โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าชัยวรมันที่ 7

ดัชนี พระเจ้าชัยวรมันที่ 7

ระเจ้าชัยวรมันที่ 7เป็นกษัตริย์ของอาณาจักรเขมรที่ยิ่งใหญ่ (พ.ศ. 1724 - พ.ศ. 1762) ในบริเวณที่เป็นประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน เป็นพระโอรสของพระเจ้าธรนินทรวรมันที่ 2 (ครองราชย์ พ.ศ. 1693 - พ.ศ. 1703) และพระนางศรี ชยราชจุฑามณี พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สถาปนานครธม นครหลวงแห่งสุดท้ายของอาณาจักรเขมร ในประเทศกัมพูชายังมีสระน้ำแห่งหนึ่งที่พระเจ้าชัยวรมันที่7 ทรงใช้เป็นประจำอีกด้ว.

40 ความสัมพันธ์: ชาวมอญชาวจามพ.ศ. 1724พระพุทธมหาธรรมราชาพระตะบอง (เมือง)พระปรางค์สามยอดพระแสงขรรค์ชัยศรีพระเจ้าอินทรวรมันที่ 3กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิกุฏิฤๅษีบ้านหนองบัวรายรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชาวัดกำแพงแลงวัดมหาธาตุวรวิหาร (จังหวัดราชบุรี)ศาสนาในประเทศกัมพูชาสมัยจตุมุขสยามอำเภอสนมอำเภออุทุมพรพิสัยอำเภออู่ทองอุทยานประวัติศาสตร์พิมายอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์จักรวรรดิขแมร์จังหวัดเพชรบุรีประวัติศาสนาพุทธปราสาทบันทายกเดยปราสาทบายนปราสาทช่างปี่ปราสาทบ้านบุปราสาทบ้านสมอปราสาทพระกาฬปราสาทพระขรรค์ปราสาทตาควายปราสาทตาเมือนโต๊ดปราสาทนางรำปรางค์กู่ จังหวัดชัยภูมิปรางค์กู่ จังหวัดร้อยเอ็ดนครวัดนครธมเสียมราฐ (เมือง)

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจาม

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับความหมายอื่นดูที่ จาม จาม (người Chăm เหงื่อยจัม, người Chàm เหงื่อยจ่าม; จาม: Urang Campa อูรัง จัมปา) จัดอยู่ในตระกูลภาษามาลาโยโพลินีเชียน อาศัยอยู่บริเวณทางใต้ของเวียดนาม และเป็นกลุ่มชนมุสลิมเป็น 1 ใน 54 ชาติพันธุ์ของประเทศเวียดนาม ในอดีตชนชาติจามตั้งอาณาจักรจามปาที่ยิ่งใหญ่ มีความเจริญรุ่งเรืองช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2-15 ด้วยอาณาเขตติดทะเล ชาวจามจึงมีความสามารถเดินเรือและค้าขายไปตามหมู่เกาะ ไกลถึงแถบตะวันออกกลาง รวมถึงประเทศจีน ส่วนใหญ่เป็นผ้าไหม ไม้หอม เครื่องปั้นดินเผา ปัจจุบันคือบริเวณเมืองดานัง เมืองท่าในตอนกลางของเวียดนาม มีเมืองหลวงชื่อ วิชัย (ปัจจุบันคือเมืองบิญดิ่ญ) มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ตามภูเขาต่าง ๆ ในเวียดนาม กระทั่งในปี ค.ศ. 1471 อาณาจักรจามปาสู้รบกับชนชาติเวียดนามเดิม ที่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ทำให้อาณาจักรจามปาล่มสลาย ชาวจามส่วนใหญ่ต้องอพยพลงไปใต้ปัจจุบันมีชาวจามอาศัยอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม ที่เมืองนิงห์ถ่วง เมืองบินห์ถ่วง เตยนินห์ โฮจิมินห์ ส่วนทางใต้จะอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากที่เมืองอันยาง.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และชาวจาม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1724

ทธศักราช 1724 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และพ.ศ. 1724 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหาธรรมราชา

ระพุทธมหาธรรมราชา เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ สมัยลพบุรี หล่อด้วยทองสำริด หน้าตักกว้าง 13 นิ้ว สูง 18 นิ้ว ประดิษฐานที่วัดไตรภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริย์แห่งนครธม เมื่อพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงพระราชทานพระนางสิงขรเทวี พระธิดาให้อภิเษกสมรสกับพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด (ปัจจุบันคือ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์).

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และพระพุทธมหาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระตะบอง (เมือง)

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดพระตะบอง ทางตะวันตกเฉียงเหนือของกัมพูชา ก่อตั้งขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 11 โดยกษัตริย์เขมร รู้จักกันในฐานะแหล่งปลูกข้าวชั้นนำของประเทศ สมัยก่อนเคยเป็นเมืองสยาม แต่ต่อมาก็ได้เป็นเมืองของกัมพูชา เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสังแก.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และพระตะบอง (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

พระปรางค์สามยอด

ระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ลักษณะเป็นปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ. 1720 - 1773) โครงสร้างเป็นศิลาแลงประดับปูนปั้น สร้างขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724 - ประมาณ 1757) เพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิวัชรยานประจำเมืองละโว้หรือลพบุรี ซึ่งในขณะนั้นเป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักรขอม แต่เดิมภายในปราสาทประธานประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูปพระโลเกศวร (พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร) สี่กร และปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปารมิตาสองกร พระปรางค์สามยอดในอดีต (ด้านทิศตะวันออก).

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และพระปรางค์สามยอด · ดูเพิ่มเติม »

พระแสงขรรค์ชัยศรี

ซุ้มเฉลิมพระเกียรติในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 แสดงภาพจำลองพระแสงขรรค์ชัยศรี พระแสงขรรค์ชัยศรี เป็นพระแสงศาสตราวุธประจำองค์พระมหากษัตริย์ และเป็นหนึ่งในห้าของเบญจราชกกุธภัณฑ์ พระขรรค์หมายถึง พระสติปัญญาความรอบรู้ในการปกครองบ้านเมือง พระแสงองค์นี้มีประวัติอันเก่าแก่ พระแสงขรรค์ชัยศรี เป็นราชสมบัติจากเขมรเมืองพระนครตั้งแต่ยุคนครวัดถึงยุคนครธม มีหลักฐานสำคัญอยู่ในหลักศิลาจารึก วัดศรีชุม ยุคสุโขทัย ว่าพระเจ้าแผ่นดินเขมรนครธมสมัยนั้น พระราชทาน "ขรรค์ชัยศรี" ให้พ่อขุนผาเมืองแห่งกรุงศรีสัชนาลัยสุโขทัย พร้อมด้วยธิดานามว่าสุขรมหาเทวี ให้เป็นชายา พระแสงขรรค์ชัยศรีจึงตกเป็นพระราชสมบัติของพ่อขุนผาเมืองนี้เอง เป็นพยานสำคัญแสดงว่าพ่อขุนผาเมืองก็คือพระเจ้าอู่ทองที่ครองกรุงศรีอโยธยาศรีรามเทพนคร (หรือต่อมาเป็นกรุงศรีอยุธยา) เพราะมีในพงศาวดารเหนือยืนยันสอดรับ ว่าท้าวอู่ทองเสด็จลงมาจากเมืองสวรรคโลก (ศรีสัชนาลัยสุโขทัย) แล้วสถาปนากรุงศรีอยุธยา โดยพระแสงขรรค์ชัยศรีก็เป็นสมบัติกรุงศรีอยุธยาเรื่อยมา สุดท้ายจวบจนสมัยพระเจ้าเอกทัศ เบญจราชกกุธภัณฑ์ก็ได้หายสาปสูญไป รวมทั้งพระแสงขรรค์ชัยศรีซึ่งท้ายสุดไปตกจมอยู่ในทะเลสาบเขมร (Tonle sap) ที่เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ ชาวประมงได้ทอดแหแล้วเห็นพระขรรค์องค์นี้ ชาวประมงผู้นั้นจึงนำมาถวายเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน) เจ้าเมืองเสียมราฐ และเจ้าเมืองเสียมราฐได้นำทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมื่อวันที่พระแสงองค์นี้มาถึงกรุงเทพมหานคร ได้เกิดฟ้าผ่าในพระนครถึง ๗ แห่ง เช่นที่ประตูวิเศษไชยศรีในพระราชฐานชั้นนอก ประตูพิมานไชยศรีในพระราชฐานชั้นกลาง ซึ่งเป็นทางที่อัญเชิญพระแสงองค์นี้เข้าไปในพระบรมมหาราชวัง พระแสงขรรค์ชัยศรีเป็นพระแสงศาสตราวุธที่สำคัญที่สุดในพระราชพิธีที่สำคัญ ได้แก่ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาและพระราชพิธีบรมราชาภิเษก.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และพระแสงขรรค์ชัยศรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทรวรมันที่ 3

ระเจ้าอินทรวรมันที่ 3 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชา สมัยจักรวรรดิเขมร ครองราชย์ ในช่วง พ.ศ. 1838 - พ.ศ. 1851 เป็นพระชามาดาของ พระเจ้าชัยวรมันที่ 8 และเป็นพระนัดดาของ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ผู้ยิ่งใหญ่ พระองค์ทรงนับถือ พระพุทธศาสนา จากพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงสละราชสมบัติให้พระเจ้าอินทรชัยวรมัน ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และพระเจ้าอินทรวรมันที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ

กลุ่มปราสาทตาเมือนตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทที่รวมกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน มาเป็นอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน และกำลังพิจารณาปราสาทกลุ่มราชมรรคาเป็นมรดกโลก ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนธมด้านปราสาทบริวาร 2 หลัง ปราสาทตาเมือนธม ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน และและสมาชิกใหม่คือปราสาทศีขรภูมิ, ปราสาทตาคว.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และกลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

กุฏิฤๅษีบ้านหนองบัวราย

กุฏิฤๅษีบ้านหนองบัวราย กุฏิฤๅษีบ้านหนองบัวราย หรือ ปราสาทหนองกง ตั้งอยู่ในเขตบ้านหนองบัวราย หมู่ที่ 7 ตำบลจรเข้มาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และกุฏิฤๅษีบ้านหนองบัวราย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัดกำแพงแลง

วัดกำแพงแลง หรือ วัดเทพปราสาทศิลาแลง ตั้งอยู่ในเขตตำบลท่าราบ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี อยู่ห่างแม่น้ำเพชรบุรีมาทางตะวันออกประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อดั้งเดิมไม่มีผู้ใดทราบแน่ชัด สำหรับชื่อที่เรียกกันว่า “กำแพงแลง” นั้นคงเป็นชื่อที่ผู้คนในสมัยหลังเรียกกันตามลักษณะที่พบเห็น เนื่องจากภายในวัดมีปราสาทเขมรก่อด้วยศิลาแลงและมีกำแพงศิลาแลงล้อมรอบ จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็นที่มาของชื่อวัดนี้ว่า "กำแพงแลง" หมายถึงกำแพงวัดที่ก่อด้วยศิลาแลงนั่นเอง ลักษณะทางกายภาพวัดแห่งนี้แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน และพื้นที่สำหรับการทำสังฆกรรมโดยทั่วไป ส่วนของโบราณสถานจะอยู่ในพื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน โดยมีเขตของกำแพงศิลาแลงกั้น ส่วนพื้นที่ทำสังฆกรรมอยู่นอกเขตกำแพงศิลาแลง.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และวัดกำแพงแลง · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุวรวิหาร (จังหวัดราชบุรี)

วัดมหาธาตุวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สร้างตั้งแต่สมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งเขมร อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 ถนนเขางู ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จ.ราชบุรี ตั้งอยู่เกือบใจกลางเมืองราชบุรี ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำแม่กลอง เดิมเรียกว่า "วัดหน้าพระธาตุ" "วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ" มีพระปรางค์ก่อด้วยศิลาแลงสูง 12 วา ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังที่พระปรางค์ เป็นวัดที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ปัจจุบันมีพระธรรมปัญญาภรณ์ (ไพบูลย์ ชินวํโส ป.ธ.๗) เจ้าคณะจังหวัดราชบุรี เป็นเจ้าอาว.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และวัดมหาธาตุวรวิหาร (จังหวัดราชบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศกัมพูชา

นาที่สำคัญในกัมพูชาคือศาสนาพุทธ มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยก่อนหน้านั้น ศาสนาฮินดูเป็นศาสนาที่มีความสำคัญมาเป็นเวลากว่าพันปี ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับมิชชันนารีจากฝรั่งเศส เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่เป็นที่นับถือในหมู่ชาวจาม ส่วนชาวเขมรเชื้อสายจีน นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ลัทธิขงจื๊อ และความเชื่อดั้งเดิมของชาวจีน.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และศาสนาในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยจตุมุข

อาณาจักรเขมรซึ่งเป็นอาณาจักรที่สืบต่อมาจากอาณาจักรขอมโบราณนั้น มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองจตุรมุข ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองพนมเปญ ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และสมัยจตุมุข · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และสยาม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสนม

นม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ เจ้าเมืองคนแรกคือ พระยาภักดีพัฒยากร (ท้าวอุทา) บุตรพระศรีณครชัย เจ้าเมืองรัตนบุรี มีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 1,200 ปี โดยตั้งแต่สมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยมีปราสาทเก่าอยู่ที่วัดธาตุบ้านสนม ปัจจุบันถูกรื้อถอนเพื่อสร้างพระอุโบสถ แต่ก็ยังได้ขึ้นทะเบียนในกรมศิลปากรอยู่ มีชนพื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวอีสาน และ ส่วย โรงเรียนประจำอำเภอคือโรงเรียนสนมวิทยาคาร.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และอำเภอสนม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออุทุมพรพิสัย

อุทุมพรพิสัย (ในอดีตเขียน "อุทุมพรพิไสย") เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นอำเภอเก่าแก่ของจังหวัดศรีสะเกษ (แรกเริ่มการก่อตั้งจังหวัดศรีสะเกษมี 6 อำเภอ คือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอกันทรารมย์ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุขันธ์ อำเภอราษีไศล และอำเภออุทุมพรพิสัย) เป็นอำเภอที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเคยเสด็จพระราชดำเนินทางรถไฟเยี่ยมพสกนิกรเมื่อครั้งอดีต เป็นอำเภอที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ มีอำเภอที่แยกจากอำเภออุทุมพรพิสัยไปแล้ว 4 อำเภอ คือ อำเภอห้วยทับทัน อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอเมืองจันทร์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และอำเภออุทุมพรพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออู่ทอง

อำเภออู่ทอง เป็นอำเภอที่อยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และอำเภออู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยปราสาทหินในสมัยอาณาจักรขอมที่ใหญ่โตและงดงาม สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 เพื่อใช้.เป็นเทวสถานของศาสนาพราหมณ.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

ปราสาทพนมรุ้ง เมื่อมองจากทางขึ้นด้านหน้า ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ ปัจจุบัน ปราสาทหินพนมรุ้งกำลังอยู่ในเกณฑ์กำลังพิจารณาเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกับ ปราสาทหินในกลุ่มราชมรรคา ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ และถือเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย ตัวปราสาทหินพนมรุ้ง ความสวยงามของปราสาท.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

ปรางค์ประธาน โบราณสถานหมายเลข 1 อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำแควน้อยทางทิศเหนือในเขตตำบลสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี แวดล้อมด้วยทิวเขาเป็นแนวยาวอยู่โดยรอบ ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กำแพงเมืองก่อด้วยศิลาแลง กว้างประมาณ 800 เมตร หมายถึงส่วนกว้างของเมือง ยาวประมาณ 850 เมตร และกำแพงสูง 7 เมตร มีประตูเข้าออก 4 ด้าน มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ ภายในเมืองมีสระน้ำ 6 สร.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิขแมร์

ักรวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจักรเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และจักรวรรดิขแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบันทายกเดย

ปราสาทบันทายกเดย ปราสาทบันทายกเดย (ប្រាសាទបន្ទាយក្តី; อ่านว่า บัน-ทาย-กะ-เดย) สร้างในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กลางพุทธศตวรรษที่ 18 ในศาสนาพุทธนิกายมหายาน หลังจากเดินผ่านโคปุระเข้ามาจะผ่านสะพานนาคราชก่อนเข้าสู่ปราสาท มีร่องรอยของยุคสมัยที่แตกต่างกัน 2 ยุค คือนครวัดและบายน มีลักษณะรูปแบบคล้ายปราสาทตาพรหม และปราสาทพระขรรค์ แต่มีขนาดเล็กกว่า โคปุระทั้ง 4 แห่งมีพระพักตร์ของพระอวโลกิเตศวร หันพระพักตร์ไปทั้ง 4 ทิศ เช่นเดียวกับปราสาทบายน โดยมีกำแพงล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน ทางเข้าประกอบด้วยกับโคปุระทั้ง 4 มีพื้นที่โดยรวมขนาด 800 x 400 เมตร ความมุ่งหมายในการสร้างปราสาทยังไม่แน่ชัด บันทายกเดย หมวดหมู่:ปราสาทขอม.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทบันทายกเดย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบายน

หอสูง รูปหน้าบริเวณศูนย์กลางของปราสาทหินบายน หอใจกลางปราสาทบายนที่มีจำนวนหน้ามากกว่าบริเวณอื่น รูปสลักนูนต่ำหินทราย นางอัปสรร่ายรำ ปราสาทบายน (ប្រាសាទបាយ័ន) เป็นปราสาทหินของอาณาจักรเขมร อยู่ในบริเวณของใจกลางนครธม สร้างขึ้นเป็นวัดประจำสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ก่อสร้างในราวปี พ.ศ. 1724-พ.ศ. 1763 หลังจากที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7ทรงได้ชัยชนะจากการขับไล่กองทัพอาณาจักรจามปา นับเป็นศาสนสถานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก มีความซับซ้อนทั้งในแง่โครงสร้างและความหมาย เนื่องจากผ่านความเปลี่ยนแปลงด้านศาสนาและความเชื่อมาตั้งแต่คราวนับถือเทพเจ้าฮินดู และพุทธศาสนา อาคารมีลักษณะพิเศษ เนื่องจากส่วนของหอเป็นรูปหน้าหันสี่ทิศ จำนวน 49 หอ ปัจจุบันคงเหลือเพียง 37 หอ ลักษณะโดยทั่วไปจะมี 4 หน้า 4 ทิศ แต่บางหออาจมี 3 หรือ 2 แต่บริเวณศูนย์กลางของกลุ่มอาคาร จะมีหลายหน้า ซึ่งนักท่องเที่ยวมักจะพยายามนับว่ามีกี่หน้า ลักษณทางสถาปัตยกรรมของบายนก็เช่นเดียวกับเรื่องความเชื่อ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงมาในหลาย ๆ สมัย กษัตริย์ในยุคหลัง ๆ พบว่าเป็นการง่ายกว่าที่จะปรับปรุงวัดแห่งนี้ แทนที่จะรื้อสร้างใหม่เช่นที่ทำกัน และใช้เป็นวัดประจำสมัยต่อเนื่องกันม.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทบายน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทช่างปี่

ปราสาทช่างปี่ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทช่างปี่ เป็นอโรคยศาล หรืออโรคยศาลา หรือโรงพยาบาล หนึ่งในจำนวน 102 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโบราณ โปรดให้สร้างขึ้น ตั้งอยู่ที่บ้านช่างปี่ ตำบลช่างปี่ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 18 มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยนผืนผ้า ก่อด้วยศิลาแลง และหินทราย ตั้งแต่ปี 2553 กรมศิลปากร ได้ทำการบูรณะปราสาทช่างปี่ พบโปราณวัตถุจำนวนมา ส่วนหนึ่งนำไปเก็บรักษาไว้ (แต่ยังไม่ได้จัดแสดง: พฤษภาคม 2555) ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ อีกส่วนหนึ่งเก็บรักษาไว้ที่วัดบ้านช่างปี.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทช่างปี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านบุ

ปราสาทบ้านบุ ปราสาทบ้านบุ ตั้งอยู่ภายในเขตโรงเรียนบ้านบุวิทยาสรรค์ ตำบลจรเข้มาก อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นโบราณสถานขนาดเล็กหลังเดียว ก่อสร้างด้วยศิลาแลง มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปราสาทหลังนี้จัดเป็นอยู่ในอยู่ศาสนสถานประจำที่พักคนเดินทาง 1 ใน 17 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโปรดให้สร้างขึ้น จากเมืองพระนครหลวงมายังเมืองพิมายตามที่ปรากฏในศิลาจารึกปราสาทพระขรรค์ มีอาคารที่เป็นห้องครรภคฤหะหรือบ้านมีไฟหลังเดี่ยว ตัวอาคารสร้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายกฐานสูงจากพื้นดิน ทอดตัวแนวออก-ตก สร้างด้วยศิลาแลง มีประตูเข้าออกสองทางคือทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ทางทิศใต้ของตัวปราสาทมีกรอบหน้าต่าง 5 บาน กรอบประตูและหน้าต่างสร้างด้วยหินทรายสีส้มอมเหลือง ต้นปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทบ้านบุ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทบ้านสมอ

ปรางค์ประธานปราสาทบ้านสมอ จังหวัดศรีสะเกษ ทับหลังที่ยังสลักไม่เสร็จของปรางค์ประธานปราสาทบ้านสมอ จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทบ้านทะมอ หรือ ปราสาทบ้านทามจาน เป็นอโรคยศาล หรืออโรคยศาลา หรือโรงพยาบาล หนึ่งในจำนวน 102 แห่ง ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโบราณ โปรดให้สร้างขึ้น แต่สร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 18 หลังสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรางค์ประธานก่อด้วยศิลาแลงเช่นเดียวกับอโรคยศาลแห่งอื่นๆ ปรากฏทับหลังที่ยังแกะสลัยลวดลายไม่เสร็จประดับอยู่ที่ซุ้มประตูด้านทิศใต้ ด้านหน้าทางทิศตะวันออกมีบายราย หรือสระน้ำโบราณขนาดใหญ่อยู่ ปราสาทพึ่งได้รับการขุดแต่งแล้ว แต่ยังไม่ได้รับประกอบส่วนประกอบอื่น เช่น กำแพง เรือนยอดปราสาท (ข้อมูล มิถุนายน 2553).

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทบ้านสมอ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระกาฬ

ปราสาทพระกาฬ ปราสาทพระกาฬ () ตั้งอยู่ที่ เมืองพระนคร ประเทศกัมพูชา เป็นวัดในพุทธศาสนา สร้างขึ้นในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 ภายใต้การปกครองของ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ ปราสาทนาคพัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทพระกาฬ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระขรรค์

ต้นไม้ใหญ่ที่ขึ้นคลุมอาคารปราสาทพระขรรค์ แบบจากทีมงานอนุรักษ์อาคารปราสาทพระขรรค์ แสดงการทรุดตัวของปราสาท รูปสลักนูนต่ำที่ถูกแก้ไขจากรูปพระพุทธเป็นรูปฤๅษี ปราสาทพระขรรค์ (ប្រាសាទព្រះខ័ន ปราสาทเปรี๊ยะคัน) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1734 เป็นปราสาทหินในยุคท้าย ๆ ของอาณาจักรเขมร เป็นพุทธสถานสมัยบายน พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงสร้างอุทิศถวายแด่พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2 ซึ่งเป็นพระราชบิดา ปรากฏเจดีย์ทรงระฆังคว่ำขนาดเล็กจำหลักด้วยศิลาทรายตั้งอยู่ภายในปราสาทองค์หนึ่ง ซึ่งเชื่อว่าเป็นที่เก็บอัฐิของพระราชบิดาของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาทพระขรรค์เป็นศาสนสถานที่ล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง ตัวอาคารมีลักษณะเด่นที่การก่อสร้างด้วยศิลา 2 ชั้น โดยใช้เสาหินทรายกลมขนาดใหญ่รับน้ำหนักโครงสร้างและคาน ที่บานประตูแต่ละปราสาท มีรูปสลักอสูรเป็นคู่ๆ ยืนถือกระบองเสมือนคอยพิทักษ์ดูแลศาสนสถานแห่งนี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า ภาพพระพุทธรูปมักถูกทำลายหรือแก้ไข คงเหลือแต่ภาพจำหลักนูนต่ำของฤๅษี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาพฤๅษีกำลังนั่งบำเพ็ญพรตในท่า "โยคาสนะ" (นั่งชันเข่าและไขว้เท้า) สลักอยู่ตามผนังหรือเสาภายใต้ซุ้มเรือนแก้ว นอกจากนี้ จารึกที่ปราสาทพระขรรค์ยังกล่าวถึงการสร้าง "ธรรมศาลา" (ที่พักคนเดินทาง) และ "อโรคยศาล" (โรงพยาบาล) ตามเส้นทางจากนครธมไปยังเมืองต่าง ๆ รอบราชอาณาจักร และจารึกยังกล่าวถึงการสร้างรูปเคารพ เพื่อประดิษฐานยังหัวเมืองต่างๆ ซึ่งแสดงถึงความใส่ใจในทุกข์สุขของราษฎรและความศรัทธาในศาสนาของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทพระขรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตาควาย

ปราสาทตาควาย หรือปราสาทตาวาย หรือในภาษาเขมรเรียกว่า ปราสาทกรอเบย (ប្រាសាទ​តា​ក្របី​ บฺราสาท​ตา​กฺรบี​) ตั้งอยู่บริเวณช่องตาควาย ในเขตบ้านไทยนิยมพัฒนา หมู่ 17 ตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหินศิลาแลง ตั้งทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทตาเมือนธม ห่างไปประมาณ 12 กิโลเมตร ปราสาทตาควายตั้งอยู่บนสันเขาห่างจากหน้าผาสูงประมาณ 10 เมตร ของเทือกเขาพนมดงรัก เป็นปราสาทจตุรมุข ตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ผังของปราสาทเป็นรูปกากบาท ส่วนฐานต่ำ ส่วนล่างสุดก่อด้วยศิลาแลง ส่วนบนก่อด้วยศิลาทรายทั้งหมด หลังคาห้องครรภคฤหะ ก่อเป็นทรงพุ่มยอดปรางค์ ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป 5 ชั้น ส่วนหลังคามุขก่อเป็นรูปประทุน จรดหน้าบันทั้ง 4 ด้าน ภายในห้องมีประติมากรรม ลักษณะคล้ายสวายยัมภูวลึงค์ 1 ชิ้น นักประวัติศาสตร์คาดการณ์จากรูปทรงของตัวปราสาท ว่าปราสาทนี้น่าจะสร้างในช่วงปลายสมัยนครวัด ต่อตอนต้นสมัยบายน ระหว่างรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาทตาวายตั้งอยู่บนพื้นที่ค่อนข้างห่างไกล ต้องเดินเท้าเป็นระยะ 3-4 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทตาควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทตาเมือนโต๊ด

ปราสาทตาเมือนโต๊ด ปราสาทตาเมือนโต๊ด (​ប្រាសាទតាមាន់តូច. ตาม็วนโตจ - ตาไก่เล็ก) ตั้งอยู่ในช่องเขาตาเมือน (หรือช่องเขาตาเมียง) เทือกเขาพนมดงรัก ในเขตบ้านหนองคันนาสามัคคี หมู่ 8 ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ เป็นปราสาทหลังหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน ซึ่งประกอบด้วยปราสาทหินสามหลัง เรียงลำดับจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ ปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทตาเมือน ปราสาทตาเมือนโต๊ดอยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนธมไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 750 เมตร และอยู่ห่างจากปราสาทตาเมือนไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 390 เมตร ก่อด้วยศิลาแลง มีกำแพงล้อมรอบและมีสระน้ำขนาดเล็กอยู่ทางทิศเหนือหนึ่งสระ เชื่อกันว่าปราสาทแห่งนี้เป็นอโรคยศาลหรือสถานรักษาพยาบาลของชุมชนหรือตามรายทางที่เป็นเส้นทางคมนาคม ซึ่งนิยมสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทตาเมือนโต๊ด · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทนางรำ

ปราสาทนางรำ ปราสาทนางรำ ตั้งอยู่ที่บ้านนางรำ ตำบลประทาย อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา สร้างขึ้นเพื่อเป็นอโรคยาศาลาในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดนครราชสีมา หมวดหมู่:ปราสาทขอม หมวดหมู่:ปราสาทหินในไทย หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดนครราชสีมา.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปราสาทนางรำ · ดูเพิ่มเติม »

ปรางค์กู่ จังหวัดชัยภูมิ

ระปรางค์กู่ เป็นโบราณสถาน ตั้งอยู่ที่ ถนนบรรณาการ บ้านหนองบัว ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีฐานสี่เหลี่ยม สร้างด้วยศิลาแลง วางซ้อนกันจากฐานถึงยอด ภายในบรรจุพระพุทธรูปดินเผา เชื่อกันว่าเป็นอโรยาศาล (โรงพยาบาล) ในสมัยก่อน.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปรางค์กู่ จังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ปรางค์กู่ จังหวัดร้อยเอ็ด

ปรางค์กู่ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ปราสาทปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ดูที่ ปราสาทปรางค์กู่ ปรางค์กู่ เป็นปราสาทขอม ตั้งอยู่ที่อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด สร้างด้วยศิลาแลง ปรางค์ประธาน มีกำแพงล้อมรอบ ที่มีซุ้มประตูทางเข้าหรือโคปุระอยู่ด้านหน้า มีอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือบรรณาลัย มีสระน้ำ กรุด้วยศิลาแลง พ.ศ. 2534 กรมศิลปากรได้บูรณะ ค้นพบทับหลังที่ปรางค์ประธาน สลักเป็นรูปคนขี่หลังช้าง มีความหมายว่า พระอินทร์ทรง (แปลว่า ขี่) ช้างเอราวัณ และพบเสา กรอบประตูทำด้วยศิลาแลง และศิวลึงค์ขนาดใหญ่ สรุปได้ว่า ปรางค์กู่ เป็นสถาปัตยกรรมแบบบาปวน ในลัทธิไศวนิกาย รูปแบบของอาคารอโรคยาศาล สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สร้างในพุทธศตวรรษที่ 18 กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนปรางค์กู่เป็นโบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 172 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 หมวดหมู่:ปราสาทขอม หมวดหมู่:จังหวัดร้อยเอ็ด หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในพุทธศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:ปราสาทหินในไทย.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และปรางค์กู่ จังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และนครวัด · ดูเพิ่มเติม »

นครธม

อวโลกิเตศวร ที่ประตูด้านใต้ ประตูทางเข้านครธมด้านใต้ นครธม (អង្គរធំ) เป็นเมืองหลวงแห่งสุดท้ายและเมืองที่เข้มแข็งที่สุดของอาณาจักรขะแมร์ สถาปนาขึ้นในปลายคริสต์ศวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ 9 ตารางกิโลเมตร อยู่ทางทิศเหนือของ นครวัด ภายในเมืองมีสิ่งก่อสร้างมากมายนับแต่สมัยแรกๆ และที่สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และรัชทายาท ใจกลางพระนครเป็นปราสาทหลักของพระเจ้าชัยวรมัน เรียกว่า ปราสาทบายน และมีพื้นที่สำคัญอื่นๆ รายล้อมพื้นที่ชัยภูมิถัดไปทางเหนือ จุดเด่นที่สุดคือทางเข้าด้านใต้ ที่มีลักษณะเป็นหน้า 4 หน้า ก่อนจะเข้าสู่บริเวณนี้ จะเป็นแถวของยักษ์ (อสูร) ทางด้านขวา และเทวดาทางด้านซ้าย เรียงรายแบกพญานาคอยู่สองข้างสะพาน เมื่อเข้าสู่ใจกลางนครธมจะพบสิ่งก่อสร้างต่างๆ บริเวณประตูด้านใต้นี้ได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูไว้ได้ดีกว่าบริเวณอื่นๆ อีก 3 ด้าน.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และนครธม · ดูเพิ่มเติม »

เสียมราฐ (เมือง)

ียมราฐ หรือชื่อท้องถิ่นว่า เสียมเรียบ (សៀមរាប) เป็นเมืองในประเทศกัมพูชา มีฐานะเป็นเมืองเอกของจังหวัดเสียมราฐ (เทียบได้กับอำเภอเมืองของจังหวัดในประเทศไทย) มีประชากรประมาณ 171,800 คน เมืองเสียมราฐเป็นที่รู้จักกันดีเนื่องจากตั้งอยู่ใกล้นครวัด นครธม และปราสาทขอมอื่น ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเมืองพระนคร แหล่งมรดกโลกของกัมพู.

ใหม่!!: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7และเสียมราฐ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ชัยวรมันที่ 7

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »