "มหาวชิราวุธ" ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกมหาวชิราวุธทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตราวชิราวุธ อันเป็นลัญจกรประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์อันเป็นมิ่งมงคลยิ่งของสถาบัน.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและโรงเรียนมหาวชิราวุธ
โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
รงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ชื่อภาษาอังกฤษ: Mahavajiravudh Songkhla School) (อักษรย่อ: ม.ว., M.V.) (สุภาษิตประจำโรงเรียน: รฺกขาม อตฺตโน สาธุง (รัก - ขา - มะ - อัด - ตะ - โน - สา - ทุง) แปลว่า " พึงรักษาความดีของตนไว้ (ประดุจเกลือรักษาความเค็ม) ") เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 03900101(เดิม), 1003900101 (ใหม่) มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 99.9 ตารางวา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา มีประวัติความเป็นมาและชื่อเสียงเกียรติยศที่สั่งสมมายาวนานจนถึงปัจจุบันกว่า 121 ปี เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรกในภาคใต้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา โดยมีกุลบุตร - กุลธิดา ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง มาศึกษาเล่าเรียนกันเป็นจำนวนมาก ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนคือ มหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ขณะท่านมีบรรดาศักดิ์เป็น " พระยาสุขุมนัยวินิต " ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยในเดือนมกราคม พุทธศักราช 2439 ในวาระโอกาสวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เจ้าพระยายมราชได้ขอพระราชทานพระนามของพระองค์ในขณะนั้นมาเป็นนามของโรงเรียน ว่าโรงเรียน "มหาวชิราวุธ" ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกมหาวชิราวุธทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตราวชิราวุธ อันเป็นลัญจกรประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์อันเป็นมิ่งมงคลยิ่งของสถาบัน.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอดีตข้าหลวงใหญ่แห่งมณฑลพายัพในสมัยรัชกาลที่ 5.
27 พฤษภาคม
วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีและ27 พฤษภาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กรมหลวงปราจิณกิติบดีกรมหลวงปราจิณกิตติบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิตติบดี