โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ดัชนี พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

127 ความสัมพันธ์: บริติชอเมริกาชาร์ลอตต์ชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ชาลส์ วัตสัน-เว็นท์เวิร์ธ มาร์ควิสที่ 2 แห่งร็อกกิงแฮมพ.ศ. 2281พ.ศ. 2310พ.ศ. 2324พ.ศ. 2325พ.ศ. 2336พ.ศ. 2337พ.ศ. 2338พ.ศ. 2339พ.ศ. 2340พ.ศ. 2341พ.ศ. 2342พ.ศ. 2343พ.ศ. 2344พ.ศ. 2345พ.ศ. 2346พ.ศ. 2347พ.ศ. 2348พ.ศ. 2349พ.ศ. 2350พ.ศ. 2351พ.ศ. 2363พระราชบัญญัติผ่อนปรนการจำกัดสิทธิชาวโรมันคาทอลิก ค.ศ. 1791พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)พระราชพิธีพัชราภิเษกพระราชวังบักกิงแฮมพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสมาเรียแห่งเท็คมงกุฎพระราชินีอเดลเลดมงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดม้าลายรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูลรัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ครัฐนิวบรันสวิก...ราชกุมารีราชวงศ์สหราชอาณาจักรราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริการายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักรรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมวิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์วิลเลียม พิตต์ เอิร์ลแห่งแชแทมวิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สถาปัตยกรรมจอร์เจียนสงครามนโปเลียนสงครามเจ็ดปีสเปนเซอร์ เพอร์ซิวัลหลุยเซอ อูลริเคอแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนออกัสตัส ฟิทซ์รอย ดยุกที่ 3 แห่งกราฟตันอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์จอร์จ วอชิงตันจอร์จ เกรนวิลล์จอร์จทาวน์ (อัสเซนชัน)จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์จักรวรรดิออสเตรียจุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ธงชาติศรีลังกาทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิลดยุกแห่งคอร์นวอลล์ดยุกแห่งซัสเซกซ์ดยุกแห่งแคลเรนซ์ดยุกแห่งเคมบริดจ์คริสต์มาสความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิลคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกาตระกูลเอสเตปฏิทินคงที่สากลประวัติศาสตร์อังกฤษแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กแซฟไฟร์สจวตโยฮันน์ โซฟฟานีโจชัว เรย์โนลส์โซเฟียแห่งนัสเซาเฟรเดอริก นอร์ท เอิร์ลที่ 2 แห่งกิลฟอร์ดเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอทเอ็ดมันด์ เบิร์กเฮนรี แอดดิงตัน ไวเคานต์ซิดมัธที่ 1เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานีเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์นเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารีเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทาเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักรเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งไอร์แลนด์เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์4 มิถุนายน ขยายดัชนี (77 มากกว่า) »

บริติชอเมริกา

อาณานิคมบริติชอเมริกา หมายถึง ดินแดนในอาณัติของอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ (รวมหมู่เกาะเบอร์มิวดา), อเมริกากลาง, กายอานา และ หมู่เกาะแคริบเบียน ระหว่างปี 1607 ถึง 1783 คำว่า บริติชอเมริกา ถูกใช้อยู่จนกระทั่งสิบสามอาณานิคมทำสงครามแยกตัวออกเป็นอิสระ.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและบริติชอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ลอตต์

ร์ลอตต์ (อังกฤษ: Charlotte, North Carolina) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐนอร์ทแคโรไลนา และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของสหรัฐอเมริกา ในปี 2008 มีประชากรประมาณ 671,588 คน ชาวเมืองชาร์ลอตต์เรียกว่า "Charlottean" ชื่อเมืองชาร์ลอตต์ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแด่ สมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์แห่งสหราชอาณาจักร พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและชาร์ลอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์

ซฟี ชาร์ลอตต์ ฟอน เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (Sophie Charlotte von Mecklenburg-Strelitz) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ พระนางเป็นคู่อภิเษกสมรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร ทำให้พระนางมียศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์หลังการสมรสในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ วัตสัน-เว็นท์เวิร์ธ มาร์ควิสที่ 2 แห่งร็อกกิงแฮม

ลส์ วัตสัน-เว็นท์เวิร์ธ มาสวิสที่ 2 แห่งร็อกกิงแฮม (Charles Watson-Wentworth, 2nd Marquess of Rockingham) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษ เขาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองวาระ แต่ละวาระดำรงตำแหน่งสั้นๆ เนื่องจากเป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาสั้นๆ จึงไม่ได้มีผลงานโดดเด่นในตำแหน่งนี้ซักเท่าไหร่ เขายังเป็นผู้อุปถัมภ์และผู้นำของของพรรควิก.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและชาลส์ วัตสัน-เว็นท์เวิร์ธ มาร์ควิสที่ 2 แห่งร็อกกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2281

ทธศักราช 2281 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2281 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2310

ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2310 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2337 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2339

ทธศักราช 2339 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1796 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2339 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2340

ทธศักราช 2340 ตรงกับคริสต์ศักราช 1797 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2340 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2345 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2346

ทธศักราช 2346 ตรงกับคริสต์ศักราช 1803 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2346 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2348

ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2348 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2349

ทธศักราช 2349 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2349 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2350

ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2350 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2363 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติผ่อนปรนการจำกัดสิทธิชาวโรมันคาทอลิก ค.ศ. 1791

ระราชบัญญัติว่าด้วยการผ่อนปรนสิทธิของผู้เป็นโรมันคาทอลิก..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชบัญญัติผ่อนปรนการจำกัดสิทธิชาวโรมันคาทอลิก ค.ศ. 1791 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)

ต่อไปนี้คือรายละเอียดวันที่ และสถานที่ที่จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรีย์ และสมเด็จพระราชินีอัครมเหสี แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ รวมทั้งสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1609 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้จะจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสท์มินสเตอร์เสมอ เว้นแต่กรณีนอกเหนือจากนั้นจะหมายเหตุไว้.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพัชราภิเษก

ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีพัชราภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบักกิงแฮม

ระราชวังบักกิงแฮม (Buckingham Palace) เดิมชื่อ คฤหาสน์บักกิงแฮม เป็นพระราชวังที่เป็นที่ประทับเป็นทางการของราชวงศ์อังกฤษตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักรเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับการเลี้ยงรับรองของรัฐและยังเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวสำคัญที่หนึ่งของกรุงลอนดอน และยังเป็นที่รวมพลังใจทั้งในการฉลองและในยามคับขันของชาวอังกฤษ พระราชวังบักกิงแฮมแต่เดิมชื่อ “คฤหาสน์บักกิงแฮม” (Buckingham House) สิ่งก่อสร้างเดิมเป็นคฤหาสน์ที่สร้างสำหรับจอห์น เชฟฟิลด์ ดยุคแห่งบักกิงแฮมในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังบักกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 สมเด็จพระราชินีชาร์ล็อต พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 (Descendants of King George III) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มต้นจากการอภิเษกสมรสของพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (จอร์จ วิลเลียม เฟรเดริค; 4 มิถุนายน พ.ศ. 2281 - 29 มกราคม พ.ศ. 2363 เสวยราชสมบัติ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2303 สืบต่อจากพระเจ้าจอร์จที่ 2 พระอัยกา) พระโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก หลุยส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-ก็อตธา ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2304 ณ พระราชวังเซนต์เจมส์ กรุงลอนดอน กับ เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (โซเฟีย ชาร์ล็อต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2287 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2361) และมีพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 15 พระองค์ พระราชนัดดา 8 พระองค์ และพระราชปนัดดา 17 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสที่สำคัญในพระเจ้าจอร์จที่ 3 ได้แก่ พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร และพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์ ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญ ได้แก่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮันโนเฟอร์ อีกทั้งยังมีพระราชปนัดดาที่สำคัญคือ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าชายแอนสท์ เอากุสท์ มกุฎราชกุมารแห่งฮันโนเฟอร.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ. 1824) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักว่า "ผู้ปรารถนา" (le Désiré) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์บูร์บงผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส (Dom João VI de Portugal, ออกเสียง) มีพระนามเต็มว่า ฌูเอา มารีอา ฌูเซ ฟรังซิชกู ชาวีเอร์ ดึ เปาลา ลูอิช อังตอนีอู ดูมิงกุช ราฟาเอล ดึ บรากังซา (João Maria José Francisco Xavier de Paula Luís António Domingos Rafael de Bragança; 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2310 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2369) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่

ระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ (George II of Great Britain) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร (George IV of the United Kingdom หรือ George Augustus Frederick) (12 สิงหาคม ค.ศ. 1762 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1830) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์ฮาโนเวอร์ของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และพระเจ้าแผ่นดินแห่งฮาโนเวอร์ แห่งราชอาณาจักรฮาโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก (Christian VII of Denmark) (29 มกราคม ค.ศ. 1749 - 12/13 มีนาคม ค.ศ. 1808) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อพระชนมายุ 17 พรรษาในปี ค.ศ. 1766 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1808 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1749 ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก และ หลุยส์แห่งเกรตบริเตนพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ และทรงเสกสมรสกับคาโรไลน์ มาทิลดาแห่งเกรตบริเตนพระขนิษฐาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1766 พระองค์เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเฟรเดริคที่ 6 พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12/13 มีนาคม ค.ศ. 1808 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์

แอนสท์ เอากุสท์ (Ernest Augustus) เป็นเจ้าจากราชวงศ์อังกฤษโดยเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร โดยทรงเป็น ดยุกแห่งคัมบาลันด์และสแตรธเอิร์น ต่อมาเมื่อพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ผู้เป็นพระเชษฐาได้เสด็จสวรรคต พระองค์จึงได้รับเลือกให้สืบราชบัลลังก์ฮันโนเฟอร์ต่อจากพระเชษฐา การที่พระองค์ได้ขึ้นครองบัลลังก์ฮันโนเฟอร์หมายความว่าราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ได้กลายเป็นรัฐอิสระที่ไม่ขึ้นต่อกษัตริย์แห่งอังกฤษ หมวดหมู่:ราชวงศ์อังกฤษ หมวดหมู่:ดยุกแห่งบราวนชไวก์-ลืนเนอบวร์ก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ หมวดหมู่:ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากเวสต์มินสเตอร์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งคัมบาลันด์ หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์ หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 (28 มกราคม พ.ศ. 2311 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก (13 มีนาคม พ.ศ. 2351 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382)และพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นพระขนิษฐาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น พระประมุขสูงสุดที่ทรงภูมิธรรม (An enlightened despot) ในยุคเรืองปัญญา คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระผู้เป็นเจ้าและความยุติธรรม (Gud og den retfærdige sag).

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1327 ถึงปี ค.ศ. 1377 พระองค์นับเป็นกษัตริย์อังกฤษผู้ประสบความสำเร็จที่สุดพระองค์หนึ่งในยุคกลาง โดยทรงฟื้นฟูความมั่นคงของราชบัลลังก์ หลังจากที่เสื่อมโทรมลงไปมากในรัชสมัยของพระราชบิดา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และทรงเป็นผู้ที่ทำให้ราชอาณาจักรอังกฤษเป็นรัฐที่มีอำนาจทางทหารมากที่สุดในยุโรป และเป็นรัชสมัยที่มีการวิวัฒนาการทางการปกครองทางนิติบัญญัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิวัฒนาการของระบบรัฐสภา แต่ในสมัยเดียวกันนี้พระองค์ก็ทรงต้องเผชิญกับความหายนะจากกาฬโรคระบาดในยุโรป พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงครองราชย์เป็นเวลานานถึง 50 ปีซึ่งไม่มีพระเจ้าแผ่นดินองค์ใดที่ครองราชย์นานเช่นนั้นตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 และต่อจากนั้นก็ไม่มีพระองค์ใดจนมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ในฐานะกษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุได้เพียง 14 พรรษา หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 พระราชบิดา ทรงถูกถอดจากการเป็นกษัตริย์ เมื่อพระชนมายุได้ 17 พรรษา พระองค์ก็ทรงเป็นผู้นำในรัฐประหารโค่นล้มโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 1 ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และทรงเริ่มครองราชย์ด้วยพระองค์เอง หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ก็ทรงประกาศอ้างสิทธิ์ของพระองค์ว่าเป็นผู้สืบทอดอันชอบธรรมต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

การ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน (Doña Carlota Joaquina; 25 เมษายน พ.ศ. 2318 - 7 มกราคม พ.ศ. 2373) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งสเปนเมื่อครั้งประสูติและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เป็นพระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนกับเจ้าหญิงมาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา และพระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเก.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระราชินีอเดลเลด

มงกุฎพระราชินีอเดลเลด (Crown of Queen Adelaide) คือมงกุฎพระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชินีอเดลเลด พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 มงกุฎองค์นี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปีค.ศ. 1831 และหลังจากนั้นไม่นานก็ได้ถูกถอดเพชรและอัญมณีออกทั้งหมด และไม่เคยถูกสวมอีกเลยจนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระราชินีอเดลเลดทรงมงกุฎและฉลองพระองค์เต็ม.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระราชินีอเดลเลด · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1 (State Crown of George I) เป็นมงกุฎแห่งรัฐ (state crown) ที่จัดทำสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระเจ้าจอร์จที่ 1 เมื่อคราที่พระเจ้าจอร์จที่ 1 เสวยราชย์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่และ พระมหากษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ในปีค.ศ. 1714 ได้มีความคิดที่จะจัดถวายมงกุฎองค์ใหม่สำหรับใช้ในรัฐพิธีต่างๆ (เช่น รัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภา) เพื่อใช้แทนมงกุฎองค์เก่าที่สร้างในสมัยสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ในปีค.ศ. 1661 ซึ่งอยู่ในสภาพทรุดโทรมและเกินกว่าการบูรณะซ่อมแซมคืนสภาพเดิมได้ โดยรัตนชาติและแก้วต่างๆที่ประดับนั้นได้ถูกย้ายมาอยู่บนมงกุฎองค์ใหม่แทน มงกุฎองค์นี้ในปัจจุบันเหลือแต่โครงเปล่าที่ทำจากทองคำ และลูกโลกประดับบนยอดที่ทำจากอะความารีน ทั้งสองอย่างนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร '''สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่''' และมงกุฎองค์นี้อยู่บริเวณเบื้องขวาของพระอง.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรและเป็นกกุธภัณฑ์ที่สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่ง และเป็นมงกุฎที่ใช้เป็นมงกุฎราชาภิเษก (Coronation crown) อย่างเป็นทางการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ของสหราชอาณาจักร มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดมีลักษณะคล้ายกับมงกุฎองค์เดิม ซึ่งสร้างในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ม้าลาย

thumb ม้าลาย เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคี่ จัดอยู่ในสกุลม้า (Eguus) และจัดอยู่ในสกุลย่อย Hippotigris (แปลว่า ม้าลายเสือ) และDolichohippus แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด (ดูในตาราง) thumb.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและม้าลาย · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล

รอเบิร์ต แบงก์ส เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล (Robert Banks Jenkinson, 2nd Earl of Liverpool) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ เขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุน้อยที่สุดและดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดของอังกฤษ ในช่วงที่เป็นนายกรัฐมนตรี เขาใช้มาตรการอดกลั้นที่สุดในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศในช่วงการจลาจลในปี 1819 เขาร่วมมืออย่างละมุนละม่อมกับเจ้าชายจอร์จ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระเจ้าจอร์จที่ 3 ที่ไม่สามารถออกว่าราชการ ในการประคับประคองสถานการณ์ในประเทศให้ผ่านพ้นไปได้ เหตุการณ์สำคัญในช่วงที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรี คือการทำสงครามกับสหรัฐอเมริกา ในปี 1812, สงครามประสานมิตรครั้งที่หกและครั้งที่เจ็ดเพื่อต่อต้านการเรืองอำนาจของจักรวรรดิฝรั่งเศส การแถลงสรุปผลสงครามนโปเลียนในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา, การออกกฎหมายข้าวโพด, การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู และเริ่มการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก เขาเกิดในตระกูลขุนนาง เป็นบุตรของชาลล์ เจ็นคินสัน (ต่อมาได้เป็นเอิร์ลแห่งลิเวอร์พูล) ที่ปรึกษาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 มารดาของเขาคือ อเมเลีย วัตต์ บุตรสาวของวิลเลียม วัตต์ เจ้าหน้าที่อาวุโสในบริษัทอินเดียตะวันออก มารดาของเขาตายหลังเขาเกิดได้หนึ่งเดือน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์

รินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์ (Prince Edward Island) เป็นรัฐของแคนาดา ประกอบด้วยเกาะในชื่อเดียวกัน เป็นรัฐในกลุ่มรัฐภาคพื้นสมุทรและยังเป็นรัฐที่เล็กที่สุดทั้งในแง่พื้นที่และประชากร (ไม่รวมดินแดน) จากข้อมูลในปี 2009 มีผู้อยู่อาศัยอยู่ 140,402 คน มีพื้นที่ 5,683.91 ตร.กม.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค

รัฐผู้คัดเลือกฮันโนเฟอร์ (Electorate of Hanover) หรือ รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค (Kurfürstentum Braunschweig-Lüneburg) เป็นหนึ่งในรัฐผู้คัดเลือกลำดับที่เก้าของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวบรันสวิก

รัฐนิวบรันสวิก (New Brunswick) เป็นรัฐในกลุ่มรัฐภาคพื้นสมุทร 1 ใน 3 ของแคนาดา และเป็นรัฐที่ใช้สองภาษาเป็นหลัก (ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ) ในสมาพันธรัฐ มีเมืองหลวงคือเฟรดริกตัน สถิติจำนวนประชากรของรัฐในปี 2009 อยู่ที่ 748,319 โดยส่วนใหญ่พูดภาษาอังกฤษ แต่ส่วนใหญ่สามารถสื่อสารภาษาฝรั่งเศสได้ (32%) ส่วนใหญ่คืออคาเดีย ที่มาของชื่อรัฐมาจากการแปลภาษาอังกฤษและฝรั่งเศศของเมืองในบราวน์ชไวก์ ทางตอนเหนือของเยอรมนี บ้านเกิดของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐนิวบรันสวิก · ดูเพิ่มเติม »

ราชกุมารี

ราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ไม่เคยทรงดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์ โดยพระองค์ล่าสุดคือ เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อสมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย (พ.ศ. 2252 - 2312) พระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส และพระมเหสีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ มีพระประสงค์จะเลียนแบบการสถาปนาพระอิสริยยศ "Madame Royale" ให้กับพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของกษัตริย์ฝรั่งเศส พระอิสริยยศนี้จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาต (Royal Warrant) ไม่ใช่สถาปนาจากพระราชสัญญาบัตร (Letters Patent) และไม่ได้พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่โดยอัติโนมัติ หากแต่จะเป็นการแต่งตั้งจากพระราชวินิจฉัยของพระมหากษัตริย์ เจ้าหญิงแมรี (หรือ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2) (พ.ศ. 2208 - 2237) พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2193 - 2245) และเจ้าหญิงโซฟี โดโรเทอา พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าจอร์จที่ 1 และต่อมาเป็นพระราชินีมเหสีในพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทั้งสองทรงเหมาะสมกับพระอิสริยยศนี้ หากแต่ไม่ทรงได้รับพระราชทาน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระราชวังบักกิงแฮม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ราชวงศ์สหราชอาณาจักร ประกอบด้วยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรและพระประยูรญาติใกล้ชิด บางครั้งจึงแตกต่างจากคำเรียกทางการในประเทศสำหรับราชวงศ์ สมาชิกในราชวงศ์อยู่ใน หรืออภิเษกสมรสเข้ามาในราชวงศ์วินด์เซอร์ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ทรงเปลี่ยนชื่อมาจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์

ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ (Königreich Hannover) ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคมปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ภาษาเกลลิค: Ríocht na hÉireann; ภาษาอังกฤษ: Kingdom of Ireland) เป็นชื่อที่เรียกรัฐไอร์แลนด์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ (Monarchy of Ireland).

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา

รายพระนามพระมหากษัตริย์และกษัตรีพระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริก.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีประมุขมาแล้ว 12 พระองค์ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร

นี่คือรายนามบุคคลในเวลาต่างๆ ที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (ค.ศ. 1707 - 1800), สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (ค.ศ. 1801 - 1922), และสหราชอาณาจักร (ค.ศ. 1922 - ปัจจุบัน) ซึ่งจะได้สืบบัลลังก์เมื่อพระมหากษัตริย์สวรรคตหรือสละราชบัลลังก์ บรรดาผู้ที่ได้สืบราชบัลลังก์จริงๆจะเป็นตัวอักษรหนา รายนามนี้เริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

้าชายอัลเบิร์ตทรงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่เป็นบุรุษพระองค์เดียวที่เคยได้รับพระอิสริยยศ ''เจ้าชายพระราชสวามี'' แทนที่ธรรมเนียมการเลื่อนลำดับพระอิสริยยศขึ้นในชั้น ''เพียเรจ'' ตามปกติ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ คือคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์บริเตนองค์ปัจจุบัน คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ไม่ใช่พระสถานะหรือพระอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แต่หลายพระองค์ทรงมีอิทธิพลอย่างมากต่อพระมหากษัตริย์บางพระองค์ เช่น พระองค์ปัจจุบัน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ที่ทรงช่วยเสริมสร้างพระบารมีขององค์พระประมุขด้วย ตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ มีคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรแล้วทั้งสิ้น 9 พระองค์ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม เป็นรางวัลประจำปีที่จัดโดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และวิทยาการ (AMPAS) เพื่อมอบให้กับนักแสดงชายผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์

วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์ (William Pitt, the Younger; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1759 - 23 มกราคม ค.ศ. 1806) นายกรัฐมนตรีคนที่ 14 แห่งสหราชอาณาจักร ในศตวรรษที่ 19 เริ่มดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร (สมัยแรก) เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและวิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม พิตต์ เอิร์ลแห่งแชแทม

วิลเลียม พิตต์ เอิร์ลที่ 1 แห่งแชแทม (William Pitt, 1st Earl of Chatham) เป็นรัฐบุรุษและนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรควิก เป็นผู้นำพาอังกฤษเข้าสู่ยุคจักรวรรดินิยม เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่คนที่ 9 นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกเขาว่า วิลเลียม พิตต์ ผู้แก่กว่า (William Pitt the Elder) เพื่อไม่ให้สับสนกับลูกชายของเขา วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์ ซึ่งก็ได้เป็นนายกรัฐมนตรีเช่นกัน เขาเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีอังกฤษและเป็นผู้นำโดยพฤตินัยตั้งแต่ปี 1756 ถึง 1761 ในช่วงสงครามเจ็ดปี หลังจากนั้นเขาก็ได้เป็นนายกรัฐมนตรีโดยควบตำแหน่งใต้เท้าราชลัญจกร (Lord Privy Seal) ระหว่าง 1766 ถึง 1768 เขามีวาจาที่ปราดเปรื่องซึ่งสามารถชักจูงผู้คนให้คล้อยตามได้ จุดนี้เองทำให้เขาสามารถครอบงำสภาสามัญชนได้ นักประวัติศาสตร์อธิบายว่าด้วยความฉลาดและวาจาของเขานี้เองที่เป็นบ่อเกิดแห่งอำนาจ ไม่เหมือนนายกฯคนอื่นๆที่ขึ้นสู่ตำแหน่งจากการใช้เส้นสายทางครอบครัว นอกเหนือไปจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ตัวเขาเองในฐานะนักการเมืองก็มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการกล่าวโจมตีรัฐบาลต่างๆ อาทิ การฉ้อราษฎร์บังหลวงในรัฐบาลของเซอร์ วอลโพล, กระบวนการสันติภาพกับฝรั่งเศส, นโยบายแข็งกร้าวต่ออาณานิคมอเมริกา อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากที่สุด คือบทบาทผู้นำอังกฤษในช่วงสงครามเจ็ดปี ด้วยกลยุทธ์ซึ่งคิดเองและการอุทิศตนเองของเขา นำมาซึ่งชัยชนะของอังกฤษต่อฝรั่งเศส ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นให้อังกฤษเริ่มแผ่อิทธิพลปกคลุมไปทุกส่วนของโลก นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำที่ยืนหยัดต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวงอย่างจริงจัง เขามีนโยบายโฆษณาชวนเชื่อถึงความยิ่งใหญ่ของอังกฤษ และชูนโยบายขยายดินแดนและอาณานิคม และเขายังมองสเปนและฝรั่งเศสว่าเป็นคู่แข่งในการขยายดินแดน แม้ว่าเขาจะเป็นผู้นำที่ยอดเยี่ยม แต่เนื่องจากกลัวว่าสเปนจะหันไปจับมือกับฝรั่งเศส เขาจึงมีความคิดที่จะเปิดฉากโจมตีกองเรือและอาณานิคมสเปนก่อน เพื่อไม่ให้กองเรือสินค้าของสเปนเทียบท่าได้ ความคิดนี้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากทั้งเอิร์ลแห่งบิวต์และดยุกแห่งนิวคาสเซิลตลอดจนสมาชิกคณะรัฐมนตรี เขาไม่มีทางเลือกนอกจากประกาศลาออก การลาออกของเขาเป็นที่น่ายินดีสำหรับพวกรัฐมนตรีและเพื่อนร่วมงาน เนื่องจากมองว่าอำนาจและอิทธิพลที่มากล้นของเขาคุกคามต่อประเพณีการปกครองของอังกฤษ หลังจากเขาลาออก อำนาจก็ตกไปอยู่ในมือของ จอร์จ เกรนวิลล์ คนใกล้ชิดซึ่งมีศักดิ์เป็นพี่เมีย ซึ่งพิตต์ไม่พอใจเนื่องจากเห็นว่าเกรนวิลล์ควรจะออกไปพร้อมกับเขาด้วย และมองว่าการกระทำเช่นนี้ของเกรนวิลล์เป็นการทรยศเขา จนทั้งสองมองหน้ากันไม่ติดไปอีกหลายปี.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและวิลเลียม พิตต์ เอิร์ลแห่งแชแทม · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์

วิลเลียม วิลด์แฮม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์ (William Wyndham Grenville, Baron Grenville) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและวิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส (17 ธันวาคม พ.ศ. 2277 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2359,พระนามเต็ม: มารีอา ฟรานซิสกา อิซาเบล โจเซฟา แอนโทเนีย เจอร์ทรูด ริตา ฮวนนา) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟ ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมจอร์เจียน

หาสน์แบบสถาปัตยกรรมจอร์เจียนทีซอลสบรีในอังกฤษ ดันเฟิร์มไลน์ในสกอตแลนด์ที่สร้างระหว่างระหว่างปี ค.ศ. 1807 ถึง ปี ค.ศ. 1811 สถาปัตยกรรมจอร์เจียน (Georgian architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1720 จนถึง ค.ศ. 1840 ซึ่งตรงกันกับรัชสมัยพระเจ้าจอร์จสี่พระองค์ในราชวงศ์แฮโนเวอร์ที่ครองราชย์ในสหราชอาณาจักร ได้แก่ พระเจ้าจอร์จที่ 1 พระเจ้าจอร์จที่ 2 พระเจ้าจอร์จที่ 3 และพระเจ้าจอร์จที่ 4 ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1714 มาจนกระทั่งถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1830.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสถาปัตยกรรมจอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

สเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล

ปนเซอร์ เพอร์ซิวัล (Spencer Perceval) เป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล · ดูเพิ่มเติม »

หลุยเซอ อูลริเคอแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน

หลุยเซอ อูลริเคอแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน (Louisa Ulrika of Prussia; Lovisa Ulrika; Luise Ulrike) (24 กรกฎาคม ค.ศ.1720 – 16 กรฎาคม 1782) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนในฐานะพระอัครมเหสีของพระเจ้าอดอล์ฟ เฟรดริกแห่งสวีเดน และเป็นพระชนนีของพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน พระองค์ทรงมีบทบาททางด้านการเมืองของสวีเดน ณ ขณะนั้นเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและหลุยเซอ อูลริเคอแห่งปรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ออกัสตัส ฟิทซ์รอย ดยุกที่ 3 แห่งกราฟตัน

ออกัสตัส ฟิทซ์รอย ดยุกที่ 3 แห่งกราฟตัน (Augustus FitzRoy, 3rd Duke of Grafton) หรือฐานันดรเดิมคือ เอิร์ลแห่งอุสตัน (ค.ศ. 1747 ถึง 1757) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่คนที่ 10 ซึ่งเริ่มดำรงตำแหน่งในปี 1763 ด้วยวัย 33 ปี ถือว่าเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดที่เข้ารับตำแหน่ง แต่ภายหลังจากนั้นสิบห้าปี วิลเลียม พิตต์ ก็เข้ารับตำแหน่งด้วยวัยที่น้อยกว่า ด้วยวัยเพียง 24 ปี ซึ่งในช่วงที่ดยุกแห่งกราฟตันเป็นนายกรัฐมนตรีนี้ ได้ทำสงครามย่อมๆกับฝรั่งเศสเพื่อแย่งชิงคอร์ซิกา นอกจากนี้เขายังเป็นผู้นำสภาขุนนางระหว่างปี 1766–1770.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและออกัสตัส ฟิทซ์รอย ดยุกที่ 3 แห่งกราฟตัน · ดูเพิ่มเติม »

อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์

อดอลฟัส แคมบริดจ์ อดีตเจ้าชายแห่งเท็ค อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ GCB, GCVO, CMG (Adolphus Cambridge, 1st Marquess of Cambridge; พระอิสริยยศเดิม เจ้าชายอดอลฟัสแห่งเท็ค (Prince Adolphus of Teck) ต่อมาคือ ดยุคแห่งเท็ค; อดอลฟัส ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด จอร์จ ฟิลิป หลุยส์ ลาดิสเลาส์; 13 สิงหาคม พ.ศ. 2411 - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ในปี พ.ศ. 2443 พระองค์ทรงสืบทอดพระอิสริยยศต่อจากพระชนกเป็นดยุคแห่งเท็ค ภายในราชอาณาจักรเวือร์ทเท็มแบร์ก ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 พระองค์ได้ทรงสละฐานันดรศักดิ์เยอรมันทั้งหมดและทรงดำรงพระอิสริยยศใหม่เป็น มาร์ควิสแห่งแคมบร.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เกรนวิลล์

จอร์จ เกรนวิลล์ (George Grenville) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 8 แห่งบริเตนใหญ่ระหว่าง ค.ศ. 1763 - ค.ศ. 1765 เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1712 และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1770 ขณะอายุได้ 58 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2255 หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:นักการเมืองอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากวิทยาลัยอีตัน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจอร์จ เกรนวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จทาวน์ (อัสเซนชัน)

อร์จทาวน์ (Georgetown) เป็นศูนย์กลางการบริหารของเกาะอัสเซนชัน ซึ่งเป็นเกาะหนึ่งในดินแดนเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา ดินแดนของสหราชอาณาจักร มีประชากร 450 คน ไฟล์:Georgetown in the distance.jpg|จอร์จทาวน์ ในระยะไกลจากบนยอดภูเขากรีน ไฟล์:Georgetown_Old_Barracks.jpg|เดอะ โอลด์ เบอร์แร็ก, จอร์จทาวน์ ไฟล์:Georgetown Ascension3.JPG|ที่ทำการไปรษณีย์เกาะในจอร์จทาวน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจอร์จทาวน์ (อัสเซนชัน) · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์

จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์ (John Stuart, 3rd Earl of Bute) หรือ ลอร์ดเมานต์สจวต (Lord Mount Stuart) เป็นขุนนางชาวสกอตแลนด์เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ระหว่างปี ค.ศ. 1762 – ค.ศ. 1763 ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร จอห์น สจวตเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกจากสกอตแลนด์หลังจากการประกาศพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2256 หมวดหมู่:นักการเมืองอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากเอดินบะระ หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ขุนนางอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย

ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรวรรดิออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์

ลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ หรือเรียกอย่างเต็มว่า จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ (Coronet of Frederick, Prince of Wales) คือจุลมงกุฎที่จัดสร้างขึ้นในปีค.ศ. 1728 สำหรับเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารซึ่งในขณะนั้นทรงเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ ทำจากทองคำทั้งเรือน ประกอบด้วยโค้งจำนวน 1 โค้งตามประเพณี ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างโดยช่างทองแห่งราชสำนัก ซามูเอล ชาเลส ในราคา £140 5/- (หนึ่งร้อยสี่สิบปอนด์กับห้าชิลลิง) หรือในปัจจุบันมีมูลค่าประมาณ £12,000 จุลมงกุฎองค์นี้ ในเอกสารบางครั้งก็เรียกว่าเป็น "มงกุฎ" (Crown).

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติศรีลังกา

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีทอง ภายในประกอบด้วยแถบสีเขียวและสีแสดแนวตั้งที่ด้านคันธง ส่วนด้านปลายธงเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงเลือดหมู ภายในมีรูปราชสีห์ยืน เท้าหน้าข้างหนึ่งถือดาบ ที่มุมสี่เหลี่ยมแต่ละมุมนั้นมีใบโพธิ์มุมละ 1 ใบ ธงนี้เรียกชืออีกอย่างว่า "ธงราชสิห์" ("Lion Flag") ธงนี้ใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2494 เมื่อประเทศศรีลังกายังใช้ชื่อว่ารัฐอธิราชซีลอน (Dominion of Ceylon) ภายใต้ความปกครองของสหราชอาณาจักรต่อมาจึงได้มีการแก้ไขให้เป็นธงแบบปัจจุบันเมื่อประเทศศรีลังกาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและธงชาติศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิล

ทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิลอัพพอนไทน์ และดยุกแห่งนิวคาสเซิลอันเดอร์ไลน์ (อังกฤษ: Thomas Pelham-Holles, Duke of Newcastle upon Tyne and Duke of Newcastle-under-Lyne) หรือรู้จักกันในชื่อว่า ดยุกแห่งนิวคาสเซิล ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรคนที่ 4 ต่อจากเฮนรี เพลแฮม พี่ชายของเขา หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากลอนดอน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งคอร์นวอลล์

กแห่งคอร์นวอลล์ (Duke of Cornwall) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกบรรดาศักดิ์แรกที่ได้มีการสถาปนาในอังกฤษ โดยตามธรรมเนียมแล้วจะสงวนไว้เพื่อเป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะสำหรับมกุฎราชกุมารของอังกฤษในอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ดัชชีแห่งคอร์นวอลล์ (Duchy of Cornwall) ถือเป็นดัชชีแห่งแรกในอังกฤษ โดยสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งซัสเซกซ์

กแห่งซัสเซกซ์ (Duke of Sussex) เป็นบรรดาศักดิ์หนึ่งของสหราชอาณาจักร ที่พระราชทานในรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ให้แก่เจ้าชายออกัสตัส เฟรเดอริก พระราชโอรสลำดับที่ 6 โดยพระองค์ยังได้รับพระราชทานอิสริยยศเป็นบารอนอาร์กโลว์ และเอิร์ลแห่งอินเวอร์เนสส์อีกสองบรรดาศักดิ์ในเวลาเดียวกัน เจ้าชายออกัสตัส เฟรเดอริกทรงเสกสมรสสองครั้ง โดยครั้งแรกกับเลดีออกัสตา เมอร์เรย์ ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งแคลเรนซ์

กแห่งแคลเรนซ์ (Duke of Clarence) เป็นหนึ่งในบรรดาศักดิ์ดยุกของอังกฤษ โดยพระราชทานให้แก่สมาชิกที่มีอาวุโสน้อยกว่าในพระราชวงศ์ โดยมีการสถาปนาขึ้นมา 5 ครั้ง ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1362 สำหรับไลโอเนลแห่งอันทเวิร์พ พระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ต่อมาหลังจากพระองค์สิ้นพระชนม์ การสถาปนาในครั้งแรกนี้จึงหมดลง ครั้งที่สองในปี ค.ศ. 1412 สำหรับทอมัสแห่งแลงคาสเตอร์ พระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ ตำแหน่งสิ้นสุดลงหลังจากที่พระองค์สิ้นพระชนม์เช่นเดียวกัน ครั้งที่สามในปี ค.ศ. 1461 สำหรับจอร์จ แพลนแทเจเนต พระอนุชาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ ครั้งต่อไป (ในตำแหน่งดยุกแห่งแคลเร็นซ์และเซนต์แอนดรูว์) ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งแคลเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งเคมบริดจ์

กแห่งเคมบริดจ์ (Duke of Cambridge) เป็นพระอิสริยยศ (ตั้งชื่อตามเมื่องเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ) ที่ก่อนหน้าที่เคยสถาปนาให้กับสมาชิกชั้นรองในพระราชวงศ์อังกฤษ มีการพระราชทานพระอิสริยยศนี้ครั้งแรกให้กับเจ้าชายชาลส์ สจ๊วร์ต (พ.ศ. 2203-2204) พระโอรสพระองค์ใหญ่ในเจ้าฟ้าชายเจมส์ ดยุกแห่งยอร์ก (ต่อมาคือ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ) แต่กระนั้นพระองค์มิได้ทรงเคยได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศดยุกแห่งเคมบริดจ์อย่างเป็นทางการเลย บรรดาศักดิ์ "ดยุกแห่งเคมบริดจ์" ได้มีการพระราชทานครั้งล่าสุดวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2554 สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระอิสริยยศดังกล่าวแก่เจ้าชายวิลเลียม ก่อนเข้าพระราชพิธีเสกสมรสกับแคเธอรีน มิดเดิลตัน โดยมีพระอิสริยยศเต็มว่า "ดยุกแห่งเคมบริดจ์ (Duke of Cambridge) เอิร์ลแห่งสแตรธเอิร์น (Earl of Strathearn) และบารอนคาร์ริคเฟอร์กัส (Baron Carrickfergus)".

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล

ร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ (Karl Wilhelm Ferdinand) เป็นผู้ปกครองของเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล และยังเป็นรัฐบุรุษและผู้นำทหาร ในเอกสารส่วนมากของอังกฤษ มักจะกล่าวถึงพระองค์โดยเรียกย่อๆว่า ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์ พระองค์ขึ้นสืบบัลลังก์ต่อจากพระบิดาในราชรัฐเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล ซึ่งมีสถานะเป็นแคว้นหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ยังได้รับการกล่าวถึงในแง่ของเป็นผู้เชี่ยวชาญการยุทธ์ในศตวรรษที่ 18 โดยระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล

รลีเนอ อมาเลีย เอลีซาเบ็ท แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล (Caroline Amalie Elisabeth von Braunschweig-Wolfenbüttel) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ คาโรลีเนอประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1768 ที่เบราน์ชไวค์ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นพระธิดาของคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล กับเจ้าหญิงออกัสตาแห่งบริเตนใหญ่ (พระขนิษฐาองค์โตของพระเจ้าจอร์จที่ 3) คาโรลีเนอเป็นพระราชินีในพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1820 จนสิ้นพระชนม์เมื่อ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1821 ที่ลอนดอน อังกฤษ พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารเบราน์ชไว.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา

วาดคณะกรรมการร่างคำประกาศอิสรภาพยื่นร่างให้กับรัฐสภาอเมริกา โดยภาพนี้พบได้ในธนบัตรสองดอลลาร์ด้วย คำประกาศอิสรภาพแห่งสหรัฐ (United States Declaration of Independence) เป็นแถลงการณ์ซึ่งสภาภาคพื้นทวีปลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลเอสเต

ตราอาร์มของตระกูลเอสเต ตระกูลเอสเต (House of Este) เป็นตระกูลของยุโรปที่แบ่งเป็นสองสาย สายอาวุโสคือ “เวลฟ-เอสเต” หรือ ตระกูลเวลฟ และสายรอง “ฟุลค์-เอสเต” (Fulc-Este) หรือที่มาเรียกว่า “ตระกูลเอสเต” ทั้งสองตระกูลเกี่ยวข้องกับตระกูลเว็ตติน (House of Wettin) ซึ่งเป็นตระกูลเก่าที่มีอายุแปดร้อยปี สายอาวุโสของตระกูลเอสเตตระกูลเวลฟเป็นต้นตระกูลของดยุคแห่งบาวาเรีย (ค.ศ. 1070–ค.ศ. 1139, ค.ศ. 1156–ค.ศ. 1180), ดยุคแห่งดยุคแห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1138–ค.ศ. 1139, ค.ศ. 1142–ค.ศ. 1180), พระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนี (ค.ศ. 1198–ค.ศ. 1218) และที่มีอิทธิพลในประวัติศาสตร์มากที่สุด, ดยุคแห่งบรันสวิคและลืนเนอเบิร์ก (ค.ศ. 1208–ค.ศ. 1918) ผู้ต่อมาเป็น “เจ้าชายอีเล็คเตอร์แห่งฮาโนเวอร์” ซึ่งเป็นตำแหน่งสำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อสองสายของตระกูลกลับมารวมตัวกันอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและตระกูลเอสเต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินคงที่สากล

ปฏิทินคงที่สากล (International Fixed Calendar) หรือชื่ออื่นว่า แผนคอตส์เวิร์ธ แผนอีสต์แมน ปฏิทินสิบสามเดือน หรือ ปฏิทินเดือนเท่า (Cotsworth plan; Eastman plan; 13 Month calendar; Equal Month calendar) คือข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินแบบสุริยคติ ออกแบบโดยโมเสส บี.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและปฏิทินคงที่สากล · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ หรือ เจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ (Caroline Mathilde; 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2294 — 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2318) ทรงดำรงพระอิศริยยศสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แซฟไฟร์สจวต

แซฟไฟร์สจวต (Stewart Sapphire, Stuart Sapphire) คือแซฟไฟร์ที่เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ได้ชื่อมาจากราชวงศ์สจวตแห่งสก็อตแลนด์ ตามเจ้าของพระองค์แรก ซึ่งคือ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ แซฟไฟร์เม็ดนี้ได้ถูกนำไปประดับบนมงกุฎราชาภิเษกของพระองค์ในปีค.ศ. 1214 และต่อมาในปีค.ศ. 1296 สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษทรงอ้างสิทธิ์ครอบครองอัญมณีชิ้นนี้พร้อมกับหินแห่งสโคนในคราวที่ทรงยกทัพบุกสก็อตแลนด์ ในภายหลังจากได้ทรงครอบครองแล้ว ได้พระราชทานให้กับพระเทวัน(น้องเขย)ของพระองค์ คือ พระเจ้าเดวิดที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ ซึ่งเพื่อเป็นการตอบแทน พระองค์จึงได้พระราชทานต่อให้กับพระขนิษฐาของพระองค์ คือ มาร์โจรี บรูซ และต่อมา มาร์โจรี ได้สมรสกับวอลเตอร์ สจวตซึ่งมีบุตรซึ่งในภายหลังได้เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์สจวต คือ พระเจ้าโรเบิร์ตที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ จึงเป็นที่มาของชื่ออัญมณีนี้ว่า "แซฟไฟร์สจวต" ในช่วงสมัยสาธารณรัฐของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ในฐานะของ "เจ้าผู้พิทักษ์" ได้ให้ขายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ทั้งหมด และต่อมาภายหลังการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษขึ้นใหม่ แซฟไฟร์เม็ดนี้ได้กลับมาสู่ความครอบครองของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ซึ่งแซฟไฟร์นี้ได้ถูกบันทึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของเรลิกของราชวงศ์สจวตที่ทรงนำไปที่ฝรั่งเศสเพื่อลี้ภัยด้วย ภายหลังจากเสด็จสวรรคตแล้ว ได้ตกทอดถึงพระโอรสองค์ใหญ่ของพระองค์ เจมส์ สจวต หรือเรียกกันว่า ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ซึ่งต่อมาได้ตกทอดให้กับบุตรคนโต คือ เฮนรี เบเนดิกท์ สจวต พระคาร์ดินัล ดยุคแห่งยอร์ค หลังจากมรณภาพแล้วได้มอบให้กับพระเจ้าจอร์จที่ 3 ในปีค.ศ. 1838 พระราชินีวิกตอเรีย ทรงให้ปรับปรุงมงกุฎอิมพีเรียลสเตตของเดิม โดยให้ประดับแซฟไฟร์เม็ดนี้ไว้บริเวณฐานของมงกุฎตรงกลาง ข้างใต้ทับทิบเจ้าชายดำ ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 6 ทรงให้สร้างมงกุฎอิมพีเรียลสเตตขึ้นใหม่ทั้งองค์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายของเดิมที่สุด โดยทรงให้ย้ายแซฟไฟร์เม็ดนี้ไว้ประดับบนมงกุฎองค์ใหม่ บริเวณฐานด้านหน้าของมงกุฎ และต่อมาเมื่อมีการค้นพบเพชรคูลลิแนน แซฟไฟร์สจวตได้ถูกย้ายไปอยู่ด้านหลังแทน เพื่อให้เพชรคูลลิแนน 2 ทรงเหลี่ยมขอบมนที่มีขนาดถึง 315 กะรัต แม้กระทั่งแซฟไฟร์นี้จะมีขนาดใหญ่กว่าปกติ แต่ความสำคัญของอัญมณีนี้มิได้อยู่ที่มูลค่า แต่มีความหมายอย่างยิ่งทางประวัติศาสตร์อันยาวนานในตัวของมันเอง.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและแซฟไฟร์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ โซฟฟานี

ันน์ โซฟฟานี (Johann Zoffany หรือ Johann Zoffani หรือ Johann Zauffelij) (13 มีนาคม ค.ศ. 1733 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1810) เป็นจิตรกรชาวเยอรมันของสมัยฟื้นฟูคลาสสิกของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ที่ทำงานเป็นจิตรกรในอังกฤษ และมีงานเขียนในสถาบันศิลปะหลายสถาบันในอังกฤษเช่นที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน และ หอศิลป์เทท โซฟฟานีเกิดที่ฟรังเฟิร์ตแต่มาทำงานในอังกฤษ และกลายเป็นช่างเขียนที่เป็นที่นิยมในราชสำนักอังกฤษ โดยเฉพาะการได้รับการโปรดปรานจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์ โซฟฟานีเขียนภาพเหมือนของทั้งสองพระองค์อย่างมีเสน่ในบรรยากาศที่ไม่เป็นทางการ — รวมทั้งภาพ “สมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์และพระราชโอรสธิดาองค์โตสองพระองค์” ที่เขียนในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและโยฮันน์ โซฟฟานี · ดูเพิ่มเติม »

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเฟียแห่งนัสเซา

สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ในปีค.ศ. 1909 พระชนมายุ 63 พรรษา โซเฟีย วิลเฮลมีน มารีอันเนอ เฮนรีเอ็ทเทอ (Sophia Wilhelmine Marianne Henriette, 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1836 - 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากนัสเซาซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่ราชวงศ์สวีเดนและนอร์เวย์ ต่อมาพระนางได้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระธิดาในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งนอสซอ และพระชายาองค์ที่สองเจ้าหญิงพอลลีน เฟรดเดอร์ริกา มาเรียแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค เป็นพระราชนัดดา (หลานยาย) ของเจ้าชายพอลแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค พระโอรสของเจ้าชายฟรีดริชที่ 1 แห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเบราน์ชไวก์ เจ้าหญิงออกัสตาเป็นพระธิดาในคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์ และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งบริเตนใหญ่ เจ้าหญิงออกัสตาเป็นพระธิดาองค์โตในเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร,เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งยอร์คและอัลบานี, เจ้าชายวิลเลียม เฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์และเอดินเบิร์ก, เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งคัมบาลันด์และสแตรธเอิร์น และเจ้าหญิงคาโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ พระชายาในพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก หมวดหมู่:ราชินีแห่งสวีเดน หมวดหมู่:บุคคลจากวีสบาเดิน หมวดหมู่:ราชินีแห่งนอร์เวย์ หมวดหมู่:ตระกูลนัสเซา-ไวล์บวร์ก.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและโซเฟียแห่งนัสเซา · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริก นอร์ท เอิร์ลที่ 2 แห่งกิลฟอร์ด

ฟรเดอริก นอร์ท เอิร์ลที่ 2 แห่งกิลฟอร์ด (Frederick North, 2nd Earl of Guilford) หรือมักรู้จักโดยลำลองว่า ท่านลอร์ดนอร์ท (Lord North) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรคทอรี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเฟรเดอริก นอร์ท เอิร์ลที่ 2 แห่งกิลฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

้าหญิงเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (พระนามเต็ม: เฟรเดอริกา หลุยส์ ไธรา วิกตอเรีย โอลกา ซิซิลี อิสซาเบล คริสตินา; กรีก: Φρειδερίκη,18 เมษายน พ.ศ. 2460 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีพอลที่ 1 แห่งกรีซ พระนางจึงมีพระยศเป็นสมเด็จพระราชินีเฟรเดอริกาแห่งกรีซ (กรีก: Βασίλισσα Φρειδερίκη των Ελλήνων).

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอท

ลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอท (Lemuel Francis Abbott) (ราว ค.ศ. 1760 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1802) เป็นจิตรกรภาพเหมือนชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แอ็บบอทมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพเหมือนของโฮราชิโอ เนลสัน ไวส์เคานท์เนลสันที่ 1 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ทำเนียบนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร และภาพเหมือนของนายทหารเรือคนสำคัญๆ ของอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แอ็บบอทผู้เกิดในแคว้นเลสเตอร์เชอร์ในอังกฤษราวปี ค.ศ. 1760 เป็นบุตรของนักบวชเลมูเอล แอ็บบอท และภรรยาแมรี แอ็บบอทมาเป็นลูกศิษย์ของฟรานซิส เฮย์แมน และพำนักอยู่ในลอนดอน แม้ว่าจะมีผลงานแสดงที่ราชสถาบันศิลปะแอ็บบอทก็ไม่เคยเป็นนักการศึกษา เมื่ออายุได้ 40 ปีแอ็บบอทก็มีอาการเสียสติและได้รับการรักษาโดยนายแพทย์ทอมัส มันโรผู้เชี่ยวชาญทางโรงประสาทแห่งโรงพยาบาลเบ็ธเล็ม นายแพทย์มันโรเป็นนายแพทย์คนเดียวกันกับนายแพทย์ที่ถวายการรักษาอาการทางประสาทของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (ค.ศ. 1738–ค.ศ. 1820) แอ็บบอทเสียชีวิตในลอนดอนเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1802.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอท · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมันด์ เบิร์ก

อ็ดมันด์ เบิร์ก (Edmund Burke) เป็นรัฐบุรุษชาวไอร์แลนด์ และยังเป็นทั้งนักปรัชญา, นักปราศรัย, นักทฤษฏีการเมือง และเป็นนักการเมืองอังกฤษสังกัดพรรควิกโดยเป็นสมาชิกสภาสามัญชน เขาเป็นที่รู้จักจากการสนับสนุนการปฏิวัติอเมริกา, การเลิกกีดกันชาวคาทอลิก, การฟ้องร้องข้าหลวงวอร์เรน ฮาสติงส์ แห่งบริษัทอินเดียตะวันออก และภายหลังจากการไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งทำให้เขาผันตัวไปเป็นผู้นำกลุ่มอนุรักษนิยมในพรรควิกซึ่งเป็นเสียงข้างน้อยในสภา ซึ่งตัวเขาเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม "วิกเก่า" (Old Whigs) ซึ่งอยู่ขั้วตรงข้ามกับฝ่ายสนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสซึ่งเรียกว่ากลุ่ม "วิกใหม่" (New Whigs) ที่นำโดยชาร์ล เจมส์ ฟ็อกซ์ เบิร์กเชื่อว่าเสรีภาพและจารีตประเพณีสามารถไปด้วยกันได้ ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งถึงขั้นนองเลือดหรือสถาปนาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขึ้นเป็นฝ่ายชนะอย่างขาดลอยชัดเจน การเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันนั้นจะนำมาซึ่งความสูญเสียไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้นเขาจึงเชื่อมั่นในวิถีแห่งการประนีประนอมมากกว่าการห้ำหั่นเอาชนะ ในขณะที่เขาต่อต้านการปฏิวัติฝรั่งเศสเขากลับสนับสนุนการปลดแอกของอเมริกาจากอังกฤษ เขาให้เหตุผลว่าเนื่องจากการปฏิวัติในฝรั่งเศสนั้นไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแสวงหาเสรีภาพและความเท่าเทียมตั้งแต่ต้น แต่เกิดจากการยุยงโดยชนชั้นนำซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปซึ่งการปกครองในระบอบเผด็จการที่เลวร้ายกว่าเดิม ในศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขาเสียชีวิตกว่าร้อยปีแล้ว เขากลายมาเป็นว่าได้รับการนับถืออย่างมากในฐานะนักปรัชญาผู้เป็นบิดาแห่งแนวคิดอนุรักษนิยมสมัยใหม.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเอ็ดมันด์ เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี แอดดิงตัน ไวเคานต์ซิดมัธที่ 1

นรี แอดดิงตัน ไวเคานต์ซิดมัธที่ 1 (Henry Addington, 1st Viscount Sidmouth) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบรัฐมนตรีคลังระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเฮนรี แอดดิงตัน ไวเคานต์ซิดมัธที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายอดอลฟัส ดยุคแห่งแคมบริดจ์ (Prince Adolphus, Duke of Cambridge; 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2317 กรกฎาคม พ.ศ. 2393) ทรงสถาปนาเป็น ดยุคแห่งแคมบริดจ์เมื่อพระชนมายุ 27 พรรษา ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงออกัสตา แห่งเฮสส์-คาสเซิล เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี

้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี (16 สิงหาคม พ.ศ. 2306 - 5 มกราคม พ.ศ. 2370) ทรงสถาปนาเป็นดยุกแห่งยอร์กและออลบานีเมื่อพระชนมายุ 21 พรรษา ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเฟรเดอริกา ชาร์ลอต แห่งปรัสเซีย เมื่อพระชนมายุ 28 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายเฟรเดอริก หลุยส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (Frederick Louis, Prince of Wales) ประสูติเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1707 เป็นสมาชิกแห่งพระราชวงศ์แฮโนเวอร์ และต่อมาพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 ทรงเป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 และพระอัยกาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งหลังจากการผ่านพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 โดยรัฐสภาแห่งอังกฤษในปีค.ศ. 1701 เจ้าชายเฟรเดริกได้กลายเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์อังกฤษทันที พระองค์เสด็จพระราชดำเนินไปประทับที่อังกฤษเป็นการถาวรภายหลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชบิดา และต่อมาได้ทรงเฉลิมพระอิสริยยศเป็น "เจ้าชายแห่งเวลส์" พระองค์สิ้นพระชนม์ก่อนจะเสวยราชย์ต่อจากพระราชบิดา อย่างไรก็ตามพระโอรสของพระองค์ (เจ้าชายจอร์จ ซึ่งต่อมาเฉลิมพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์) ได้รับการสืบทอดราชสมบัติหลังจากพระราชบิดาเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1760 เป็นสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ซึ่งครองราชย์ยาวนานตั้งแต่ค.ศ. 1760 จนถึงปีค.ศ. 1820.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น

้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น ประสูติเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 ณ วังบักกิงแฮม พระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร และพระนางชาร์ลอต ทรงได้รับการเฉลิมพระราชอิสริยยศเป็นดยุคแห่งเคนท์และสตราเธิร์น เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2344 ต่อมาได้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารี

้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารี (Charlotte, Princess Royal) ทรงเป็นเจ้าหญิงอังกฤษ ทรงอภิเษกสมรสกับกษัตริย์แห่งเวือร์ทเทมแบร์กทำให้มีพระยศเป็นพระราชีนีเวือร์ทเทมแบร์ก ประสูติเมื่อ 29 กันยายน..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์

้าหญิงชาร์ลอตต์ ออกัสตา แห่งเวลส์ (Princess Charlotte Augusta of Wales; 7 มกราคม ค.ศ. 1796 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1817) ทรงเป็นพระราชธิดาและบุตรพระองค์เดียวในเจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ (ต่อมาคือ พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร) กับเจ้าหญิงคาโรลีนแห่งเบราน์ชไวก์ หากว่าเจ้าหญิงทรงมีพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร พระอัยกาและเจ้าชายจอร์จ พระราชบิดา พระนางอาจได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ แต่พระนางสิ้นพระชนม์เสียก่อนด้วยพระชนมายุ 21 พรรษา พระราชบิดาและพระราชมารดาของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ไม่ชอบพอกันตั้งแต่ก่อนการอภิเษกสมรสและแยกกันประทับในเวลาต่อมา เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงให้เจ้าหญิงชาร์ลอตต์อยู่ภายใต้การอภิบาลของพระอภิบาลและข้าบริพาร และทรงได้รับอนุญาตให้ติดต่อเจ้าหญิงแห่งเวลส์อย่างจำกัด ผู้เสด็จออกจากประเทศ เมื่อเจ้าหญิงทรงเจริญพระชันษา พระราชบิดาของเจ้าหญิงทรงกดดันให้พระนางเสกสมรสกับวิลเลิม เจ้าชายรัชทายาทแห่งออเรนจ์ (ต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์) ทีแรกเจ้าหญิงทรงตอบรับการสู่ขอจากเจ้าชาย แต่ต่อมา พระนางทรงยกเลิกการหมั้นนี้ ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าหญิงกับพระราชบิดา และที่สุดเจ้าชายแห่งเวลส์ทรงอนุญาตให้เจ้าหญิงเสกสมรสกับเจ้าชายเลโอโปลด์แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (ต่อมาทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม) หลังทรงมีชีวิตสมรสที่มีความสุขเป็นเวลาหนึ่งปีครึ่ง เจ้าหญิงชาร์ลอตต์สิ้นพระชนม์หลังพระประสูติการพระโอรสตายคลอด การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ทำให้เกิดความโศกเศร้าเสียใจในหมู่ชาวอังกฤษเป็นจำนวนมากซึ่งได้มีการไว้ทุกข์อย่างแพร่หลาย โดยชาวอังกฤษมองพระนางในฐานะสัญลักษณ์แห่งความหวังและต่อต้านพระราชบิดาซึ่งไม่เป็นที่นิยมและพระอัยกาผู้วิปลาส เนื่องจากเจ้าหญิงทรงเป็นพระราชนัดดาที่ถูกต้องตามกฎหมายเพียงพระองค์เดียวของพระเจ้าจอร์จที่ 3 การสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงสร้างแรงกดดันให้พระโอรสของพระมหากษัตริย์ที่ยังโสดต้องเร่งแสวงพระชายา เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น พระราชโอรสองค์ที่สี่ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 ทรงมีรัชทายาทในที่สุด คือ เจ้าหญิงอเล็กซานดรินา วิกตอเรีย ผู้ประสูติหลังเจ้าหญิงชาร์ลอตต์สิ้นพระชนม์ไปแล้ว 18 เดือน.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์

้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Princess Victoria of Saxe-Coburg-Saalfeld) หรือเมื่อแรกประสูติคือ มารี ลุยส์ วิกตอรี (Marie Luise Victoire) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันผู้ทรงเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา

้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนบูร์ก (Princess Augusta of Saxe-Gotha-Altenburg) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันที่ทรงอภิเษกเข้าสู่ราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระชายาในเจ้าชายแห่งเวลส์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์

้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ (Princess Augusta of Cambridge) (ออกัสตา แคโรไลน์ ชาร์ล็อต เอลิซาเบธ แมรี โซเฟีย หลุยส์; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2365 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2459) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงอภิเษกสมรสเข้าไปอยู่ในพระราชวงศ์เม็คเล็นบูร์ก-สเตรลิตซ์ และได้ทรงเป็นแกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-สเตรลิตซ์ (HRH The Grand Duchess of Mecklenburg-Strelitz).

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2376 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2440) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่อมาพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งเท็ค (Duchess of Teck) จากการอภิเษกสมรส พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 นอกจากนั้นยังเป็นหนึ่งในบรรดาพระบรมวงศ์พระองค์แรกๆ ที่ทรงอุปถัมภ์การกุศลต่างๆ มากม.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร

้าฟ้าหญิงเบียทริซ แห่งสหราชอาณาจักร หรือพระนามเต็ม เบียทริซ แมรี วิกตอเรีย ฟีโอดอรา (ประสูติ 14 เมษายน พ.ศ. 2400 สิ้นพระชนม์ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2487) พระราชธิดาพระองค์ที่เก้าและพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต เจ้าชายพระราชสวามี.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งไอร์แลนด์

รื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งไอร์แลนด์ (The Irish Crown Jewels) ประกอบด้วยดาราประดับเพชร และดวงตราประดับเพชรสำหรับองค์ประธานแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดเฉพาะสำหรับพระมหากษัตริย์ และชั้นแกรนด์มาสเตอร์ (Grand Master) ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์เซนต์แพทริก (The Order of St. Patrick) ซึ่งได้ถูกจารกรรมไปจากปราสาทดับลินในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์

รื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ (The Most Noble Order of the Garter) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของสหราชอาณาจักร ซึ่งพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษสร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

George III of Great BritainGeorge III of the United Kingdomสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 3พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งเกรตบริเตน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »