โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2404 สิ้นพระชนม์เมื่อวันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2468 พระชันษา 65 ปี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ ซึ่งเป็นหลานปู่ของ เจ้าอนุวงศ์ ผู้ครองนครเวียงจันทน์ แต่เป็นหลานตาของ เจ้าอุปราชด้วย เมื่อเจ้าอนุฯ ก่อการวุ่นวายขึ้นในรัชกาลที่ 3 เจ้าอุปราชไม่ได้ร่วมด้วย ได้พาครอบครัวเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ เจ้าจอมมารดาดวงคำจึงเกิดที่กรุงเทพฯ พระองค์เจ้านารีรัตนา สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6..

11 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีสภากาชาดไทยหอพระนากคุณพุ่มเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์เจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2334 - พ.ศ. 2384) พระราชธิดาพระองค์ที่ 31 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทอง.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 — 18 มีนาคม พ.ศ. 2505) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ พระราชนัดดาในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชนมายุสูงสุดในราชวงศ์จักรี.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและสภากาชาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

คุณพุ่ม

ณพุ่ม หรือที่รู้จักกันในนาม บุษบาท่าเรือจ้าง เป็นกวีหญิงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีความสำคัญในสมัยรัชกาลที่ 3 มีผลงานการประพันธ์คือ เพลงยาวสามชาย เพลงยาวบวงสรวงฉลองสระบางโขมด เพลงยาวเฉลิมพระเกียรติ และนิราศวังบางยี่ขัน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและคุณพุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์

้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ มีพระนามเต็มว่า เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ ดำรงรัฐสีมาอุบลราชธานีบาล พระนามเดิมว่า เจ้าหน่อคำ ทรงเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๕ ในฐานะเจ้าประเทศราชต่อจากพระพรหมราชวงศา (กุคำ สุวรรณกูฎ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๔ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เดิมมีพระยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เป็นที่เจ้าราชวงษ์นครจำปาศักดิ์ ในสมัยเจ้าราชบุตร (โย่) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน ๒ สกุลคือ พรหมโมบล และ เทวานุเคราะห.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาดวงคำ (เกิด: ไม่มีข้อมูล — อนิจกรรม: 29 ตุลาคม พ.ศ. 2449) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีนามเดิมว่า เจ้าหนูมั่นแห่งเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายมาจากเจ้านายลาวฝ่ายเวียงจันทน์ เป็นธิดาของเจ้าคลี่ พระโอรสในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ กับเจ้าท่อนแก้ว ธิดาเจ้าอุปราช (ติสสะ) เมื่อเจ้าอนุวงศ์ ทรงก่อการวุ่นวายขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าอุปราชไม่ได้ร่วมด้วย เจ้าคลี่ ผู้บิดา จึงได้พาครอบครัวเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอยู่ในกรุงเทพฯ เจ้าหนูมั่นจึงเกิดที่กรุงเทพฯ ท่านมีพี่ชายคนหนึ่ง ชื่อเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ (เจ้าหน่อคำ) ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานี.พลายน้อ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาและเจ้าจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระองค์เจ้านารีรัตนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »