โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 — 18 มีนาคม พ.ศ. 2505) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ พระราชนัดดาในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชนมายุสูงสุดในราชวงศ์จักรี.

15 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินีกลีบ มหิธรรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรีรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีหอพระนากตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายาป. อินทรปาลิตเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์เจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)18 มีนาคม

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2407 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) หรือที่ถวายเรียกกันว่า เสด็จอธิบดี อธิบดีหญิงคนแรกของประเทศไทย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี · ดูเพิ่มเติม »

กลีบ มหิธร

ท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม: บางยี่ขัน; เกิด: พ.ศ. 2419 — ถึงแก่อนิจกรรม: พ.ศ. 2504) ภรรยาของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และเป็นมารดาของท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา เธอเป็นผู้รจนาตำราอาหารชื่อ หนังสือกับข้าวสอนลูกหลานของท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร ซึ่งถือเป็นตำราอาหารตำรับชาววังหนึ่งในสี่ตำรับ แต่ตำรับของท่านผู้หญิงกลีบมีลักษณะอันพิเศษ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนที่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนในอาหารชาววังตำรับนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและกลีบ มหิธร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี

ระกุลเชษฐ์ คือพระบรมวงศ์ที่ทรงดำรงฐานะสูงสุด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและรายพระนามพระกุลเชษฐ์ในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายา

ตำหนักพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายา หรือ ตำหนักพระราชชายา เจ้าดารารัศมี เป็นตำหนักที่พระเจ้าอินทวิชยนนท์ พระเจ้านครเชียงใหม่ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างขึ้นพระราชทานแด่เจ้าดารารัศมี พระราชชายา เป็นตำหนักขนาดใหญ่ 3 ชั้น ก่อสร้างเต็มพื้นที่ มีถนนโดยรอบทั้งสี่ด้าน ผนังด้านนอกทำหน้าที่เป็นขอบเขตของพระตำหนัก ทาสีชมพูสลับกับสีเขียว หลังคาทรงปั้นหยา ระหว่างที่ทรงประทับอยู่ ณ พระตำหนักแห่งนี้ เจ้าดารารัศมี พระราชชายา ได้โปรดเกล้าฯให้พระประยูรญาติและเจ้านายฝ่ายเหนือเสด็จมาประทับอยู่ด้วย ทั้งนี้โปรดเกล้าฯ ให้ทุกพระองค์แต่งกายด้วยผ้าซิ่นแบบล้านนาไว้ผมมวย รวมทั้งยังโปรดฯ ให้ศึกษาศิลปะดนตรีไทย ดนตรีสากล การขับร้อง และการฟ้อนรำ อนึ่งหลังจากเจ้าดารารัศมี พระราชชายา เสด็จกลับไปประทับ ณ นครเชียงใหม่ ตำหนักหลังก็นี้ว่างลง ต่อมาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี พระราชธิดาในรัชกาลที่ 4 ได้มาประทับที่ตำหนักแห่งนี้จนสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและตำหนักเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

ป. อินทรปาลิต

ป.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและป. อินทรปาลิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์

้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ มีพระนามเต็มว่า เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ ดำรงรัฐสีมาอุบลราชธานีบาล พระนามเดิมว่า เจ้าหน่อคำ ทรงเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๕ ในฐานะเจ้าประเทศราชต่อจากพระพรหมราชวงศา (กุคำ สุวรรณกูฎ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๔ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เดิมมีพระยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เป็นที่เจ้าราชวงษ์นครจำปาศักดิ์ ในสมัยเจ้าราชบุตร (โย่) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน ๒ สกุลคือ พรหมโมบล และ เทวานุเคราะห.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาดวงคำ (เกิด: ไม่มีข้อมูล — อนิจกรรม: 29 ตุลาคม พ.ศ. 2449) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีนามเดิมว่า เจ้าหนูมั่นแห่งเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายมาจากเจ้านายลาวฝ่ายเวียงจันทน์ เป็นธิดาของเจ้าคลี่ พระโอรสในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ กับเจ้าท่อนแก้ว ธิดาเจ้าอุปราช (ติสสะ) เมื่อเจ้าอนุวงศ์ ทรงก่อการวุ่นวายขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าอุปราชไม่ได้ร่วมด้วย เจ้าคลี่ ผู้บิดา จึงได้พาครอบครัวเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอยู่ในกรุงเทพฯ เจ้าหนูมั่นจึงเกิดที่กรุงเทพฯ ท่านมีพี่ชายคนหนึ่ง ชื่อเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ (เจ้าหน่อคำ) ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานี.พลายน้อ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและเจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง)

ผังบริเวณ ในเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน เป็นพื้นที่ที่มีพระตำหนักของเจ้าจอมมารดา พระมเหสี พระชายาต่างๆ เขตนี้ผู้ชายห้ามเข้า หากจะเข้าต้องมีโขลนคอยดูแลอยู่ตลอด ส่วนแถวเต๊ง เป็นตึกแถวยาวที่เคยเป็นกำแพงวังสมัยรัชกาลที่ 1 โดยมีประตูช่องกุดเป็นช่องทางเข้าออกของชาววัง ซึ่งอยู่ใกล้ประตูศรีสุดาวงศ์ ซึ่งเป็นประตูชั้นในที่จะต่อกับแถวเต๊ง บริเวณนั้นมีสวนขวาอันเป็นพระราชอุทยานซึ่งรัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเป็นพระอภิเนาว์นิเวศน์ และมีสวนเต่า พวกเจ้านายจะทรงพระสำราญที่นี่ และเวลาไว้พระศพเจ้านายชั้นสูงก็จะไว้ที่หอธรรมสังเวชซึ่งอยู่ทางตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและเขตพระราชฐานชั้นใน (พระบรมมหาราชวัง) · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีและ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »