เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้า

ดัชนี พระเจ้า

ระเจ้า อาจหมายถึง; ศาสน.

สารบัญ

  1. 108 ความสัมพันธ์: บริตนีย์ สเปียส์ชาลอมบาป 7 ประการชิคาโก บูลส์ฟราอันเจลีโกฟรานซ์ คาฟคาพระพระวิหารในกรุงเยรูซาเลมพระหฤทัยของพระเยซูพระอหุระมาซดะพระคุณพระเจ้าพระเยซูทรงรับบัพติศมาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเป็นเจ้าพลัง (สตาร์ วอร์ส)กลียุคการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีนการอุทธรณ์โดยผลการตกในบาปการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)กุญแจย่อยของโซโลมอนภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภความิชชันนารีมิโกะ คนทรงหุ่นเทวะมุสลิมมุงกูอีบารีกีอาฟรีกามนุษยนิยมแบบฆราวาสรหัสยลัทธิรังสรรค์นิยมลัทธิทรูจีซัสลัทธิทำลายรูปเคารพลัทธิขงจื๊อลานา เดล เรย์วันทาพระราชินีวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์ศาสนาคอนโตเกียวศาสนาซิกข์ศึกวิหารเทพเจ้าสวนเอเดนสุดสิ้นกลิ่นน้ำนมหุ่นยนต์ในกันดั้มดับเบิลโอหนังสืออพยพหนังสือดาเนียลหนังสือปฐมกาลหนังสือปัญญาจารย์หนังสือนางรูธห้ามทำรูปเคารพสำหรับตน... ขยายดัชนี (58 มากกว่า) »

บริตนีย์ สเปียส์

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ บริตนีย์ (อัลบั้ม) บริตนีย์ จีน สเปียส์ (Britney Jean Spears) เป็นศิลปินเพลงป็อปหญิงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ดู พระเจ้าและบริตนีย์ สเปียส์

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ดู พระเจ้าและชาลอม

บาป 7 ประการ

ป 7 ประการ (seven deadly sins) หรือบาปต้น (cardinal sins) เป็นหลักคำสอนของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิคในอดีตกาล ให้มนุษย์ไม่ทำตามสัญชาตญาณของตนมากจนเกินไป ทางศาสนาคริสต์ได้แบ่งบาปออกเป็น 2 ประเภทคือ แบบที่สามารถยกโทษให้ได้ และ แบบรุนแรง ในต้นศตวรรษที่ 14 หลักคำสอนนี้เป็นที่นิยมในหมู่ศิลปิน (หรือแม้กระทั่งในปัจจุบัน) ผลงานศิลปะมากมายที่สื่อถึงบาป 7 ประการแพร่ไปทั่ววัฒนธรรมต่างๆทั่วโลก.

ดู พระเจ้าและบาป 7 ประการ

ชิคาโก บูลส์

ก บูลส์ (Chicago Bulls) เป็นหนึ่งในทีมบาสเกตบอลที่ในการแข่งขันลีกเอ็นบีเอ เมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ.

ดู พระเจ้าและชิคาโก บูลส์

ฟราอันเจลีโก

“ฟราอันเจลีโก” โดย ลุคา ซินยอเรลลิ ภราดาทูตสวรรค์ หรือทับศัพท์ว่าฟราอันเจลีโก (Fra Angelico) เป็นสมญานามของภราดาโจวันนีแห่งฟีเอโซเล (ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ กวีโด ดี ปีเอโตร, ราว ค.ศ.

ดู พระเจ้าและฟราอันเจลีโก

ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

ดู พระเจ้าและฟรานซ์ คาฟคา

พระ

ระ อาจหมายถึง.

ดู พระเจ้าและพระ

พระวิหารในกรุงเยรูซาเลม

ระวิหารในมโนทัศน์ในหนังสือเอสเซเคียล 40-47 พระวิหารในกรุงเยรูซาเลม (Temple in Jerusalem) หรือพระวิหารศักดิ์สิทธิ์ (Holy Temple; בית המקדש (Bet HaMikdash.

ดู พระเจ้าและพระวิหารในกรุงเยรูซาเลม

พระหฤทัยของพระเยซู

'''พระหฤทัยของพระเยซู''' ความศรัทธาต่อพระหฤทัยของพระเยซู (the Sacred Heart of Jesus) เป็นการอุทิศตนรูปแบบหนึ่งของคริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกต่อพระหฤทัยของพระเยซู เพราะเชื่อว่าพระหฤทัยเป็นสัญลักษณ์ของความรักที่พระเจ้ามีต่อมนุษยชาติ การอุทิศตนรูปแบบนี้พบทั้งในกลุ่มชาวโรมันคาทอลิก ชาวแองกลิคันไฮเชิร์ช และชาวลูเทอแรน โดยเน้นถึงการที่พระหฤทัยของพระเยซูได้ทรงเมตตากรุณาและทนทุกข์ทรมานเพื่อมวลมนุษย์ เชื่อกันว่ามีผู้อุทิศตนรูปแบบนี้มาตั้งแต่สมัยกลาง เพราะเป็นช่วงที่รหัสยลัทธิในศาสนาคริสต์กำลังเป็นที่นิยม แต่รูปแบบที่แพร่หลายในปัจจุบันถือว่ามาจากการเผยแพร่ของนักบุญมาร์เกอริต-มารี อาลาก็อก นักพรตหญิงคณะแม่พระเสด็จเยี่ยม ผู้ได้เห็นนิมิตพระเยซูมาสอนให้อุทิศตนต่อพระหฤทัยของพระองค์ ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก พระหฤทัยของพระเยซูเป็นแนวความเชื่อที่ใกล้เคียงกับกิจการชดใช้ต่อพระเยซูคริสต์ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 กล่าวไว้ในพระสมณสาสน์ Miserentissimus Redemptor ว่า "เจตนามณ์ของการชดใช้บาปที่สำคัญที่สุดเป็นอันดับหนึ่งอยู่ที่คารวกิจต่อพระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซู"Miserentissimus Redemptor พระสมณสาสน์ในสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 http://www.vatican.va/holy_father/pius_xi/encyclicals/documents/hf_p-xi_enc_08051928_miserentissimus-redemptor_en.html แม้แต่บทภาวนาต่อพระพักตร์อันศักดิ์สิทธิ์ที่แพร่หลายในคริสตจักรก็อ้างอิงความศักดิ์สิทธิ์ของพระหฤทัยของพระเยซูเช่นกัน ในงานศิลปะมักแสดงรูปพระหฤทัยของพระเยซูในรูปของหัวใจที่มีไฟลุกและมีรัศมีส่องสว่างออกมา มีมงกุฎหนามล้อม มีไม้กางเขนตั้งอยู่และพระโลหิตไหนออกมา บางรูปเป็นพระหฤทัยส่องสว่างออกมาจากพระอุระของพระเยซู โดยมีพระหัตถ์ที่มีรอยแผลชี้ไปที่พระหฤทัยนั้น บาดแผลและมงกฎหนามแสดงถึงการตรึงพระเยซูที่กางเขนจนสิ้นพระชนม์ ไฟและรัศมีแสดงถึงพลังความรักของพระเจ้า ตามปฏิทินพิธีกรรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก วันสมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้าจะจัดขึ้นในวันที่ 19 หลังจากเทศกาลเพนเทคอสต์ เพนเทคอสต์ตรงกับวันอาทิตย์การสมโภชพระหฤทัยจึงตรงกับวันศุกร์เสมอ.

ดู พระเจ้าและพระหฤทัยของพระเยซู

พระอหุระมาซดะ

ทพมิถรา (ขวา) พระอหุระมาซดะราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 25-6 คือพระเจ้าตามความเชื่อในศาสนาโซโรอัสเตอร์ คำว่า มาซดะ แปลว่า ฉลาด พระเจ้าองค์นี้เป็นเทพเจ้าแห่งแสงสว่าง หรือเทพเจ้าแห่งปัญญา เป็นผู้สร้างสรรค์สิ่งดีทั้งปวง ซึ่งในเปอร์เซียโบราณนับถือเป็นเทพเจ้าสูงสุด พระเจ้าแห่งความดีจะต้องต่อสู้กับพระเจ้าแห่งความชั่ว จากการค้นคว้าเกี่ยวกับศาสนาโซโรอัสเตอร์ ทำให้เป็นที่กระจ่างชัดว่าศาสดาโซโรอัสเตอร์ได้พยายามทำการต่อสู้กับความงมงายของศาสนาของชาวอารยัน หนึ่งในนั้นก็คือการที่เขาปฏิเสธว่าตนมีส่วนร่วมในการชวนเชื่อสู่พระอหุระมาซดะ แต่ไม่มีใครทราบถึงการเปลี่ยนแปลงไปสู่การนับถือเทพเจ้าสองฝ่าย (ฝ่ายแสงสว่างกับฝ่ายความมืด) ของชาวโซโรอัสเตอร์ว่าเริ่มตั้งแต่สมัยใด ซึ่งในคัมภีร์หมวดที่ 1 ของอเวสตะ ได้ระบุไว้ว่าเทพเจ้าแห่งความชั่วต้องเผชิญหน้ากับเทพเจ้าแห่งความดีมิใช่เผชิญกับพระอหุระมาซดะซึ่งเป็นเทพเจ้าสูงสุด ในโซโรอัสเตอร์ พระอหุระมาซดะมีบริวาร 6 องค์ ซึ่งมีความสูงส่งดั่งมลาอิกะห์หรือทูตสวรรค์ตามความเชื่อในศาสนาอับราฮัม และมีการจัดกองกำลังเพื่อสู้รบกับฝ่ายอธรรม ตามความเชื่อของโซโรอัสเตอร์ โลกจนถึงปัจจุบันมี 12000 ปี เทพเจ้าแห่งความดีทำการปกครอง 3000 ปี และในช่วงเวลานี้เทพเจ้าแห่งความชั่วได้ใช้ชีวิตอยู่ในความมืด เมื่อเขาออกมาเพื่อเผชิญกับเทพเจ้าแห่งความดี เทพเจ้าแห่งความดีได้ให้เวลาเขาในการต่อสู้เป็นเวลา 9000 ปี ซึ่งเขามั่นใจว่าจะได้รับชัยชนะอย่างแน่นอน ทั้งสองฝ่ายได้เริ่มทำการสร้างสิ่งที่ดีและชั่วขึ้นบนโลกใบนี้และสู้กันด้วยวิธีนี้ จนกระทั่ง 3000 ปีผ่านไป โซโรอัสเตอร์ถูกสร้างขึ้น และทำให้กองทัพฝ่ายเทพแห่งความดีแข็งแกร่งขึ้น จนได้รับชัยชน.

ดู พระเจ้าและพระอหุระมาซดะ

พระคุณพระเจ้า

ระคุณพระเจ้า (Amazing Grace) เป็นเพลงสรรเสริญพระเจ้า ประพันธ์คำร้องโดย จอห์น นิวตัน นักบวชชาวอังกฤษ ในวันขึ้นปีใหม่ปี..

ดู พระเจ้าและพระคุณพระเจ้า

พระเยซูทรงรับบัพติศมา

''พระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง'' ของฟรันเชสโก อัลบานีสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17''Medieval art: a topical dictionary'' by Leslie Ross 1996 ISBN 978-0-313-29329-0 page 30 เหตุการณ์พระเยซูทรงรับบัพติศมา (โปรเตสแตนต์) หรือ พระเยซูทรงรับพิธีล้าง (คาทอลิก) (Baptism of Jesus) ถือเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิบัติพระภารกิจของพระเยซู เหตุการณ์นี้ถูกบันทึกในพระวรสารทั้ง 4 ฉบับ คือ มัทธิว มาระโก ลูกา และยอห์น และถือเป็นหนึ่งในห้าเหตุการณ์สำคัญในชีวิตของพระเยซู อีกสี่เหตุการณ์ที่เหลือ ได้แก่ การจำแลงพระกาย การถูกตรึงที่กางเขน การกลับคืนพระชนม์ และการเสด็จขึ้นสวรรค์Essays in New Testament interpretation by Charles Francis Digby Moule 1982 ISBN 0-521-23783-1 page 63 ยอห์นผู้ให้บัพติศมาประกาศพิธีบัพติศมาด้วยน้ำเพื่อแสดงการกลับใจและขอรับการอภัยบาปจากพระเจ้า ท่านกล่าวว่าจะมีผู้หนึ่งมาภายหลัง ผู้นั้นจะให้บัพติศมาด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์และไฟ ท่านจึงได้เตรียมหนทางขององค์พระผู้เป็นเจ้าพระองค์นั้น พระเยซูได้เสด็จไปแม่น้ำจอร์แดนและรับบัพติศมาจากยอห์นด้วย พระวรสารยังบรรยายเหตุการณ์ขณะนั้นว่าฟ้าสวรรค์ได้เปิดออก พระวิญญาณบริสุทธิ์ปรากฏรูปเหมือนนกพิราบบินลงมาเหนือพระเยซู พร้อมกับมีเสียงจากสวรรค์ประกาศว่า "ท่านเป็นบุตรที่รักของเรา เราชอบใจท่านมาก" คริสต์ศาสนิกชนส่วนมากถือว่าเหตุการณ์นี้เป็นเหตุการณ์สำคัญ และเป็นต้นกำเนิดของพิธีบัพติศมาซึ่งเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ แนวคิดบุตรบุญธรรมนิยมซึ่งศาสนาคริสต์ยุคแรกประณามว่าเป็นความเชื่อนอกรีตก็เกิดขึ้นเพราะให้ความสำคัญกับเหตุการณ์นี้ ศาสนาคริสต์ตะวันออกจัดฉลองพระเยซูทรงรับบัพติศมาในวันที่ 6 มกราคม ส่วนคริสตจักรโรมันคาทอลิก แองกลิคันคอมมิวเนียน และบางนิกายจัดการฉลองในสัปดาห์ถัดมาเรียกว่าวันฉลององค์พระผู้เป็นเจ้าทรงรับพิธีล้าง.

ดู พระเจ้าและพระเยซูทรงรับบัพติศมา

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ดู พระเจ้าและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Edward II of England) (25 เมษายน ค.ศ. 1284 – 21 กันยายน ค.ศ. 1327) พระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ดแห่งคายร์นาร์ฟอน (Edward of Caernarfon) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ.

ดู พระเจ้าและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเป็นเจ้า

ระนามพระยาห์เวห์ในภาษาฮีบรู พระเป็นเจ้า (God) หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ถือเป็นเทวดาเพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม หรือเป็นเทวดาผู้เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยมSwinburne, R.G.

ดู พระเจ้าและพระเป็นเจ้า

พลัง (สตาร์ วอร์ส)

ร์ธ เวเดอร์ และโอบีวัน เคโนบี ต่างพยายามที่จะเอาชนะอีกฝ่ายด้วยพลัง ในจักรวาลสตาร์ วอร์ส นั้น "พลัง" หมายถึงสิ่งเหนือธรรมชาติที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่งซึ่งถูกใช้โดยลัทธิเจไดและซิธ ด้วยเหตุว่ามีเพียงสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มิดิคลอเรียน เท่านั้น ที่สามารถสื่อสารกับ "พลัง" ได้ การที่บุคคลจะมี "พลัง" สถิตแข็งกล้านั้นย่อมขึ้นอยู่กับจำนวนของมิดิคลอเรียนที่อยู่ในร่างของบุคคลนั้น อาจารย์เจได โอบีวัน เคโนบี อธิบายว่า "พลัง" คือ "สนามพลังที่ถูกสร้างโดยสิ่งมีชีวิตทั้งมวล" บางสังคมหรือกลุ่มองค์กรเชื่อว่า "พลัง" เป็นสิ่งที่มีความคิดสติปัญญาราวกับเป็นพระเจ้าอย่างหนึ่ง ในขณะที่กลุ่มคนอื่นเชื่อว่า "พลัง" เป็นสิ่งที่มีอยู่เป็นธรรมดา และสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำการต่างๆ ได้ตามปรารถนา นอกจากเจไดและซิธที่นำ "พลัง" มาใช้ได้แล้ว ยังมีกลุ่มบุคคลและแนวคิดอีกมากที่สามารถใช้ประโยชน์จาก "พลัง" ได้ในรูปแบบต่างๆ กันออกไป.

ดู พระเจ้าและพลัง (สตาร์ วอร์ส)

กลียุค

กลียุค (อักษรเทวนาครี: कली युग) คือหนึ่งในช่วงเวลาในสี่ช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งอธิบายไว้ในคัมภีร์ฮินดู โดยมียุคอื่นอีกได้แก่ สัตยยุค เตรตายุค และทวาปรยุค ซึ่งทั้ง 4 ยุครวมกันเรียกว่ามหายุค กลียุคมีอายุ 432,000 ปี การตีความคัมภีร์ฮินดูว่าปัจจุบันนี้โลกอยู่ในกลียุคมีคนเชื่อมากที่สุด การตีความคัมภีร์ฮินดูแบบอื่นๆ เชื่อว่าโลกอยู่ในช่วงเริ่มทวาปรยุค โดยทั่วไปแล้วกลียุคก็คือยุคมืดเพราะผู้คนห่างเหินจากพระเจ้าอย่างถึงที่สุด ตามคติของศาสนาพราหมณ์ เมื่อโลกมาถึงกลียุค เชื่อกันว่าพระศิวะ หรือพระอิศวร จะทรงเปิดพระเนตรดวงที่อยู่กลางหน้าผากขึ้น และโลกจะถูกทำลาย เพื่อคืนสมดุลของโลกให้เกิดการสร้างโลกขึ้นใหม.

ดู พระเจ้าและกลียุค

การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน

จิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ์น้อยซิสทีน พระเจ้าสร้างอาดัม" โดยมีเกลันเจโลก่อนการปฏิสังขรณ์ พระเจ้าสร้างอาดัม" หลังจากที่ได้รับการปฏิสังขรณ์แล้ว การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน (Restoration of the Sistine Chapel frescoes) เป็นโครงการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังภายในที่สำคัญที่สุดในบรรดาโครงการบูรณะศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 โบสถ์น้อยซิสทีนนั้นสมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 ทรงให้สร้างขึ้นภายในวังพระสันตะปาปา ณ ด้านเหนือของนครรัฐวาติกัน ติดกับมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ โดยสร้างเสร็จใน..

ดู พระเจ้าและการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน

การอุทธรณ์โดยผล

การอุทธรณ์โดยผล"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ appeal ว่า "การอุทธรณ์" (Appeal to consequences, argumentum ad consequentiam, คำละตินแปลว่า การให้เหตุผลโดยผลที่จะเกิดขึ้น) เป็นการให้เหตุผลที่สรุปว่าสมมติฐาน (โดยทั่ว ๆ ไปเป็นความเชื่อ) เป็นจริงหรือไม่จริง อาศัยเพียงว่าประเด็นที่ตั้งขึ้นจะนำไปสู่ผลที่น่าพึงใจหรือไม่น่าพึงใจ การให้เหตุผลเช่นนี้อาศัย การอุทธรณ์โดยอารมณ์ (appeal to emotion) และเป็นเหตุผลวิบัติชนิดหนึ่ง เพราะว่า ความน่าพึงใจของผลไม่ได้ทำให้เหตุผลนั้นเป็นจริง นอกจากนั้นแล้ว เพราะมีการจำแนกว่า ผลนั้นน่าพึงใจหรือไม่น่าพึงใจ การให้เหตุผลเช่นนี้จะมีมุมมองที่เป็นอัตวิสัยโดยธรรมชาติ คือเป็นจริงสำหรับบางบุคคลเท่านั้น (เทียบกับเหตุผลที่ควรจะเป็นปรวิสัย คือเป็นความจริงกับทุก ๆ คน).

ดู พระเจ้าและการอุทธรณ์โดยผล

การตกในบาป

อาดัมและเอวาถูกขับจากสวนเอเดนโดยพระเจ้าหลังจากกระทำบาปกำเนิด โดย โดเม็นนิชิโน การตกในบาป (Fall of Man หรือ the Fall) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟังพระเจ้าไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ในบาปกำเนิด ในศาสนาคริสต์, มนุษย์คนแรกอาดัมและเอวาเมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงในคัมภีร์ไบเบิล แต่กล่าวถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับไล่ ในศาสนาอื่นเช่นศาสนายูดาห์, ศาสนาอิสลาม หรือ ไญยนิยม (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป ในเทววิทยาศาสนาคริสต์, “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจากบาปของอาดัมและเอวาที่เรียกว่า “บาปกำเนิด” (original sin) เช่นในคำสอนของนักบุญพอลแห่งทาซัสที่บันทึกไว้ใน จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโรม 5:12-19 และ จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 15:21-22 ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เชื่อว่าความตายของพระเยซูเป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่น ๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia).

ดู พระเจ้าและการตกในบาป

การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

นายช่างโบฮีเมีย ราวปี ค.ศ. 1350 แสดงให้เห็นอิทธิพลของไบเซนไทน์แบบอิตาลีในราชสำนักของจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ การประสูติของพระเยซู (Nativity หรือ Nativity of Jesus) เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งในศิลปะศาสนาคริสต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 องค์ประกอบของศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันคริสต์มาสตามข้อมูลในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกา และต่อมาก็มีการเพิ่มเรื่องราวจากข้อเขียนอื่น ๆ หรือเรื่องเล่าต่างๆ ศิลปะคริสต์ศาสนามักจะมีรูปเคารพของพระนางมารีย์พรหมจารีและพระกุมารเยซู งานศิลปะแบบนี้จะเรียกว่า “แม่พระและพระกุมาร” หรือ “พระนางพรหมจารีและพระกุมาร” แต่รูปนี้จะไม่รวมอยู่ในชุด “การประสูติของพระเยซู” ฉากการประสูติของพระเยซูจะมีคำบรรยายอย่างชัดเจนจากหลักฐานหลายแห่ง การกำเนิดของพระเยซูเป็นฉากที่ใช้ในการสร้างศิลปะหลายแบบทั้งทางจักษุศิลป์และประติมากรรม และศิลปะแบบอื่นๆ ในรูปของจักษุศิลป์ก็อาจจะเป็น ไอคอน, จิตรกรรมฝาผนัง, บานพับภาพ, ภาพเขียนสีน้ำมัน, หนังสือวิจิตร และ หน้าต่างประดับกระจกสี บางครั้งการแสดงภาพก็อาจจะผสมระหว่างจักษุศิลป์และประติมากรรม ที่ตั้งของภาพหรืองานศิลปะก็อาจจะเป็น ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) ศิลปะแบบอื่นๆ ก็อาจจะเป็นจุลจิตรกรรม งานแกะงาช้าง การแกะภาพบนโลงหิน การสลักบนหน้าบันเหนือประตูทางเข้าโบสถ์ หรือคานเหนือประตู หรืออาจจะเป็นรูปปั้นแบบลอยตัว รูปปั้นแบบลอยตัวของ “การประสูติของพระเยซู” มักจะทำเป็น “Creche” หรือ “Presepe” ซึ่งเรียกว่า “ฉากพระเยซูประสูติ” (Nativity scene) ซึ่งอาจจะใช้ตั้งตรงมุมใดมุมหนึ่งของโบสถ์ หน้าหรือในสถานที่สาธารณะ, บ้าน หรือกลางแจ้งเป็นการชั่วคราว ขนาดของกลุ่มรูปปั้นก็มีตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ไปจนขนาดเท่าคนจริง ที่มาของการสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” อาจจะมาจากการแสดงกลุ่มรูปปั้น ที่เรียกว่า “Tableau vivant” ที่กรุงโรม ซึ่งนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมีบทบาททำให้เป็นที่นิยมกันมากขึ้น การสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” ก็ยังเป็นที่นิยมกันถึงปัจจุบันนี้ โดยบางครั้งฉากเล็กอาจจะทำจากกระเบื้องพอร์ซิเลน (Porcelain), พลาสเตอร์, พลาสติก หรือ กระดาษ เพื่อใช้ตั้งภายในที่อยู่อาศั.

ดู พระเจ้าและการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

กุญแจย่อยของโซโลมอน

กุญแจย่อยของโซโลมอน (Lesser Key of Solomon) หรือ คลาวิคิวลา ซาโลมอนิส (Clavicula Salomonis) (คลาวิส ซาโลมอนิส หรือ กุญแจของโซโลมอน เป็นหนังสือที่มีครอบคลุมเนื้อหาเดียวกันที่มีมาก่อนหน้า) เป็นตำราเวทซึ่งไม่ปรากฏชื่อผู้แต่งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเป็นหนังสือที่แพร่หลายที่สุดในปิศาจวิทยาLemegeton Clavicula Salomonis: The Lesser Key of Solomon, Detailing the Ceremonial Art of Commanding Spirits Both Good and Evil; ed.

ดู พระเจ้าและกุญแจย่อยของโซโลมอน

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.

ดู พระเจ้าและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ภควา

วา (भगवा) หรือ ภควานฺ (भगवान्) เป็นสมัญญาของพระเจ้าในศาสนาแบบอินเดีย โดยพุทธศาสนิกชนใช้คำนี้หมายถึงพระพุทธเจ้า ชาวฮินดูลัทธิไวษณพใช้หมายถึงองค์อวตารของพระวิษณุ (เช่น พระกฤษณะ) ลัทธิไศวะใช้หมายถึงพระศิวะJames Lochtefeld (2000), "Bhagavan", The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Vol.

ดู พระเจ้าและภควา

มิชชันนารี

มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).

ดู พระเจ้าและมิชชันนารี

มิโกะ คนทรงหุ่นเทวะ

มิโกะ คนทรงหุ่นเทวะ (Destiny of Maiden Shirne) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวแฟนตาซี อิงตำนานเทพเจ้าของญี่ปุ่น ผลงานของไคชาคุ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นเอซ ตั้งแต่ปี 2547 ถึง 2548 และได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ ในเดือนตุลาคม ปี..

ดู พระเจ้าและมิโกะ คนทรงหุ่นเทวะ

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ดู พระเจ้าและมุสลิม

มุงกูอีบารีกีอาฟรีกา

มุงกูอีบารีกีอาฟรีกา (– ขอพระเจ้าทรงอวยพรแด่แอฟริกา) เป็นเพลงชาติของประเทศแทนซาเนีย เพลงนี้เป็นบทเพลงฉบับภาษาสวาฮีลี ของเพลง "นุโกซี ซิเกเล อีอาฟรีกา" ซึ่งเป็นเพลงสรรเสริญ ที่ประพันธ์โดย อีนอค ซอนตอนกา ซึ่งได้รับความนิยมโดยทั่วไป บทเพลงนี้เคยใช้เป็นเพลงชาติซิมบับเว ส่วนทำนองของเพลงนี้ก็ได้ใช้เป็นเพลงชาติแซมเบีย (มีบทร้องที่ต่างกันออกไป) และปรากฏในส่วนหนึ่งของเพลงชาติแอฟริกาใต้ด้ว.

ดู พระเจ้าและมุงกูอีบารีกีอาฟรีกา

มนุษยนิยมแบบฆราวาส

มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism; Humanism) เป็นปรัชญามนุษยนิยมแบบหนึ่งที่เน้นเหตุผล จริยธรรม และความยุติธรรมทางสังคมของมนุษย์ และปฏิเสธการใช้หลักคำสอนต้องเชื่อ คตินิยมเหนือธรรมชาติ วิทยาศาสตร์เทียม รวมถึงความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ มาเป็นพื้นฐานทางศีลธรรมและการตัดสินใจต่าง ๆ แม้มนุษยนิยมแบบฆราวาสจะเชื่อว่ามนุษย์เป็นคนดีมีจริยธรรมและศีลธรรมได้โดยไม่จำเป็นต้องมีศาสนาหรือเชื่อเรื่องพระเจ้า แต่ก็ไม่ได้มองว่ามนุษย์เป็นสิ่งชั่วร้ายหรือดีงามมาแต่กำเนิด หรือมองว่ามนุษย์เป็นสิ่งเหนือกว่าธรรมชาติ แต่เน้นความรับผิดชอบต่อมนุษย์และผลจากการตัดสินใจ มนุษยนิยมแบบฆราวาสมีมโนทัศน์พื้นฐานว่าคตินิยมใด ๆ ไม่ว่าเกี่ยวกับศาสนาหรือการเมืองจะต้องถูกตรวจสอบเสียก่อน ไม่ใช่ยอมรับหรือปฏิเสธไปโดยง่าย จึงถือว่าการแสวงหาความจริงโดยอาศัยปรัชญาและวิทยาศาสตร์เป็นหลักนั้นเป็นสารัตถะของมนุษยนิยมแบบฆราว.

ดู พระเจ้าและมนุษยนิยมแบบฆราวาส

รหัสยลัทธิ

รหัสยลัทธิ หรือลัทธิรหัสยนิยม (mysticism) คือลัทธิหรือความเชื่อที่ว่ามีรหัสยภาวะ (mystery) เป็นภาวะความจริงหรือคุณค่าบางอย่างซึ่งบุคคลจะรู้ได้ด้วยการใช้ความสามารถพิเศษเหนือกว่าการรับรู้โดยทั่วไปของมนุษย์ เช่น การเข้าฌาน การเข้าถึงพระเจ้า เป็นต้น ผู้ที่เข้าถึงรหัสยภาวะนี้ได้เรียกว่ารหัสยิก (mystic).

ดู พระเจ้าและรหัสยลัทธิ

รังสรรค์นิยม

รังสรรค์นิยม (creationism) เป็นความเชื่อทางศาสนาที่เชื่อว่า พระเจ้าได้สร้างจักรวาลและชีวิต โดยพระเจ้าในทัศนะนี้ถือว่าเป็น "ผู้สร้าง" (creator)Gunn 2004, p.

ดู พระเจ้าและรังสรรค์นิยม

ลัทธิทรูจีซัส

ลัทธิทรูจีซัส หรือ โบสถ์ทรูจีซัส (True Jesus Church - 真耶穌教會 ย่อ TJC หรือแปลว่า โบสถ์พระเยซูที่แท้จริง) คือ กลุ่มความเชื่อทางศาสนาคริสต์ ซึ่งแตกแขนงออกมาจากคริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์ ต้นสังกัดอยู่ประเทศจีน โดยกลุ่ม เพนเทโคสต์ (Pentecost) ที่มาเผยแผ่ในประเทศจีนและตั้งขึ้นที่ เมืองปักกิ่ง ประเทศจีน ในปี..

ดู พระเจ้าและลัทธิทรูจีซัส

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ดู พระเจ้าและลัทธิทำลายรูปเคารพ

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ดู พระเจ้าและลัทธิขงจื๊อ

ลานา เดล เรย์

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ ลานาเดลเรย์ (อัลบั้ม) อีลิซาเบท วูลริดจ์ แกรนต์ (Elizabeth Woolridge Grant) เกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พระเจ้าและลานา เดล เรย์

วันทาพระราชินี

“วันทาพระราชินี” (Hail Holy Queen, Salve Regina) เป็นบทภาวนาอ้อนวอนถึงพระนางมารีย์พรหมจารี พระมารดาของพระเยซู สามารถใช้ได้ตั้งแต่ตั้งแต่ช่วงทำวัตรเย็นของวันสมโภชพระตรีเอกภาพจนถึงทำวัตรบ่ายของวันเสาร์ก่อนวันอาทิตย์สัปดาห์แรกของเทศกาลเตรียมรับเสด็จ (en:Advent) และยังเป็นบทภาวนาที่ใช้สวดปิดการสวดสายประคำอีกด้วย บุญราศีแฮร์มันน์แห่งไรเชเนา นักพรตคณะเบเนดิกตินท่านหนึ่งในสมัยกลางได้แต่งบทภาวนานี้ขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระนางในช่วงวิกฤตของชีวิต บทภาวนา วันทาพระราชินี ในตอนแรกได้ถูกประพันธ์เป็นภาษาละตินเพื่อบรรยายสภาพมนุษย์ที่ต้องการความช่วยเหลือ มนุษย์ทั้งชายและหญิงกำลัง “ถอนใจคร่ำครวญ ร่ำไห้ในเหวน้ำตานี้” เขาทั้งหลายจึงร้องตะโกนเช่นเดียวกับประชากรอิสราเอล ร้องหาพระยาห์เวห์เมื่อถูกชาวอียิปต์กดขี่ข่มเหง และพระองค์ทรงตอบสนอง โดยเสด็จมาช่วยเขาให้พ้นความทุกข์ทรมาน (เทียบ อพย3:7-8) หลังจากที่ได้บรรยายสภาพมนุษย์ผู้ต้องการความช่วยเหลือแล้ว บท “วันทาพระราชินี” ไม่วอนขอพระแม่ให้ทรงฟังเสียงร้องแสดงความทุกข์ทรมานของ “ผู้เป็นลูกหลานที่ถูกเนรเทศของเอวา” แต่วอนขอว่า “โปรดเถิดพระแม่ผู้ทรงช่วยเหลือเกื้อกูลลูก โปรดทอดพระเนตร..

ดู พระเจ้าและวันทาพระราชินี

วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ (Scientific skepticism, Scientific scepticism) เป็นหลักปฏิบัติในการที่จะสืบหาว่า เรื่องที่อ้างว่าเป็นจริงนั้นมีหลักฐานโดยงานวิจัยเชิงประสบการณ์ (เชิงประจักษ์) หรือไม่ สามารถทำซ้ำได้หรือไม่ เป็นหลักปฏิบัติที่ใช้เป็นปกติในการ "เพิ่มขยายความรู้ที่ยืนยันได้พิสูจน์ได้" ยกตัวอย่างเช่น.

ดู พระเจ้าและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

ศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์

มีการเสนอเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ว่า ศาสนาพุทธนั้นเข้ากับวิทยาศาสตร์ได้ ทำให้ศาสนาพุทธได้กลายเป็นประเด็นหนึ่งในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและวิทยาศาสตร์ มีการอ้างว่า คำสอนทั้งทางปรัชญาทั้งทางจิตวิทยาในศาสนาพุทธ มีส่วนที่เหมือนกันกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และทางปรัชญา ยกตัวอย่างเช่น ศาสนาพุทธสนับสนุนให้ทำการตรวจสอบธรรมชาติอย่างเป็นกลาง ๆ แนวคิดที่นิยมบางอย่าง เชื่อมคำสอนศาสนาพุทธกับทฤษฎีวิวัฒนาการ ทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม และทฤษฎีจักรวาลวิทยา แต่ว่า นักวิทยาศาตร์โดยมาก เห็นความแตกต่างระหว่างคำสอนทางศาสนาและเกี่ยวกับอภิปรัชญาของศาสนาพุทธ กับระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ในปี..

ดู พระเจ้าและศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์

ศาสนาคอนโตเกียว

((ช่วยดูหน่อย|นอกจากเนื้อหาแล้ว ควรเปลี่ยนชื่อเป็นลัทธิหรือไม่ ศาสนาคอนโตเกียว หรือ ศาสนาแสงทอง ก่อตั้งเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีสาวกประมาณหมื่นคน เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสาวกกับพระเจ้าโดยผ่านพระ มีพิธีกรรมที่เน้นให้สาวกเข้ามาคุยปรึกษากับพระคล้ายกับการปรึกษานักจิตวิทยา และเน้นสร้างสรรค์ความรู้สึกที่ดีกับสรรพสิ่งรอบข้าง ค.

ดู พระเจ้าและศาสนาคอนโตเกียว

ศาสนาซิกข์

ัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ที่ใช้ในปัจจุบัน ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิกข์ (ਸਿੱਖੀ, สัท.:, Sikhism) เป็นศาสนาที่ถือกำเนิดขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในตอนเหนือของอินเดีย จากคำสอนของ นานัก และคุรุผู้สืบทอดอีก 9 องค์ หลักปรัชญาของศาสนาซิกข์และการปฏิบัติตามหลักศาสนา นิยมเรียกว่า "คุรมัต" (ความหมายโดยพยัญชนะ หมายถึง "คำสอนของคุรุ" หรือ "ธรรมของซิกข์") คำว่า "ซิกข์" หรือ "สิกข์" มาจากภาษาสันสกฤตว่า "ศิษฺย" หมายถึง ศิษย์ ผู้เรียน หรือ "ศิกฺษ" หมายถึง การเรียน และภาษาบาลีว่า "สิกฺข" หรือ "สิกฺขา" หมายถึง การศึกษา ผู้ศึกษา หรือผู้ใฝ่เรียนรู้ ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาแบบเอกเทวนิยม เนื่องจากหลักความเชื่อของศาสนาซิกข์ คือ ศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว คือ "วาหคุรู" ปฏิบัติสมาธิในนามของพระเจ้า และโองการของพระเจ้า ศาสนิกชาวซิกข์จะนับถือหลักคำสอนของคุรุซิกข์ทั้ง 10 หรือผู้นำผู้รู้แจ้ง และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ ที่เรียกว่า "คุรุ ครันถ์ สาหิพ" ซึ่งเป็นบทคัดสรรจากผู้เขียนมากมาย จากภูมิหลังทางศาสนา และเศรษฐกิจสังคมที่หลากหลาย คัมภีร์ของศาสนาเป็นบัญญัติของคุรุ โคพินท์ สิงห์ คุรุองค์สุดท้ายแห่งขาลสา ปันถ (Khalsa Panth) การสอนและหลักปฏิบัติของศาสนาซิกข์มีความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมของภูมิภาคปัญจาบในลักษณะต่างๆ กัน ชาวซิกข์ทุกคนต้องทำพิธี "ปาหุล" คือพิธีล้างบาป เมื่อเสร็จพิธีแล้วก็จะรับเอา "กะ" คือสิ่งที่เริ่มต้นด้วยอักษร "ก" 5 ประการ ดังต่อไปนี้.

ดู พระเจ้าและศาสนาซิกข์

ศึกวิหารเทพเจ้า

ึกวิหารเทพเจ้า (Angel Sanctuary) เป็นการ์ตูนที่เขียนโดย คาโอริ ยูกิ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูง โดยมียอดขายมากกว่า 10 ล้านเล่ม (เฉพาะในญี่ปุ่น) ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นดราม่าซีดี และโอวีเอด้วย ซึ่งเนื้อเรื่องในโอวีเอ จะมีความแตกต่างในรายละเอียดกับฉบับหนังสือการ์ตูน โดยจะมีความสั้นมากกว่า และอาจทำให้มีการตีความเนื้อเรื่องผิดไปจากฉบับหนังสือการ์ตูน รวมถึงมีการตัดตัวละครบางตัวทิ้ง.

ดู พระเจ้าและศึกวิหารเทพเจ้า

สวนเอเดน

“อาดัมและอีฟในสวรรค์” (Adam and Eve in Paradise) โดย ลูคัส ครานาคผู้พ่อ คริสต์ศตวรรษที่ 16 สวนอีเด็น หรือ สวนเอเดน (Garden of Eden; ภาษาฮิบรู: גַּן עֵדֶן - Gan ‘Ēden) เป็นสถานที่บรรยายไว้ในพระธรรมปฐมกาลว่าเป็นสถานที่มนุษย์สองคนแรกที่พระเจ้าสร้าง -- อาดัม และ อีฟ -- อาศัย ความเชื่อนี้เป็นความเชื่อของศาสนาเอบราฮัม การสร้างโลกในพระธรรมปฐมกาลจะกล่าวถึงที่ตั้งของสวนอีเด็นว่าอยู่ในบริเวณแม่น้ำสำคัญสี่สาย: แม่น้ำพิชอน แม่น้ำกิฮอน แม่น้ำไทกริส และแม่น้ำยูเฟรทีสซึ่งอยู่ในบริเวณอาร์มีเนีย, ยอดเขาอารารัต, เยเรวาน หรือที่ราบสูงอาร์มีเนีย) (พระธรรมปฐมกาล บทที่ 2 ข้อที่ 10-14) ซึ่งอยู่ในบริเวณประเทศอิรักในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะเป็นบริเวณคอเคซัสโบราณโดยเฉพาะบริเวณใกล้กับอาร์มีเนีย แต่ที่ตั้งของแม่น้ำทั้งสี่ยังเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่มีหลักฐานเป็นที่แน่นอนที่สนับสนุนที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของแม่น้ำนอกจากที่กล่าวในพระธรรมปฐมกาลเอง และ วรรณกรรมยิว-คริสเตียนเช่น “จูบิลี” สมมุติฐานอื่นก็ว่าตั้งอยู่ที่เมโสโปเตเมีย ทวีปแอฟริกา หรือ อ่าวเปอร์เซีย สมมุติฐานหลังมาจากหลักฐานของลุ่มแม่น้ำสี่สายที่มาพบกันที่เป็นที่ผลิตทองคำ และยางไม้หอม Bdellium แต่ก็ยังต้องมีการตีความหมายของเนื้อหาของพระธรรมปฐมกาลเพิ่มเพื่อยึนยัน.

ดู พระเจ้าและสวนเอเดน

สุดสิ้นกลิ่นน้ำนม

้นกลิ่นน้ำนม เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ แปลจาก Childhood's End ของ อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก เคยถูกตีพิมพ์เป็นนิตยสารสเปคตรัมฉบับที่ 9 เป็นเรื่องเกี่ยวกับอนาคตของมนุษยชาติ เมื่อมีสิ่งมีชีวิตอันทรงพลานุภาพจากอวกาศอันไกลโพ้น ที่เรียกกันว่าพวกเทพ มาควบคุม มาปรับแต่ง ให้มนุษย์พ้นจากจุดจบจากภัยทั้งหลายที่พวกมนุษย์เองเป็นผู้ก่อมันขึ้นมา จนสามารถมีวิวัฒนาการไปสู่สิ่งที่เหนือกว่าขึ้นไป แต่ลึกๆลงไปนั้น จุดมุ่งหมายของพวกเทพก็ยังเป็นที่คลางแคลงใจของมนุษย์จำนวนหนึ่ง ว่าจริงๆแล้วพวกเทพมีวัตถุประสงค์อะไรอย่างอื่นอีกหรือไม.

ดู พระเจ้าและสุดสิ้นกลิ่นน้ำนม

หุ่นยนต์ในกันดั้มดับเบิลโอ

รายละเอียดข้อมูลโมบิลสูทและโมบิลอาเมอร์จากภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกันดั้มดับเบิลโอ ผลงานของบริษัทซันไร.

ดู พระเจ้าและหุ่นยนต์ในกันดั้มดับเบิลโอ

หนังสืออพยพ

หนังสืออพยพ (Exodus; ואלה שמות; Ἔξοδος) เป็นหนังสือเล่มที่สองในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นเล่มที่สองในหมวดเบญจบรรณ ซึ่งเชื่อกันว่าโมเสสเป็นผู้เขียนขึ้น คำว่า "อพยพ" แปลจากภาษาอังกฤษซึ่งแปลอีกทอดจากภาษากรีก โดยหมายถึง การแยกออกจากกัน แต่ในภาษาฮีบรู มาจากคำขึ้นต้นซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "ต่อไปนี้เป็นชื่อของ..." หนังสืออพยพประกอบด้วยเนื้อหาที่อาจสรุปย่อได้ดังนี้.

ดู พระเจ้าและหนังสืออพยพ

หนังสือดาเนียล

ระธรรมดาเนียล (Book of Daniel; דָּנִיֵּאל) เป็นหนังสือลำดับที่ 5 ในหนังสือผู้เผยพระวจนะ (Nevi'im) ของพระธรรมยูดาย (Tanakh) และเป็นหนังสือเล่มที่ 5 ในหมวดประกาศกใหญ่ ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม (Old Testament) ของศาสนาคริสต์ เขียนด้วยภาษาฮีบรูในช่วงที่ชาวยิวอยู่ภายใต้การยึดครองของอาณาจักรบาบิโลน เป็นระยะที่ชนชาติยิวได้ถูกเนรเทศ และถูกบังคับให้อพยพไปยังเมืองบาบิโลน พระธรรมนี้เป็นคำบรรยายของ ดาเนียล ชาวอิสราเอล โดยเฉพาะ ผู้เป็นโหร และที่ปรึกษาทางของ กษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์ ผู้ปกครองยิ่งใหญ่ ของอาณาจักรบาบิโลน ประมาณ 605 ถึง 562 ก่อนคริสต์ศตวรรษ พระธรรมนี้แบ่งเป็นสองภาค เริ่มด้วยบทที่หนึ่งถึงบทที่หก บอกเรื่องราวประวัติความเป็นมาของท่าน และ บทที่ 7-12 บรรยายถึงเหตุการณ์ต่างๆ จากคำทำนาย ดาเนียลเขียนถึง ดาเนียลและเพื่อนที่ถูกปรักปรำลงโทษ เพราะไม่ละที้งความเชื่อในพระเจ้าของชนชาติอิสราเอล ต่อมา เป็นคำทำนายความฝัน และแปลความหมายของมโนภาพของกษัตริย์ เนบูคัดเนสซาร์ ในภาคที่สอง ของพระธรรม ดาเนียลกล่าวถึง ความหมาย คำพยากรณ์ และคำแปรความฝัน บรรยายนิมิต และสิ่งที่ทูตสวรรค์อธิบายความหมายให้ท่านโดยตรง ยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่ระหว่างชาวยิวและคริสตชน ถึงระยะเวลาที่แน่นอนและผู้เขียนที่แท้จริงของพระธรรมดาเนียล เชื่อกันแต่โบราณว่า ผู้พยากรณ์นามว่าดาเนียลผู้เขียน ซึ่งมีชีวิตก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่ในหมู่นักศึกษาคริสตธรรมคัมภีร์ยุคใหม่เชื่อว่า พระธรรมเล่มนี้ ได้บันทึก ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 2 และบันทึกหลังจากเหตุการณ์ต่างๆ ได้ปรากฏและผ่านไปแล้ว และความเห็นแย้งที่สามคือ พระธรรมบทนี้ เขียนเสร็จบริบูรณ์ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ดู พระเจ้าและหนังสือดาเนียล

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

ดู พระเจ้าและหนังสือปฐมกาล

หนังสือปัญญาจารย์

หนังสือปัญญาจารย์ (Ecclesiastes) เป็นหนังสือในคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม เป็นลำดับที่ 4 ในหมวดบทเพลง ผู้เขียนปัญญาจารย์กล่าวถึงตนเพียงว่าเป็นบุตรของ กษัตริย์ดาวิด ของชนชาติอิสราเอลในนครเยรูซาเลม คริสต์ศาสนาเชื่อว่าเป็นกษัตริย์ซาโลมอน เนื้อหากล่าวถึง ชีวประวัติและประสบการณ์ในชีวิตที่วางใจในพระเจ้า ประกอบด้วย คำอุปมา คำพังเพย และคติพจน์ แต่ละประโยคสะท้อนให้เห็นถึง ความหมายของชีวิตและวิธีดำเนินชีวิตอย่างดีที่สุด เน้นถึงกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ล้วนไร้ค่าไม่มีความหมายใด ล้วนจบลงด้วยความตาย จึงเตือนสติให้แสวงหาสติปัญญา จากพระเจ้า เพื่อเป็นเส้นทางในการดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ผู้เขียนไม่ได้ชี้ชัดถึงความหมายของชีวิตนิรันดร์ แต่แนะนำให้พอใจในสิ่งที่พระเจ้าประทานให้ในสรรพสิ่งกิจวัตรประจำวัน เช่น หน้าที่ การงาน อาหาร และทรัพย์สินที่ได้โดยชอบธรรม.

ดู พระเจ้าและหนังสือปัญญาจารย์

หนังสือนางรูธ

หนังสือนางรูธ (Book of Ruth) เป็นหนังสือเล่มที่สั้นที่สุดเล่มหนึ่งทั้งในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมและในคัมภีร์ฮีบรู มาจากภาษาฮีบรูว่า מגילת רות โดยหนังสือนางรูธนี้ มีเพียง 4 บท เท่านั้น หนังสือเล่มนี้ไม่ระบุผู้เขียนที่ชัดเจน มีนักเทววิทยาบางกลุ่มเชื่อว่า ซามูเอล เป็นผู้เรียบเรียงขึ้น แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกัน เนื่องจากนักประวัติศาสตร์ พบว่าเนื้อหาบางส่วนในหนังสือนางรูธได้ระบุช่วงเวลาซึ่งเชื่อได้ว่า น่าจะเกิดขึ้นภายหลังจากซามูเอลได้เสียชีวิตแล้ว.

ดู พระเจ้าและหนังสือนางรูธ

ห้ามทำรูปเคารพสำหรับตน

ห้ามทำรูปเคารพสำหรับตน (Thou shalt not make unto thee any graven image) เป็นหนึ่งในข้อบทบัญญัติสิบประการ ซึ่งพระยาห์เวห์ได้ประทานให้กับชนชาติอิสราเอลผ่านทางโมเสส ซึ่งเป็นบัญญัติข้อที่ 1 ของการจัดรูปแบบพระบัญญัติแบบออกัสตินแห่งฮิปโป และแบบคำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก และเป็นบัญญัติข้อที่ 2 ของการจัดรูปแบบพระบัญญัติแบบเซปตัวจินต์ แบบทาลมุด แบบไฟโล และแบบคริสตจักรปฏิรูป ส่วนแบบลูเทอแรนไม่ได้ระบุข้อนี้ไว้ในพระบัญญัติข้อใด บัญญัติข้อนี้มีบันทึกในหนังสืออพยพ 20:4-6 และหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ 5:8-10 ในคัมภีร์ฮีบรูหมวดโทราห์ของศาสนายูดาห์ และในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต.

ดู พระเจ้าและห้ามทำรูปเคารพสำหรับตน

อับราฮัม

ทูตสวรรค์ยับยั้งอับราฮัม ขณะกำลังจะถวายอิสอัคแด่พระยาห์เวห์ อับราฮัม(ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิบรอฮีม (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Abraham; אברהם; إبراهيم) เป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม เรื่องราวของท่านถูกบันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ถึง บทที่ 25 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ และคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามก็ถืออับราฮัมเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ด้วย อับราฮัม เดิมชื่อ "อับราม" เป็นบุตรของ เทราห์ สืบเชื้อสายมาจาก เชม บุตรของโนอาห.

ดู พระเจ้าและอับราฮัม

อัลเลลูยา

อัลเลลูยา (คาทอลิก) อาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) หรือ ฮาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) มาจาก Alleluia ในภาษากรีกและภาษาละติน ซึ่งเป็นคำทับศัพท์มาจาก הַלְּלוּיָהּ ในภาษาฮีบรู มีความหมายว่า สรรเสริญ (הַלְּלוּ) พระยาห์เวห์ (יָהּ) ตรงกับภาษาละตินว่า "Alleluia" อัลเลลูยาเป็นวลีที่ใช้สรรเสริญพระเจ้าในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ใกล้เคียงกับคำว่า อัลฮัมดุลิลลาฮ์ (الحمد لله) ที่ใช้ในศาสนาอิสลาม.

ดู พระเจ้าและอัลเลลูยา

อำนาจอธิปไตยของปวงชน

อำนาจอธิปไตยของปวงชน (Sovereignty of the People or Popular Sovereignty) หมายถึงแนวคิดที่ว่าแหล่งที่มาของอำนาจสูงสุดของรัฐ หรือ อำนาจอธิปไตยมีที่มาจากพลเมืองทุกๆคนภายในรัฐ จึงทำให้บางครั้งแนวคิดนี้ถูกเรียกว่าอธิปไตยของมหาชน (popular sovereignty) ซึ่งก็มีความหมายในลักษณะเดียวกัน เพียงแต่เน้นให้เห็นถึงรากฐานของอำนาจอธิปไตยที่มีความโยงใยกับประชาชนจำนวนมากในสังคมในระบอบประชาธิปไตย หรือ ก็คือแนวคิดที่ว่า “อำนาจเป็นของปวงประชามหาชน” (power belongs to the people) (Kurian, 2011: 1580-1581).

ดู พระเจ้าและอำนาจอธิปไตยของปวงชน

อีวานเกเลียน

อีวานเกเลียน มหาสงครามวันพิพากษา หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า Neon Genesis Evangelion หรืออาจเรียกย่อๆ ว่า อีวานเกเลียน, อีวา, NGE เป็นการ์ตูนอะนิเมะชุดสำหรับฉายทางสถานีโทรทัศน์ สร้างโดยสตูดิโอไกแน็กซ์ (Gainax) เขียนบทและกำกับโดย ฮิเดอากิ อันโนะ และร่วมผลิตโดยทีวีโตเกียว และ Nihon Ad Systems เริ่มฉายในเดือนตุลาคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าและอีวานเกเลียน

อติเทวนิยม

อติเทวนิยม เป็นคำไทยที่บัญญัติขึ้น เพื่อใช้นิยามแนวคิดทางเทววิทยา Henotheism (ἑνας, henas - หนึ่ง, และ θεός, theos - เทพ) อติเทวนิยม คือ ความเชื่อที่ทั้งเหมือนและแตกต่างไปจาก เอกเทวนิยม โดยเหมือนกันในแง่ที่นับถือบูชาพระเจ้าหรือเทพเจ้าเพียงองค์เดียว แต่ต่างกันตรงที่อติเทวนิยมยอมรับในการมีอยู่ของพระเจ้าหรือเทพเจ้าองค์อื่นๆด้วย ในขณะที่ เอกเทวนิยม จะถือว่าพระเจ้ามีเพียงองค์เดียวเท่านั้น แม้อาจมีความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณอื่นที่ไม่ใช่พระเจ้าหรือเทพเจ้าปนอยู่ด้วย และอติเทวนิยมก็สอดคล้องกับความเชื่อ พหุเทวนิยม ในประการที่เชื่อในการมีอยู่ของพระเจ้าหลายองค์ ต่างกันตรงที่จะบูชาเพียงพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว ในขณะที่พหุเทวนิยม จะทั้งเชื่อและบูชาพระเจ้าหลายองค์พร้อมๆกัน มักซ์ มึลเลอร์ (1823-1900) นักอินเดียวิทยา และผู้เชี่ยวชาญภาษาสันสกฤตชาวเยอรมัน เป็นบุคคลแรกที่เสนอว่าศาสนาพราหมณ์ หรือศาสนาฮินดู เป็นตัวอย่างที่สำคัญของแนวความคิดแบบอติเทวนิยม แต่ปัจจุบันมีผู้ไม่เห็นด้วยเพราะการจะเป็นอติเทวนิยมโดยแท้ จะต้องเป็นการนับถือบูชาพระเจ้าเพียงองค์เดียว ไม่ใช่บูชาหลายองค์แบบที่ศาสนาพราห์ม-ฮินดูเป็นอยู่ในทุกวันนี้ซึ่งเป็นพหุเทวนิยม เช่นเดียวกับศาสนากรีกและศาสนาจีน.

ดู พระเจ้าและอติเทวนิยม

อไญยนิยม

อไญยนิยม (agnosticism) เป็นมุมมองที่ว่าค่าความจริงของการอ้างบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ้างเกี่ยวกับการมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของพระเจ้าใด ๆ ตลอดจนการอ้างอภิปรัชญา ศาสนาอื่นๆ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเรื่องเหนือธรรมชาติอื่นๆ ว่าเป็นสิ่งที่มีอยู่หรือไม่มีอยู่ หรือไม่สามารถหยั่งรู้ได้ ตามคำกล่าวของนักปรัชญา William L.

ดู พระเจ้าและอไญยนิยม

อ้ายจาม

วอ้ายจาม หรือไอจาม เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ต่างกับชาวปู้ยี ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในตระกูลไท-กะได และอาศัยอยู่ในประเทศจีน ชาวอ้ายจามมีมีภาษาใกล้เคียงกับกลุ่ม ต้ง-สุย แต่ปู้ยีมีภาษาใกล้เคียงกับคำเมือง (ล้านนา) ในกลุ่มภาษาตระกูลไท-กะได ปัจจุบันมีชาวอ้ายจามทั้งหมด 2,800 คน ทั้งหมดอาศัยอยู่ในประเทศจีน.

ดู พระเจ้าและอ้ายจาม

ฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)

ีโรส์ เป็นรายการซีรีส์อเมริกันที่แต่งขึ้นในแนววิทยาศาสตร์ ดรามา สร้างโดย ทิม คริง เริ่มออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.

ดู พระเจ้าและฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)

ฌาน ดาร์ก

น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..

ดู พระเจ้าและฌาน ดาร์ก

จอห์น (ชื่อ)

อห์น (John) เป็นชื่อตัวในภาษาอังกฤษsakda.

ดู พระเจ้าและจอห์น (ชื่อ)

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ดู พระเจ้าและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

จิตวิทยาเชิงบวก

ตวิทยาเชิงบวก (Positive psychology) เป็นสาขาย่อยใหม่ของจิตวิทยาที่ใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และการแทรกแซงที่มีประสิทธิผล เพื่อช่วยให้บุคคลมีชีวิตที่น่าพอใจ โดยสร้างความเจริญก้าวหน้าสำหรับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และค้นหาเสริมสร้างอัจฉริยภาพกับความสามารถเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขมากยิ่งขึ้น ศาสตร์นี้เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาตนเองแทนที่การรักษาโรค ซึ่งมักจะเป็นจุดสนใจของจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ เป็นวิทยาการที่ค่อนข้างใหม่ งานประชุมครั้งแรกเกี่ยวกับศาสตร์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ดู พระเจ้าและจิตวิทยาเชิงบวก

ธงชาติรัสเซีย

งชาติสหพันธรัฐรัสเซีย มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน เรียงเป็นสีขาว-น้ำเงิน-แดง จากบนลงล่างตามลำดับ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเป็นธงสำหรับเรือค้าขายและเรือรบ (ธงนาวี) และได้ประกาศใช้เป็นธงอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ.

ดู พระเจ้าและธงชาติรัสเซีย

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล

ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล (cosmogony; cosmogeny) หมายถึงทฤษฎีใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับที่มาของของตัวตนหรือต้นกำเนิดของจักรวาล หรือต้นตอของความเชื่อเกี่ยวกับความเป็นจริงในกำเนิดของจักรวาล คือ cosmogony มาจากภาษากรีก κοσμογονία หรือ κοσμογενία ที่กลายมาจาก κόσμος ที่แปลว่า cosmos ในบริบทเฉพาะทางวิทยาศาสตร์อวกาศและดาราศาสตร์ ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลหมายถึงทฤษฎีว่าด้วยกำเนิดของระบบสุริยะและการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุริยะ เช่น ทฤษฎีเนบิวลาสุริยะ เป็นต้น ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลสามารถแยกแตกต่างออกจากวิชาจักรวาลวิทยา (Cosmology) ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับจักรวาลโดยรวมและเกี่ยวกับเรื่องราวตัวตนที่เป็นมาโดยตลอดของจักรวาลซึ่งโดยทางเทคนิคจะไม่แตะโดยตรงกับต้นตอแท้ ๆ ของจักรวาล อย่างไรก็ดี ก็ยังมีความคลุมเครือระหว่างระหว่างคำทั้งสองนี้อยู่บ้าง เช่น วิชาจักรวาลวิทยา ถกเถียงไปทางด้าน เทววิทยา ที่เกี่ยวข้องกับการมีตัวตนของพระเจ้ามากกว่าความคิดเกี่ยวกับจักรวาล ในเชิงปฏิบัติก็ยังคงมีความแตกต่างในความคิดทางวิทยาศาสตร์ระหว่าง "ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล" และ "จักรวาลวิทยา" จักรวาลวิทยากายภาพ เป็นวิทยาศาสตร์ที่พยายามอธิบายถึงการสังเกตการณ์ทั้งหมดที่อยู่ในข่ายของวิวัฒนาการและลักษณะของจักรวาลโดยรวม คำถามที่ว่าทำไมจักรวาลจึงมีพฤติกรรมเป็นไปดังพรรณาไว้โดยนักฟิสิกส์และนักจักรวาลวิทยาว่าเป็นวิชานอกวิทยาศาสตร์ (extra-scientific) แม้จะมีการการอนุมานหลาย ๆ ด้าน จากมุมมองที่รวมถึงการประมาณค่านอกช่วงในทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่จะไม่ทดสอบความคิดเชิงระบอบ เชิงปรัชญาหรือทางศาสนา ความพยายามที่จะสร้าง "ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล" เชิงธรรมชาตินิยมขึ้นอยู่กับข้อจำกัดที่แตกต่างกัน 2 ประการ ข้อแรกตั้งอยู่บนพื้นฐานของปรัชญาทางวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดทางญาณวิทยาในวิทยาศาสตร์เอง โดยเฉพาะกับข้อห่วงใยที่การสอบสวนเชิงวิทยาศาสตร์จะตั้งคำถามว่า "ทำไม" จักรวาลจึงมีอยู่ได้ อีกข้อหนึ่งที่ค่อนมาทางปัญหาเชิงปฏิบัติคือ การไม่มีรูปจำลองทางกายภาพที่สามารถอธิบาย "ขณะแรกสุด" ของการเกิดจักรวาล ที่เรียกว่าพลังค์ไทม์ (Planck time) ได้เพราะการขาดทฤษฎีที่คงเส้นคงวา ว่าด้วยแรงโน้มถ่วงควอนตัม^~^.

ดู พระเจ้าและทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล

ทอมัส อไควนัส

นักบุญทอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas (ค.ศ. 1225-1274) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน เกิดในตระกูลขุนนางชาวอิตาลี สนใจศึกษาสิ่งต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึ้ง อไควนัสได้พัฒนาแนวความคิดของเขาโดยได้รับอิทธิพลจากอาริสโตเติล ในขณะที่นักคิดคนอื่นมีความเห็นตรงกันข้าม อควีนาสได้ดำเนินการศึกษา สรุปผลที่เป็นแบบตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ โดยไม่มีข้อสงสัยหรือข้อขัดแย้ง ตามแนวความคิดของอไควนัส ระเบียบวิธีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่ออควีนาสเริ่มหันมาสนใจศึกษาค้นคว้าแนวความคิดของอาริสโตเติล และได้มีอิทธิพลตลอดชีวิตการทำงานของอไควนัส จุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่งของอไควนัสคือ การผสมผสานเทววิทยาศาสนาคริสต์ให้เข้ากับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ในที่สุดแนวความคิดของอาริสโตเติลก็กลับมามีชื่อเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง นักคิดชาวตะวันตกก็เริ่มหันมาศึกษางานของอริสโตเติลกันมากขึ้น มีผู้กล่าวว่าอาริสโตเติลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ที่มีความรอบรู้ พระเจ้าพึงพอใจยอมอนุญาตให้เป็นผู้สรุปความรู้ทุกสาขาวิชา เท่ากับยอมรับว่าอาริสโตเติลเป็นเหมือนคัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นนักบวชของศาสนา เป็นตัวบทกฎหมาย และเป็นนักวินัยทางศาสนา เปรียบเสมือนเป็นผู้ที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ กำหนดความรู้ทุกสาขาวิชา งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น วิธีการดังกล่าวเปรียบเสมือนมนุษย์ได้รับการอบรมทางจิต จิตที่อบรมแล้ว จะสั่งการให้ร่างกายกระทำสิ่งต่าง ๆ ตามหน้าที่ในสังคม ดังนั้น การปกครองโดยรัฐบาลที่มีผู้นำเพียงคนเดียวจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด กษัตริย์อันเป็นราชาแห่งปราชญ์คนเดียวจะปกครองประชาชนอย่างยุติธรรม โครงสร้างทางสังคมก็เหมือนกับธรรมชาติที่พระเจ้าปกครอง คนในสังคมจะทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสัมคมมีเอกภาพโดยมีผู้นำเพียงคนเดียว.

ดู พระเจ้าและทอมัส อไควนัส

ข้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้า

้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้า (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ข้าพเจ้าเชื่อในพระเจ้า (ศัพท์คาทอลิก) (I believe in GOD; Credo) เป็นวรรคที่ 1 ในหลักข้อเชื่อของอัครทูต และเป็นหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนาที่สำคัญที่สุด หรือที่เรียกว่าแก่นธรรมของศาสนาคริสต.

ดู พระเจ้าและข้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้า

ดาวเทียมไทยโชต

วเทียมธีออสดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) หรือ ดาวเทียมธีออส (THEOS: Thailand Earth Observation Satellite) เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) เพื่อใช้สำรวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย โดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรั่งเศส ดำเนินงานโดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.

ดู พระเจ้าและดาวเทียมไทยโชต

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

ดู พระเจ้าและคัมภีร์ไบเบิล

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ดู พระเจ้าและคาร์ล มากซ์

คู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอน

ู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอน (Βασιλικὸν Δῶρον, Basilikon Doron) เป็นศาสตรนิพนธ์เกี่ยวกับการปกครองราชอาณาจักรที่เขียนโดยสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษในปี ค.ศ.

ดู พระเจ้าและคู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอน

ตักบีร์

ตักบีร์ (تَكْبِير, Takbir) เป็นชื่อสำหรับใช้เรียกวลี "อัลลอหุ อักบัร" (الله أكبر) ซึ่งมีความหมายว่า "อัลลอหฺทรงยิ่งใหญ่" ("God is great") หรือ "อัลลอหฺยิ่งใหญ่ที่สุด" ("God is greatest") วลีดังกล่าวนี้ใช้โดยทั่วไปในหมู่ชาวมุสลิมเพื่อแสดงออกถึงความศรัทธาในพระเจ้า (อัลลอหฺ).

ดู พระเจ้าและตักบีร์

ตำนานทอง

''Legenda Aurea'', 1290 circa, Biblioteca Medicea Laurenziana, Florence ภาพนักบุญจอร์จ ฆ่ามังกรเป็นเรื่องหนึ่งที่รวบรวมในตำนานทอง ภาพนักบุญคริสโตเฟอร์แบกพระเยซูข้ามแม่น้ำ โดยคอนราด วิทซ-หนึ่งในนักบุญในตำนานทอง นักบุญมาร์กาเร็ตแห่งอันติโอก ดึงดูดความสนใจนายทหารโรมัน โดย ฌอง โฟเคท์ (Jean Fouquet) จากหนังสือวิจิตร (Illuminated manuscript) “การพลีชีพของนักบุญไพรมัส และนักบุญเฟลิซิอานัส” จากตำนานทองของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาพนักบุญแอนดรูว์ผู้ที่ถูกตรึงกางเขนบนกางเขนเอ็กซ์-หนึ่งในนักบุญในตำนานทอง ตำนานทอง (Legenda Aurea) เป็นตำนานชีวิตนักบุญที่รวบรวมราวปี..

ดู พระเจ้าและตำนานทอง

ซามูเอล

ซามูเอล เป็นชื่อของผู้เผยพระวจนะชาวยิวในยุคก่อนพระเยซูประสูติ มารดาของซามูเอลเป็นหมัน และได้ขอพระพรจากพระเจ้าให้ประทานลูกชาย นางได้คร่ำครวญจนได้รับพระกรุณาจากพระเจ้า ประทานบุตรชายให้นาง มารดาของซามูเอลจึงถวายซามูเอลให้เป็นผู้รับใช้พระเจ้าในพระวิหารตั้งแต่ยังเด็ก.

ดู พระเจ้าและซามูเอล

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ.

ดู พระเจ้าและประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า

''Touched by His Noodly Appendage'' ภาพล้อเลียน ''The Creation of Adam'' อันมีชื่อเสียงของมีเกลันเจโล กิจกรรมของลัทธิพาสตาฟาเรียนในกรุงวอชิงตัน ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้าประดิษฐ์ด้วยมือ ป้ายชื่อทหารสหรัฐอเมริกา ระบุศาสนา "Atheist/FSM" ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า (Flying Spaghetti Monster หรือมักเรียกโดยย่อว่า FSM) เป็นพระเจ้าตามความเชื่อของ ศาสนจักรปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า หรือ ลัทธิพาสตาฟาเรียน ซึ่งเป็นศาสนาเชิงล้อเลียนที่ก่อตั้งโดยบ็อบบี เฮนเดอร์สัน เพื่อต่อต้านมติของคณะกรรมการการศึกษาของรัฐแคนซัส ที่บังคับให้โรงเรียนในสังกัดสอนทฤษฎีผู้สร้างอันชาญฉลาดควบคู่ไปกับทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วินในวิชาชีววิทยา เฮนเดอร์สันเขียนจดหมายเปิดผนึกถึงคณะกรรมการฯ มีใจความว่า เขาเชื่อว่าโลกและจักรวาลถูกสร้างโดยพระเจ้าที่มีรูปร่างคล้ายสปาเกตตีและลูกชิ้นสองก้อน ซึ่งเขาเรียกว่า "ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า" และเรียกร้องให้โรงเรียนในรัฐแคนซัสสอนทฤษฎีการสร้างโลกของเขาเช่นกันเพื่อความเท่าเทียมกัน เช่นเดียวกับการที่ทางคณะกรรมการฯ ได้กล่าวไว้ว่าการเรียนการสอนระหว่างทฤษฎีวิวัฒนาการและทฤษฎีผู้สร้างอันชาญฉลาดควรจะมีความเท่าเทียมกัน ซึ่งโดยนัยแล้ว เขาแสดงให้เห็นว่าทฤษฏีผู้สร้างอันชาญฉลาดเป็นเรื่องไร้สาระ ไม่ผิดกับปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้าเลย หลังจากเฮนเดอร์สันเผยแพร่จดหมายดังกล่าวบนเว็บไซต์ของเขา FSM ได้กลายเป็นปรากฏการณ์ทางอินเทอร์เน็ตและเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อต้านการสอนทฤษฎีผู้สร้างอันชาญฉลาดในโรงเรียนของรัฐ "ความเชื่อ" ของพาสตาฟาเรียนล้วนล้อเลียนมากจากแนวความเชื่อในศาสนาเกี่ยวกับผู้สร้างโลก ความเชื่อเหล่านี้เผยแผ่ในเว็บไซต์ของเฮนเดอร์สัน Church of the Flying Spaghetti Monster ซึ่งเขาถือเป็นผู้ประกาศพระวรสาร และใน The Gospel of the Flying Spaghetti Monster เขียนโดยเฮนเดอร์สันและตีพิมพ์ใน..

ดู พระเจ้าและปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า

แบล็ก & ไวต์

แบล็ก & ไวต์ (Black & White) เป็นวิดีโอเกมที่สร้างขึ้นโดยบริษัทไลออนเฮดสตูดิโอ (Lionhead Studios.) เผยแพร่โดยบริษัท อิเล็กทรอนิกอาร์ตส์ (Electronic Arts: EA) และฟีเรียลอินเตอร์เอ็กทีฟ (Feral Interactive.) เป็นเกมแบบพระเจ้าสร้างโลกเริ่มผลิตเมื่อวันที่ 25 มีนาคมค.ศ.

ดู พระเจ้าและแบล็ก & ไวต์

แพระไดส์ลอสต์

แพระไดส์ลอสต์ (Paradise Lost) หรือ “สวรรค์ลา” เป็นบทกวีมหากาพย์ประพันธ์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยกวีชาวอังกฤษ จอห์น มิลตัน ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู พระเจ้าและแพระไดส์ลอสต์

แคท สตีเวนส์

ูซุฟ อิสลาม หรือ ยูซุฟ (Yusuf Islam) นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักกันในชื่อ แคท สตีเวนส์ (Cat Stevens) มีชื่อจริงว่า สตีเวน ดีมีทรี จอร์จิโอ บิดามีเชื้อสายกรีก-ไซปรัส มารดามีเชื้อสายสวีเดน แคท สตีเวนส์มีชื่อเสียงในช่วงต้นทศวรรษ 1970 โดยอัลบั้ม Tea for the Tillerman (1970) และ Teaser and the Firecat (1971) ของเขาได้การรับรองแผ่นเสียงทองคำขาวจากสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา และอัลบั้ม Catch Bull at Four (1972) ขึ้นถึงอันดับหนึ่งของนิตยสารบิลบอร์ดติดต่อกันสามสัปดาห์ ผลงานของเขาได้รับการบันทึกเป็นหนึ่งใน 500 อัลบั้มที่ดีที่สุดตลอดกาล โดยนิตยสารโรลลิงสโตน Nov 18, 2003 ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียง เช่น "Morning Has Broken", "Moonshadow", "The First Cut Is the Deepest" และ "Peace Train" ในปี..

ดู พระเจ้าและแคท สตีเวนส์

โยเซฟ (บุตรยาโคบ)

ซฟ (Joseph) เป็นบุตรชายคนที่ 11 ของยาโคบ กับนางราเชล ที่เกิดในเมืองปัดดานอาร้ม โยเซฟมักนำเอาความผิดของพี่ ๆ ไปบอกบิดา จึงถูกพี่ ๆ ชัง และอิจฉา จึงถูกขายไปยังอียิปต์ และภายหลังโยเซฟได้มีโอกาสถวายงานให้ฟาโรห์จนได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ปกครองอียิปต์ และได้ช่วยให้อิสราเอลได้เข้าไปพำนักในอียิปต์ช่วงที่เกิดการกันดารอาหาร โยเซฟขณะถูกจับไปขายเป็นทาส วาดโดย คอนสแตนติน ฟลาวิสกี้ โยเซฟขณะถูกจับไปขายเป็นทาส วาดโดย เฟดเดอริก โอเวอร์เบก ปี พ.ศ.

ดู พระเจ้าและโยเซฟ (บุตรยาโคบ)

โองการมุบาฮะละฮ์

องการมุบาฮะละฮ์หมายถึง โองการที่ 61 ซูเราะห์ อาลิ อิมรอน เป็นโองการที่ถูกประทานลงมาเกี่ยวกับการโต้ทัศนะกันระหว่างท่านศาสดามุฮัมหมัด(ศ)กับอัครมุขนายกของคริสต.

ดู พระเจ้าและโองการมุบาฮะละฮ์

โจตัน

ตัน (Jotun) เป็นบริษัทผลิตสีจากประเทศนอร์เวย์ ที่ผลิตสีทาบ้านและผิวเคลือบแป้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศนอร์เวย์ มีบริษัทในเครือ 67 บริษัท และ 39 โรงงานใน สแกนดิเนเวีย, ยุโรป, ตะวันออกกลาง, เอเชีย, อเมริกา, ออสเตรเลีย และ แอฟริกา ชื่อของบริษัทโจตัน มาจากโยตุน (Jötunn) เทพในนิยายนอร์เว.

ดู พระเจ้าและโจตัน

โทราห์

ทราห์ (Torah; תּוֹרָה โทราห์; التوراة เตารอต; Τορά) เป็นชื่อของชุดคัมภีร์ชุดแรกในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มแรกในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ หมายถึง บทบัญญัติ ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยแปลว่า ธรรมบัญญัติ หรือ พระบัญญัติ ภายหลังได้มีการแปลเป็นภาษากรีกจึงมีชื่อเรียกใหม่ว่า เบญจบรรณ (Pentateuch) หมายถึง ที่บรรจุห้าอัน คือหนังสือ 5 เล่มแรกของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ได้แก.

ดู พระเจ้าและโทราห์

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ดู พระเจ้าและโปรเตสแตนต์

ไทยเชื้อสายมลายู

วไทยเชื้อสายมลายู หมายถึงชาวไทยซึ่งมีเชื้อสายมลายู มีกระจายทั่วไปในทางภาคใต้ของประเทศไทย ประชากรใช้ภาษาตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียน และส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และมีประชากร ร้อยละ 3 ของประชากรทั้งหมด กระจายตัวหนาแน่นมากที่สุดทางภาคใต้ตอนล่าง ในภาคใต้ส่วนอื่นๆก็มีชาวไทยเชื้อสายมลายูกระจายอยู่ทั่วไป ส่วนภาคกลางเองก็มีมากในกรุงเทพฯ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี เลยไปถึงจังหวัดฉะเชิงเทราในตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยวด้ว.

ดู พระเจ้าและไทยเชื้อสายมลายู

เพรสไบทีเรียน

็อง กาลแว็ง นิกายเพรสไบทีเรียนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 431 (Presbyterianism) เป็นหนึ่งในนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ที่มีต้นกำเนิดที่สกอตแลนด์ ยึดถือแนวคิดทางเทววิทยาแบบลัทธิคาลวิน และมีการจัดระเบียบองค์การแบบเพรสไบทีเรียน หลักเทววิทยาแบบเพรสไบทีเรียนเน้นเรื่องอำนาจอธิปไตยของพระเจ้า สิทธิอำนาจของคัมภีร์ไบเบิล และการรับพระคุณจากพระเจ้าได้โดยการศรัทธาในพระเยซูเท่านั้น ในสกอตแลนด์วิธีการปกครองคริสตจักรของเพรสไบทีเรียนได้รับการรับประกันตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ.

ดู พระเจ้าและเพรสไบทีเรียน

เพดานโบสถ์น้อยซิสทีน

มือของพระเจ้าจรดกับมือของอาดัม เพดานโบสถ์น้อยซิสติน (Sistine Chapel ceiling) เป็นจิตรกรรมฝาผนังบนเพดานของโบสถ์น้อยซิสตินที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโลระหว่าง ค.ศ.

ดู พระเจ้าและเพดานโบสถ์น้อยซิสทีน

เกียรติยศแห่งชัยชนะ

กียรติยศแห่งชัยชนะ เป็นภาพยนตร์อังกฤษที่ออกฉายในปี 1981 เขียนบทโดย โคลิน เวลแลนด์และกำกับโดย ฮิวจ์ ฮัดสัน เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากเรื่องจริงของนักกรีฑาชาวอังกฤษที่แข่งขันวิ่งในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 ในกรุงปารีส ภาพยนตร์สร้างมาจากเรื่องจริงของนักกรีฑา 2 คน ที่ชื่อ ฮาโรลด์ อับราฮัมส์ และ เอริค ลิดเดล ทั้งคู่สามารถคว้าเหรียญทองให้แก่สหราชอาณาจักรได้ ประเด็นสำคัญในเรื่องคือ ฮาโรลด์ อับราฮัมส์มีเชื้อสายยิว จึงเกิดเป็นปมด้อย รู้สึกเป็นคนนอก ถูกผู้คนรอบข้างเฝ้ามองด้วยสายตาหมิ่นเหยียดหยามอยู่ตลอดเวลา เป้าหมายสูงสุดคือการได้เหรียญทองโอลิมปิก จึงเป็นมากยิ่งกว่าแค่แข่งขันกีฬาตามปกติ ส่วนเอริค ลิดเดล เขาเป็นชาวสก็อตแลนด์ เกิดในครอบครัวหมอสอนศาสนา มีจุดมุ่งหมายในชีวิตเด่นชัดว่า พร้อมอุทิศตนทุ่มเทเพื่อรับใช้พระเจ้า แต่ความสามารถพิเศษในด้านการวิ่ง ทำให้เขาโดดเด่นอีกทาง ทั้งยังต้องขัดแย้งกับน้องสาวผู้เคร่งศาสนา สุดท้าย จุดหมายสูงสุดของเขา ไม่ได้วิ่งเพื่อเหรียญทองหรือชัยชนะใด ๆ แต่เป็นการวิ่งเพื่อนำเกียรติยศมาสู่พระเจ้าที่เขาเคารพศรัทธา ภาพยนตร์เล่าเรื่องสลับไปมาระหว่างตัวเอกทั้ง 2 โดยสะท้อนแง่มุมว่าด้วยการฝึกฝนอยางหนักเพื่อขัดเกลาเอาชนะใจตนเอง ความเป็นสุภาพบุรุษนักกีฬา และไคลแมกซ์สูงสุดของเรื่องคือการพิชิตเหรียญทองในโอลิมปิก อีกฉากหนึ่งที่เป็นฉากที่น่าจดจำคือ ตอนต้นและท้าย ภาพของเหล่านักวิ่งบนชาดหาด ควบคู่กับเพลงประกอบของ แวนเจลิส ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลที่สำคัญดังต่อไปนี้.

ดู พระเจ้าและเกียรติยศแห่งชัยชนะ

เภสัชศาสตร์

ร้านยาแผนปัจจุบันในประเทศนอร์เวย์ เภสัชศาสตร์ ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค โดยศึกษาตั้งแต่วัตถุดิบที่จะนำมาผลิตยา การปรุงยา การเก็บรักษา ตลอดจนกระบวนการกระจายยา โดยศึกษาตั้งแต่แหล่งของยา โครงสร้างทางเคมีของยา การผลิตเป็นรูปแบบยาเตรียมต่างๆ การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพยาและเภสัชภัณฑ์ การวิจัยและการพัฒนายาและเภสัชภัณฑ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ การใช้ยาทางคลินิกในโรคของระบบต่างๆ อาการไม่พึงประสงค์ของยา การติดตามผลของยา การประเมินการใช้ยา ไปจนถึงการบริหารจัดการเรื่องยาและกฎหมายเกี่ยวกับยา ทั้งนี้ยังครอบคลุมไปถึงเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารเสพติด สารพิษ และวัตถุหรือสารออกฤทธิ์ประเภทต่างๆ เภสัชศาสตร์กำเนิดขึ้นควบคู่กับวิวัฒนาการของมนุษยชาติ ในการบำบัดรักษาคนป่วยในสมัยโบราณได้นำพืช สัตว์ และแร่ธาตุในการบำบัดรักษา โดยศึกษาวิธีการจากสิ่งมีชีวิตรอบตัว จนได้มีการจดบันทึกสั่งสมองค์ความรู้สู่การพัฒนาเภสัชตำรับฉบับแรกของโลกโดยชาวสุเมเรียน และได้เริ่มมีการศึกษาฤทธิ์ของยาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นในสมัยของฮิปโปเครตีส การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์ในสมัยโบราณเป็นการศึกษาในวงจำกัดของชนชั้นสูงในสังคมอาหรับและการสืบทอดตำราโดยบาทหลวงเท่านั้น จนกระทั่งสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม และการฝึกหัดทางเภสัชศาสตร์ทำให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบยิ่งขึ้น เภสัชศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยิ่ง การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์เน้นหลักในวิชาการด้านเคมีเป็นส่วนใหญ่ มีการแบ่งสาขาวิชาทางเภสัชศาสตร์จำแนกย่อยอีกหลายสาขา โดยแบ่งเป็นด้านวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม ประกอบด้วยสาขาเภสัชวิทยา เภสัชเวท เภสัชเคมี เภสัชวิเคราะห์และเภสัชภัณฑ์ จวบจนกระทั่งเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้น การผลิตยาจึงได้ประยุกต์สู่ด้านเภสัชอุตสาหกรรมด้วย ด้านเภสัชบริบาลศาสตร์ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการบริบาลผู้ป่วยและดูแลรักษาควบคุมการใช้ ตลอดจนติดตามผลการรักษาจากการใช้ยา ประกอบด้วยสาขาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรมโรงพยาบาล และด้านเภสัชสาธารณสุข เภสัชศาสตร์สังคมและบริหารเภสัชกิจที่ดูแลการใช้ยาในระดับประชากรและการบริหารจัดการเรื่อง.

ดู พระเจ้าและเภสัชศาสตร์

เมสสิยาห์

ระเมสสิยาห์ (Messiah; מָׁשִיַח มาซียาห์; ܡܫܝܚܐ; Μεσσίας; مشيح) หมายถึง พระผู้ช่วยให้รอดตามความเชื่อในกลุ่มศาสนาอับราฮัม ได้แก่ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ในคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ พระเมสสิยาห์ หมายถึง พระมหากษัตริย์หรือมหาปุโรหิต ซึ่งได้รับแต่งตั้งด้วยการเจิมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์ พระเมสสิยาห์อาจไม่ใช่ชาวยิวเสมอไป เช่น พระเจ้าไซรัสมหาราช ผู้ปลดปล่อยชาวยิวจากการเป็นเชลยก็ถือว่าเป็นพระเมสสิยาห์ด้วย ต่อมาความหมายของเมสสิยาห์เปลี่ยนไป ใช้หมายถึงกษัตริย์ยิวผู้ปกครองโลกในยุคสุดท้ายไปตลอดชั่วนิรันดร์ ตามความเชื่อและอวสานวิทยาของชาวยิว พระเมสสิยาห์จะเป็นคนในเชื้อสายดาวิดและได้เป็นผู้นำของชาวยิวในอนาคต ตลอดจนทั้งโลกในยุคพระเมสสิยาห์ คำว่า เมสสิยาห์ ตรงกับภาษากรีกว่า คริสตอส ซึ่งแปลว่า พระคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนจึงใช้คำนี้เป็นสมัญญานามของพระเยซู เพราะเชื่อว่าพระผู้ช่วยให้รอดที่คัมภีร์ฮีบรูหรือคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมได้กล่าวถึงนั้น คือ พระเยซูคริสต์ ในตำราหะดีษของศาสนาอิสลามก็ระบุว่าอีซา (เยซู) บุตรนางมัรยัม (มารีย์) ก็คือนบีและมะซีฮ์ (เมสสิยาห์) ที่พระเป็นเจ้าทรงส่งมาช่วยวงศ์วานอิสราเอลตามพันธสัญญา และเชื่อว่าท่านจะกลับมายังโลกอีกครั้งพร้อมกับอิมามมะฮ์ดี และร่วมกันกำจัดมะซีห์ อัด-ดัจญาล (ศัตรูของพระคริสต์)http://muttaqun.com/dajjal.html.

ดู พระเจ้าและเมสสิยาห์

เรกนันส์อินเอกเซลซิส

รกนันส์อินเอกเซลซิส (Regnans in Excelsis; "ปกครองจากเบื้องบน") เป็นสารตราพระสันตะปาปาที่ออกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพัน..

ดู พระเจ้าและเรกนันส์อินเอกเซลซิส

เล็กซีโอดีวีนา

ล็กซีโอดีวีนา (Lectio Divina) แปลว่า การอ่านศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งหมายถึง การอ่านและภาวนาคัมภีร์ไบเบิล และเป็นสัญลักษณ์ของศาสนกิจแห่งการภาวนาของคริสตชนแบบดั้งเดิม และการอ่านบทอ่านมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำให้เกิดความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระยาห์เวห์ และเพิ่มความรู้ในพระวจนะของพระเป็นเจ้า เป็นหนทางแห่งการภาวนาด้วยบทอ่านที่เรียกร้องให้เราต้องศึกษา ไต่ตรอง รับฟัง และ ภาวนา และแม้แต่การร้องเพลงและชื่นชมยินดีในพระวาจาของพระเจ้.

ดู พระเจ้าและเล็กซีโอดีวีนา

เวอร์จิล

เวอร์จิล ปูบลิอุส แวร์กิลิอุส มาโร (Pvblivs Vergilivs Maro) หรือ เวอร์จิล (Virgil, Vergil; 15 ตุลาคม 70 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 21 กันยายน 19 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นกวีชาวโรมโบราณ บทกวีที่เขาแต่งจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระเจ้าและนิยายปรัมปรา งานเขียนที่มีชื่อเสียงของเขาได้แก่ เอ็กคล็อกส์ (Eclogues), จอร์จิกส์ (Georgics) และมหากาพย์ อีนีอิด (Aeneid) หมวดหมู่:นักเขียนชาวโรมัน.

ดู พระเจ้าและเวอร์จิล

เวนอม

วนอม (Venom) เป็นตัวละครในการ์ตูนของมาร์เวลคอมิกส์ ซึ่งเป็นศัตรูที่ร้ายกาจของสไปเดอร์-แมน.

ดู พระเจ้าและเวนอม

เสรีภาพ

รีภาพ, อิสรภาพ หรือเสรีธรรม ในทางปรัชญา หมายถึง เจตจำนงเสรี ซึ่งตรงข้ามกับนิยัตินิยม ในทางการเมือง เสรีภาพประกอบด้วยเสรีภาพทางสังคมและการเมืองที่รับประกันแก่พลเมืองทุกคน ในทางเทววิทยา เสรีภาพ คือ อิสรภาพจากพันธะบาป.

ดู พระเจ้าและเสรีภาพ

เอกเทวนิยมอิสลาม

ตาฮีดในอิสลามหมายถึง เอกเทวนิยมบริสุทธิ์ คือการยอมรับในพระเจ้าองค์เดียวถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของศาสนาอิสลาม.

ดู พระเจ้าและเอกเทวนิยมอิสลาม

เอ็ด กีน

อ็ดเวิร์ด ทีโอดอร์ กีน (Edward Theodore Gein) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ เอ็ด กีน (Ed Gein) เป็นฆาตกรฆ่าต่อเนื่องโรคจิตชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง.

ดู พระเจ้าและเอ็ด กีน

เจ้าฟ้าเสือห่มเมือง

้าฟ้าเสือห่มเมือง ผู้เป็นโอรสของสุพิมฟ้าขึ้นครองชากุยะสืบต่อมา ทรงเป็นประมุขที่กล้าหาญและขยันขันแข็ง อาณาจักรอาหมได้แผ่อาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง มีอาณานิคมอยู่ทุกทิศทาง พวกชุติยะยอมอยู่ใต้อำนาจและอยู่ใต้การควบคุมดูแลของขุนนางอาหมที่สทิยะและทิหิง ครอบครัวอาหมหลายครัวเรือนก็ได้ไปตั้งหลักแหล่งอยู่โดยรอบ การโจมตีของชาวนาคะก็ถูกปราบลงด้วยกำลังทหารที่แข็งแกร่ง อำนาจของชนชาวกะฉารีถูกลิดรอน และราชธานีทิมาปุระก็ตกเป็นของอาหมถึงสองครั้ง ขุนนางผู้หนึ่งชื่อ มารังกี โควา โกฮาอิน ได้รับแต่งตั้งให้ดูแลดินแดนตอนล่างของลุ่มน้ำทันสิริ และดินแดนส่วนใหญ่ของเนากองก็ตกเป็นของอาหม การรุกรานถึงสามครั้งของพวกโมฮัมหมัดก็ถูกปราบลงได้ สภาพสังคมของพลเมืองอาหมได้รับความดูแลเอาใจใส่ ได้แบ่งออกเป็นหมู่เป็นเหล่า ช่างก่อสร้างถูกส่งตัวมากจากชุติยะและที่อื่นๆ การใช้อาวุธปืนได้มีขึ้นเป็นครั้งแรก ศักราช "สัก" ตามแบบของฮินดูถูกนำมาใช้แทนศักราชเก่าซึ่งคำนวณวันเดือนปีตามแบบโจเวียน และในรัชกาลนี้ ความสำคัญทางศาสนาก็มีมิใช่น้อย นอกจากอิทธิพลของพราหมณ์แล้ว ยังมีการปฏิรูปแบบเวชนาวาซึ่งสังคเทพเป็นผู้นำออกเผยแพร.

ดู พระเจ้าและเจ้าฟ้าเสือห่มเมือง

เทววิทยา

ทววิทยา (theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี.

ดู พระเจ้าและเทววิทยา

เทวสิทธิราชย์

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ.

ดู พระเจ้าและเทวสิทธิราชย์

เทวัสนิยม

เทวัสนิยม (deism) เป็นแนวความคิดที่สำคัญในศตวรรษที่ 18 โดยในศตวรรษนี้เป็นยุคแห่งเหตุผล นักคิดทั้งหลายต่างพยายามที่จะสร้างระบบการวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ที่ได้ผลและสมเหตุสมผลขึ้น โดยไม่ยอมพึ่งพาอาศัยอำนาจเหนือธรรมชาติต่าง ๆ พระเจ้าเป็นเพียงผู้สร้างโลกเท่านั้น เราจะเห็นการแบ่งเป็นฝักฝ่ายระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ได้เกิดขึ้น พวกหัวเก่าโจมตีพวกหัวใหม่ว่าต่อไปนี้จะไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์หลงเหลืออยู่อีก การถกเถียงเป็นไปอย่างกว้างขวางอันเป็นเหตุให้เกิดความคิดแบบเทวัสนิยมขึ้นมา พวกนี้เชื่อในพระเจ้าแต่ในขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นในเหตุผลและคิดว่าจะสามารถใช้เหตุผลพิสูจน์ในเรื่องพระเจ้าได้ พวกนี้เชื่อต่อไปอีกว่าเหตุผลเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจศาสนาและศีลธรรมอย่างถูกต้อง พวกนี้ถือว่าพระเจ้านั้นมีอยู่ ทว่าหลังจากที่ทรงสร้างโลกแล้วก็มิได้ลงมายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์อีกเลย พวกนี้ยอมรับศาสนาในสมัยแรกเริ่ม แต่มักจะโจมตีศาสนาในระยะหลังที่มีพิธีการ มีพระเป็นผู้สืบศาสนา พวกนี้เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีเหตุผลอยู่ในตัว เพียงแต่ว่าคนส่วนใหญ่ไม่สามารถจะบังคับในตัวเองให้ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ทำให้พระเข้ามามีบทบาทได้ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว มนุษย์ทุกคนเข้าถึงและรู้เข้าใจเกี่ยวกับศาสนาเป็นอย่างดี ตัวอย่างผู้มีความเชื่อแบบเทวัสนิยม ได้แก่ เบนจามิน แฟรงคลินและวอลแตร์ หมวดหมู่:ความเชื่อ.

ดู พระเจ้าและเทวัสนิยม

เทวาธิปไตย

ทวาธิปไตย (Theocracy) คือระบอบการปกครองที่มีพระเจ้าหรือเทพเป็นประมุข หรือในความหมายกว้าง ๆ คือระบอบการปกครองที่รัฐปกครองโดยอำนาจจากเทพ (divine guidance) หรือโดยผู้ที่ถือกันว่าได้รับอำนาจหรือการดลใจโดยตรงจากเทพ ในภาษากรีกคอยนี (Koine Greek) หรือภาษากรีกสามัญคำว่า “theocracy” มาจากคำว่า “kra′tos” โดย “the.os” หรือ “ปกครองโดยพระเจ้า” สำหรับผู้มีความศรัทธาแล้วระบบนี้ก็เป็นระบอบการปกครองที่ใช้อำนาจจากเทพในการปกครองมวลมนุษย์ในโลก ไม่โดยผู้ที่เป็นเทพกลับชาติมาเกิด (incarnation) ก็มักจะโดยผู้แทนของศาสนจักรที่มีอำนาจเหนืออาณาจักร รัฐบาลที่ปกครองโดยระบบเทวาธิปไตยปกครองโดยเทพธรรมนูญ (theonomy) ระบอบเทวาธิปไตยควรจะแยกจากระบบการปกครองอื่น ๆ ที่มีศาสนาประจำชาติ (state religion) หรือรัฐบาลที่มีอิทธิพลจากเทวปรัชญาหรือศีลธรรม หรือระบบราชาธิปไตยที่ปกครอง “โดยพระคุณของพระเจ้า” (By the Grace of God) เทวาธิปไตยอาจจะเป็นระบบการปกครองเดี่ยวที่ฐานันดรระดับต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ปกครองโดยฝ่ายอาณาจักรเป็นฐานันดรระดับเดียวกันกับที่ใช้ในการปกครองในศาสนจักร หรืออาจจะแบ่งเป็นสองระบบที่แยกฐานันดรระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร การปกครองเทวาธิปไตยเป็นระบบที่ใช้ในหลายศาสนาที่ได้แก่ ศาสนาขงจื๊อ ศาสนายูดาห์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู พุทธศาสนาบางนิกายเช่นทะไลลามะ และ คริสต์ศาสนาบางนิกายที่รวมทั้งโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์ และมอร์มอน ตัวอย่างของการปกครองระบบเทวาธิปไตยของคริสต์ศาสนาก็ได้แก่การปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่าง..

ดู พระเจ้าและเทวาธิปไตย

เทวดาท่าจะบ๊องส์

ทวดาท่าจะบ๊องส์ (The Gods Must Be Crazy) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ดู พระเจ้าและเทวดาท่าจะบ๊องส์

เทศกาลของชาวยิว

ทศกาลของชาวยิว(Jewish festival) หรือ วันสำคัญในศาสนายูดาห์ เป็นเทศกาลทางศาสนาของชาวยิวบางเทศกาลเกี่ยวข้องกับฤดูการทำไร่ทำนา ซึ่งจัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการเลี้ยงดูของพระเจ้าตลอดปีที่ผ่านมา และเป็นโอกาสที่จะถวายคืนแด่พระเจ้า บางเทศกาลเป็นเทศกาลเพื่อระลึกถึงความยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ที่พระเจ้าปลดปล่อยพวกเขา เทศกาลเหล่านี้เป็นช่วงเวลาที่ชาวยิวจะชื่นชมกับสิ่งที่พระเจ้าประทานให้ ขณะเดียวกันก็เป็นเวลาที่ร่วมกันสารภาพบาปและชำระล้างจิตใจให้บริสุทธิ์ด้ว.

ดู พระเจ้าและเทศกาลของชาวยิว

เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)

อะเลเจนด์ออฟเซลดา เป็นเกมชุดประเภทแอ็กชันผจญภัยที่กล่าวถึงวีรบุรุษในตำนาน ริเริ่มโดยนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (宮本 茂) พัฒนาและวางจำหน่ายโดยนินเทนโด (Nintendo) เกมชุดนี้เป็นการผสมผสานระหว่างเกมแอ็กชัน เกมผจญภัย เกมปริศนา เกมเล่นตามบทบาท (RPG) ในบางโอกาสก็มีการใช้เกมมุมมองด้านข้าง (platform) เกมสายลับ (stealth) หรือเกมแข่งขัน (racing) ประกอบอยู่ด้วย ตัวเอกที่สามารถเล่นได้เพียงคนเดียวคือเด็กหนุ่มชื่อ ลิงก์ (Link) เขามักได้รับมอบหมายให้ช่วยเหลือ เจ้าหญิงเซลดา (Zelda) แห่ง อาณาจักรไฮรัล (Hyrule) รวมทั้งตัวประกอบอื่นๆ ซึ่งถูกจับตัวไปโดย กาน่อน (Ganon) ศัตรูตัวหลักของเรื่อง แต่อย่างไรก็ตามตัวละครบางตัวอาจปรากฏหรือไม่ปรากฏในภาคอื่นๆ ก็ได้ หรืออาจมีตัวละครตัวอื่นที่จะต้องช่วยเหลือหรือต้องต่อสู้ด้วยแทน เนื้อเรื่องโดยปกติมักจะเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ที่เรียกว่า ไทรฟอร์ซ (Triforce) มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมสีทองสามอัน ซึ่งเป็นตัวแทนของพลังอันไม่สิ้นสุดของพระเจ้าสามองค์ เกมชุดเดอะเลเจนด์ออฟเซลดาได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นหนึ่งในวิดีโอเกมที่มีอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ ควบคู่ไปกับ มาริโอ โปเกมอน และเมทรอยด์ เกมชุดนี้ประกอบไปด้วยเกมอย่างเป็นทางการ 14 ภาค เกมย่อยอีกหลายภาค บนเครื่องเล่นวิดีโอเกมชนิดต่างๆ เกมหลายภาคได้รับความชื่นชมจากผู้เล่นเป็นอย่างมากและประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าและเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)

เคอานู รีฟส์

อานู ชาลส์ รีฟส์ (Keanu Charles Reeves); เกิดเมื่อวันพุธที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1964 ใน กรุงเบรุต, ประเทศเลบานอน แม่ของเขาเป็นชาวอังกฤษ พ่อของเขาเป็นชาวอเมริกันที่มีเชื้อสายฮาวาย จีน โปรตุเกส และอังกฤษ ปัจจุบันรีฟส์ทำงานในสหรัฐอเมริกา แต่ถือสัญชาติแคนาดา ทั้งที่สามารถเลือกสัญชาติได้สามแบบคือ อเมริกันตามพ่อ หรืออังกฤษตามแม่ หรือแคนาดาตามถิ่นที่อยู่ แต่รีฟส์เลือกแคนาดาเพราะเป็นประเทศที่เขาเติบโตและเริ่มอาชีพนักแสดง นอกจากนั้นเขายังเล่นกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งได้คล่องแคล่ว และเป็นผู้เล่น MVP ของทีมสมัยเมื่ออยู่ที่โรงเรียนมัธยม ชื่อ เคอานู หมายถึง ลมเย็นที่พัดเหนือภูเขาในภาษาฮาวาเอียน และมีความหมายลึกซึ้งคือ ผู้ที่ซาบซึ้งในพระเจ้า เขามีน้องสาวชื่อ คิม (Kim) อาศัยอยู่ในเมือง Capri ประเทศอิตาลี.

ดู พระเจ้าและเคอานู รีฟส์

Breaking the Waves

Breaking the Waves เป็นภาพยนตร์ภาษาอังกฤษ เขียนบทและกำกับโดยลาร์ส ฟอน เทรียร์ นำแสดงโดยเอมิลี วัตสัน และสเตลลัน สคาร์การ์ด เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกในไตรภาค "หัวใจทองคำ" (Golden Heart Trilogy) ของลาร์ส ฟอน เทรียร์ ที่ประกอบด้วย Breaking the Waves (1996), The Idiots (1998) และ Dancer in the Dark (2000) ลาร์ส ฟอน เทรียร์ได้โครงเรื่องของภาพยนตร์เรื่องนี้มาจากนิทานที่เขาชื่นชอบมาตั้งแต่เด็ก เรื่อง "Golden Heart" กล่าวถึงเด็กหญิงคนหนึ่ง ที่เข้าไปเที่ยวเล่นในป่าพร้อมกับขนมปังแถวหนึ่ง เมื่อกลับออกมา เธอมีเพียงร่างกายเปลือยเปล่าไม่เหลืออะไรเลย มีแต่ร่างเปลือยเปล่าเท่านั้น เปรียบเทียบกับในภาพยนตร์ ที่ตัวเอกยอมเสียสละทุกสิ่งเพื่อให้คนรักพบแต่ความสุข ภาพยนตร์ถ่ายทำด้วยกล้องมือถือ ด้วยเทคนิคที่เรียกว่า Cinéma vérité ทำให้ได้ภาพสั่นไหว ทำให้ผู้ชมจำนวนมากไม่สามารถทนชมได้จนจบเรื่อง เพราะเกิดอาการมึน และปวดศีรษะ เดิมลาร์ส ฟอน เทรียร์ คัดเลือกเฮเลนา บอนด์แฮม คาร์เตอร์ หรือเมลานี กริฟฟิท ให้รับบทเบส แต่ถูกปฏิเสธเนื่องจากต้องแสดงบทเปลือยกาย และฉากเซ็กซ์ ภาพยนตร์ได้รับรางวัลกรังปรีซ์ จากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ประจำปี 1996 และรางวัลอื่นๆ จากเทศกาลภาพยนตร์ยุโรป และทำให้เอมิลี วัตสัน ไดรับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมในปีนั้น.

ดู พระเจ้าและBreaking the Waves

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ดู พระเจ้าและ7

7 วันนี้ พี่ขอเป็นพระเจ้า

7 วันนี้ พี่ขอเป็นพระเจ้า (Bruce Almighty) เป็นภายยนตร์ที่สร้างขึ้นเมื่อ..

ดู พระเจ้าและ7 วันนี้ พี่ขอเป็นพระเจ้า

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระผู้เป็นเจ้า

อับราฮัมอัลเลลูยาอำนาจอธิปไตยของปวงชนอีวานเกเลียนอติเทวนิยมอไญยนิยมอ้ายจามฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)ฌาน ดาร์กจอห์น (ชื่อ)จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจิตวิทยาเชิงบวกธงชาติรัสเซียทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลทอมัส อไควนัสข้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้าดาวเทียมไทยโชตคัมภีร์ไบเบิลคาร์ล มากซ์คู่มือการปกครองบาซิลิคอนโดรอนตักบีร์ตำนานทองซามูเอลประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้าแบล็ก & ไวต์แพระไดส์ลอสต์แคท สตีเวนส์โยเซฟ (บุตรยาโคบ)โองการมุบาฮะละฮ์โจตันโทราห์โปรเตสแตนต์ไทยเชื้อสายมลายูเพรสไบทีเรียนเพดานโบสถ์น้อยซิสทีนเกียรติยศแห่งชัยชนะเภสัชศาสตร์เมสสิยาห์เรกนันส์อินเอกเซลซิสเล็กซีโอดีวีนาเวอร์จิลเวนอมเสรีภาพเอกเทวนิยมอิสลามเอ็ด กีนเจ้าฟ้าเสือห่มเมืองเทววิทยาเทวสิทธิราชย์เทวัสนิยมเทวาธิปไตยเทวดาท่าจะบ๊องส์เทศกาลของชาวยิวเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)เคอานู รีฟส์Breaking the Waves77 วันนี้ พี่ขอเป็นพระเจ้า