โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระสันตะปาปา

ดัชนี พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

456 ความสัมพันธ์: บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดชาร์เลอมาญบาทหลวงฟร็องซัว ราวายักฟีลิปโป ลิปปีพ.ศ. 1162พ.ศ. 1367พ.ศ. 1498พ.ศ. 1688พ.ศ. 1828พ.ศ. 1986พ.ศ. 2044พ.ศ. 2128พ.ศ. 2267พ.ศ. 2343พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2524พระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมันพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรพระราชวังพระสันตะปาปาพระสันตะปาปาหญิงโจนพระคาร์ดินัลพระนางมารีย์พรหมจารีพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษกรมหลวงโยธาเทพกรากุฟการสละตำแหน่งพระสันตะปาปาการปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์การประชุมเลือกสันตะปาปาการเลิกกีดกันชาวคาทอลิกการเคลื่อนย้ายเรลิกกาลิเลโอ กาลิเลอีกางเขนกาเตรีนาแห่งซีเอนาภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)มหากฎบัตรมหาวิหาร (ศาสนาคริสต์)มหาวิหารบัมแบร์กมหาวิหารมะนิลามหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเรมหาวิหารซีเอนามหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมหาวิหารนักบุญเปโตรมหาวิหารเอกมหาวิทยาลัยปารีสมาร์ติน ลูเทอร์...มาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษมุขมณฑลโรมมุขนายกมุขนายกกิตติคุณมุขนายกมหานครมุขนายกรองมุขนายกผู้ช่วยมุขนายกประจำมุขมณฑลมุขนายกเกียรตินามมงกุฎพระสันตะปาปาระบำมรณะรัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐบัญญัติมอบอำนาจรัฐสันตะปาปารัฐผู้คัดเลือกไมนซ์ราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสองราฟาเอลรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในนครรัฐวาติกันรายพระนามรัชทายาทรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์รายนามบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกของฟอบส์ลอเรนโซ วัลลาวิทยาศาสตร์ศาสนาคริสต์ศาสนเภทตะวันออก-ตะวันตกศาสนเภทตะวันตกศิลปะคริสเตียนสภาปกครองโรมันสมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสสมเด็จพระสันตะปาปาฟอร์โมซุสสมเด็จพระสันตะปาปาฟาเบียนสมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปามาร์คุสสมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลินุสสมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปามิลทิอาดิสสมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปายูตีเชียนสมเด็จพระสันตะปาปายูเซบิอุสสมเด็จพระสันตะปาปาลันโดสมเด็จพระสันตะปาปาลินุสสมเด็จพระสันตะปาปาลิเบริอุสสมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาวาเลนตินุสสมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาวิจิลิอุสสมเด็จพระสันตะปาปาวิตาเลียนสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาอกาโธสมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาอนาคลีตุสสมเด็จพระสันตะปาปาอนิเซตุสสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาฮอร์มิสดัสสมเด็จพระสันตะปาปาฮิลาริอุสสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 14สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 15สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 17สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 18สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 19สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 21สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาดิโอนีซุสสมเด็จพระสันตะปาปาคอร์เนลิอุสสมเด็จพระสันตะปาปาคอนสแตนตินสมเด็จพระสันตะปาปาซอเตอร์สมเด็จพระสันตะปาปาซาบินิอานุสสมเด็จพระสันตะปาปาซาคารีสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาซิมพลิซิอุสสมเด็จพระสันตะปาปาซิมมาคุสสมเด็จพระสันตะปาปาซิริซิอุสสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวริอุสสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาซิซินนิอุสสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาปอนเทียนสมเด็จพระสันตะปาปาปัสกัลที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาแอนเทรุสสมเด็จพระสันตะปาปาโรมานุสสมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาโดนุสสมเด็จพระสันตะปาปาโคนอนสมเด็จพระสันตะปาปาโซสิมุสสมเด็จพระสันตะปาปาไกอุสสมเด็จพระสันตะปาปาไฮยีนุสสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 15สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 14สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 15สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาเอลิวเทรุสสมเด็จพระสันตะปาปาเอวาริสตุสสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเทเลสฟอรุสสมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 10สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 14สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9สมเด็จพระสันตะปาปาเซฟิรินุสสมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเซเวรินุสสมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 2สังคายนาลาเตรันครั้งที่หนึ่งสังคายนาวาติกันครั้งที่สองสังฆมณฑล (แก้ความกำกวม)สันตะสำนักสารตราพระสันตะปาปาสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตกสงครามฮุสไซต์สงครามครูเสดสงครามครูเสดลิโวเนียสงครามครูเสดครั้งที่ 6สงครามครูเสดตอนเหนือหอล้างบาปหัตถเลขาหนังสือพิมพ์อักกาเดเมียดีซันลูกาอัศวินฮอสปิทัลเลอร์อัศวินทิวทอนิกอัศวินแห่งพระคริสต์ (โปรตุเกส)อัศวินเทมพลาร์อัครบิดรอัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรียอัครบิดรแห่งแอนติออกอัครบิดรแห่งเยรูซาเลมอัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีอาลบีอาวีญงอาวีญงปาปาซีอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลอาณาจักรแห่งกาลเวลาอาเคินอิกเนเชียสแห่งโลโยลาอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษองครักษ์สวิสฌูล มาซาแร็งผู้รับใช้พระเป็นเจ้าผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปาฌ็อง-เบแดล บอกาซาจอห์น ฮอว์ควูดจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดินีมาทิลดาจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิไบแซนไทน์จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีธรรมนูญแคลเร็นดอนธุลีปริศนาธงชาตินครรัฐวาติกันทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการทหารรับจ้างอิตาลีข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์ความตกลง ค.ศ. 1801คาทอลิกคณะพระคาร์ดินัลคณะภราดาเซนต์คาเบรียลคณะเยสุอิตตระกูลบอร์เจียตรีเอกภาพต้นสมัยกลางฉากแท่นบูชาเกนต์ซีโมนเปโตรซีโมเน มาร์ตีนีประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์เดนมาร์กประเทศอิตาลีปัญหากรุงโรมปาแลเดปัปนักบุญอักแนสนักปราชญ์แห่งคริสตจักรนิกายในศาสนาคริสต์นครรัฐวาติกันแบร์นาร์แห่งแกลร์โวแม่ชีเทเรซาแม็ทธิว แพริสแถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์โบสถ์กาลหว่าร์โบสถ์คริสต์โบสถ์น้อยซิสทีนโรมโรมันคาทอลิกโลกตะวันตกโจแอนแห่งอังกฤษ ราชินีแห่งสก็อตแลนด์โทษต้องห้ามโดโรเธียแห่งบรันเดินบวร์คโปรเตสแตนต์เกรฟแอกเซนต์เกรโกริโอ อากลีไป อี ลาบายันเกลฟ์และกิเบลลิเนเมษายน พ.ศ. 2548เมดีชีเรกนันส์อินเอกเซลซิสเอลิเนอร์แห่งอากีแตนเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวีเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกเทวสิทธิราชย์เทวากับซาตานเทวากับซาตาน (ภาพยนตร์)เทวาธิปไตยเขตอัครบิดรเขตอัครบิดรเวนิสเขตผู้แทนพระสันตะปาปาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเคลอจี10 พฤศจิกายน16 ตุลาคม2 มกราคม2 มิถุนายน ขยายดัชนี (406 มากกว่า) »

บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ด

หินแห่งสโคนภายไต้บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดที่แอบบีเวสต์มินสเตอร์ ค.ศ. 1855 บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดที่ไม่มีหินแห่งสโคนในปัจจุบัน บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ด หรือ บัลลังก์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด หรือ บัลลังก์ราชาภิเษก (St Edward's Chair หรือ King Edward's Chair หรือ The Coronation Chair) บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดเป็นพระราชบัลลังก์ที่ใช้ประทับโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ที่สร้างตามพระราชโองการของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 โดยให้มีที่ใส่หินแห่งสโคน (Stone of Scone) ซึ่งเป็นหินสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ที่เดิมเก็บไว้แอบบีสโคน (Scone Abbey) ที่พระองค์ทรงยึดมา พระราชบัลลังก์มาได้รับชื่อภายหลังตามพระนามของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพผู้เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญ ตัวบัลลังก์เก็บไว้ที่ชาเปลเซนต์เอ็ดเวิร์ดในแอบบีเวสต์มินสเตอร์ พระมหากษัตริย์อังกฤษและพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรทุกพระองค์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและบัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์เลอมาญ

ร์เลอมาญ (Charlemagne) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช (Karl der Große) เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ (ฝรั่งเศสโบราณ) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและชาร์เลอมาญ · ดูเพิ่มเติม »

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและบาทหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ราวายัก

ฟร็องซัว ราวายัก (François Ravaillac; ค.ศ. 1578 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นนักการ (factotum) อยู่ที่ราชสำนักเมืองอ็องกูแล็ม (Angoulême) และเป็นครู (tutor) ในบางโอกาส เขาถือนิกายโรมันคาทอลิกอย่างสุดโต่ง และปลงพระชนม์พระเจ้าอ็องรีที่ 4 (Henry IV) พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ใน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและฟร็องซัว ราวายัก · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ลิปปี

“แม่พระและพระกุมาร”ราว ค.ศ. 1440-1445พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนผู้ชายและผู้หญิงในห้อง” (Portrait of a Man and Woman at a Casement) ราว ค.ศ. 1440พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, นครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา ภาพเหมือนกับลูกศิษย์ ฟีลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi) (ค.ศ. 1406 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1469) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและฟีลิปโป ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1162

ทธศักราช 1162 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 1162 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1367

ทธศักราช 1367 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 1367 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1498

ทธศักราช 1498 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 1498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1688

ทธศักราช 1688 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 1688 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1828

ทธศักราช 1828 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 1828 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1986

ทธศักราช 1986 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 1986 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2044

ทธศักราช 2044 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2044 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2128

ทธศักราช 2128 ตรงหรือใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2128 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2267

ทธศักราช 2267 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2267 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน

ระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน (Rex Romanorum, King of the Romans) เป็นตำแหน่งพระอิสริยศสำหรับบุคคลที่ได้รับคัดเลือกจากคณะผู้คัดเลือกให้ดำรงตำแหน่งจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เป็นพระองค์ต่อไป โดยที่บุคคลนั้นยังไม่ได้รับการราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาซึ่งจะนับว่าเป็นจักรพรรดิเต็มพระองค์ เช่น ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่าง..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์สถานที่ประกอบพระราชพิธีราชาภิเษก พระราชพิธีราชาภิเษกพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร เป็นพระราชพิธีซึ่งพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ ตลอดจนรัฐในเครือจักรภพ รวมทั้งคู่อภิเษกสมรสของพระองค์ จะทรงประกอบเพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจสูงสุดเหนือประเทศเหล่านั้น พระราชพิธีราชาภิเษกนี้มีจัดขึ้นในทุกประเทศที่ปกครองโดยมีระบบกษัตริย์เป็นประมุข แม้แต่พระสันตะปาปาแห่งนครรัฐวาติกันก็ทรงประกอบพิธีนี้เช่นกัน พระราชพิธีนี้โดยมากมักจะจัดขึ้นหลังจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนเสด็จสวรรคตไปแล้วพอสมควร เพื่อที่จะได้มีเวลาพอสำหรับพระราชพิธีพระบรมศพสำหรับกษัตริย์พระองค์ก่อน และมีการเตรียมความพร้อมสำหรับกษัตริย์พระองค์ใหม่ด้วย ดังเช่นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 แต่ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2496, พระราชพิธีนี้มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธาน ในฐานะศาสนาจารย์อาวุโสสูงสุดของคริสตจักรแห่งอังกฤษ พระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีของทุกประเทศจะเข้าร่วมในพระราชพิธีนี้ รวมทั้งอาจมีแขกของรัฐบาลอีกเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพระสันตะปาปา

ระราชวังพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: Apostolic Palace หรือ Papal Palace หรือ Palace of the Vatican) เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน ตัววังเป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ประกอบด้วยห้องชุดของพระสันตะปาปา (Papal Apartments), สำนักงานของผู้บริหารนิกายโรมันคาทอลิก, ชาเปล, พิพิธภัณฑ์วาติกัน และหอสมุดวาติกัน ห้องต่างๆ มีด้วยกันทั้งหมดกว่า 1,000 ห้องโดยมีห้องที่สำคัญที่สุดคือห้องราฟาเอล และชาเปลซิสตินซึ่งมีเพดานจิตรกรรมฝาผนังที่มีชื่อที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล ที่พำนักอื่นขอวพระสันตะปาปาอยู่ที่วังแลเตอรันและที่ปราสาทกานโดลโฟ (Castel Gandolfo) นอกกรุงโรม วังวาติกันมามีความสำคัญกว่าวังแลเตอรันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ก็มาแพ้แก่วังควิรินัล (Quirinal Palace) อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระราชวังพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปาหญิงโจน

ระสันตะปาปาหญิงโจน พระสันตะปาปาหญิงโจน (Pope Joan) เป็นพระสันตะปาปาหญิงในตำนานผู้ซึ่งมีการอ้างว่าดำรงตำแหน่งอยู่ช่วงหนึ่งในยุคกลาง เรื่องเล่านี้ปรากฏครั้งแรกในจดหมายเหตุคริสต์ศตวรรษที่ 13 และภายหลังได้แพร่หลายและมีการเล่าต่อเติมทั่วทวีปยุโรป เรื่องนี้เป็นที่เชื่อกันอย่างกว้างขวางอยู่หลายศตวรรษ แม้นักวิชาการศาสนาสมัยใหม่มองว่าเป็นเรื่องแต่ง ซึ่งบางทีอาจกลายมาจากคติชาวบ้านที่ถูกบันทึกอย่างประวัติศาสตร์เกี่ยวข้องกับอนุสาวรีย์โรมันหรือจากการเสียดสีต่อต้านพระสันตะปาปา การกล่าวถึงพระสันตะปาปาหญิงครั้งแรกปรากฏในจดหมายเหตุของ Jean Pierier de Mailly แต่ฉบับที่ได้รับความนิยมและมีอิทธิพลสูงสุด คือ ฉบับที่แทรกเข้าไปใน Chronicon Pontificum et Imperatorum ของ Martin of Troppau ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 เรื่องเล่าส่วนใหญ่อธิบายเธอว่าเป็นหญิงมีความสามารถและมีการศึกษาที่ปลอมแปลงตนเป็นชาย ซึ่งบ่อยครั้งด้วยคำขอของคนรัก ในเรื่องที่เล่ากันมากที่สุด เนื่องจากความสามารถของเธอ เธอจึงไต่เต้าขึ้นผ่านลำดับชั้นของศาสนจักร กระทั่งได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาในท้ายที่สุด อย่างไรก็ดี ระหว่างขี่บนหลังม้า เธอได้ให้กำเนิดลูก และได้เปิดเผยเพศของเธอ ในเรื่องส่วนใหญ่เธอเสียชีวิตไม่นานหลังจากนั้น โดยอาจถูกสังหารโดยฝูงชนโกรธแค้นหรือจากสาเหตุธรรมชาติ ความทรงจำเกี่ยวกับเธอถูกบ่ายเบี่ยงไปโดยพระสันตะปาปาคนต่อ ๆ ม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระสันตะปาปาหญิงโจน · ดูเพิ่มเติม »

พระคาร์ดินัล

ตราประจำสมณศักดิ์พระคาร์ดินัล คาร์ดินัล (Cardinal) เป็นสมณศักดิ์ชั้นสูง รองจากพระสันตะปาปา ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาพระสันตะปาปา ในการปกครองคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตำแหน่งนี้อาจเทียบเท่ากับสมเด็จพระราชาคณะในศาสนาพุทธ หรือสมาชิกวุฒิสภาในทางโลก ในสมัยก่อนตำแหน่งคาร์ดินัลมักเป็นฆราวาส แต่นับตั้งแต่ตราประมวลกฎหมายพระศาสนจักรฉบับล่าสุด (ค.ศ. 1917–83) เฉพาะบาทหลวงและมุขนายกเท่านั้นที่มีสิทธิ์เป็นพระคาร์ดินัลได้ หน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งของพระคาร์ดินัลคือ เข้าร่วมการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่ แทนตำแหน่งที่ว่างลง และตนเองก็มีสิทธิ์ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาด้วย พระคาร์ดินัลอาจมีตำแหน่งมุขนายกหรือเป็นหัวหน้าปกครองคณะบาทหลวง คณะนักบวชคาทอลิกชาย-หญิง และคริสต์ศาสนิกชนฆราวาส ในมุขมณฑลที่ท่านปกครองด้ว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระคาร์ดินัล · ดูเพิ่มเติม »

พระนางมารีย์พรหมจารี

ริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกเรียกนางมารีย์ (มารดาพระเยซู) ว่า พระนางมารีย์พรหมจารี (the Blessed Virgin Mary) เพราะเชื่อว่าพระแม่มารีย์เป็นพรหมจารีเสมอ และพระเยซูซึ่งเชื่อว่าเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าก็มารับสภาพมนุษย์ผ่านทางครรภ์ของพระแม่มารีย์ จึงทำให้พระแม่มารีย์มีสถานะเป็น "พระมารดาพระเจ้า" ด้วย คริสตจักรโรมันคาทอลิกได้รับรองความเชื่อนี้มาตั้งแต่สังคายนาเอเฟซัสครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระนางมารีย์พรหมจารี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ

ระเจ้าจอห์น หรือที่รู้จักในพระนาม “จอห์นผู้เสียแผ่นดิน” (John หรือ John Lackland ค.ศ. 1166-1216) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ ได้อภิเษกสมรสกับเอลินอร์แห่งคาสตีล และต่อมากับพระนางมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ที่บรัฟบายแซนด์ส คัมเบอร์แลนด์ อังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้รับชัยชนะต่อเวลส์และทรงพยายามปราบปรามสกอตแลนด์แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

กรมหลวงโยธาเทพ

กรมหลวงโยธาเทพ ภายหลังออกพระนามว่า สมเด็จพระรูปเจ้า มีพระนามเดิมว่า พระสุดาเทวี (คำให้การชาวกรุงเก่า)ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 94 หรือ เจ้าฟ้าสุดาวดี (พ.ศ. 2199—2278) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งประสูติแต่พระมเหสีฝ่ายขวา พระองค์มีบทบาทด้านการค้าค่อนข้างสูงในรัชสมัยของพระราชบิดา และได้รับพระราชทานให้ดำรงพระอิสริยยศเป็น "กรมหลวงโยธาเทพ" และคงมีพระอำนาจสูงมาก โดยจดหมายเหตุลาลูแบร์กล่าวว่าพระองค์ "...ทรงพระเกียรติยศและเสด็จประทับ ณ พระมนทิราลัยเยี่ยงพระอัครมเหสี..."จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม, หน้า 303 และบางครั้งชาวตะวันตกก็เรียกแทนพระองค์ว่าเป็น "ราชินี" พระองค์มีบทบาทอย่างสูงเนื่องจากทรงมีส่วนริเริ่มการปฏิวัติผลัดแผ่นดิน ทั้งยังมีความสัมพันธ์อันดีกับแพทย์หลวงชาวฝรั่งเศสที่ชื่อดาเนียล บรูชบูรด์ ผู้ที่ถูกกล่าวโทษว่าวางยาลอบปลงพระชนม์สมเด็จพระนารายณ์ แต่ท้ายที่สุดพระองค์ก็ตกเป็นเหยื่อของเหตุการณ์นี้เสียเองทั้งที่ไม่เต็มพระทัยนัก ด้วยการเป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายของสมเด็จพระเพทราชา แต่หลังสิ้นรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา พระองค์และกรมหลวงโยธาทิพได้ถวายบังคมออกจากพระบรมมหาราชวังมาประทับและดำรงพระชนม์อย่างสงบด้วยการผนวชเป็นรูปชี แต่นั้นเป็นต้นมาชาววังได้ออกพระนามว่า "สมเด็จพระรูปเจ้า"ดร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและกรมหลวงโยธาเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กรากุฟ

กรากุฟ (Kraków) หรือ คราเคา (Krakow หรือ Cracow) เป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองและเก่าแก่ที่สุดในโปแลนด์และเป็นจุดหมายปลายทางที่นิยมของนักท่องเที่ยวเขตเมืองเก่าได้รับการบรรจุอยู่ในรายชื่อมรดกโลก เมืองตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำวิสตูลาในจังหวัดมาวอปอลสกา (เลสเซอร์โปแลนด์) เมืองมีที่มาตั้งแต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 7The Municipality Of Kraków Press Office, 1996–2007, in participation with ACK Cyfronet of the AGH University of Science and Technology, กรากุฟเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางชั้นนำอย่างมีแบบแผนของสถาบันการศึกษาโปแลนด์ วัฒนธรรมและชีวิตศิลปะ และยังเป็นหนึ่งเมืองศูนย์กลางสำคัญด้านธุรกิจของโปแลนด์ เป็นเมืองหลวงของโปแลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและกรากุฟ · ดูเพิ่มเติม »

การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา

การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา (papal resignation) เป็นการที่พระสันตะปาปาแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิกทรงลาออกจากตำแหน่งด้วยความสมัครพระทัย เนื่องจากตามปรกติแล้วพระสันตะปาปาทรงอยู่ในตำแหน่งจนกว่าจะสิ้นพระชนม์ จึงไม่บ่อยนักที่พระสันตะปาปาจะทรงสละตำแหน่ง ในประวัติศาสตร์มีพระสันตะปาปาเพียงห้าพระองค์เท่านั้นที่ทรงสละตำแหน่ง ทั้งห้าครั้งเกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 15 แต่มีข้อโต้แย้งว่า สี่ครั้งแรกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึง 11 สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 พระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบัน ได้ทรงประกาศว่า จะทรงสละตำแหน่งโดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและการสละตำแหน่งพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปศาสนา

การปฏิรูปศาสนา อาจหมายถึงการปฏิรูปทางศาสนาคริสต์ที่สำคัญๆในประวัติศาสตร์ยุโรป ซึ่งมีหลายครั้ง ได้แก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและการปฏิรูปศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

มาร์ติน ลูเทอร์ การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ (Protestant Reformation) คือขบวนการการปฏิรูปศาสนาที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมเลือกสันตะปาปา

การประชุมเลือกสันตะปาปากระทำกันในโบสถ์น้อยซิสทีนมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1492 การประชุมเลือกสันตะปาปา (Papal conclave) คือการประชุมโดยคณะพระคาร์ดินัล (College of Cardinals) เพื่อเลือกตั้งมุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) ซึ่งเป็นพระสันตะปาปาองค์ใหม่หลังจากที่ตำแหน่งว่างลง พระสันตะปาปาถือกันว่าเป็นผู้สืบตำแหน่งมาจากนักบุญเปโตร ซึ่งชาวคาทอลิกเชื่อว่าเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก และเป็นตำแหน่งที่ถือกันว่าเป็นประมุขของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบนโลกมนุษย์ การเลือกตั้งนี้ถือว่าเก่าแก่ที่สุดที่ดำเนินการต่อเนื่องกันมาในการเลือกตั้งประมุขของคริสตจักรBaumgartner, Frederick J. 2006 November 1.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและการประชุมเลือกสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกกีดกันชาวคาทอลิก

แสตมป์ออกในปี ค.ศ. 1929 ฉลองโอกาส “การปลดแอกคาทอลิก” โดยมีภาพเหมือนของแดเนียล โอคอนเนลล์ การเลิกกีดกันคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก หรือการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก (Catholic Emancipation; Catholic relief) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่เป็นการลดหรือการยกเลิกการจำกัดสิทธิของคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์ ที่เป็นผลมาจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติและกฎหมายของบริเตนในไอร์แลนด์ที่รวมทั้งพระราชบัญญัติสมานฉันท์, the พระราชบัญญัติทดสอบ และ ประมวลกฎหมายอาญาของไอร์แลนด์ ประมวลกฎหมายอาญาเป็นบทบัญญัติหลายฉบับที่บังคับใช้ในไอร์แลนด์ภายใต้การปกครองของบริเตน ที่มีวัตถุประสงค์ในการพยายามยุบเลิกอำนาจของฝ่ายเสียงข้างมากในไอร์แลนด์ผู้เป็นโรมันคาทอลิก การบังคับยกเลิกอำนาจทั้งทางโลกและทางธรรมของพระสันตะปาปาส่งผลกระทบกระเทือนต่อผู้ถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์เป็นอันมาก หลังจากการเสียชีวิตของเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1766เป็นเวลา 70 ปีสถาบันพระสันตะปาปาก็ยอมรับราชวงศ์ฮาโนเวอร์ว่าเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอังกฤษ, สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์โดยถูกต้อง หลังจากนั้นกฎหมายอาญาก็เริ่มได้รับการยุบเลิก พระราชบัญญัติฉบับสำคัญที่สุดของการปลดแอกคาทอลิกคือ พระราชบัญญัติเพื่อการผ่อนปรนสิทธิของโรมันคาทอลิก..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

การเคลื่อนย้ายเรลิก

ฟรซิงในเยอรมนี (ภาพเขียนในคริพท์ของมหาวิหารไฟรซิง) การเคลื่อนย้ายวัตถุมงคล (Translation of relics) ในคริสต์ศาสนา "การเคลื่อนย้ายวัตถุมงคล" คือการโยกย้ายสิ่งของศักสิทธิ์ (เช่นการโยกย้ายอัฐิ หรือ มงคลวัตถุที่เป็นของนักบุญ) จากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งที่อาจจะเป็นคริสต์ศาสนสถานอื่น หรือ มหาวิหาร การโยกย้าย หรือ "Translation" ทำได้หลายวิธีที่รวมทั้งการทำสนธยารำลึกตลอดคืน หรือ การแบกมงคลวัตถุอันมีค่าในหีบที่ทำด้วยเงินหรือทอง ภายใต้กลดคล้ายไหม การเคลื่อนย้ายอันเป็นพิธีรีตอง (elevatio corporis) ของมงคลวัตถุถือกันว่าเป็นพิธีที่เป็นการแสดงความยกย่องในความศักดิ์สิทธิ์ของผู้ที่ถูกเคลื่อนย้าย ที่เท่าเทียมกับการรับการแต่งตั้งให้เป็นนักบุญในสถาบันออร์ธอด็อกซ์ พิธีเคลื่อนย้ายในนิกายโรมันคาทอลิกมีจุดประสงค์เดียวกันจนกระทั่งมามีพิธีประกาศการเป็นนักบุญกันขึ้นอย่างเป็นทางการเป็นมาตรฐานและตามพระประสงค์ของพระสันตะปาปา วันเคลื่อนย้ายมงคลวัตถุของนักบุญเป็นวันที่จะฉลองแยกจากวันสมโภชน์ เช่นวันที่ 27 มกราคมเป็นวันฉลองการเคลื่อนย้ายมงคลวัตถุของนักบุญจอห์น คริสซอสตอมจากหมู่บ้านโคมานาในอาร์มีเนียที่ทรงเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและการเคลื่อนย้ายเรลิก · ดูเพิ่มเติม »

กาลิเลโอ กาลิเลอี

กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei; 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 - 8 มกราคม ค.ศ. 1642) เป็นชาวทัสกันหรือชาวอิตาลี ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ผลงานของกาลิเลโอมีมากมาย งานที่โดดเด่นเช่นการพัฒนาเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์และผลสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญจากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัสอย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งดาราศาสตร์สมัยใหม่" "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่"Weidhorn, Manfred (2005).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและกาลิเลโอ กาลิเลอี · ดูเพิ่มเติม »

กางเขน

กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ. 1997) หรืออีกความหมายหนึ่งคือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเทพที่เป็นแกนตั้งและโลกที่คือแกนนอน (คอค, ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

กาเตรีนาแห่งซีเอนา

นักบุญกาเตรีนาแห่งซีเอนา (Caterina da Siena) เป็นสมาชิกคณะชั้นสามของนักบุญดอมินิก เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและกาเตรีนาแห่งซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)

หมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (Portrait of Maffeo Barberini) (Portrait of Maffeo Barberini) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคลที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี “ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ” เป็นภาพที่เขียนราวปี ค.ศ. 1598 บาร์เบอรินิผู้มาจากครอบครัวสำคัญของฟลอเรนซ์ขณะนั้นมีอายุได้ 30 ปี และได้รับความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในตำแหน่งในสังฆาจักร บาร์เบอรินิเป็นเพื่อนของคาร์ดินัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเต ผู้เป็นผู้อุปถัมภ์คนสำคัญคนแรกของคาราวัจโจ การอุปถัมภ์ของบาร์เบอรินิแก่คาราวัจโจดำเนินต่อมาอีกหลายปี ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

มหากฎบัตร

มหากฎบัตร (Magna Carta) ฉบับที่พระเจ้าเฮนรีที่ 3 ประกาศเมื่อ พ.ศ. 1768 มหากฎบัตร (Magna Carta, แปลว่า "กฎบัตรใหญ่") บางครั้งก็เรียกว่า "กฎบัตรใหญ่แห่งอิสรภาพ" (Magna Carta Libertatum) เป็นกฎบัตรของอังกฤษที่ตราขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1758 (ค.ศ. 1215) โดยถือกันว่ามหากฎบัตรนี้คืออิทธิพลที่ยิ่งใหญ่ที่มีต่อประวัติศาสตร์ศาสตร์อันยาวนานของกระบวนการที่นำมาสู่กฎหมายรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน การที่ มหากฎบัตรเกิดขึ้นมาได้นั้น เนื่องมาจากข้อขัดแย้งระหว่างพระสันตปาปา พระเจ้าจอห์นและคณะขุนนางอังกฤษของพระองค์เกี่ยวกับสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์ มหากฎบัตรบังคับให้พระมหากษัตริย์ทรงสละสิทธิ์บางอย่าง และยอมรับกระบวนการทางกฎหมายบางอย่าง และยังให้รับว่าพระราชประสงค์ของพระมหากษัตริย์ต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย มีความเข้าใจผิดที่แพร่หลายหลายประการเกี่ยวกับมหากฎบัตรนี้ เช่นว่าเป็นเอกสารชิ้นแรกสุดที่จำกัดสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์โดยกฎหมายบ้าง (ความจริงไม่ใช่กฎบัตรแรกที่จำกัดสิทธิ์กษัตริย์และมหากฎบัตรนี้ส่วนหนึ่งมาจากสืบเนื่องกฎบัตรแห่งอิสรภาพ) และในแง่ปฏิบัติ พระมหากษัตริย์ถูกจำกัดสิทธิ์บ้าง เป็นเอกสารที่ตายตัวไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ้าง มหากฎบัตรได้รับการปรับปรุงแก้ไขมาโดยตลอดยุคมืด และแก้ไขต่อในสมัยราชวงศ์ทิวดอร์และราชวงศ์สจวต และต่อมาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 (พ.ศ. 2144-2343) ล่วงมาถึงช่วงแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มาตราต่าง ๆ ที่มีเดิมในกฎหมายอังกฤษถูกยกเลิกหรือได้รับการปรับปรุงไปเกือบหมด อิทธิพลของมหากฎบัตรนอกประเทศอังกฤษ อาจเห็นได้ในรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและในกฎหมายว่าด้วยสิทธิ์ นอกจากนี้ ประเทศต่าง ๆ ที่ใช้กฎหมายจารีตแต่มีรัฐธรรมนูญจะมีอิทธิพลของมหากฎบัตรอยู่ ทำให้มหากฎบัตรกลายเป็นเอกสารทางกฎหมายที่มีความสำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์แห่งประชาธิปไตย เนื้อหาหลักในมหากฎบัตร กล่าวถึง สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายของเสรีชน ไม่ว่าบุคคลนั้นจะอยู่ในชนชั้นหรือวรรณะใดก็ตาม และพระเจ้าแผ่นดินจะต้องมอบสิทธินี้ให้กับขุนนางหรือผู้ครอบครองที่ดิน (Vassal) และขุนนางนั้นจะต้องมอบสิทธิให้กับพลเมืองหรือไพร่ในสังกัด โดยพลเมืองทุกคนจะไม่ถูกกดขี่ พ่อค้าและชาวนาไม่จำเป็นต้องมอบสินค้าบางส่วนหรือผลิตผลทางเกษตรให้กับขุนนางหรือพระเจ้าแผ่น เพื่อเป็นค่าคุ้มครอง ดังเนื้อความในส่วนหนึ่งของมหากฎบัตร ที่กล่าวว่า "จะไม่มีบุคคลที่ถูกกักขัง หน่วงเหนี่ยว โดยปราศจากอิสรภาพ หรือถูกยึด ขู่กรรโชก ทรัพย์สินโดยปราศจากคำตัดสินของศาล" นอกจากนี้มีในมหากฎบัตรยังได้กล่าวถึงการเรียกเก็บภาษีของพระเจ้าแผ่นดิน ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินจะทรงเรียกเก็บภาษีตามพระราชหฤทัย โดยไม่ผ่านการเห็นชอบจากสภาบริหารราชการแผ่นดิน (The Great Council of the Nation) มิได้.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหากฎบัตร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหาร (ศาสนาคริสต์)

มหาวิหาร (basilica) คำว่า “basilica” มาจากภาษากรีก “Stoa Basileios” ที่เดิมใช้ในการบรรยายสิ่งก่อสร้างสาธารณะในโรมโบราณ (เช่นในกรีซที่ส่วนใหญ่เป็นสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการศาล) ที่มักจะตั้งอยู่ในจัตุรัส (Roman forum) ของเมืองโรมัน ในเมืองกรีกมหาวิหารสาธารณะเริ่มสร้างกันราวสองร้อยปีก่อนคริสต์ศักราช นอกจากนั้น “มหาวิหาร” ก็ยังมีความหมายทางศาสนา ซากมหาวิหารตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ก็มีการพบมหาวิหารนีโอไพธากอเรียนที่ปอร์ตามัจโจเร (Porta Maggiore) ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหาร (ศาสนาคริสต์) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารบัมแบร์ก

มหาวิหารบัมแบร์ก (Bamberger Dom) มีชื่อเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรและนักบุญจอร์จ (Bamberger Dom St. Peter und St. Georg) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลบัมแบร์ก ตั้งอยู่ที่เมืองบัมแบร์ก ในประเทศเยอรมนี สถาปัตยกรรมของมหาวิหารที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ตอนปลายโดยมีหอสี่หอ มหาวิหารแรกก่อสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1004 โดยจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ที่สร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1012 และได้รับการเสกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1012 ต่อมาถูกเพลิงไหม้ไปบางส่วนในปี ค.ศ. 1081 มหาวิหารใหม่สร้างโดยออทโทแห่งบัมแบร์ก และได้รับการเสกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1111 ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มหาวิหารก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์และต่อเติมใหม่จนเป็นรูปทรงเป็นแบบปลายสมัยโรมานเนสก์ที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารบัมแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารมะนิลา

มหาวิหารมะนิลา (Katedral ng Maynila, Manila Cathedral) มหาวิหารแห่งเมืองหลวงมะนิลา หรือที่รู้จักอย่างไม่เป็นทางการในชื่อมหาวิหารมะนิลาคือ มหาวิหารโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ในกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ อุทิศให้กับพระนางมารีย์พรหมจารี ในฐานะแม่พระปฏิสนธินิรมล ซึ่งเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์หลักของฟิลิปปินส์ มหาวิหารใช้งานในฐานะสันตะสำนักของอาร์ชบิชอปแห่งมะนิลา ซึ่งเป็นอาร์ชบิชอปโดยพฤตินัยของประเทศฟิลิปปินส์ มหาวิหารตั้งอยู่ที่ลานโรมในเขตอินตรามูโรส (Intramuros) ของกรุงมะนิลา แต่เดิมมหาวิหารคือโบสถ์ในเขตศาสนาซึ่งถูกบริหารในเขตการปกครองของบิชอปแห่งเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร

มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร (Basilica di Santa Maria Maggiore) ในภาษาอังกฤษมักเรียกว่า St.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซีเอนา

อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (cattedrale metropolitana di Santa Maria Assunta) หรือ มหาวิหารซีเอนา (Duomo di Siena) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่เมืองซีเอนาในประเทศอิตาลี เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลซีเอนา-กอลเลดีวัลเดลซา-มอนตัลชีโน มหาวิหารซีเอนาเริ่มออกแบบและสร้างเป็นครั้งแรกระหว่างปี ค.ศ. 1215 ถึง ค.ศ. 1263 บนฐานของโบสถ์หลังเดิม แผนผังมหาวิหารเป็นแบบกางเขนละตินโดยมีส่วนขวางด้านหนึ่งยื่นออกมากว่าปกติ พร้อมกับโดมและหอระฆัง โดมที่ตั้งอยู่บนหอแปดเหลี่ยมมาสร้างเพิ่มโดยจัน โลเรนโซ แบร์นีนี ทางเดินกลางแยกจากทางเดินข้างด้วยซุ้มโค้งครึ่งวงกลม ภายนอกและภายในตกแต่งด้วยแถบหินอ่อนขาวสลับเขียวดำยกเว้นด้านหน้าที่แทรกด้วยหินอ่อนสีชมพูแก่เกือบแดง สีขาวดำเป็นสีสัญลักษณ์ของเมืองเซียนาซึ่งตามตำนานกล่าวว่าเป็นสีของม้าของเซเนียสและอาสเคียสผู้ก่อตั้งเมือง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี (Basilica di San Francesco d'Assisi; Basilica of St.) ตั้งอยู่ที่เมืองอัสซีซี ประเทศอิตาลี เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกของคณะฟรันซิสกัน ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีก่อตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชั้นบนและชั้นล่างของมหาวิหารมองจากจัตุรัสเดลเลลอจเจ (Piazza delle Logge).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญเปโตร

มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica of Saint Peter, Basilica Sancti Petri) รู้จักกันโดยชาวอิตาลีว่า Basilica di San Pietro in Vaticano หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่าเซนต์ปีเตอร์สบาซิลิกา (Saint Peter's Basilica) เป็นมหาวิหารเอกหนึ่งในสี่แห่งในกรุงโรม นครรัฐวาติกัน (อีกสามมหาวิหาร คือ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร และมหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารนักบุญเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเอก

มหาวิหารเอก (Basilica maior) คือมหาวิหารชั้นสูงสุดในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ซึ่งมีอยู่ 4 แห่งคือ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี และมหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน มหาวิหารใด ๆ นอกจาก 4 แห่งข้างต้นนี้ถือว่าเป็นมหาวิหารรอง (Basilica minor).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิหารเอก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ลูเทอร์

มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมาร์ติน ลูเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีมาทิลดา แห่งฟลานเดอร์ (Matilda of Flanders) ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1028 และสิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1083 เป็นพระชายาใน สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ อภิเษกสมรสในปี ค.ศ. 1052 และเป็นพระมารดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 1 เป็นพระชายาเพียงพระองค์เดียวของสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มุขมณฑลโรม

ตราประจำตำแหน่งพระสันตะปาปา มุขมณฑลโรม (Diocese of Rome) เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศอิตาลี มุขนายกประจำมุขมณฑลนี้มีตำแหน่งเป็นพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นประมุขพระองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขมณฑลโรม · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกกิตติคุณ

มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก มุขนายกกิตติคุณ (bishop emeritus) หรือ พระสังฆราชกิตติคุณ หมายถึง มุขนายกที่ได้รับอนุมัติจากพระสันตะปาปาให้ลาออกจากตำแหน่ง กรณีเป็นอัครมุขนายกที่ลาออกเรียกว่าอัครมุขนายกกิตติคุณ เนื่องจากมุขนายกกิตติคุณพ้นจากอำนาจในการบริหารมุขมณฑลแล้ว ประมวลกฎหมายพระศาสนจักรจึงถือว่ามุขนายกกิตติคุณเป็นมุขนายกเกียรตินามประเภทหนึ่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายกกิตติคุณ · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกมหานคร

มุขนายกมหานครแห่งศาสนจักรรัสเซียออร์โธด็อกซ์ ณ กรุงมอสโก ตามการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัลในคริสตจักร สมณศักดิ์มุขนายกมหานคร (Metropolitan bishop;Metropolitan) หมายถึงอัครมุขนายกหรือมุขนายกประจำมุขมณฑลที่เป็นมหานคร (มหานครคือมณฑลของโรมัน ภาคคริสตจักร หรือเมืองหลวงของแคว้น) ก่อนที่จะมีสมณศักดิ์ชั้นอัครบิดร ในคริสตจักรตะวันออกถือว่ามุขนายกมหานครเป็นสมณศักดิ์ชั้นสูงสุด ผู้ดำรงตำแหน่งนี้จะปกครองคณะมุขนายก และได้รับเอกสิทธิ์พิเศษหลายประการตามกฎหมายศาสนจักรและประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ สมณศักดิ์นี้เกิดขึ้นเพราะโครงสร้างการบริหารคริสตจักรยุคแรกยึดตามแบบของจักรวรรดิโรมัน กล่าวคือในเมืองหรืออาณาเขตหนึ่ง ๆ จะมีการบริหารโดยประมุขสูงสุดคนเดียวคือมุขนายก และมุขนายกประจำเมืองหลวงของมณฑล (ต่อมาคือมุขนายกมหานคร) จะมีอำนาจมากกว่ามุขนายกประจำเมืองรองซึ่งต่อมาเรียกว่าปริมุขนายก"metropolitan." Cross, F. L., ed.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายกมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกรอง

มุขนายกรอง (coadjutor bishop) ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก หรือบิชอปโคแอดจูเตอร์ (bishop coadjutor) ในแองกลิคันคอมมิวเนียน เป็นตำแหน่งผู้ช่วยมุขนายกประจำมุขมณฑลในการบริหารมุขมณฑล คล้ายกับเป็นมุขนายกร่วมกันปกครองมุขมณฑลนั้น มุขนายกรองจึงมีตำแหน่งเป็นอุปมุขนายกประจำมุขมณฑลด้วย (แต่มีอำนาจหน้าที่มากกว่าอุปมุขนายกทั่วไปที่ไม่ได้เป็นมุขนายกรอง) เมื่อมุขนายกประจำมุขมณฑลพ้นจากตำแหน่งไปไม่ว่าด้วยการเกษียณอายุ ถูกถอดจากตำแหน่ง หรือถึงแก่กรรม มุขนายกรองจะสืบตำแหน่งมุขนายกประจำมุขมณฑลต่อทันที.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายกรอง · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกผู้ช่วย

มุขนายกผู้ช่วย (Auxiliary bishop) หรือทับศัพท์ว่าอ็อกซิเลียรีบิชอป ชาวคาทอลิกเรียกว่าพระสังฆราชผู้ช่วย เป็นสมณศักดิ์ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก หมายถึงมุขนายกที่พระสันตะปาปาแต่งตั้งเป็นการเพิ่มเติมเพื่อให้เป็นผู้ช่วยของมุขนายกประจำมุขมณฑลที่แต่งตั้งไปก่อนแล้ว อันเนื่องมาจากมุขนายกประจำมุขมณฑลไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามปกติ หรือมุขมณฑลนั้นมีขนาดใหญ่มากจนมุขนายกประจำมุขมณฑลเพียงท่านเดียวไม่อาจปกครองได้ทั่วถึง หรือมุขมณฑลนั้นสัมพันธ์กับราชสำนักซึ่งต้องการให้มุขนายกประจำมุขมณฑลเข้าเฝ้าอยู่นาน ตามประมวลกฎหมายพระศาสนจักรมุขนายกโดยปกติต้องมีอาณาเขตในปกครองเรียกว่า episcopal see ดังนั้นมุขนายกผู้ช่วยจึงไม่ใช่มุขนายกประจำมุขมณฑล แต่มีสถานะเป็นมุขนายกเกียรตินามเท่านั้น กฎหมายศาสนจักรยังกำหนดให้มุขนายกประจำมุขมณฑลแต่งตั้งมุขนายกผู้ช่วยนั้น (ซึ่งพระสันตะปาปาแต่งตั้งไว้) เป็นอุปมุขนายกหรือผู้ช่วยมุขนายกประจำมุขมณฑลของตนด้ว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายกผู้ช่วย · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกประจำมุขมณฑล

มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯองค์ปัจจุบันhttp://www.catholic.or.th/service/gallery/gallery_2010/santacruz2010/index.html ฉลองโบสถ์ซางตาครู้ส.เรียกข้อมูลวันที่ 13 ธ.ค. 2554 มุขนายกประจำมุขมณฑล (diocesan bishop) ในประเทศไทยกรมการศาสนาให้เรียกว่ามุขนายกมิสซัง ชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระสังฆราชประจำสังฆมณฑล คือมุขนายกที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็นประมุขปกครองมุขมณฑลหนึ่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายกประจำมุขมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกเกียรตินาม

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายกเกียรตินาม มุขนายกเกียรตินาม (Titular bishop) หรือทับศัพท์ว่าทิทิวลาร์บิชอป ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระสังฆราชเกียรตินาม คือบาทหลวงที่ได้รับแต่งตั้งจากพระสันตะปาปาให้เป็นมุขนายก แต่ไม่มีมุขมณฑลปกครองเพราะมุขมณฑลที่ได้รับดูแลนั้นไม่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมุขนายกเกียรตินาม · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระสันตะปาปา

ตราของพระสันตะปาปาที่ใช้สัญลักษณ์มงกุฎพระสันตะปาปา ตราของนครรัฐวาติกันก็เป็นรูปแบบเดียวกันยกเว้นแต่เฉพาะตำแหน่งของกุญแจเงินกับกุญแจทองจะสลับที่กัน มงกุฎพระสันตะปาปา หรือ มงกุฎสามชั้น (Papal Tiara หรือ Triple Tiara, Triregnum, Trirègne, Trirègne) เป็นมงกุฎที่มีอัญมณีตกแต่งสามชั้นที่เป็นมงกุฎประจำตำแหน่งพระสันตะปาปา ที่ว่ากันว่ามีรากฐานมาจากสมัยไบแซนไทน์และเปอร์เซีย ตราอาร์มของพระสันตะปาปามีรูปมงกุฎมาตั้งแต่สมัยโบราณ พร้อมด้วยกุญแจนักบุญซีโมนเปโตร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและมงกุฎพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

ระบำมรณะ

“ระบำมรณะ” โดย ไมเคิล โวลเกอมุท ราว ค.ศ. 1493 จาก “Liber chronicarum” โดยฮาร์ทมันน์ เชเดล เปียเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ), “ชัยชนะแห่งความตาย” (The Triumph of Death) (ราว ค.ศ. 1562) ในพิพิธภัณฑ์ปราโด, มาดริด งานของบรูเกลได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากเฮียโรนิมัส บอส “ระบำมรณะ” (หลวงพ่อกับนายอำเภอ) ปารีส กี มาร์ชองต์ (Guy Marchant) ค.ศ. 1486 ระบำมรณะ (ภาษาอังกฤษ: Dance of Death; ภาษาฝรั่งเศส: Danse Macabre; ภาษาเยอรมัน: Totentanz) เป็นอุปมานิทัศน์จากยุคกลางที่เป็นการเตือนว่าความตายเป็นสิ่งที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง และ “ระบำมรณะ” เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงทุกอย่างเข้าด้วยกัน “ระบำมรณะ” ประกอบด้วยความตายที่อุปมาเป็นบุคคลที่นำแถวผู้เต้นรำไปยังที่ฝังศพ ผู้ที่เต้นรำก็จะมาจากชนทุกระดับชั้นที่มักจะประกอบด้วยพระจักรพรรดิ, พระเจ้าแผ่นดิน, เด็กหนุ่ม และหญิงสาว ทั้งหมดมักจะอยู่ในรูปของโครงกระดูกหรือกึ่งเน่าเปื่อย การสร้างงาน “ระบำมรณะ” ก็เพื่อเป็นการเตือนว่าชีวิตเป็นของไม่แน่นอนและความมีเกียรติมีศักดิ์เป็นเพียงของนอกกาย ที่มาของ “ระบำมรณะ” มาจากภาพประกอบหนังสือเทศน์ ตัวอย่างที่เก่าที่สุดที่พบมาจากสุสานในปารีสในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและระบำมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบัญญัติมอบอำนาจ

ตเลอร์ปราศรัยต่อไรชส์ทาค รัฐบัญญัติมอบอำนาจ (Enabling Act; Ermächtigungsgesetz) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กฎหมายเพื่อเยียวยาความยากลำบากของประชาชนและชาติ (Gesetz zur Behebung der Not von Volk und Reich) เป็นกฎหมายที่ผ่านโดยไรชส์ทาคแห่งเยอรมนี และได้รับการลงนามจากประธานาธิบดีเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ในวันที่ 23 มีนาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรัฐบัญญัติมอบอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสันตะปาปา

รัฐสันตะปาปา (Papal States; Pontifical States; Stati Pontificii) หรือ รัฐคริสตจักร (State(s) of the Church; Stato Ecclesiastico; Stato della Chiesa; Stati della Chiesa') “รัฐสันตะปาปา” เป็นหนึ่งในรัฐทางประวัติศาสตร์ของอิตาลีตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 จนกระทั่งอิตาลีรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวกันในปี ค.ศ. 1861 โดยการนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย (หลังจากนั้นรัฐพระสันตะปาปาก็ยังมีอยู่จนปี ค.ศ. 1870) รัฐสันตะปาปาเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของพระสันตะปาปา ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมบริเวณประเทศอิตาลีสมัยใหม่ที่รวมทั้งโรมันยา, มาร์เก, อุมเบรีย และลาซีโอ อำนาจในการปกครองนี้เรียกว่า อำนาจการปกครองของพระสันตะปาปา (Temporal power) ที่ตรงข้ามกับอำนาจทางศาสนา “Papal States” มักจะเป็นคำที่นิยมมากกว่า ส่วน “Papal State” มักจะใช้กับนครรัฐวาติกันซึ่งเป็นอาณาบริเวณภายในตัวกรุงโรม นครรัฐวาติกันก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรัฐสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐผู้คัดเลือกไมนซ์

ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์ (Archbishopric of Mainz, Erzbistum Mainz) หรือรัฐผู้คัดเลือกไมนซ์ (Electorate of Mainz, Kurfürstentum Mainz หรือ Kurmainz) เป็นราชรัฐอัครมุขนายกที่สำคัญในคริสตจักรและเป็นเขตปกครองทางการเมืองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรัฐผู้คัดเลือกไมนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง (Regno delle Due Sicilie; Kingdom of the Two Sicilies) เป็นชื่อใหม่ที่สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง หรือสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์แห่งราชวงศ์บูร์บงทรงประทานให้แก่บริเวณทางใต้ของอิตาลีและซิซิลีหลังจากสมัยนโปเลียนและการฟื้นฟูอำนาจเมื่อปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในนครรัฐวาติกัน

ตารางต่อไปนี้แสดงภาพ ธงซึ่งใช้ในนครรัฐวาติกันและรัฐพระสันตะปาปา (Papal States).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรายชื่อธงในนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาท

นี้คือรายพระนามรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในการสืบราชบัลลังก์ทั่วโลก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรายพระนามรัชทายาท · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์

นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่การสถาปนากรุงคอนสแตนติโนเปิลในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกของฟอบส์

ลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลก (Forbes list of The World's Most Powerful People) เริ่มจัดทำสถิติขึ้นในปี 2552 นิตยสารฟอบส์ รวบรวมรายชื่อบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกเป็นประจำทุกๆปี.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและรายนามบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกของฟอบส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอเรนโซ วัลลา

ลอเรนโซ วัลลา ลอเรนโซ วัลลา (Lorenso; Laurentius Valla ค.ศ. 1406-1457) เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวเมืองเนเปิลส์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) ก่อนการปฏิรูปศาสนาของมาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther ค.ศ. 1483-1546) ซึ่งการเขียนประวัติศาสตร์ในยุคนี้จะมีลักษณะวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น วัลลามีผลงานด้านประวัติศาสตร์หลายชิ้น ที่โดดเด่นและได่รับการกล่าวถึงมากที่สุดคือเรื่อง Discourse on the Forgery of the Alleged Danation of Constantine ซึ่งเขียนขึ้นใน ค.ศ. 1440.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและลอเรนโซ วัลลา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนเภทตะวันออก-ตะวันตก

นเภทตะวันออก-ตะวันตก (East–West Schism) เป็นมหาศาสนเภทระหว่างคริสตจักรตะวันออกกับคริสตจักรตะวันตกตั้งแต..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและศาสนเภทตะวันออก-ตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนเภทตะวันตก

''Habemus Papam'' ที่สภาคอนสแตนส์ ศาสนเภทตะวันตก (Western Schism) หรือ ศาสนเภทพระสันตะปาปา (Papal Schism) เป็นศาสนเภทภายในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตั้งแต่ปี 1378 ถึง 1417 เกิดจากบุคคลสองคนอ้างตนว่าเป็นพระสันตะปาปาพร้อมกัน ความขัดแย้งทางเทววิทยานี้ถูกขับเคลื่อนด้วยการเมืองมากกว่าครั้งใด ๆ สุดท้ายความขัดแย้งก็จบลงด้วยการสังคายนาคอนสแตนส์ เรียกร้องให้พระสันตะปาปาสองพระองค์ปกครองศาสนจักรร่วมกัน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและศาสนเภทตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและศิลปะคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

สภาปกครองโรมัน

ตราอาร์มของสันตะสำนัก สภาปกครองโรมันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 405 (Curia Romana กูเรียโรมานา) เป็นองค์การปกครองของสันตะสำนัก ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อบริหารงานในคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั้งหมดร่วมกับพระสันตะปาปา คำว่า กูเรีย ในภาษาละตินแปลว่า ราชสำนัก ดังนั้น กูเรียโรมานา จึงแปลตามตัวอักษรว่า ราชสำนักโรม ซึ่งหมายถึงสำนักสันตะปาปา และมีหน้าที่ช่วยเหลือพระสันตะปาปาในการบริหารปกครองศาสนจักร จึงมีลักษณะคล้ายกับรัฐบาลในฝ่ายอาณาจักร และมีสมณะกระทรวงทำหน้าที่คล้ายกระทรวง สภาปกครองโรมันประกอบด้วยองค์กรในระดับต่าง ๆ ดังนี้;สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน (The Secretariat of State) เป็นองค์กรที่เก่าแก่ที่สุดในสภาปกครองโรมัน ก่อตั้งมาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถือเป็นรัฐบาลของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีพระคาร์ดินัลเลขาธิการแห่งรัฐเป็นหัวหน้า มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองและการทูตของสันตะสำนัก;สมณะกระทรวง สมณะกระทรวง (Congregations) เป็นองค์การปกครองส่วนกลางของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีสมณมนตรีซึ่งล้วนแต่มีสมณศักดิ์เป็นพระคาร์ดินัลเป็นหัวหน้า;ศาลชำนัญพิเศษ ศาลชำนัญพิเศษ (Tribunals) ของสันตะสำนักประกอบด้วย สมณทัณฑสถาน โรมันโรตา และศาลชำนัญพิเศษสูงสุดแห่งพระสมณนาม;สมณะทบวง สมณะทบวง (Pontifical Councils) คือกลุ่มตัวแทน ซึ่งรวมเป็นองค์กรขนาดกลางช่วยเหลือพระสันตะปาปาในการจัดการด้านต่าง ๆ แต่ละสมณะทบวงมีพระคาร์ดินัลหรืออัครมุขนายกเป็นประธาน;สมัชชามุขนายก สมัชชามุขนายก (Synod of Bishops) ก่อตั้งขึ้นสมัยสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง ถือเป็นคณะที่ปรึกษาของพระสันตะปาปาในการตัดสินใจ สมาชิกของสมัชชาคัดเลือกมาจากมุขนายกจากภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก โดยมีพระสันตะปาปาดำรงตำแหน่งประธานสมัชชา;สำนักงาน สำนักงาน (Offices) มีอยู่ 3 สำนักงาน ทำหน้าที่ดูแลการเงินและทรัพย์สินของศาสนจักร;สมณะกรรมาธิการ สมณะกรรมาธิการ (Pontifical Commissions) คือคณะกรรมาธิการที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งขึ้นจากชาวคาทอลิกผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน;องครักษ์สวิส องครักษ์สวิส (Swiss Guard) เป็นทหารชาวสวิสที่ทำนหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้กับพระสันตะปาปาและศาสนพิธีต่าง ๆ;สำนักงานแรงงานแห่งสันตะสำนัก สำนักงานแรงงานแห่งสันตะสำนัก (Labour Office of the Apostolic See) เป็นหน่วยงานที่สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ทรงตั้งขึ้น มีหน้าที่รับผิดชอบเรื่องแรงงานสัมพันธ์ระหว่างสันตะสำนักกับเหล่าลูกจ้าง;สมณบัณฑิตยสถาน สมณบัณฑิตยสถาน (Pontifical Academies) เป็นสมาคมผู้คงแก่เรียนที่ก่อตั้งโดยสันตะสำนัก ปัจจุบันมีสมณบัณฑิตยสถานอยู่ทั้งสิ้น 11 แห่ง ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน กรุงโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสภาปกครองโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีนาถคริสติน่าแห่งสวีเดน เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟ อดอล์ฟที่ 2 แห่งสวีเดน ประสูติในปี ค.ศ. 1626 ในพระราชวังสตอกโฮลม์ ประเทศสวีเดน พระนางมีบุคลิกลักษณะเหมือนผู้ชายมากกว่าผู้หญิง โปรดการทรงม้า การลุกนั่งแบบผู้ชายและฉลองพระองค์สั้นผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทเรียกพระนางว่า เจ้าชายคริสติน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระราชินีนาถคริสตีนาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 1 (อังกฤษ: Boniface I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 418 ถึง ค.ศ. 422 โบนิเฟสที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 2 (อังกฤษ: Boniface II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 530 ถึง ค.ศ. 532 โบนิเฟสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 3 (อังกฤษ: Boniface III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 607 โบนิเฟสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 4 (อังกฤษ: Boniface IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 608 ถึง ค.ศ. 615 โบนิเฟสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 5 (Boniface V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 619 ถึง ค.ศ. 625 โบนิเฟสที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 6

สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 6 (อังกฤษ: Boniface VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 896 โบนิเฟสที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 8 (อังกฤษ: Boniface VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1294 ถึง ค.ศ. 1303 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1773 บโนิเฟสที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 9

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 9 (อังกฤษ: Boniface IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1389 ถึง ค.ศ. 1404.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

มเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส (Francis; Franciscus) เป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 266 มีพระนามเดิมว่า คอร์เค มาเรียว เบร์โกเกลียว (Jorge Mario Bergoglio) พระราชสมภพเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟอร์โมซุส

สมเด็จพระสันตะปาปาฟอร์โมซุส (Formosus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 891 ถึง ค.ศ. 896 ฟอร์โมซุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาฟอร์โมซุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟาเบียน

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาฟาเบียน (Fabian) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 236 ถึง ค.ศ. 250 ฟาเบียน หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาฟาเบียน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 1 (Callixtus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 217 ถึง ค.ศ. 222 สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 1 เกิดมาเป็นทาส ก่อนจะได้รับอิสรภาพและเข้ารับใช้ศาสนจักร จนกระทั่งได้เป็นพระสันตะปาปา ต่อมาพระองค์ก็ทรงถูกสังหารเพราะความเชื่อทางศาสนาซึ่งในที่สุดก็ทำให้ได้รับการสถาปนาในให้เป็นนักบุญ คาลิกซ์ตุสที่ 1 หมวดหมู่:ทาส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 2 (อังกฤษ: Callixtus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1119 ถึง ค.ศ. 1124 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 คาลิกซ์ตุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นฟร็องช์-กงเต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 (Callixtus III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1455 ถึง ค.ศ. 1458 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1921 คาลิกซ์ตุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นบาเลนเซีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 1 (อังกฤษ: Marinus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 882 ถึง ค.ศ. 884 มารินุสที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 2 (Marinus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 942 ถึง ค.ศ. 946 มารินุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามารินุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์คุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์คุส (Mark) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 336 มาร์คุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์คุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 1 (Martin I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 649 ถึง ค.ศ. 655 มาร์ตินที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 4 (อังกฤษ: Martin IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1281 ถึง ค.ศ. 1285 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามฮุสไซต์ มาร์ตินที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 5 (อังกฤษ: Martin V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1417 ถึง ค.ศ. 1431 มาร์ตินที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลินุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลินุส (อังกฤษ: Marcellinus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 296 ถึง ค.ศ. 304 มาร์เซลลินุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลินุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 1 (Marcellus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 308 ถึง ค.ศ. 309 มาร์เซลลุสที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 2 (Marcullus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1555 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2044 มาร์เซลลุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามาร์เซลลุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปามิลทิอาดิส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปามิลทิอาดิส (อังกฤษ: Miltiades) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 311 ถึง ค.ศ. 314 มิลทิอาดิส ม หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปามิลทิอาดิส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 1 (Eugene I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 654 ถึง ค.ศ. 657 ยูจีนที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 2 (อังกฤษ: Eugene II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 824 ถึง ค.ศ. 827 ยูจีนที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 3 (Eugene III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1145 ถึง ค.ศ. 1153 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1080 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ยูจีนที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสดครั้งที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากปิซา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 4 (Eugene IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1431 ถึง ค.ศ. 1447 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1926 ยูจีนที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากเวนิส.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปายูตีเชียน

thumb สมเด็จพระสันตะปาปายูตีเชียน (Eutychian) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 275 ถึง ค.ศ. 283 ยูตีเชียน หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปายูตีเชียน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปายูเซบิอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปายูเซบิอุส (อังกฤษ: Eusebius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 309 ถึง ค.ศ. 310 ยูเซบิอุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปายูเซบิอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลันโด

สมเด็จพระสันตะปาปาลันโด (อังกฤษ: Lando) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 913 ถึง ค.ศ. 914 ลันโด หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลันโด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลินุส

สมเด็จพระสันตะปาปาลินุส (Linus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 67 ถึง ค.ศ. 76 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ลินุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 1.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลินุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลิเบริอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลิเบอริอุส (Liberius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 352 ถึง ค.ศ. 366 ลิเบอริอุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลิเบริอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 1 สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 1 (Lucius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 253 ถึง ค.ศ. 254 ลูซิอุสที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Lucius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1144 ถึง ค.ศ. 1145 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ลูซิอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากโบโลญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 3 (อังกฤษ: Lucius III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1181 ถึง ค.ศ. 1185 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ลูซิอุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลูซิอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1 (Leo I) หรือนักบุญลีโอผู้ยิ่งใหญ่ (Saint Leo the Great) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 440 ถึง ค.ศ. 461 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 4 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวอิตาลี หมวดหมู่:นักบุญชาวอิตาลี หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5 หมวดหมู่:นักปราชญ์แห่งคริสตจักร หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 (อังกฤษ: Leo X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1513 ถึง ค.ศ. 1521 เป็นลูกของ ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ พระองค์เป็นพระสันตะปาปาที่ทำให้คริสต์ศาสนจักรเกิดความเสื่อมเสีย เนื่องจากพระองค์สนใจทางโลกมากกว่าศาสนา จึงได้เข้าไปมีส่วนร่วมการเมือง และใช้ชีวิตอย่างหรูหราจนเกือบไม่มีกษัตริย์องค์ใดสู้ได้ซึ่งนักบวชไม่ควรดำเนินชีวิตอย่างนั้น นอกจากนั้นพระองค์ได้หาเงินด้วยการค้าใบบุญไถ่บาปเป็นเพราะพระองค์มีความประสงค์ที่จะบูรณะโบสถ์ให้ดูสวยงามที่เต็มไปด้วยศิลปกรรมวิจิตรงดงามซึ่งต้องใช้เงินจำนวนมากในการบูรณะ แต่การค้าใบบุญไถ่บาปของพระองค์นั้นกลับทำให้นักบวชมาร์ติน ลูเทอร์ไม่พอใจและได้ตั้ง "ญัตติ 95 ข้อ" (The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเทนบูร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบยกโทษบาปของสันตะปาปา ทำให้พระองค์ไม่พอใจมากและได้ขับไล่มาร์ติน ลูเทอร์ออกจากศาสนจักร แต่การขับไล่นั้นกลับทำให้นำไปสู่การปฏิรูปการศาสนา เพราะมาร์ติน ลูเทอร์ได้ก่อตั้งนิกายลูเทอแรนซึ่งได้ถือว่าเป็นการก่อตั้งนิกายโปรเตสแตนต์เพื่อต่อต้านศาสจักรโรมันคาทอลิก แต่พระองค์ไม่ได้สนพระทัยในเรื่องนี้นักและไม่คิดจะปฏิรูปการศาสนาใดๆ จนกระทั่งพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..1521 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2018 ลีโอที่ 10 หมวดหมู่:ตระกูลเมดิชิ หมวดหมู่:บุคคลจากฟลอเรนซ์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11 (Leo XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1605 ประสูติเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1535 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1605 รวมพระชนมายุได้ 69 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2078 ลีโอที่ 11 หมวดหมู่:ตระกูลเมดิชิ หมวดหมู่:บุคคลจากฟลอเรนซ์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12 (อังกฤษ: Leo XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1823 ถึง ค.ศ. 1829 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2303 ลีโอที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13 (Leo XIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1878 ถึง ค.ศ. 1903 ลีโอที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 2 (อังกฤษ: Leo II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 681 ถึง ค.ศ. 683 ลีโอที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3

thumbnail สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 (อังกฤษ: Leo III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 795 ถึง ค.ศ. 816 ลีโอที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 (อังกฤษ: Leo IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 847 ถึง ค.ศ. 855 ตามตำนานกล่าวกันว่า หลังจาก สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 สิ้นพระชนม์ มี ผู้หญิงนามว่า โจน เป็นผู้ดำรงตำแหน่งเป็นพระสันตะปาปาหญิงต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 แต่โดยส่วนมากเชื่อว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องโกหก ไม่เป็นความจริง ลีโอที่ 4 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 5

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 5 (อังกฤษ: Leo V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 903 เป็นเวลาประมาณ 30 วัน ก่อนถูกปลดจากตำแหน่งและปลงพระชนม์ ลีโอที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 6

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 6 (Leo VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 928 ลีโอที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 7

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 7 (อังกฤษ: Leo VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 936 ถึง ค.ศ. 939 ลีโอที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 8 (อังกฤษ: Leo VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 964 ถึง ค.ศ. 965 ลีโอที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 9

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 9 (อังกฤษ: Leo IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1049 ถึง ค.ศ. 1054 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ลีโอที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอาลซัส.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาวาเลนตินุส

สมเด็จพระสันตะปาปาวาเลนตินุส (อังกฤษ: Valentine) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 827 วาเลนตินุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาวาเลนตินุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 1 (Victor I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 189 ถึง ค.ศ. 199 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวแอฟริกา หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:นักบุญชาวแอฟริกา หมวดหมู่:มรณสักขีในศาสนาคริสต์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 2 (อังกฤษ: Victor II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1055 ถึง ค.ศ. 1057 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1561 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 วิกเตอร์ที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3 (Victor III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1086 ถึง ค.ศ. 1087 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1020 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 วิกเตอร์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นคัมปาเนีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาวิจิลิอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาวิจิลิอุส (อังกฤษ: Vigilius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 537 ถึง ค.ศ. 555 วิจิลิอุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาวิจิลิอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาวิตาเลียน

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาวิตาเลียน (อังกฤษ: Vitalian) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 657 ถึง ค.ศ. 672 วิตาเลียน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาวิตาเลียน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 1 (Stephen I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 254 ถึง ค.ศ. 257 สตีเฟนที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3 หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการตัดศีรษะ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 2 (อังกฤษ: Stephen II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 752 ถึง ค.ศ. 757 สตีเฟนที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 3 (Stephen III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 767 ถึง ค.ศ. 772 สตีเฟนที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 4

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 4 สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 4 (Stephen IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 816 ถึง ค.ศ. 817 สตีเฟนที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 5

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 5 (อังกฤษ: Stephen V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 885 ถึง ค.ศ. 891 สตีเฟนที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 6

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 6 (อังกฤษ: Stephen VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 896 ถึง ค.ศ. 897 สตีเฟนที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 7

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 7 (Stephen VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 928 ถึง ค.ศ. 931 สตีเฟนที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 8 (Stephen VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 939 ถึง ค.ศ. 942 สตีเฟนที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 9

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 9 (อังกฤษ: Stephen IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1057 ถึง ค.ศ. 1058 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1020 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 สตีเฟนที่ 9 สตีเฟนที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลอแรน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาสตีเฟนที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอกาโธ

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอกาโธ (Agatho) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 678 ถึง ค.ศ. 681 อกาโธ หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอกาโธ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 1 (อังกฤษ: Agapetus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 535 ถึง ค.ศ. 536 อกาเปตุสที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 2 (อังกฤษ: Agapetus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 946 ถึง ค.ศ. 955 อกาเปตุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอกาเปตุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 1 (อังกฤษ: Innocent I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 401 ถึง ค.ศ. 417 อินโนเซนต์ที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10 ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1644 ถึง ค.ศ. 1655 ประสูติเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1655 รวมพระชนมายุได้ 80 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2117 อินโนเซนต์ที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 11 (อังกฤษ: Innocent XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1676 ถึง ค.ศ. 1689 ประสูติเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1611 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1869 รวมพระชนมายุได้ 78 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2154 อินโนเซนต์ที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลอมบาร์เดีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 12

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 12 (Innocent XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1691 ถึง ค.ศ. 1700 ประสูติเมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1615 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1700 รวมพระชนมายุได้ 85 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2158 อินโนเซนต์ที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นปุลยา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13 (Innocent XIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1720 ถึง ค.ศ. 1724 ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1655 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1724 รวมพระชนมายุได้ 68 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2198 อินโนเซนต์ที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 2 (อังกฤษ: Innocent II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1130 ถึง ค.ศ. 1143 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อินโนเซนต์ที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3 (อังกฤษ: Innocent III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1198 ถึง ค.ศ. 1216 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1160 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 อินโนเซนต์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสดครั้งที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 4 (Innocent IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1243 ถึง ค.ศ. 1254 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1190 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 อินโนเซนต์ที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากเจนัว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 5

มเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 5 (Innocent V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1276.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6 (Innocent VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1352 ถึง ค.ศ. 1362 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1825 อินโนเซนต์ที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีมูแซ็ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 7

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 7 (อังกฤษ: Innocent VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1404 ถึง ค.ศ. 1406 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1879 อินโนเซนต์ที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอาบรุซโซ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 8 (อังกฤษ: Innocent VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1484 ถึง ค.ศ. 1492 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1975 อินโนเซนต์ที่ 8 อ หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากเจนัว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 9

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 9 (อังกฤษ: Innocent IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1591 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2062 อินโนเซนต์ที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นปีเยมอนเต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 1 (อังกฤษ: Anastasius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 399 ถึง ค.ศ. 401 อนาสตาซิอุสที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 4 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Anastasius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 496 ถึง ค.ศ. 498 อนาสตาซิอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 3 (อังกฤษ: Anastasius III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 911 ถึง ค.ศ. 913 อนาสตาซิอุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 4 (อังกฤษ: Anastasius IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1153 ถึง ค.ศ. 1154 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อนาสตาซิอุสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอนาสตาซิอุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาคลีตุส

สมเด็จพระสันตะปาปาอนาคลีตุส (Anacletus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 76 ถึง ค.ศ. 88 อนาคลีตุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 1.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอนาคลีตุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอนิเซตุส

สมเด็จพระสันตะปาปาอนิเซตุส สมเด็จพระสันตะปาปาอนิเซตุส (Anicetus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 155 ถึง ค.ศ. 166 อนิเซตุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอนิเซตุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 1 (Alexander I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 105 ถึง ค.ศ. 115 อเล็กซานเดอร์ที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 2 (Alexander II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1061 ถึง ค.ศ. 1073 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 อเล็กซานเดอร์ที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากมิลาน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 3 (Alexander III.) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1159 ถึง ค.ศ. 1181 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1100 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อเล็กซานเดอร์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 4 (อังกฤษ: Alexander IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1254 ถึง ค.ศ. 1261 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 อเล็กซานเดอร์ที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6

''Desiderando nui'', 1499 สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (Alexander VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1492 ถึง ค.ศ. 1503.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 7

thumbnail สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 7 (Alexander VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1655 ถึง ค.ศ. 1667 ประสูติเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1599 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1667 รวมพระชนมายุได้ 68 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2142 อเล็กซานเดอร์ที่ 7 อเล็กซานเดอร์ที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 8 (Alexander VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1689 ถึง ค.ศ. 1691 ประสูติเมื่อวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 1610 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1691 รวมพระชนมายุได้ 80 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2153 อเล็กซานเดอร์ที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากเวนิส.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฮอร์มิสดัส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาฮอร์มิสตัส (Hormisdas) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 514 ถึง ค.ศ. 523 ฮอร์มิสตัส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 5 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาฮอร์มิสดัส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฮิลาริอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาฮิลาริอุส (อังกฤษ: Hilarius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 461 ถึง ค.ศ. 468 ฮิลาริอุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาฮิลาริอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 1

มเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 1 ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า (John Paul I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1978.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปา นักบุญจอห์น ปอลที่ 2 มีพระนามเดิมว่า การอล ยูแซฟ วอยตือวา (ในภาษาโปแลนด์) เกิดเมื่อ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1920 ที่หมู่บ้านวาดอวิตแซ ใกล้เมืองกรากุฟ ประเทศโปแลนด์ บิดาเป็นทหารมียศเป็นจ่าทหารและเกษียณราชการแล้ว มารดาเสียชีวิต เมื่อคาโรลยังเป็นเด็ก ท่านเป็นเด็กที่มีพรสวรรค์พิเศษ ชอบการกีฬาเป็นอันมาก ท่านยังชอบบทกวีและการแสดงละคร หลังจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 1 คณะพระคาร์ดินัลทั่วโลกก็มีมติเลือกให้พระคาร์ดินัลการอล วอยตือวา ประมุขแห่งอัครมุขมณฑลกรากุฟ ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง 58 พรรษา ขึ้นเป็นประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 1978 นับเป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 264 ที่สืบตำแหน่งต่อจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูต สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 เป็นประมุขของคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก เป็นพระสันตะปาปาที่ไม่ใช่ชาวอิตาเลียนองค์แรกในรอบ 455 ปี และเป็นพระสันตะปาปาองค์แรกที่เป็นชาวโปแลนด์ รวมทั้งยังเป็นพระสันตะปาปาที่ได้รับเลือกขณะที่มีอายุน้อยที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20 อีกด้วย พระองค์เป็นพระสันตะปาปาที่สำคัญที่สุดองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน พระองค์ทรงเดินทางรอบโลกเพื่อเยี่ยมเยียนคริสตชนมากกว่าพระสันตะปาปาองค์ใด ๆ ในอดีตที่ผ่านมา ทรงต่อต้านกระแสทุนนิยมที่ไร้ขอบเขต การกดขี่ทางการเมือง ยืนกรานในการต่อต้านการทำแท้ง และปกป้องวิถีทางของศาสนจักรในเรื่องเพศของมนุษย์ ปัจจุบัน พระองค์ท่านได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 1

มเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 1 (Pope John I) ประสูติที่เมืองซีเอนา ต่อมาได้รับศีลอนุกรมเป็นพันธบริกร และบิชอปแห่งกรุงโรม (พระสันตะปาปา) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 523 ถึง ค.ศ. 526 พระองค์ ในสมณสมัยของพระองค์เป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งระหว่าง 2 อาณาจักร คือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ของจักรพรรดิจัสตินที่ 1 กับราชอาณาจักรแห่งชาวออสโตรกอทของพระเจ้าธีโอดอริกมหาราช พระเจ้าธัโอดอริกนับถือลัทธิเอเรียส และข่มขู่พระองค์ว่าหากพระองค์ทำให้จักรพรรดิจัสตินยุติการเบียดเบียนชาวเอเรียนไม่ได้ ก็จะเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกเช่นกัน เมื่อพระสันตะปาปาเสด็จเยือนกรุงคอนสแตนติโนเปิล ก็ได้รับการต้อนรับจากจักรพรรดิจัสตินเป็นอย่างดี จักรพรรดิยินดีปฏิบัติตามข้อเสนอทุกอย่างของพระสันตะปาปา แต่เมื่อพระสันตะปาปาและคณะกลับถึงกรุงราเวนนา พระเจ้าธีโอโดริกกลับกล่าวหาว่าพระสันตะปาปามีแผนสมคบกับจักรพรรดิจัสติน จึงสั่งจำคุกพระสันตะปาปาและให้อดอาหารจนสิ้นพระชนม์ในวันที่ 18 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 10

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 10 (John X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 914 ถึง ค.ศ. 928 จอห์นที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 11 (อังกฤษ: John XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 931 ถึง ค.ศ. 935 จอห์นที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12 (John XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 955 ถึง ค.ศ. 964 เมื่อมีอายุเพียง 18 ปี จอห์นที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 13

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 13 (John XIII.) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 965 ถึง ค.ศ. 972 จอห์นที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 14

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 14 (อังกฤษ: John XIV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 983 ถึง ค.ศ. 984 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 จอห์นที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลอมบาร์เดีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 15

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 15 (John XV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 985 ถึง ค.ศ. 996 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 จอห์นที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 17

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 17 (อังกฤษ: John XVII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1003 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 จอห์นที่ 17 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 18

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 18 (John XVIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1003 ถึง ค.ศ. 1009 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 จอห์นที่ 18 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค หมวดหมู่:พระสันตะปาปาผู้ทรงสละตำแหน่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 19

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 19 (อังกฤษ: John XIX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1024 ถึง ค.ศ. 1032 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 จอห์นที่ 19 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 2 (อังกฤษ: John II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 533 ถึง ค.ศ. 535 จอห์นที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 21

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 21 (John XXI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1276 ถึง ค.ศ. 1277 สิ้นพระชนม์ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1277 (พ.ศ. 1820) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1758 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จอห์นที่ 21 หมวดหมู่:บุคคลจากลิสบอน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22 (John XXII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1316 ถึง ค.ศ. 1334 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 จอห์นที่ 22 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมีดี-ปีเรเน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23

มเด็จพระสันตะปาปานักบุญจอห์นที่ 23 (John XXIII) มีพระนามเดิมว่าอันเจโล จูเซปเป รอนกัลลี (Angelo Giuseppe Roncalli) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1958 ถึง ค.ศ. 1963 พระองค์เป็นบุตรคนที่สี่ในบรรดาพี่น้องทั้งหมดสิบสี่คนในครอบครัวเกษตรกรชาวแคว้นลอมบาร์เดีย ได้รับศีลอนุกรมเป็นบาทหลวงเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 3 (อังกฤษ: John III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 561 ถึง ค.ศ. 574 จอห์นที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4 (John IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 640 ถึง ค.ศ. 642 จอห์นที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 5 (อังกฤษ: John V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 685 ถึง ค.ศ. 686 จอห์นที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 6 (อังกฤษ: John VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 701 ถึง ค.ศ. 705 จอห์นที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 7

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 7 (อังกฤษ: John VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 795 ถึง ค.ศ. 707 จอห์นที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 8 (อังกฤษ: John VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 872 ถึง ค.ศ. 882 จอห์นที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 9

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 9 (John IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 898 ถึง ค.ศ. 900 จอห์นที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 1 (ละติน: Julius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 337 ถึง ค.ศ. 352 จูลิอุสที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 (ละติน: Julius II) พระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 มีพระฉายานามว่า “พระสันตะปาปาผู้เหี้ยมโหด” (Il Papa Terribile) พระนามเมื่อเกิดคือจูเลียโน จูลิอาโน เดลลา โรเวเร ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาระหว่างปี ค.ศ. 1503 ถึง ค.ศ. 1513 สมัยของพระองค์เป็นสมัยที่รู้จักกันว่าเป็นสมัยที่มีนโยบายต่างประเทศที่รุนแรง, สมัยของการก่อสร้าง และสมัยของการอุปถัมภ์ศิลป.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 3 (ละติน: Julius III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1550 ถึง ค.ศ. 1555 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2030 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากโรม หมวดหมู่:บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 1 (Theodore I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 642 ถึง ค.ศ. 649 ธีโอดอร์ที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 2 (อังกฤษ: Theodore II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 897 เป็นเวลาสั้นๆ ประมาณ 20 วัน ธีโอดอร์ที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาธีโอดอร์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 1 (อังกฤษ: Damasus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 366 ถึง ค.ศ. 384 ดามาซุสที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 2 (อังกฤษ: Damasus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1048 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ดามาซุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐบาวาเรีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาดามาซุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาดิโอนีซุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาดิโอนีซุส (Dionysius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 259 ถึง ค.ศ. 268 ดิโอนีซุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาดิโอนีซุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาคอร์เนลิอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคอร์เนลิอุส (อังกฤษ: Cornelius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 251 ถึง ค.ศ. 253 คอร์เนลิอุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาคอร์เนลิอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาคอนสแตนติน

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคอนสแตนติน (อังกฤษ: Constantine) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 708 ถึง ค.ศ. 715 คอนสแตนติน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาคอนสแตนติน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซอเตอร์

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซอเตอร์ (Soter) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 166 ถึง ค.ศ. 174 ซอเตอร์ หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซอเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซาบินิอานุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซาบินิอานุส (อังกฤษ: Sabinian) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 604 ถึง ค.ศ. 606 ซาบินิอานุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซาบินิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซาคารี

สมเด็จพระสันตะปาปาซะคาริอัส (อังกฤษ: Zachary) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 741 ถึง ค.ศ. 752 ซะคาริอัส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซาคารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 1 (Sixtus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 115 ถึง ค.ศ. 125 ซิกส์ตุสที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 2 (อังกฤษ: Sixtus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 257 ถึง ค.ศ. 258 ซิกส์ตุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3 หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการตัดศีรษะ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 3 (Sixtus III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 432 ถึง ค.ศ. 440 ซิกส์ตุสที่ 3 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 (Sixtus IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1471 ถึง ค.ศ. 1484 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1957 ซิกส์ตุสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:ตระกูลเดลลาโรเวเร หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีกูเรีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 5 (อังกฤษ: Sixtus V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1585 ถึง ค.ศ. 1590 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2063 ซิกส์ตุสที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิมพลิซิอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิมพลิซิอุส (อังกฤษ: Simplicius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 468 ถึง ค.ศ. 483 ซิมพลิซิอุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิมพลิซิอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิมมาคุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิมมาคุส (Symmachus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 498 ถึง ค.ศ. 514 ซิมมาคุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 5 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิมมาคุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิริซิอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิริซิอุส (อังกฤษ: Siricius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 384 ถึง ค.ศ. 399 ซิริซิอุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิริซิอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวริอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวริอุส (อังกฤษ: Silverius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 536 ถึง ค.ศ. 537 ซิลเวริอุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวริอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1 (อังกฤษ: Sylvester I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 314 ถึง ค.ศ. 335 ซิลเวสเตอร์ที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 (Sylvester II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 999 ถึง ค.ศ. 1003.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3 (Sylvester III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1045 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซิลเวสเตอร์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิซินนิอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิซินนิอุส (อังกฤษ: Sisinnius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 708 ซิซินนิอุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาซิซินนิอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 1 (อังกฤษ: Paul I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 757 ถึง ค.ศ. 767 ปอลที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 2 (lang-en|: Paul II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1464 ถึง ค.ศ. 1471 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1960 ปอลที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากเวนิส.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 (Pope Paul III) (29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1549) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1534 หลังจากกรุงโรมแตกในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 4 (อังกฤษ: Paul IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1555 ถึง ค.ศ. 1559 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2019 ปอลที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นคัมปาเนีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 (อังกฤษ: Paul V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1605 ถึง ค.ศ. 1621 ประสูติเมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1552 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1621 รวมพระชนมายุได้ 68 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2095 ปอลที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6

มเด็จพระสันตะปาปา บุญราศีปอลที่ 6 (Paulus PP.) ดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1963 ถึง ค.ศ. 1978 สืบต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ผู้เรียกประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง เมื่อได้รับตำแหน่งพระสันตะปาปาก็ทรงสืบสานงานการประชุมสังคายนานั้นต่อ ซึ่งมีผลให้พระศาสนจักรโรมันคาทอลิกได้ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านคริสตศาสนสัมพันธ์กับนิกายโปรเตสแตนต์และอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เรื่อยมาจนปัจจุบัน ก่อนได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา พระองค์เคยทำงานรับใช้ใกล้ชิดกับสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 โดยทำงานที่สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน และพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 นี้เองได้แต่งตั้งพระองค์เป็นอัครมุขนายกแห่งมิลาน ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นเลขาธิการสภามุขนายกแห่งอิตาลีอีกด้วย ต่อมาในสมณสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 พระองค์ได้รับแต่งตั้งเป็นพระคาร์ดินัล และได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาหลังจากสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ได้สิ้นพระชนม์ พระองค์เลือกใช้พระนามว่า เปาโล เพื่อสื่อถึงการเน้นพันธกิจทางด้านการประกาศข่าวดีเหมือนนักบุญเปาโลอัครทูต นอกจากนี้หลังจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 พระองค์ยังคงสานงานการประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สองนั้นต่อ ซึ่งมาแล้วเสร็จในสมณสมัยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในวันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอนเทียน

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอนเทียน (Pontian) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 230 ถึง ค.ศ. 235 ปอนเทียน หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาผู้ทรงสละตำแหน่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปอนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปัสกัลที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปาสชาลที่ 1 (อังกฤษ: Paschal I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 817 ถึง ค.ศ. 824 ปาสชาลที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปัสกัลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปาสชาลที่ 2 (อังกฤษ: Paschal II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1099 ถึง ค.ศ. 1118 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปาสชาลที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 1 (Pius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 140 ถึง ค.ศ. 155 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ปิอุสที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 10

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 10 (อังกฤษ: Pius X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1903 ถึง ค.ศ. 1914 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ปิอุสที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเวเนโต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 (Pius XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1922 ถึง ค.ศ. 1939 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2400 ปิอุสที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลอมบาร์เดีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12

มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 (Pius Papa XII) พระสันตะปาปาพระองค์ที่ 260 พระประมุขแห่งนครรัฐวาติกัน ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1939 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1958 มีพระนามเดิมว่า เอวเจนีโอ มาเรีย จูเซปเป โจวันนี ปาเชลลี ก่อนได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา พระองค์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการกรมการคริสตจักรวิสามัญ เอกอัครสมณทูตประจำประเทศเยอรมนี (ค.ศ. 1917 - 1929) และพระคาร์ดินัลเลขาธิการแห่งรัฐ ในช่วงนี้พระองค์ได้แสดงพระปรีชาสามารถในการทำสนธิสัญญากับชาติยุโรปและละตินอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำความตกลง ไรช์คอนคอร์ดัท กับรัฐบาลนาซีเยอรมนี เพื่อปกป้องคริสตจักรโรมันคาทอลิกในประเทศเยอรมนีเวลานั้น และการที่พระองค์ไม่เอ่ยถึงชะตากรรมของชาวยิวต่อสาธารณชน ก็ทำให้พระองค์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก แต่นอกจากนั้นเบื้องหลัง พระสันตปาปาได้มีส่วนรู้ร่วมเห็นกับการลอบสังหารฮิตเลอร์ของเหล่าผู้บัญชาการระดับสูงเยอรมันที่มีความเกลียดต่อฮิตเลอร์ทั้งในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พระองค์ได้ให้ความช่วยเหลือแก่พวกเขาว่าจะเป็นผู้ประสานงานกับอังกฤษให้ยอมรับรัฐบาลชุดใหม่หลังนาซีถูกโค่นล้ม เนื่องจากความหวังที่จะหยุดยั้งการฆ่าล้างเผ่าของนาซีในทวีปยุโรป การกระทำของพระองค์นั้นเกือบจะตกเป็นเป้าหมายของนาซี เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง พระองค์เน้นพระกรณียกิจด้านการส่งเสริมสันติภาพและการปรองดอง รวมทั้งใช้มาตรการที่อ่อนโยนต่อประเทศฝ่ายอักษะ ในสมณสมัยของพระองค์เป็นช่วงที่มีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกอย่างรุนแรงในประเทศค่ายตะวันออก ในด้านบทบาททางการเมืองในประเทศอิตาลี พระองค์มีส่วนสำคัญในการต่อต้านพรรคคอมมิวนิสต์แห่งอิตาลี และให้ตัดขาดผู้สนับสนุนพรรคนี้ออกจากศาสนจักร สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที 12 ยังใช้สิทธิ์การไม่ผิดพลั้งโดยอำนาจสูงสุดของพระสันตะปาปาเพื่อประกาศในสมณธรรมนูญ Munificentissimus Deus ปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Pius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1458 ถึง ค.ศ. 1464 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1948 ปิอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 3 (Pius III พระนามเดิม:ฟรานเชสโก โทเดสชินี พิคโคโลมินิ (Francesco Todeschini Piccolomini)) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1503 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1982 ปิอุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 4 (อังกฤษ: Pius IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1559 ถึง ค.ศ. 1565 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2042 ปิอุสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากมิลาน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5

มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 หรือ นักบุญปิอุสที่ 5 (Pius V; Pius V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1566 ถึง ค.ศ. 1572 เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสังคายนาแห่งเทรนต์ การปฏิรูปคาทอลิก และปรับปรุงจารีตโรมันในคริสตจักรละตินให้มีมาตรฐาน ในทางการเมือง พระองค์ได้ขับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ ออกจากศาสนจักร เพราะพระนางสนับสนุนให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวออกจากสันตะสำนัก และยังเบียดเบียนคริสตชนคาทอลิกจำนวนมากในอังกฤษ พระองค์ยังร่วมก่อตั้งสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571) เพื่อต่อต้านทัพมุสลิมของจักรวรรดิออตโตมัน เมื่อสันนิบาตได้รับชัยชนะ พระองค์ได้ยกย่องว่าเป็นผลจากการอธิษฐานของพระนางมารีย์พรหมจารี และตั้งวันฉลองแม่พระแห่งชัยชนะขึ้นเป็นครั้งแรก (ปัจจุบันเรียกว่า "แม่พระแห่งลูกประคำ").

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 6

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 6 (อังกฤษ: Pius XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1775 ถึง ค.ศ. 1799 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2260 ปิอุสที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7

มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 (Pius VII) มีพระนามเดิมว่า บาร์นาบา นิกโกเลาะ มาเรีย ลุยจี กีอารามอนตี (Barnaba Niccolò Maria Luigi Chiaramonti)ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2343 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2366 พระองค์เป็นนักพรตคณะเบเนดิกติน ทรงเชี่ยวชาญด้านเทววิทยา และเคยดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งตีโวลีและบิชอปแห่งอีโมลา ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8 (อังกฤษ: Pius VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1829 ถึง ค.ศ. 1830 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2304 ปิอุสที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 (Pius IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1846 ถึง ค.ศ. 1878 ปิอุสที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค หมวดหมู่:เสียชีวิตจากโรคลมชัก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 1 (อังกฤษ: Nicholas I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 858 ถึง ค.ศ. 867 นิโคลัสที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2 (อังกฤษ: Nicholas II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1058 ถึง ค.ศ. 1061 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 นิโคลัสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นโรนาลป์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 3 (อังกฤษ: Nicholas III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1277 ถึง ค.ศ. 1280 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 นิโคลัส นิโคลัสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 4 (อังกฤษ: Nicholas IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1288 ถึง ค.ศ. 1292 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 นิโคลัสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 (Nicholas V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1447 ถึง ค.ศ. 1455 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1940 นิโคลัสที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาแอนเทรุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาแอนเทรุส (อังกฤษ: Anterus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 235 ถึง ค.ศ. 236 แอนเทรุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาแอนเทรุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโรมานุส

สมเด็จพระสันตะปาปาโรมานุส (อังกฤษ: Romanus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 897 ขณะเสียชีวิต ท่านมีสถานะเป็นนักบวชธรรมดา มิได้เป็นพระสันตะปาปา โรมานุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโรมานุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 1 (อังกฤษ: Honorius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 625 ถึง ค.ศ. 638 โฮโนริอุสที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 2 (อังกฤษ: Honorius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1124 ถึง ค.ศ. 1130 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ฮโโนริอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3 (อังกฤษ: Honorius III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1216 ถึง ค.ศ. 1227 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ฮโโนริอุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสดครั้งที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 4 (อังกฤษ: Honorius IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1285 ถึง ค.ศ. 1287 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ฮโโนริอุสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโดนุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโดนุส (อังกฤษ: Donus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 676 ถึง ค.ศ. 678 โดนุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโดนุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโคนอน

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโคนอน (อังกฤษ: Conon) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 686 ถึง ค.ศ. 687 โคนอน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโคนอน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาโซสิมุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาโซสิมุส (อังกฤษ: Zosimus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 417 ถึง ค.ศ. 418 โซสิมุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาโซสิมุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาไกอุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาไกอุส (อังกฤษ: Caius) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 283 ถึง ค.ศ. 296 ไกอุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาไกอุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาไฮยีนุส

สมเด็จพระสันตะปาปาไฮยีนุส (Hyginus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 136 ถึง ค.ศ. 140 ไฮยีนุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาไฮยีนุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 1 (อังกฤษ: Benedict I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 575 ถึง ค.ศ. 579 เบเนดิกต์ที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 (Benedict XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1303 ถึง ค.ศ. 1304 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1783 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 บแนดิกต์ที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเวเนโต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12 (อังกฤษ: Benedict XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1334 ถึง ค.ศ. 1342 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1280 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เบเนดิกต์ที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมีดี-ปีเรเน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13 สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13 (Benedict XII) มีพระนามเดิมว่า ปีเอโตร ฟรันเชสโก ออร์ซีนี (Pietro Francesco Orsini) ประสูติวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1724 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์วันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1730 รวมพระชนมายุได้ 81 พรรษา เมื่อทรงปฏิญาณตนเป็นไฟรเออร์คณะดอมินิกัน มีพระนามฉายาว่า วินเซนโซ มาเรีย ออร์ซีนี (Vincenzo Maria Orsini) เคยดำรงตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งมันเฟรโดเนีย อาร์ชบิชอปแห่งเซเซนา และอาร์ชบิชอปแห่งเบเนเวนโต ก่อนขึ้นดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปา หลังจากสิ้นพระชนม์ทรงได้รับแต่งตั้งเป็นผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หมวดหมู่:ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หมวดหมู่:ตระกูลออร์ซินี หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวอิตาลี หมวดหมู่:พระสันตะปาปาที่เป็นสมาชิกคณะดอมินิกัน หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นปุลยา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14 (อังกฤษ: Benedict XIV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1740 ถึง ค.ศ. 1758 ประสูติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1675 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1758 รวมพระชนมายุได้ 83 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2218 บแนดิกต์ที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากโบโลญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 15

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 15 (อังกฤษ: Benedict XV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1914 ถึง ค.ศ. 1922 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2397 บแนดิกต์ที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากเจนัว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 2 (Benedict II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 683 ถึง ค.ศ. 685 บเบเนดิกต์ที่ 2 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 3 (อังกฤษ: Benedict III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 855 ถึง ค.ศ. 858 ตามตำนานกล่าวกันว่า หลังจาก สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 สิ้นพระชนม์ มี ผู้หญิงนามว่า โจน เป็นผู้ดำรงตำแหน่งเป็นพระสันตะปาปาหญิงต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 แต่โดยส่วนมากเชื่อว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องโกหก ไม่เป็นความจริง โดยสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 สิ้นพระชนม์ สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 3 ดำรงในตำแหน่งเกือบในทันที เบเนดิกต์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 4

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 4 (อังกฤษ: Benedict IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 900 ถึง ค.ศ. 903 เบเนดิกต์ที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 5

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 5 (อังกฤษ: Benedict V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 964 และถูกปลดจากตำแหน่งหลังจากนั้นประมาณหนึ่งเดือน เบเนดิกต์ที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 6

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 6 (อังกฤษ: Benedict VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 973 ถึง ค.ศ. 974 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 บแนดิกต์ที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 7

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 7 (อังกฤษ: Benedict VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 974 ถึง ค.ศ. 983 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 บแนดิกต์ที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ ที่ 8 สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 8 (อังกฤษ: Benedict VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1012 ถึง ค.ศ. 1024 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 บแนดิกต์ที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 9

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 9 (อังกฤษ: Benedict IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปา ตั้งแต่ ค.ศ. 1032 ถึง ค.ศ. 1044, ค.ศ. 1045 และ ค.ศ. 1047 ถึง ค.ศ. 1048 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 บแนดิกต์ที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม หมวดหมู่:พระสันตะปาปาผู้ทรงสละตำแหน่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 1 (Felix I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 269 ถึง ค.ศ. 274 เฟลิกซ์ที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 3 (Felix III.) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 483 ถึง ค.ศ. 492 เฟลิกซ์ที่ 3 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 4 (Felix IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 526 ถึง ค.ศ. 530 เฟลิกซ์ที่ 4 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเฟลิกซ์ที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1

มเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 หรือ นักบุญเกรกอรีผู้ยิ่งใหญ่ (Gregory I หรือ Saint Gregory I the Great) ประสูติราวปึ ค.ศ. 540 และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 604 ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 590 ถึง..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 10

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 10 (อังกฤษ: Gregory X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1271 ถึง ค.ศ. 1276 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 กเรกอรีที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสดครั้งที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 11 (อังกฤษ: Gregory XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1370 ถึง ค.ศ. 1378 กเรกอรีที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีมูแซ็ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 12

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 12 (Gregory XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1406 ถึง ค.ศ. 1415 พระองค์ทรงเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาองค์ที่ 2 ที่ทรงประกาศสละตำแหน่งพระสันตะปาปาเพื่อยุติ "ความแตกแยกครั้งใหญ่ในคริสต์ศาสนา" หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากเวนิส หมวดหมู่:พระสันตะปาปาผู้ทรงสละตำแหน่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 13

มเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 สมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 (อังกฤษ: Gregory XIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1572 ถึง ค.ศ. 1585 เกิดเมื่อ 7 มกราคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 14

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 14 (อังกฤษ: Gregory XIV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1590 ถึง ค.ศ. 1591 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2078 กเรกอรีที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลอมบาร์เดีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 15

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 15 (Gregory XV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1621 ถึง ค.ศ. 1623 ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1554 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1623 รวมพระชนมายุได้ 69 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2097 กเรกอรีที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากโบโลญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16 (อังกฤษ: Gregory XVI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1831 ถึง ค.ศ. 1846 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2308 ก หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเวเนโต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 2 (Gregory II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 715 ถึง ค.ศ. 731 กเกรกอรีที่ 2 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 3 (อังกฤษ: Gregory III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 731 ถึง ค.ศ. 741 เกรกอรีที่ 3 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 4 (Gregory IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 827 ถึง ค.ศ. 844 เกรกอรีที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5 (Gregory V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 996 ถึง ค.ศ. 999 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 กเรกอรีที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 6 (อังกฤษ: Gregory VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1045 ถึง ค.ศ. 1046 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 กเรกอรีที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 (Gregory VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1073 ถึง ค.ศ. 1085 เกิดในเมืองทัสคานี่ ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา วันที่ 22 เมษายน..1073 มรณะวันที่ 25 พฤษภาคม..1085 พระองค์ทรงเรียกประชุมสังคายนาออกโองการว่า “พระสันตะปาปาเท่านั้น ที่เป็นสากล ไม่มีผู้ใดอาจตัดสินพระองค์ได้”.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 8

250px สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 8 (Gregory VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1187 เป็นเวลาประมาณ 2 เดือน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1100 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสดครั้งที่ 3 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นคัมปาเนีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9 (อังกฤษ: Gregory IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1227 ถึง ค.ศ. 1241 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสดครั้งที่ 6 กเรกอรีที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอลิวเทรุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเอลิวเทรุส (อังกฤษ: Eleuterus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 174 ถึง ค.ศ. 189 เอลิวเทรุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอลิวเทรุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอวาริสตุส

สมเด็จพระสันตะปาปาเอวาริสตุส (Evaristus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 97 ถึง ค.ศ. 105 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 1 เอวาริสตุส หมวดหมู่:ชาวปาเลสไตน์ หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอวาริสตุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 1 (อังกฤษ: Urban I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 222 ถึง ค.ศ. 230 เออร์บันที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 (Urban II) มีพระนามเดิมว่าโอโด ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1088 ถึง 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1099 พระองค์เป็นที่รู้จักจากการประกาศสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และก่อตั้งสภาปกครองโรมันขึ้นมีในฝ่ายคริสตจักรให้มีลักษณะอย่างราชสำนัก ราวปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 3 (อังกฤษ: Urban III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1185 ถึง ค.ศ. 1187 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อเอร์บันที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลอมบาร์เดีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 4 (Urban IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1264 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1738 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 อเอร์บันที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นช็องปาญาร์แดน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5 (Urban V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1362 ถึง ค.ศ. 1370 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1853 อเอร์บันที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นล็องก์ด็อก-รูซียง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 6 (อังกฤษ: Urban VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1378 ถึง ค.ศ. 1389 อเอร์บันที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากเนเปิลส์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอุบัติเหตุขี่ม้า.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 7

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 7 (อังกฤษ: Urban VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1590 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2064 อเอร์บันที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8 (อังกฤษ: Urban VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1623 ถึง ค.ศ. 1644 ประสูติเมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1568 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1644 รวมพระชนมายุได้ 76 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2111 อเอร์บันที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากฟลอเรนซ์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 1

thumbnail สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 1 (Adrian I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 772 ถึง ค.ศ. 795 เอเดรียนที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 2 (Adrian II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 867 ถึง ค.ศ. 872 อเดรียนที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 3 (อังกฤษ: Adrian III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 884 ถึง ค.ศ. 885 เอเดรียนที่ 3 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4 (อังกฤษ: Adrian IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1154 ถึง ค.ศ. 1159 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1100 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:พระคาร์ดินัลชาวอังกฤษ หมวดหมู่:คริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกชาวอังกฤษ อแดรียนที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากมณฑลฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ หมวดหมู่:นักบวชในศาสนาคริสต์ชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 5 (อังกฤษ: Adrian V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1276 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 อแดรียนที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากเจนัว.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6

มเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6 (2 มีนาคม ค.ศ. 1459 - 14 กันยายน ค.ศ. 1523) มีพระนามเดิมว่า Adrian Florisz Boeyens ทรงดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1522 จนกระทั่งสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 1 (Gelasius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 492 ถึง ค.ศ. 496 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวแอฟริกา หมวดหมู่:นักบุญชาวแอฟริกา หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5 หมวดหมู่:พระสันตะปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาเกลาซิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Gelasius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1118 ถึง ค.ศ. 1119 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1060 กเลาซิอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเทเลสฟอรุส

สมเด็จพระสันตะปาปาเทเลสฟอรุส (Telesphorus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 125 ถึง ค.ศ. 136 ทเทเลสฟอรุส หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 2.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเทเลสฟอรุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 1 (อังกฤษ: Adeodatus I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 615 ถึง ค.ศ. 618 เดอุสเดดิตที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 2 (อังกฤษ: Adeodatus II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 672 ถึง ค.ศ. 676 เดอุสเดดิตที่ 2 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเดอุสเดดิตที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 1

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 1 (Clement I) ทรงดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งโรมตั้งแต่ ค.ศ. 88 ถึง ค.ศ. 97 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 1 คลเมนต์ที่ 1 หมวดหมู่:นักบุญชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 1 หมวดหมู่:ปิตาจารย์แห่งคริสตจักร หมวดหมู่:มรณสักขีในศาสนาคริสต์ หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยการถ่วงน้ำ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 10

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 10 (อังกฤษ: Clement X) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1670 ถึง ค.ศ. 1676 ประสูติเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1590 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1676 รวมพระชนมายุได้ 86 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2133 คลีเมนต์ที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 11 (อังกฤษ: Clement XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1700 ถึง ค.ศ. 1721 ประสูติเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1649 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 1721 รวมพระชนมายุได้ 71 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2192 คลีเมนต์ที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 12

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 12 (อังกฤษ: Clement XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1730 ถึง ค.ศ. 1740 ประสูติเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1652 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1740 รวมพระชนมายุได้ 87 พรรษา คลีเมนต์ที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากฟลอเรนซ์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 13

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 13 (Clement XIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1758 ถึง ค.ศ. 1769 ประสูติเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1693 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1769 รวมพระชนมายุได้ 75 พรรษา คลีเมนต์ที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลจากเวนิส.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 14

สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 14 (Clement XIV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1769 ถึง ค.ศ. 1774 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2248 คลีเมนต์ที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 2 (อังกฤษ: Clement II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1046 ถึง ค.ศ. 1047 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 คลีเมนต์ที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนีเดอร์ซัคเซิน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 3 (อังกฤษ: Clement III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1187 ถึง ค.ศ. 1191 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 คลีเมนต์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 4 (Clement IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1265 ถึง ค.ศ. 1268 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1738 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 คลีเมนต์ที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นล็องก์ด็อก-รูซียง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 5 (อังกฤษ: Clement V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1305 ถึง ค.ศ. 1314 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 คลีเมนต์ที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอากีแตน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 6 (Clement VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1342 ถึง ค.ศ. 1352 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1834 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 คลีเมนต์ที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีมูแซ็ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 8 (อังกฤษ: Clement VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1592 ถึง ค.ศ. 1605 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2079 คลีเมนต์ที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 9 (อังกฤษ: Clement IX) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1667 ถึง ค.ศ. 1669 ประสูติเมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1600 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1669 รวมพระชนมายุได้ 69 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2143 คลีเมนต์ที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นตอสคานา.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซฟิรินุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซฟิรินุส (อังกฤษ: Zephyrinus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 199 ถึง ค.ศ. 217 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 2 เซฟิรินุส หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 2 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 3.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซฟิรินุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 1 (Sergius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 687 ถึง ค.ศ. 701 ซเอร์จิอุสที่ 1 ซ หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 8.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุส (อังกฤษ: Sergius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 844 ถึง ค.ศ. 847 เซอร์จิอุส หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 3 (อังกฤษ: Sergius III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 904 ถึง ค.ศ. 911 เซอร์จิอุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 9 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4

สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4 (Sergius IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1009 ถึง ค.ศ. 1012 ซเอร์จิอุสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 10 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 1 (Celestine I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 422 ถึง ค.ศ. 432 เซเลสทีนที่ 1 หมวดหมู่:ชาวโรมัน หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 2 (Celestine II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ พ.ศ. 1686 ถึง พ.ศ. 1687 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เซเลสทีนที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอุมเบรีย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 3

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 3 (Celestine III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1191 ถึง ค.ศ. 1198 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1100 ซเซเลสทีน หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ซแลสทีนที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 4 (อังกฤษ: Celestine IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1241 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซแลสทีนที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลจากมิลาน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5 (อังกฤษ: Celestine V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1294 พระองค์ทรงเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์แรกที่สละตำแหน่งพระสันตะปาปา หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1758 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซแลสทีนที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นโมลีเซ หมวดหมู่:พระสันตะปาปาผู้ทรงสละตำแหน่ง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเซเวรินุส

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซเวรินุส (อังกฤษ: Severinus) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 638 ถึง ค.ศ. 630.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเวรินุส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 1

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 1 (Pelagius I) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 556 ถึง ค.ศ. 561 เปลาจิอุสที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 2

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Pelagius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 579 ถึง ค.ศ. 590 เปลาจิอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 6 หมวดหมู่:เสียชีวิตจากกาฬโรค.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสมเด็จพระสันตะปาปาเปลาจิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาลาเตรันครั้งที่หนึ่ง

กฎข้อที่ 2 4 และ 10 ยุติอำนาจของจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในการเสนอชื่อบิชอปและพระสันตะปาปา สังคายนาลาเตรันครั้งที่ 1 (First Council of the Lateran) เป็นสภาสังคายนาสากลในคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 2 ทรงเรียกประชุมในเดือนธันวาคมปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสังคายนาลาเตรันครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาวาติกันครั้งที่สอง

ังคายนาวาติกันครั้งที่สอง (Concilium Oecumenicum Vaticanum Secundum) เป็นสภาสังคายนาสากลครั้งที่ 21 ที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกจัดขึ้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อปรับตัวศาสนจักรให้เข้ากับโลกสมัยใหม่ สังคายนาครั้งนี้สันตะสำนักดำเนินการจัดขึ้นที่มหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน ตามรับสั่งของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สังฆมณฑล (แก้ความกำกวม)

ังฆมณฑล อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสังฆมณฑล (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สันตะสำนัก

ม่มีความสัมพันธ์ สันตะสำนักราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 251(Holy See) หรือที่บางตำราเรียกว่า อาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 753 คือมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในกรุงโรม และเนื่องจากกรุงโรมมีความสำคัญที่สุดในคริสตจักรโรมันคาทอลิก บิชอปแห่งโรมจึงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาอันเป็นตำแหน่งประมุขของคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั้งหมดด้วย สันตะสำนักเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ฉะนั้นเมื่อกล่าวถึง “สันตะสำนัก” จึงหมายถึงองค์กรบริหารส่วนกลางของคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั้งหมด และเป็นอาณาจักรทางศาสนาที่เป็นที่ยอมรับตามกฎหมายนานาชาติว่าเป็นรัฐอิสระที่มีประมุขเป็นพระสันตะปาปาและสถาปนาความสัมพันธ์ทางทูตกับประเทศอื่นได้ สันตะสำนักแบ่งการบริหารออกเป็น 4 ระดับ ได้แก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสันตะสำนัก · ดูเพิ่มเติม »

สารตราพระสันตะปาปา

รตราของสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8 ที่ออกใน ค.ศ. 1637 ประทับด้วยตราบุลลา สารตราพระสันตะปาปา (Papal bull) เป็นเอกสารสิทธิ (Letters patent) หรือใบอนุญาตประเภทหนึ่งที่ออกโดยพระสันตะปาปา ในภาษาอังกฤษ “สารตราพระสันตะปาปา” เป็นคำที่มาจากคำว่า “Bulla” (ตราบุลลา) ที่ประทับห้อยติดกับเอกสารเพื่อให้ทราบว่าเป็นเอกสารแท้จากผู้ออก สารตราพระสันตะปาปาเดิมออกโดยพระสันตะปาปาเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารหลายประเภทที่เป็นสาธารณะ แต่หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก็เป็นเอกสารที่กลายเป็นเอกสารที่ออกเฉพาะโอกาสที่เป็นทางการที่สำคัญๆ เท่านั้น นักวิชาการสมัยใหม่ใช้คำว่า “Bull” ในการบรรยายย้อนหลังถึงเอกสารใดใดที่ออกโดยพระสันตะปาปาในรูปของ “กฤษฎีกา” (decree), “เอกสิทธิ์” (privilege) และเอกสารที่ไม่สำคัญเท่าใดนักที่ออกมาเป็นจดหมาย ตามความนิยมโดยทั่วไป “สารตราพระสันตะปาปา” จะใช้กับเอกสารของพระสันตะปาปาที่มีตราโลหะ สารตราพระสันตะปาปาใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่วลีนี้มิได้เริ่มใช้กันมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 และใช้เฉพาะเป็นการภายในสำหรับกล่าวถึงระบบการเก็บเอกสารอย่างไม่เป็นทางการ คำนี้กลายมาใช้อย่างเป็นทางการในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อสำนักงานหนึ่งของระบบการบริหารของพระสันตะปาปาได้รับชื่อว่า “Registrum bullarum” (สำนักงานลงทะเบียนพระบัญญัติ) ในปัจจุบันสารตราจะออกก็ต่อเมื่อพระสันตะปาปากล่าวถึงพระองค์เองว่า “ผู้รับใช้ของบรรดาผู้รับใช้พระเป็นเจ้า” (Servus Servorum Dei) ตัวอย่างเช่นเมื่อสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงออกสารตราพระองค์ก็ทรงเริ่มเอกสารโดยมีพระนามนำหน้าเป็น “เบเนดิกต์ บิชอป ผู้รับใช้ของบรรดาผู้รับใช้พระเป็นเจ้า” (Benedictus, Episcopus, Servus Servorum Dei).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสารตราพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฮุสไซต์

งครามฮุสไซต์ (Hussite Wars) หรือ สงครามโบฮีเมีย หรือ การปฏิวัติฮุสไซต์ เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายฮุสไซต์ที่นับถือคำสอนของยัน ฮุสกับฝ่ายโรมันคาทอลิก นำโดยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการสู้รบกันเองในหมู่นักรบฮุสไซต์ สงครามนี้เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์ความแตกแยกหลายเหตุการณ์ระหว่างผู้นับถือคำสอนของฮุสกับผู้ปกครองที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เช่น การเผาทั้งเป็นฮุส, เหตุบัญชรฆาตในกรุงปรากและการสวรรคตของพระเจ้าเวนเซลแห่งชาวโรมัน ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสงครามฮุสไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสด

กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสงครามครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดลิโวเนีย

งเดนมาร์กลอยลงมาจากท้องฟ้าระหว่างยุทธการลินดานิสส์ ค.ศ. 1219 สงครามครูเสดลิโวเนีย (Livonian Crusade) หมายถึงสงครามที่เยอรมนีและเดนมาร์กได้รับชัยชนะและยึดครองลิโวเนียยุคกลางซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ครอบคลุมดินแดนที่ในปัจจุบันคือลัตเวีย และ เอสโตเนียระหว่างสงครามครูเสดตอนเหนือ ดินแดนริมฝั่งทะเลบอลติกทางตอนเหนือของยุโรปเป็นดินแดนสุดท้ายที่ยังไม่ยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสงครามครูเสดลิโวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 6

ระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2ทรงพบกับอัล-คามิล สงครามครูเสดครั้งที่ 6 (Sixth Crusade) (ค.ศ. 1228-ค.ศ. 1229) สงครามครูเสด ครั้งนี้เริ่มขึ้นเพียงเจ็ดปีหลังจากความล้มเหลวของสงครามครูเสดครั้งที่ 5.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสงครามครูเสดครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดตอนเหนือ

งครามครูเสดตอนเหนือ (Northern Crusades) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นโดย กษัตริย์เดนมาร์ก สวีเดน รวมถึงภาคีลิวอเนียน และคณะอัศวินทิวทัน ซึ่งร่วมกับเหล่าพันธมิตรต่อต้านชาวลัทธิเพกัน รอบ ๆ ดินแดนยุโรปภาคเหนือ ชายฝั่งตะวันออก และทางตอนใต้ของทะเลบอลติก สงครามครูเสดตอนเหนือนี้อาจรวมไปถึงการรบของสวิดิช และเยอรมันคาทอลิก ที่ต่อสู้กับชาวรัสเซีย ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ หลายสงครามนี้ถูกเรียกว่าเป็นครูเสดในยุคกลาง ส่วนสงครามนอกเหนือจากนั้นซึ่งรวมไปถึงส่วนใหญ่ของสวิดิชครูเสด จะถูกเรียกรวมให้เป็นครูเสด โดยนักประวัติศาสตร์หัวชาตินิยม ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โลกบอลติกตะวันออกนั้น ถูกแปลงให้เป็นพื้นที่ทางการทหารที่มุ่งพิชิตพวกแรก ๆ คือ พวกลิวอเนียน พวกเอสโทเนียน หลังจากนั้น ก็เป็น ชาวเซมิกัลป์เลียน คูโรเนียน และชาวปรัสเซียนที่ได้รับความพ่ายแพ้ ถูกเข้ายึด แม้กระทั่งทำลายล้าง โดยกลุ่มชาวเดนมาร์ก เยอรมัน และสวีเดน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและสงครามครูเสดตอนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

หอล้างบาป

หอล้างบาปกลมเมืองปีซาตั้งอยู่ข้างตัวมหาวิหาร หอล้างบาปประจำมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน หอล้างบาปที่ฟลอเรนซ์ หอล้างบาป หรือ หอบัพติศมา (Baptistery หรือ BaptistryCatholic Encyclopedia. ''Baptistery''. http://www.newadvent.org/cathen/02276b.htm.) เป็นคริสต์ศาสนสถาน ที่สร้างเป็นอิสระจากสิ่งก่อสร้างอื่นโดยมีอ่างล้างบาปเป็นศูนย์กลาง หอล้างบาปอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของโบสถ์หรืออาสนวิหารซึ่งมีแท่นบูชาและคูหาสวดมนต์ของตนเอง ในศาสนาคริสต์ยุคแรกหอล้างบาปจะเป็นสถานสำหรับผู้จะเข้ารีตเรียนรู้เรื่องศาสนาก่อนจะรับศีลล้างบาป และเป็นที่ทำพิธีล้างบาป การสร้างหอล้างบาปอย่างสวยงามเป็นการแสดงถึงความสำคัญของการล้างบาปในศาสนาคริสต์ หอล้างบาปทรงแปดเหลี่ยมของมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันเป็นหอล้างบาปแรกที่สร้างเพื่อการพิธีนี้โดยเฉพาะ ซึ่งเป็นแบบลักษณะตัวอย่างของหอล้างบาปที่สร้างกันต่อมา ซึ่งบางครั้งจะเป็นสิบสองเหลี่ยม หรือกลมอย่างที่ปิซา ในบริเวณโถงทางเข้าโบสถ์คริสต์เป็นบริเวณที่ใช้สำหรับใช้เรียนคำสอนและสารภาพความศรัทธาก่อนที่จะทำการรับศีลล้างบาป โถงกลางจะมีอ่างล้างบาปป็นหลัก ซึ่งจะเป็นที่ที่ผู้รับศีลจะลงไปใต้น้ำสามหน จากอ่างจะเป็นบันไดสามขั้นลงไปในอ่าง ห้อยอยู่เหนืออ่างอาจจะเป็นนกพิลาปทองหรือเงินซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระวิญญาณบริสุทธิ์ รูปเคารพที่ทำจากโมเสกบนผนัง หรือจิตรกรรมฝาผนังมักจะเป็นฉากชีวิตของนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา อ่างล้างบาปในระยะแรกมักจะทำด้วยหิน แต่ต่อมาก็มีการทำด้วโลหะบ้าง แหล่งน้ำของหอล้างบาปของมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันมาจากน้ำพุธรรมชาติ ก่อนที่จะมาเป็นมหาวิหารสิ่งก่อสร้างเดิมเป็นวังของครอบครัวพลอติอิ แลเตอร์รัน (Plautii Laterani) ผู้เป็นผู้บริหารของจักรพรรดิโรมัน จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เป็นผู้ถวายวังนี้ให้กับบิชอปมิลทิอาเดส (Bishop Miltiades) น้ำพุธรรมชาติเป็นแหล่งน้ำของสิ่งก่อสร้างหลายสิ่งก่อสร้างภายในวัง เมื่อมีการเปลี่ยนศาสนาผู้เปลี่ยนก็ต้องรับล้างบาปทำให้แหล่งน้ำกลายเป็นความจำเป็น คาสสิโอโดรัสนักการเมืองและนักเขียนชาวโรมันบรรยายไว้ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและหอล้างบาป · ดูเพิ่มเติม »

หัตถเลขา

หัตถเลขา (rescript) คือ เอกสารที่เขียนขึ้นด้วยลายมือของผู้เขียนหรือผู้เขียนทำขึ้นเองไม่ว่าโดยวิธีการใด เช่น พิมพ์ดีด พิมพ์ด้วยหมึกอย่างสมัยใหม่ โดยปรกติแล้วเพื่อสนองคำขอที่อีกฝ่ายมีมา ถ้าเป็นหัตถเลขาของพระราชา เรียก "พระราชหัตถเลขา" โดยปรกติแล้วหัตถเลขาเป็นเอกสารสั่งการ ซึ่งถ้าประมุขแห่งรัฐทำขึ้นและเกี่ยวข้องกับกิจการบ้านเมือง หัตถเลขานั้นจะได้เมื่อมีบุคคลลงลายมือชื่อรับสนองการสั่งการนั้นตามที่กฎหมายกำหนด คำ "หัตถเลขา" นั้นมีความหมายตรงตัวว่า ลายมือ และในภาษาไทยใช้ได้หลายกรณีไม่จำกัดแต่เป็นเอกสารที่เขียนเพื่อสั่งการเท่านั้น รูปแบบของหัตถเลขามีหลายหลาก ตั้งแต่เอกสารที่เขียนขึ้น พิมพ์ขึ้น จดหมายที่ส่งต่อ ไปจนถึงจดหมายที่ทำกลับเพื่อสนองคำร้องขอที่ได้รับมา ในสมัยโรมัน จักรพรรดิโรมันมักมีพระราชหัตถเลขาไปยังรัฐบาลและเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของรัฐ เพื่อสั่งการใด ๆ นอกจากนี้ ยังมีพระหัตถเลขาของสมเด็จพระสันตะปาปาในสมัยโรมันที่เป็นการสั่งการทางปกครองไว้มากมาย นับเป็นจุดเริ่มแรกของหัตถเลขาในทางกฎหมาย ศาลอุทธรณ์แห่งแมสซาชูเซ็ตส์จะมีหัตถเลขาไปยังศาลชั้นรองเพื่อสั่งการต่าง ๆ หัตถเลขาของศาลนับเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของคำสั่งศาล.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและหัตถเลขา · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือพิมพ์

ร้านจำหน่ายหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ในเมืองแพดดิงตัน กรุงลอนดอน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 หนังสือพิมพ์ คือสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าว การเคลื่อนไหวใหม่ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มีกำหนดการออกที่แน่นอนตายตัว โดยส่วนใหญ่จะออกเป็นรายวัน นอกจากนี้แล้วยังมีหนังสือพิมพ์รายสามวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ และรายเดือน หนังสือพิมพ์มักจะพิมพ์ลงในกระดาษสำหรับพิมพ์หนังสือพิมพ์โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาถูก เนื้อหาหลักของหนังสือพิมพ์คือข่าวสารบ้านเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านต่างๆ อาทิ ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวกีฬา และข่าวบันเทิง มีการใช้รูปภาพประกอบเนื้อหา ทำให้เนื้อหาชัดเจนมากขึ้น นอกจากนี้แล้วอาจมีส่วนต่างๆ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ เช่น พยากรณ์อากาศ และ การ์ตูน ซึ่งโดยทั่วไปเป็นการ์ตูนล้อเลียนการเมือง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและหนังสือพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

อักกาเดเมียดีซันลูกา

ูองค์การคล้ายคลึงกันที่ สมาคมช่างนักบุญลูกา ภาพนักบุญลูกาวาดภาพพระแม่มารีย์ โดยกูเอร์ชีโน (Guercino) อักกาเดเมียดีซันลูกา หรือ วิทยาสถานนักบุญลูกา (Accademia di San Luca; Academy of Saint Luke) เป็นสำนักจิตรกรของโรม ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอักกาเดเมียดีซันลูกา · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) หรือคณะฮอสปิทัลเลอร์ (Order of Hospitallers) เป็นคณะบุรุษที่ทำงานที่โรงพยาบาลอมาลฟิที่ตั้งขึ้นในเยรูซาเลมในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินทิวทอนิก

ณะภราดรบ้านนักบุญมารีย์เยอรมันในเยรูซาเล็ม (Ordo domus Sanctæ Mariæ Theutonicorum Hierosolymitanorum) หรือชื่อสามัญว่า คณะทิวทอนิก (หรือ คณะเยอรมันในปัจจุบัน) เป็นคณะอัศวินสมัยกลางของเยอรมนี และในสมัยปัจจุบันกลายเป็นคณะศาสนาคาทอลิกเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นราว ปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัศวินทิวทอนิก · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินแห่งพระคริสต์ (โปรตุเกส)

ณะทหารแห่งพระคริสต์ (Ordem Militar de Cristo) หรือชื่อเดิมว่า ราชคณะอัศวินแห่งพระเยซูคริสตเจ้าของพวกเรา (Real Ordem dos Cavaleiros de Nosso Senhor Jesus Cristo) สืบทอดมาจากอัศวินเทมพลาร์ในประเทศโปรตุเกส หลังการปราบปรามเทมพลาร์ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัศวินแห่งพระคริสต์ (โปรตุเกส) · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินเทมพลาร์

ทหารผู้ยากแห่งพระคริสต์และพระวิหารแห่งโซโลมอน (Pauperes commilitones Christi Templique Solomonici) หรือที่รู้จักกันในชื่ออัศวินเทมพลาร์ หรือคณะแห่งพระวิหาร (Ordre du Temple หรือ Templiers) เป็นคณะทหารคริสตชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดMalcolm Barber, The New Knighthood: A History of the Order of the Temple.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัศวินเทมพลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดร

อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก อัครบิดรแห่งมอสโกและรัสทั้งปวง องค์ปัจจุบัน (ขวา) และ อัครบิดรสากลบาร์โธโลมิวที่ 1''' อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลองค์ปัจจุบัน (ซ้าย) อัครบิดรราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6 (patriarch) ชาวออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่า พระสังฆราช และ ชาวโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยเรียกว่าอัครปิตา ส่วนชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระอัยกา ถือเป็นตำแหน่งมุขนายกชั้นสูงสุดในคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และอื่นๆ เช่นออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ โรมันคาทอลิก และอัสซีเรียนแห่งตะวันออก แต่เดิมคัมภีร์ไบเบิลช้คำนี้เพื่อหมายถึง อับราฮัม อิสอัค และยาโคบ ผู้เป็นปฐมบรรพบุรุษของวงศ์วานอิสราเอล และเรียกยุคที่ทั้งสามคนนี้มีชีวิตอยู่ว่ายุคอัครบิดร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัครบิดร · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย

อัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย (Patriarch of Alexandria) คือประมุขฝ่ายคริสตจักรในเมืองอะเล็กซานเดรีย (ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศอียิปต์) นับเป็น 1 ใน 3 ตำแหน่งประมุขฝ่ายคริสตจักรที่เก่าแก่ที่สุด (อีก 2 ตำแหน่งคือ อัครบิดรแห่งโรมและอัครบิดรแห่งแอนติออก) โดยเฮราคลัส อัครบิดรองค์ที่ 13 แห่งอะเล็กซานเดรียเป็นบุคคลแรกที่ได้รับสมัญญานามว่า "พระสันตะปาปา" (ส่วนอัครบิดรแห่งโรมเริ่มใช้สมัญญานี้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 6).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัครบิดรแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดรแห่งแอนติออก

อัครบิดรแห่งแอนติออก (Patriarch of Antioch) คือประมุขฝ่ายคริสตจักรประจำนครแอนติออก นับเป็นตำแหน่งอัครบิดรสำคัญ 1 ใน 5 ตำแหน่งตามหลักเบญจาธิปไตยของคริสตจักร (อีก 4 ตำแหน่ง ได้แก่ โรม คอนสแตนติโนเปิล อะเล็กซานเดรีย และเยรูซาเลม ตามลำดับ) เชื่อว่าเป็นตำแหน่งที่สืบมาจากนักบุญซีโมนเปโตร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัครบิดรแห่งแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

อัครบิดรแห่งเยรูซาเลม

อัครบิดรแห่งเยรูซาเลม (Patriarch of Jerusalem) คือประมุขฝ่ายคริสตจักรประจำกรุงเยรูซาเลม นับเป็นตำแหน่งอัครบิดรสำคัญ 1 ใน 5 ตำแหน่งตามหลักเบญจาธิปไตยของคริสตจักร (อีก 4 ตำแหน่ง ได้แก่ โรม คอนสแตนติโนเปิล อะเล็กซานเดรีย และแอนติออก ตามลำดับ) เชื่อว่าเป็นตำแหน่งที่สืบมาจากนักบุญยากอบผู้ชอบธรรม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัครบิดรแห่งเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

อัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน

อัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน ในพระสันตะปาปา (Arcibasilica Papale di San Giovanni in Laterano) หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน (Basilica di San Giovanni in Laterano) หรือเรียกอย่างสั้นว่า มหาวิหารลาเตรัน เป็นมหาวิหารเอกในกรุงโรมและเป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งกรุงโรม นับเป็นมหาวิหารที่เก่าแก่ที่สุดและมีตำแหน่งสูงสุดในบรรดามหาวิหารเอกทั้งสี่แห่งในกรุงโรม และมีสถานะเป็นโบสถ์แม่ของโบสถ์ทั้งปวงในคริสตจักรโรมันคาทอลิก อัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน เป็นมหาวิหารที่เก่าแก่มากที่สุดและมีความอาวุโสสูงสุดในบรรดามหาวิหารเอกทั้งสี่ในพระสันตะปาปาซึ่งทั้งหมดตั้งอยู่ในโรม มีลำดับศักดิ์อยู่เหนือแม้กระทั่งมหาวิหารนักบุญเปโตร และเป็นเพียงอาสนวิหารเพียงแห่งเดียวในโลกที่มีฐานะเป็น อัครมหาวิหาร และเนื่องจากเป็นอาสนวิหารที่เก่าแก่ที่สุด จึงได้รับการยกย่องให้เป็นอาสนวิหารแม่ของศาสนจักรโรมันคาทอลิก หัวหน้าพระคนบัจจุบันคือ พระคาร์ดินัลอากอสตีโน วัลลี ซึ่งเป็นคาร์ดินัลใหญ่แห่งมุขมณฑลโรม ในขณะที่ประธานาธิบดีฝรั่งเศสเป็นแคนันกิตติมศักดิ์ (honorary canon) ประจำมหาวิหารฯ โดยตำแหน่ง ซึ่งตำแหน่งแคนันกิตติมศักดิ์นี้เป็นตำแหน่งที่สืบทอดในหมู่ประมุขแห่งฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยของพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ด้านหน้าบริเวณทางเข้า มีศิลาจารึกเป็นภาษาละตินขนาดใหญ่ว่า Clemens XII Pont Max Anno V Christo Salvatori In Hon SS Ioan Bapt et Evang ซึ่งแปลอย่างย่อได้ว่า "สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 12 ในปีที่ 5 แห่งสมณสมัย ได้ทรงอุทิศอาคารหลังนี้แก่พระคริสต์เจ้าผู้ช่วยให้รอด ด้วยเกียรติของนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร" หรือมีความหมายก็คือ เดิมดี มหาวิหารแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่พระเยซู และในหลายศตวรรษต่อมาก็ประกาศร่วมอุทิศให้แก่นักบุญยอห์นทั้งสอง คือยอห์นผู้ให้บัพติศมาและยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร อัครมหาวิหารฯตั้งอยู่ในกรุงโรม แต่อยู่นอกเขตแดนของนครรัฐวาติกันประมาณ 4 กิโลเมตรไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ แม้จะไม่ได้อยู่ในวาติกัน แต่อัครมหาวิหารแห่งนี้มีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในฐานะสมบัติของสันตะสำนัก จากผลของสนธิสัญญาลาเตรัน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอัครมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 43 (Archbishop of Canterbury) เป็นอัครมุขนายกและผู้นำหลักของคริสตจักรแห่งอังกฤษ เป็นประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลกและบิชอปประจำมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี อัครมุขนายกแห่งแคนเทอร์เบอรีคนปัจจุบันคือศาสนาจารย์จัสติน เวลบี (Justin Welby) เป็นอัครมุขนายกคนที่ 105 ซึ่งสืบตำแหน่งที่ตกทอดมากว่า 1400 ปีจากนักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีผู้ก่อตั้งคริสตจักรโรมันคาทอลิกในอังกฤษในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

อาลบี

อาลบี (Albi) เป็นเมืองหลัก (Chef-lieu) ของเขตจังหวัดตาร์น แคว้นอ็อกซีตานี ทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนแม่น้ำตาร์น ห่างจากเมืองตูลูซ ประมาณ 85 กิโลเมตร จากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองอาลบี เคยเป็นเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองของอัครมุขนายกแห่งอาลบี ซึ่งอยู่ในมุขมณฑลแห่งอาลบี (Diocese of Albi) เขตเมืองอาลบี ได้แก่ เมืองเก่า ซึ่งในปัจจุบันตั้งอยู่ตรงกลางใจเมือง และบริเวณรอบของมหาวิหารอาลบี ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 2010 ในนาม Espicopal City of Albi (Cité épiscopale d'Albi).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาลบี · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญง

อาวีญง (Avignon) เป็นเมืองหลัก (Chef-lieu) ของเขตจังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโรน ประกอบด้วยประชากรทั้งหมด 94,787 คน (ณ ปีค.ศ. 2010) ในจำนวนนี้มีประมาณ 12,000 คนทีอาศัยอยู่ในเขตเมืองเก่าของอาวีญง ในปัจจุบันเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดโวกลูซ อาวีญงได้รับการขนานนามว่าเป็น "เมืองแห่งพระสันตะปาปา" เนื่องจากในอดีตนั้นเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปา (รวมทั้งพระสันตะปาปาเท็จ) ตั้งแต่ปีค.ศ. 1309 - ค.ศ. 1423 ในช่วงของการแตกแยกครั้งใหญ่ของคริสตจักร (Catholic Schism) นอกจากนี้อาวีญงยังเป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองในประเทศฝรั่งเศสที่ยังมีกำแพงเมืองเก่าที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และยังมีศูนย์ประวัติศาสตร์ พระราชวังพระสันตะปาปา สะพานอาวีญง ซึ่งยังอยู่ในสภาพดี ซึ่งทั้งหมดนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 1995 ในนาม Historic Centre of Avignon: Papal Palace, Episcopal Ensemble and Avignon Bridge (Centre historique d’Avignon: Palais des papes, ensemble épiscopal et Pont d’Avignon).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาวีญง · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญงปาปาซี

พระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง อาวีญงปาปาซี (Avignon Papacy) หรือ สมณสมัยอาวีญง คือช่วงเวลาที่พระสันตะปาปา 7 พระองค์ประทับ ณ เมืองอาวีญง ราชอาณาจักรฝรั่งเศส แทนการประทับที่กรุงโรมตามปกติ สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างองค์พระสันตะปาปากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ภายหลังจากความขัดแย้งระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 กับพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 ผู้สืบทอดตำแหน่งสมเด็จพระสันตะปาปาต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 และดำรงสมณศักดิ์ได้เพียง 8 เดือน การประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาให้อาร์ชบิชอปแบร์ทร็อง ชาวฝรั่งเศส ขึ้นดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์ใหม่ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาวีญงปาปาซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale du Puy-en-Velay) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation du Puy-en-Velay) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ. 1856 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และศิลปะโรมาเนสก์ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งตะวันตกของคริสตจักร และยังเป็นหนึ่งในสถานที่แสวงบุญของชาวคริสต์มาตั้งแต่สมัยก่อนจักรพรรดิชาร์เลอมาญ อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแห่งกาลเวลา

อาณาจักรแห่งกาลเวลา (The Keys to the Kingdom) เป็นนวนิยายแฟนตาซีชุดหนึ่งของ การ์ธ นิกซ์ (Garth Nix) นักเขียนชาวออสเตรเลีย ได้รับการตีพิมพ์ในรูปแบบของหนังสือปกอ่อน เรื่องราวในเรื่องเกิดขึ้นในบ้านและอาณาจักรชั้นที่สอง ซึ่งรวมไปถึงโลกของเราด้วย โดยมีตัวเอกดำเนินเรื่อง 3 ตัว คือ อาเธอร์ เพนฮาลิกอน, ซูซี่ ฟ้าเทอร์คอยซ์ และลีฟ เรื่องราวภายในเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับหลักธรรมทางศาสนาและเทวตำนานโบราณ รวมไปถึงเลข 7 อีกด้วย ในประเทศไทย ลิขสิทธิ์เป็นของสำนักพิมพ์แจ่มใส แปลเป็นภาษาไทยโดย แสงตะวัน จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เอ็นเธอร์บุ๊คส์ อาณาจักรแห่งกาลเวลาเป็นวรรณกรรมเล่มเดียวของการ์ธ นิกซ์ ที่ถูกซื้อลิขสิทธิ์และได้รับการแปลเป็นภาษาไท.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาณาจักรแห่งกาลเวลา · ดูเพิ่มเติม »

อาเคิน

แผนที่เยอรมนีแสดงเมืองอาเคิน อาเคิน (Aachen) เป็นเมืองที่อยู่ด้านตะวันตกสุดของประเทศเยอรมนี ติดกับพรมแดนประเทศเนเธอร์แลนด์และเบลเยียม อยู่ห่างจากเมืองโคโลญมาทางตะวันตก 65 กิโลเมตร พิกัดภูมิศาสตร์ 50°46′ เหนือ 6°6′ ตะวันออก มีประชากร 256,605 คน (เมื่อปี พ.ศ. 2546) ชื่อของเมืองถ้าอ่านออกเสียงตามแบบภาษาเยอรมันแล้วจะออกเสียงว่า อาเคิ่น ชื่อเต็มของอาเคินคือ บัดอาเคิน (Bad Aachen) โดย Bad หมายถึงน้ำ ที่ได้ชื่อเช่นนี้เนื่องมาจากภายใต้เมืองอาเคินมีสายน้ำร้อนธรรมชาติอยู่มากมาย น้ำแร่ใต้ดินนี้ มีความเชื่อว่าสามารถนำมาดื่มเพื่อรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ ในปัจจุบัน เมืองอาเคินได้นำน้ำแร่ใต้ดินนี้ไปเปิดบริการเป็นสปาแบบทันสมัยให้แก่ประชาชน โดยใช้ชื่อว่า Carolus Thermen อาเคินเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย RWTH Aachen (เยอรมัน: Rheinisch-Westfälische Technische Hochschule; อังกฤษ: RWTH Aachen University of Technology; ตัวย่อ RWTH ออกเสียงตามภาษาเยอรมันว่า แอร์เวเทฮา) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีชื่อเสียงทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มายาวนาน โดยเฉพาะสาขาวิศวกรรมเครื่องกล อาเคินกับ RWTH มีความผูกพันกันมาอย่างลึกซึ้ง เนื่องจาก RWTH เป็นจุดดึงดูดให้มีนักเรียนจำนวนมากเดินทางมาใช้ชีวิตในอาเคิน ทำให้อาเคินกลายเป็นเมืองนักศึกษา โดยนักเรียนของ RWTH Aachen มีจำนวนมากกว่า 30,000 คน โดย 10% ของทั้งหมดเป็นนักเรียนต่างชาติ นอกจากสาขาวิศวกรรมแล้ว RWTH Aachen ยังมีคลินิคุม อาเคิน (Universitätsklinikum Aachen) ซึ่งเป็นโรงพยาบาลแบบตึกเดียวที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป และเป็นที่ศึกษาของเหล่านักศึกษาแพทยศาสตร์ของอาเคิน ในขณะเดียวกัน ทางสาขาคอมพิวเตอร์ของ RWTH ก็กำลังพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ โดยได้รับความร่วมมือจากศูนย์วิจัยเฟราน์โฮเฟอร์ และขณะนี้บริษัทไมโครซอฟท์ก็ได้เปิดศูนย์วิจัยขึ้นในเมืองอาเคิน และสร้างความเป็นพันธมิตรกับ RWTH มหาวิหารอาเคิน เมืองอาเคินยังเป็นที่ตั้งของมหาวิหารอาเคิน (เยอรมัน: Aachener Dom) อันเก่าแก่และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน นับเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวของเมือง มหาวิหารแห่งอาเคินนี้ถูกจัดเป็นมรดกโลกของยูเนสโก มหาวิหารนี้เป็นโบสถ์แบบกอธิคผสมกับกาโล-โรมัน ซึ่งได้รับอนุญาตจากพระสันตปาปาแห่งกรุงโรมให้สร้างโบสถ์นี้ในปี ค.ศ. 786 และสร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 805 โดมนี้ถูกใช้เป็นสถานที่แต่งตั้งกษัตริย์ของเยอรมนีในสมัยก่อนมาแล้วหลายพระองค์ อีกทั้งยังมีหีบศพทองคำของพระเจ้าชาร์เลอมาญ (เยอรมัน: Karl) อยู่ด้วย ที่ลานกว้างหน้าโดมนี้ จะถูกใช้เป็นที่รับรางวัลคาร์ล (Internationaler Karlspreis zu Aachen ย่อว่า Karlspreis; อังกฤษ: International Charlemagne Prize of the city of Aachen) ในทุก ๆ ปี รางวัลคาร์ลนี้จะมอบให้กับผู้ที่ส่งเสริมสันติภาพในยุโรป ตัวอย่างของบุคคลที่มีชื่อเสียงที่ได้รับรางวัลคาร์ลได้แก่ บิล คลินตัน อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และ โทนี แบลร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร พรินเท่น อาเคินยังเป็นจุดกำเนิดของขนมที่ชื่อว่าพรินเทิน (Printen หรือ Aachener Printen) ซึ่งมีชื่อเสียงในประเทศเยอรมนี พรินเทินเป็นขนมลักษณะคล้ายคุกกี้ ที่มีส่วนผสมของอบเชย และมักทำออกมาโดยพิมพ์รูปต่าง ๆ เช่น รูปพระจักรพรรดิคาร์ล.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอาเคิน · ดูเพิ่มเติม »

อิกเนเชียสแห่งโลโยลา

นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 274 (Ignatius of Loyola; Ignacio de Loyola) เป็นบาทหลวง และนักบุญในคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก เกิดก่อนวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอิกเนเชียสแห่งโลโยลา · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม (ภาษาอังกฤษ: Isabella of Angoulême, ภาษาฝรั่งเศส: Isabelle d'Angoulême; ค.ศ. 1186/1188 – 4 มิถุนายน ค.ศ. 1246) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าจอห์น ตั้งแต..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

องครักษ์สวิส

องครักษ์สวิสพระสันตะปาปาในเครื่องแบบ องครักษ์สวิส (Swiss Guard; Gardes Suisses; Schweizergarde) บ้างเรียก ทหารสวิสอาสา เป็นทหารรับจ้างชาวสวิสผู้ทำหน้าที่เป็นองครักษ์ ทหารพิธีการ และทหารพระราชวังในราชสำนักยุโรปต่างประเทศตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 เพราะถือกันว่าบรรดาทหารสวิสเหล่านี้มีความสามารถเชิงรบค่อนข้างสูง จึงนิยมว่าจ้างกันมากโดยเฉพาะในราชสำนักฝรั่งเศสและวาติกัน เป็นหนึ่งในหน่วยทหารที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ชื่อ "องครักษ์สวิส" ปัจจุบันมักหมายถึงองครักษ์สวิสในสมเด็จพระสันตะปาปาแห่งนครรัฐวาติกัน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและองครักษ์สวิส · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล มาซาแร็ง

รูปของมาซาแร็ง ฌูล พระคาร์ดินัลมาซาแร็ง (Jules Cardinal Mazarin) ดยุกแห่งเรอแตล มาแยน และเนอแวร์ เกิดที่ราชอาณาจักรเนเปิลส์ ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและฌูล มาซาแร็ง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หรือ ผู้รับใช้ของพระเจ้า เป็นสมัญญานามที่ใช้กับศาสนิกชนบางคนในศาสนาเทวนิยม ใช้เพื่อแสดงว่าบุคคลนั้นศรัทธาอย่างแรงกล้า ในคริสตจักรโรมันคาทอลิกใช้คำนี้ในความหมายเฉพาะลงไปอีก คือหมายถึงบุคคลที่อยู่ในกระบวนการชั้นแรกก่อนการประกาศเป็นนักบุญ ส่วนนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้คำนี้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ในนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คำว่า "ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า" ใกล้เคียงกับคำว่า อับดุลลอฮ์ (عبد الله บ่าวของอัลลอฮ์) ในภาษาอาหรับ และ โอบาดีห์ ในภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและผู้รับใช้พระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา หรือ พระสันตะปาปาซ้อน (antipope) หมายถึง พระคาร์ดินัลที่อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา ประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิกอย่างไม่ถูกต้อง จึงเป็นปรปักษ์ของพระสันตะปาปาพระองค์จริงที่ได้รับเลือกมาอย่างถูกต้องตามกฎหมายศาสนจักร การกล่าวหาบุคคลใดเป็นว่าพระสันตะปาปาซ้อนนั้นค่อนข้างสับสน เนื่องจากนักวิชาการในคริสตจักรโรมันคาทอลิกเองยังมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นพระสันตะปาปาซ้อนในสมัยหนึ่ง จึงอาจได้รับการยอมรับรับว่าเป็นพระสันตะปาปาถูกต้องในสมัยหลังก็ได้ เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3 ช่วงเวลาที่มีพระสันตะปาปาซ้อนเกิดขึ้นต่อเนื่องยาวนานที่สุดคือช่วงที่เกิดศาสนเภทตะวันตกตั้งแต..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา (Jean-Bédel Bokassa) เป็นอดีตจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง (สาธารณรัฐแอฟริกากลางในปัจจุบัน) เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 ที่แอฟริกากลางขณะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส เมื่อโตขึ้นจึงเข้าร่วมกับกองทัพแอฟริกากลางเพื่อต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส ได้เป็นแนวหน้าสู้รบอย่างกล้าหาญ จนได้เหรียญกล้าหาญมาได้ จนในที่สุดแอฟริกากลางก็ได้รับเอกราช แต่บอกาซาก็ฉวยโอกาสตอนที่บ้านเมืองยังอ่อนแอจากการรับเอกราชใหม่ ๆ ก่อรัฐประหารโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางของดาวีด ดักโก ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1966 และบริหารประเทศในฐานะผู้นำประเทศ จนกระทั่งในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1976 บอกาซาได้ปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 แห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง ใช้จ่ายบนสิทธิกษัตริย์อย่างฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่าย มีฉลองพระองค์และฉลองพระบาทประดับมุก สร้างพระราชบัลลังก์ให้ทองคำรูปนกอินทรีขนาดยักษ์ สร้างพระราชวังหินอ่อน ประดับโคมไฟระย้าสุดวิจิตร สูบเงินประเทศชาติจนแทบล่มจม นอกจากนี้ยังมีการลงโทษศัตรูและนักโทษในประเทศอย่างโหดร้าย ตั้งแต่พระราชอาญาที่ไม่ถึงตาย เช่น การตัดใบหู จนถึงพระราชอาญาถึงตาย เช่น การทุบตีจนตายอย่างทรมาน โยนเข้าไปในกรงสิงโต โยนลงบ่อจระเข้ จนถึงการส่งตัวให้แก่ชนเผ่ากินคน แต่วิธีการลงโทษทั้งหมดเป็นความลับซึ่งมีแต่คนในเท่านั้นที่จะรู้ ส่วนความฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่ายไม่ใช่ความลับ เพราะบอกาซาเห็นว่าปกปิดไม่ได้ ประชาชนคนนอกจึงรู้ดี ทำให้ประชาชนเริ่มไม่พอใจ จนกระทั่งในที่สุด ประชาชนที่นำโดยดาวีด ดักโก ผู้ที่บอกาซาเคยโค่นล้มเมื่อสิบกว่าปีก่อน โค่นพระราชอำนาจจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 และยกเลิกจักรวรรดิแอฟริกากลางแล้วรื้อฟื้นสาธารณรัฐแอฟริกาในวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1979 ส่วนบอกาซาหลบหนีอออกนอกประเทศไปได้ และความลับเรื่องวิธีการที่เขาลงโทษฝ่ายตรงข้ามก็ถูกเปิดเผย ดังนั้น ในเวลาต่อมา ศาลของสาธารณรัฐแอฟริกากลางจึงตัดสินโทษบอกาซาให้สำเร็จโทษ แต่ตอนนั้นบอกาซายังไม่กลับเข้าประเทศ ทางด้านบอกาซาแม้จะรู้ว่าหากกลับประเทศแล้วจะเจอโทษอะไร แต่ยังกลับสาธารณรัฐแอฟริกากลางในปี ค.ศ. 1987 เพราะคิดว่าตนเองเป็นวีรบุรุษของชาติ เขาจึงถูกจับขึ้นศาล แต่ศาลของรัฐบาลใหม่ได้แสดงความเมตตาโดยการลดโทษเหลือจำคุกตลอดชีวิต ก่อนที่ปีต่อมาจะถูกลดโทษให้เหลือจำคุก 20 ปี ในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1993 บอกาซาได้รับการนิรโทษกรรมจากปัญหาด้านสุขภาพจากประธานาธิบดีอองเดร โคลิงบา ซึ่งเป็นประธาธิบดีคนเดียวกับที่ตัดสินโทษแก่บอกาซา โดยเมื่อถูกปล่อยตัว เขาได้อ้างว่าเป็นอัครทูตองค์ที่สิบสาม พร้อมกับอ้างว่าเคยพบกับสมเด็จพระสันตะปาปาอย่างลับๆ บอกาซาเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลวที่บ้านของตนเองเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 รวมอายุ 75 ปี โดยได้รับการรายงานว่าเขามีภรรยา 17 คน และบุตรกับสตรีรวมกัน 50 คน หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:บุคคลที่เคยนับถือศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:บุคคลที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและฌ็อง-เบแดล บอกาซา · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฮอว์ควูด

อห์น ฮอว์ควูด (John Hawkwood) (ค.ศ. 1320 – ค.ศ. 1394) เป็นทหารรับจ้างหรือคอนดตติเอเรชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในอิตาลี นักบันทึกพงศาวดารชาวฝรั่งเศสฌอง ฟรัวส์ซาร์ท (Jean Froissart) รู้จักฮอว์ควูดในนามว่า “ฮัคคูเด” และชาวอิตาลีว่า “จิโอวานนิ อคูโต” ฮอว์ควูดเริ่มอาชีพโดยการเป็นทหารรับจ้างให้แก่พระสันตะปาปาก่อนและต่อมาก็กับฝ่ายต่างๆ ตามแต่จะได้รับจ้างเป็นเวลากว่า 30 ปี ชีวิตเบื้องต้นของฮอว์ควูดเต็มไปด้วยตำนานและเรื่องเล่าขานและไม่ทราบสาเหตุของการมีอาชีพเป็นทหาร แต่ตามเรื่องที่ยอมรับกันเป็นส่วนใหญ่ฮอว์ควูดเป็นลูกชายคนที่สองของช่างย้อมหนังในเอสเซ็กซ์และได้ไปฝึกงานอยู่ที่ลอนดอน บางเรื่องก็อ้างว่าเป็นช่างตัดเสื้อมาก่อนที่จะเป็นทหาร ฮอว์ควูดเป็นทหารในกองทัพอังกฤษในฝรั่งเศสในตอนต้นของสงครามร้อยปี ภายใต้การนำของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ บ้างก็ว่าฮอว์ควูดเข้าร่วมต่อสู้ในยุทธการเครซี และ/หรือ ยุทธการปัวติเยร์ส แต่ก็ไม่มีหลักฐานสนับสนุน นอกจากนั้นก็มีตำนานว่าได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเองหรือไม่ก็เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรืออาจจะเป็นได้ว่าแต่งตั้งตนเองเพื่อเป็นประโยชน์แก่การไปรับจ้างเป็นทหาร ชีวิตการเป็นทหารของฮอว์ควูดให้แก่ฝ่ายอังกฤษมาสิ้นสุดลงในยุทธการเบรตินยี ใน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจอห์น ฮอว์ควูด · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Federico II del Sacro Romano Impero; Friedrich II 26 ธันวาคม พ.ศ. 1737–13 ธันวาคม พ.ศ. 1793) เสด็จพระราชสมภพที่นครเจซี ประเทศอิตาลี เป็นพระราชนัดดาของจักรพรรดิฟรีดิชที่ 1 ขึ้นครองราชย์แทนจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อ พ.ศ. 1763 และทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์โฮเฮนสเตาเฟ็น ทรงเป็นกษัตริย์แห่งซิชิลีเมื่อ พ.ศ. 1741 และกษัตริย์แห่งเยอรมนีเมื่อ พ.ศ. 1755 จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ได้รับราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิโรมันศักดิ์สิทธิ์โดยพระสันตะปาปา เมื่อ พ.ศ. 1743 พระองค์มีความปรารถนาสูงยิ่งใคร่ที่จะผนึกอำนาจจักรวรรดิในอิตาลีให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันโดยอาศัยอิทธิพลของพระสันตะปาปา พระองค์ได้อุทิศพระวรกายเป็นอย่างมากในความพยายามขยายอาณาเขตอิตาลี แต่แผนของพระองค์ทำให้เมืองต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับแคว้นลอมบาร์ดต่อต้านไม่พอใจ รวมทั้งองค์พระสันตปาปาด้วย เมื่อทรงเป็นผู้นำทัพในสงครามครูเสดครั้งที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 1771 (ค.ศ. 1228) พระองค์ทรงยึดเมืองเยรูซาเลมและตั้งตนขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งเยรูซาเลมเมื่อ พ.ศ. 1772 เมื่อเสด็จกลับถึงอิตาลีจากการสงคราม พระองค์กลับต้องมาต่อสู้ขัดแย้งกับองค์พระสันตะปาปาจนสิ้นพระชนม์ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 เสด็จสวรรคตลงเมื่อปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส หรือ โคมเนนัส (Manuel I Komnenos หรือ Comnenus, Μανουήλ Α' Κομνηνός) (28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 – 24 กันยายน ค.ศ. 1180) มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1143 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1180 โดยมีจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส มานูเอล โคมเนนอสทรงปกครองในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของจักรวรรดิและของบริเวณเมดิเตอเรเนียน พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะฟื้นฟูจักรวรรดิให้รุ่งเรืองเช่นในอดีตในฐานะมหาอำนาจของบริเวณเมดิเตอเรเนียนโดยทรงดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศอันทะเยอทะยาน ที่รวมทั้งการสร้างพันธมิตรกับพระสันตะปาปา, ทรงรุกรานคาบสมุทรอิตาลี, และทรงสามารถดำเนินสงครามครูเสดครั้งที่ 2 ฝ่าอันตรายของจักรวรรดิของพระองค์ได้ และทรงก่อตั้งระบบการพิทักษ์แก่อาณาจักรครูเสดต่างๆ เมื่อฝ่ายมุสลิมนำทัพเข้ามายังดินแดนศักดิ์สิทธิ์พระองค์ก็เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมในไปการรุกรานฟาติมิดอียิปต์ มานูเอล โคมเนนอสทรงมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงแผนที่เขตแดนทางการเมืองของคาบสมุทรบอลข่านและเมดิเตอเรเนียนตะวันออกโดยทรงทำให้ราชอาณาจักรฮังการีและอาณาจักรครูเสดมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระองค์ และทรงรณรงค์อย่างเอาจริงเอาจังในอาณาจักรที่อยู่ใกล้เคียงทั้งทางด้านตะวันออกและตะวันตก แต่ในปลายรัชสมัยความสำเร็จของพระองค์ทางด้านตะวันออกก็ต้องมาเสียไปกับความพ่ายแพ้ในยุทธการไมริโอเคฟาลอน (Battle of Myriokephalon) ซึ่งเป็นความเพลี่ยงพล้ำของพระองค์เองในการพยายามโจมตีที่มั่นของฝ่ายเซลจุคที่มีการป้องกันอย่างแข็งแรง มานูเอลทรงได้รับการขนานพระนามว่า “ho Megas” หรือ “มหาราช” (ὁ Μέγας) โดยกรีก และทรงเป็นผู้นำผู้ทรงสามารถสร้างความจงรักภักดีจากผู้ตามอย่างเหนียวแน่น นักประวัติศาสตร์จอห์น คินนามอส (John Kinnamos) กล่าวว่ามานูเอลทรงเป็นผู้มีคุณลักษณะสมกับเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นผู้ที่ได้รับความนับถือจากนักรบครูเสดจากตะวันตกว่าเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมแห่งกรุงคอนสแตนติโนเปิลP.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาทิลดา

มเด็จพระจักรพรรดินีมาทิลดา หรือ ม้อด (Empress Matilda หรือ Maud หรือ Maude) ต่อมาเป็นเคานท์เทสแห่งอ็องฌู และ อิสตรีแห่่งชนอังกฤษ (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1102 – ค.ศ. 1167) เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระจักรพรรดินีมาทิลดาเสด็จพระราชสมภพเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1102 ที่วินเชสเตอร์ในอังกฤษ เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ และ มาทิลดาแห่งสกอตแลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ทรงเสกสมรสครั้งแรกกับสมเด็จพระจักรพรรดิเฮนรีที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมากับเจฟฟรีย์ที่ 5 เคานต์แห่งอ็องฌู ผู้มีพระราชโอรสด้วยกัน -- สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ พระจักรพรรดินีมาทิลดาทรงราชย์ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 1141 พระจักรพรรดินีมาทิลดาเสด็จสวรรคตเมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1167ที่รูออง ฝรั่งเศส พระจักรพรรดินีมาทิลดาทรงเป็นประมุขสตรีองค์แรกของราชอาณาจักรอังกฤษแต่มิได้ทรงสวมมงกุฏและเป็นประมุขเพียงระยะสั้น พระจักรพรรดินีมาทิลดาไม่ทรงสามารถยึดบัลลังก์เป็นการถาวรฉะนั้นรัชสมัยของพระองค์จึงเป็นรัชสมัยที่ยาวเพียง 7 เดือน บางครั้งพระนามจึงไม่ปรากฏในรายนามพระมหากษัตริย์อังกฤษแม้แต่เว็บไซต์ทางการของประมุขของอังกฤษก็ไม่มีพระนามของมาทิลดาแต่ระบุพระนามสมเด็จพระเจ้าสตีเฟน แห่งอังกฤษปกครองอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดินีมาทิลดา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์

อรีนแห่งเอเธนส์ จักรพรรดินีแห่งไบแซนไทน์ หรือ ไอรีน เดอะเอเธนส์เนียน (กรีก:Εἰρήνη ἡ Ἀθηναία; ราวค.ศ. 712 - 9 สิงหาคม ค.ศ. 803) พระนามเดิมคือ ไอรีน ซารันตาเปชาอีนา (กรีก:Εἰρήνη Σαρανταπήχαινα) ทรงเป็นจักรพรรดินี พระประมุขแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ตั้งแต..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Kaiser des Heiligen Römischen Reiches; Emperor of the Holy Roman Empire) หรือจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) หรือจักรพรรดิโรมัน-เยอรมัน (Römisch-Deutscher Kaiser) เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้หมายถึงประมุขรัฐในสมัยกลางที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็น "จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน" ต่อมาตำแหน่งนี้มาจากการเลือกตั้งแต่ยังคงต้องรับราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาอยู่ จนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงหมายถึงผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นมีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนยุโรปกลาง.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญแคลเร็นดอน

พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ทรงมีบทบาทในการอนุมัติธรรมนูญ ธรรมนูญแคลเร็นดอน (Constitutions of Clarendon) คือ วิธีดำเนินงานทางนิติบัญญัติจำพวกหนึ่งซึ่งพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษทรงอนุมัติในปี ค.ศ. 1164 ธรรมนูญแคลเร็นดอนมีด้วยกันทั้งหมด 16 มาตรา มีสาระสำคัญเป็นการพยายามจำกัดอภิสิทธิ์ของคริสตจักร อำนาจของศาลคริสตจักร และอำนาจหน้าที่ของพระสันตะปาปาในอังกฤษ สถานภาพของความเสื่อมโทรมของอำนาจของพระมหากษัตริย์ในสมัยรัชกาลก่อนหน้านั้นในสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ เป็นสมัยที่คริสตจักรขยายอำนาจเข้ามาแทนที่ส่วนที่ขาดไป จุดประสงค์ของธรรมนูญแคลเร็นดอนอ้างกันว่าเพื่อเป็นการฟื้นฟูอำนาจทางด้านการยุติธรรมตามแบบฉบับที่เคยเป็นมาในรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1100–ค.ศ. 1135) แต่ตามความเป็นจริงแล้วเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างเสริมพระราชอำนาจของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 เองเข้ามาทั้งในด้านกฎหมายแพ่งและกฎหมายศาสนาซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของรัชสมัยของพระองค์ จุดประสงค์หลักของธรรมนูญก็เพื่อการหาวิธีการตัดสินเกี่ยวกับกรณีนักบวชที่ทำผิดทางอาญาและรอดพ้นจากการถูกลงโทษโดยระบบศาลคริสตจักรตามข้อ "ผลประโยชน์ของนักบวช" (Benefit of clergy) ศาสนศาลไม่เหมือนกับศาลของพระมหากษัตริย์ที่มักจะเข้าข้างผลประโยชน์ของนักบวช การฆาตกรรมที่นักบวชมีส่วนเกี่ยวข้องมักจะลงเองโดยการสึกนักบวชที่ถูกล่าวหา แต่ในศาลของพระมหากษัตริย์ฆาตกรมักจะถูกลงโทษโดยการถูกสับเป็นชิ้นๆ หรือถูกประหารชีวิต ธรรมนูญแคลเร็นดอนเป็นความพยายามของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ในการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยอ้างว่าเมื่อศาลคริสตจักรลงโทษผู้ถูกกล่าวหาโดยการสึกแล้ว ทางคริสตจักรก็ไม่มีสิทธิที่จะพิทักษ์ผู้นั้นอีกต่อไป ฉะนั้นผู้นั้นก็ควรจะต้องถูกพิจารณาและลงโทษได้โดยศาลของพระมหากษัตริย์ ทอมัส เบ็กเก็ต อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีขณะนั้น (ค.ศ. 1162-ค.ศ. 1170) ต่อต้านธรรมนูญฉบับนี้ของพระเจ้าเฮนรี โดยเฉพาะในกรณีที่เกี่ยวกับ "นักบวชที่เป็นอาชญากร" (criminous clerks) ทอมัส เบ็คเค็ทอ้างว่าไม่มีผู้ใดที่ควรจะถูกพิจารณาคดีซ้ำสอง (double jeopardy) การต่อต้านเป็นผลให้เบ็กเก็ตมีความขัดแย้งโดยตรงต่อพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นผลให้พระเจ้าเฮนรีทรงเนรเทศเบ็คเค็ทและครอบครัวออกจากอังกฤษ และในที่สุดเบ็กเก็ตเองก็ถูกลอบสังหารในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและธรรมนูญแคลเร็นดอน · ดูเพิ่มเติม »

ธุลีปริศนา

ลีปริศนา เป็นนิยายแฟนตาซีไตรภาค ประพันธ์โดย ฟิลิป พูลแมน ประกอบด้วยมหันตภัยขั้วโลกเหนือ (ค.ศ. 1995) มีดนิรมิต (ค.ศ. 1997) และสู่เส้นทางมรณะ (ค.ศ. 2000) โดยได้รับการแปลกว่า 40 ภาษา และจัดจำหน่ายหนังสือได้กว่า 15 ล้านเล่ม ผลงานทั้งสามได้รับรางวัลเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สู่เส้นทางมรณะ ซึ่งได้รับรางวัลหนังสือวิทเบรดประจำปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและธุลีปริศนา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินครรัฐวาติกัน

Oratory Church of St Aloysius Gonzaga, Oxford, with the flag of Vatican City flying at half-staff the day after the death of Pope John Paul II. The flag taken to the Moon by Apollo 11, displayed in the Vatican Museums with some moon rocks ธงชาตินครรัฐวาติกันเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว มีรูปกุญแจแห่งนักบุญเปโตรสีเงินและสีทองไขว้ภายใต้มงกุฎแห่งพระสันตะปาปา อันเป็นภาพตราแผ่นดินของนครรัฐวาติกัน ธงนี้นับเป็นธงชาติของ 1 ใน 2 ประเทศที่ใช้ธงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งอีกธงหนึ่งนั้นได้แก่ธงชาติสวิสเซอร์แลนด์ ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2472 อันเป็นปีที่สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 ลงพระนามในสนธิสัญญาลาเตรัน (Lateran Treaty) กับรัฐบาลอิตาลี ในการก่อตั้งรัฐอิสระแห่งใหม่ที่อยู่ภายใต้การปกครองของศาสนาจักรโรมันคาทอลิก ณ กรุงโรม โดยแบบของธงดังกล่าวอิงตามแบบของธงรัฐพระสันตะปาปาในอดีต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและธงชาตินครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ

ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ (Catholic doctrine regarding the Ten Commandments) เป็นการกำหนดบัญญัติสิบประการโดยพระสันตปาปา เพื่อเป็นแนวทางให้กับคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก โดยการกำหนดรูปแบบข้อบัญญัตินี้เรียกว่า คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งถือตามฉบับนักบุญออกัสติน ใช้ในนิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ · ดูเพิ่มเติม »

ทหารรับจ้างอิตาลี

หมือนของฟารินาตา เดกลิ อุแบร์ติ (Farinata degli Uberti) โดย อันเดรอา เดล คาสตานโย (Andrea del Castagno), เป็นภาพที่แสดงการแต่งตัวที่นิยมกันของทหารรับจ้างในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้นำทหารรับจ้างอิตาลี หรือ คอนดตติเอเร (Condottieri เอกพจน์ condottiero หรือ condottiere) คือผู้นำของกองทหารรับจ้าง ที่เป็นกองทหารอาชีพที่ไม่ขึ้นต่อผู้ใดโดยเฉพาะ ผู้ที่จะเข้าร่วมในการต่อสู้ก็เมื่อได้รับสัญญาจ้างจากนครรัฐในอิตาลี หรือจากพระสันตะปาปา ตั้งแต่ปลายยุคกลางมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุคกลาง “คอนดตติเอโร” หมายถึง “ผู้รับสัญญา” (contractor) และมีความหมายเดียวกับภาษาอังกฤษใหม่ว่า “กัปตันทหารรับจ้าง” ที่ตามความหมายแล้วมิได้บ่งถึงสัญชาติของผู้ได้รับจ้าง คำที่ใช้เรียกทหารรับจ้างในภาษาอิตาลีมาเป็นคำมาตรฐานที่ใช้กันในภาษาอังกฤษในบทเขียนที่เกี่ยวกับสมัยนโปเลียนที่ใช้กันมาจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะคำที่ใช้สำหรับทหารอาชีพยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งปลายสมัยของสงครามนโปเลียน (ค.ศ. 1800–ค.ศ. 1815) ฉะนั้นคำว่า “คอนดตติเอเร” ในภาษาอังกฤษจึงทหารใดก็ได้ที่ได้รับค่าจ้างประจำ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและทหารรับจ้างอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์

กษัตริย์สมัยกลางแต่งตั้งบิชอป ข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์ (Investiture Controversy หรือ Investiture Contest) เป็นความขัดแย้งครั้งสำคัญระหว่างคริสตจักรกับรัฐในยุโรปสมัยกลางที่เกิดขึ้นช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 พระสันตะปาปาหลายพระองค์ก็เริ่มท้าทายอำนาจของพระมหากษัตริยุโรปในเรื่องการแต่งตั้งและสถาปนาสมณศักดิ์นักบวช เช่น มุขนายก และอธิการอาราม ความขัดแย้งเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลง ค.ศ. 1801

วามตกลง..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและความตกลง ค.ศ. 1801 · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิก

ทอลิก (Catholic มาจากภาษากรีกคำว่า καθολικός) แปลว่า สากล ทั่วไป เป็นรูปแบบหนึ่งในศาสนาคริสต์ ที่มีแนวศรัทธา เทววิทยา หลักความเชื่อ พิธีกรรม จริยศาสตร์ จิตวิญญาณ พฤติกรรม เป็นลักษณะเฉพาะของตน ตลอดจนประชากรในนิกายนั้น คำว่าคาทอลิก มีความหมายโดยสรุปได้ 3 อย่าง คือ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

คณะพระคาร์ดินัล

ณะพระคาร์ดินัล (College of Cardinals) เป็นองค์กรที่สมาชิกประกอบด้วยพระคาร์ดินัลทั้งหมดในคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีหน้าที่ถวายคำปรึกษาแก่พระสันตะปาปาในกิจการต่าง ๆ ในศาสนจักรเมื่อทรงเรียกประชุม (consistory) เมื่อตำแหน่งพระสันตะปาปาว่างลงคณะพระคาร์ดินัลก็จะประชุมเลือกพระสันตะปาปาพร้อมกันJohn Paul II, Ap.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและคณะพระคาร์ดินัล · ดูเพิ่มเติม »

คณะภราดาเซนต์คาเบรียล

ณะภราดาเซนต์คาเบรียล (Frères de Saint-Gabriel, The Montfort Brothers of St.) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกคณะหนึ่งซึ่งขึ้นตรงต่อพระสันตะปาปา นักบุญหลุยส์ มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ตเป็นผู้ก่อตั้งคณะ และบาทหลวงกาเบรียล เดแอ เป็นผู้ฟื้นฟูคณะ นักบวชในคณะปฏิญาณตนต่อพระเจ้าเพื่อถือ ความยากจน ความบริสุทธิ์ และความนบนอบ ทำงานรับใช้พระเจ้าแต่เพียงผู้เดียว ด้วยการอุทิศตน เสียสละ รับใช้ผู้อื่นดังพี่น้อง โดยมุ่งที่จะให้บริการศึกษาอบรมที่เป็นความรู้ทางโลกและทางธรรมแก่สังคม คณะภราดาเซนต์คาเบรียลมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี สมาชิกประกอบด้วยภราดาที่ทำงานรับใช้พระเป็นเจ้าผ่านทางการให้การศึกษาแก่เยาวชน และเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อคนยากจน ตามจิตตารมณ์ของนักบุญมงฟอร์ต ปัจจุบัน ภราดา John Kallarackal เป็นอัคราธิการ และภราดาสุรสิทธิ์ สุขชัย เป็นอธิการเจ้าคณะแขวงประเทศไท.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและคณะภราดาเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลบอร์เจีย

ตระกูลบอร์เจีย หรือ บอร์จา (House of Borgia) เป็นตระกูลหนึ่งในยุโรป มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่แคว้นบาเลนเซีย ประเทศสเปน และย้ายไปตั้งรกรากในอิตาลีจนกระทั่งเรืองอำนาจในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ตระกูลบอร์เจียเป็นผู้อุปภัมป์ศิลปะหลากหลายแขนง ทำให้ศิลปินหลายคนในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการได้สร้างผลงานโดดเด่นและมีชื่อเสียง ตระกูลบอร์เจียเริ่มมีบทบาททางด้านการเมืองและศาสนาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 การแสวงหาอำนาจทำให้ต้องเป็นศัตรูกับตระกูลอื่นๆ เช่น เมดิชิ สฟอร์ซา รวมทั้งนักบวชที่มีอิทธิพลมากในยุคนั้นอย่างจิโรลาโม ซาโวนาโรลา ชื่อเสียงของตระกูลบอร์เจียมักเป็นไปในทางไม่ดี เช่น การคบชู้ การลักขโมย การติดสินบน การสมสู่ร่วมสายโลหิต และการฆาตกรรม เป็นต้น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและตระกูลบอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเอกภาพ

จิตรกรรมฝาผนัง “ตรึเอกภาพ” โดยลูคา โรสเซ็ทที (Luca Rossetti) แสดงให้เห็นพระเจ้าพระบิดา (พระยาห์เวห์) พระเจ้าพระบุตร (พระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ในรูปของนกพิราบ (ค.ศ. 1738-ค.ศ. 1739) ที่โบสถ์เซนต์กอเซนซิโอ ที่เมื่องอิฟเรีย ใกล้ตูริน ตรีเอกภาพ (ศัพท์โรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) หรือ ตรีเอกานุภาพ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Trinity) คือภาวะที่พระเป็นเจ้าพระองค์เดียวเป็นเอกภาพ แต่ปรากฏเป็นสามพระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร (เชื่อว่ามาเกิดเป็นพระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 เทววิทยาศาสนาคริสต์ทั้งทางตะวันออกและตะวันตกยอมรับว่า “ในพระเจ้าเดียว มีสามพระบุคคล” สามสิ่งนี้ต่างบุคคลกันแต่มีธรรมชาติเดียวคือความเป็นพระเจ้า ทางปรัชญายังกล่าวต่อไปว่าพระบุตรหรือพระเยซูมีสองธรรมชาติรวมอยู่ในบุคคลเดียวกัน คือความเป็นพระเจ้าและขณะเดียวกันก็เป็นมนุษย์ (hypostatic union) ความเชื่อเรื่อง “ตรีเอกภาพ” เรียกว่า “ตรีเอกภาพนิยม” คริสตจักรเกือบทุกคริสตจักรในคริสต์ศาสนามีความเชื่อแบบ “ตรีเอกภาพนิยม” และถือว่าเป็นรากฐานของคำสอนของคริสต์ศาสนาHarris, Stephen L. (1985) Understanding the Bible Palo Alto: Mayfield.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและตรีเอกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาเกนต์

วิวเมื่อเปิดบานพับภาพ วิวเมื่อปิดบานพับภาพ ฉากประดับแท่นบูชาเกนต์ (Gents altaarstuk; Ghent Altarpiece) หรือ ลูกแกะของพระเจ้า (Het Lam Gods; Adoration of the Mystic Lamb) เป็นบานพับภาพเขียนเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและฉากแท่นบูชาเกนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมนเปโตร

ซีโมนเปโตร (Σιμων Πέτρος ซีมอน เปโตฺรส) หรืออัครทูตเปโตร (Απόστολος Πέτρος อะโปสโตโลส เปโตฺรส) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเปโตร (Saint Peter) เดิมชื่อซีโมน เป็นชาวประมงคนหนึ่งของตำบลเบทไซดา (ลก. 5:3;ยน.1:44) แต่ว่าต่อมาได้ย้ายมาตั้งหลักแหล่งที่เมืองคาร์เปอร์นาอุม (มก. 1: 21.29) นักบุญอันดรูว์ น้องชายของท่านได้เป็นคนแนะนำให้ท่านติดตามพระเยซู (ยน. 1:42) และอาจเป็นนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาที่ได้เป็นผู้ตระเตรียมจิตใจของท่านสำหรับการพบปะครั้งสำคัญของท่านกับพระเยซู พระเยซูทรงได้เปลี่ยนชื่อท่านใหม่ว่าเปโตร ซึ่งแปลว่า "ศิลา" (มธ. 16: 17-19) ครั้งหนึ่งพระเยซูตรัสถามท่านว่า "ท่านคิดว่าเราเป็นใคร" และเปโตรได้ทูลว่า "พระองค์คือพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า" พระเยซูจึงตรัสว่า "เราจะตั้งเราเป็นหัวหน้าแทนท่าน ทั้งจะมอบกุญแจอาณาจักรสวรรค์" (มธ. 16: 15-19) สัญลักษณ์ที่เห็นเด่นชัดในภาพคือ มือของท่านมีลูกกุญแจ เปโตรเป็นพยานบุคคลผู้หนึ่งที่ได้แลเห็นพระคูหาว่างเปล่าของพระอาจารย์ (ยน. 20:6) และได้เห็นการคืนพระชนม์ของพระเยซู (ลก. 23:34) หลังจากที่พระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว ท่านก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำบรรดาคริสตชน (กจ. 1: 15; 15:7) ได้กล่าวสรุปข่าวดี (พระวรสาร) (กจ. 2:14-41) และท่านเองเป็นคนแรกที่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปิดคริสตจักรไปสู่พวกคนต่างชาติ (กจ.10-11) เปโตรเขียนจดหมาย 2 ฉบับที่ทรงคุณค่าอย่างมากคือ 1 และ 2 เปโตร ท้ายที่สุดเปโตรได้เสียสละชีวิตเพื่อพระเยซูตามคำทำนายของพระองค์ (ยน 21.18-19) ภารกิจด้านวิญญาณที่ได้รับมอบหมายมิใช่ว่าจะช่วยให้ท่านหมดจากสภาพของความเป็นคนหรือจากข้อบกพร่องต่าง ๆ ทางอารมณ์ก็หาไม่ (มธ.10: 41; 14:26,66-72; ยน. 13: 6;18:10; มธ. 14: 29-31) เปาโลอัครทูตเองก็มิได้ลังเลใจแต่อย่างใดที่จะพูดจาต่อว่าท่านเวลาที่พบกันที่เมืองแอนติออก (กจ.15; กท. 2:11-14) เพื่อเชิญชวนท่านว่าไม่ต้องปฏิบัติตามแบบของพวกยิว ในเรื่องนี้รู้สึกว่าเปโตร ยังตัดสินใจช้าและยังถือว่ากลุ่มคริสตชนซึ่งเดิมทีเป็นคนต่างศาสนาก็ยังด้อยกว่าหรือเป็นรองกลุ่มคริสตชนที่เดิมทีเป็นชาวยิว (กจ. 6: 1-2) ต่อเมื่อเปโตรได้มาที่กรุงโรม เมื่อนั้นแหละท่านจึงจะได้กลายเป็นอัครทูตของทุก ๆ คน และได้ทำหน้าที่ของท่านอย่างครบถ้วนคือเป็น "ศิลาหัวมุม" ของคริสตจักรของพระเยซูโดยรวมชาวยิวและคนต่างศาสนาให้เข้ามาอยู่ภายในอาคารเดียวกัน และท่านได้ประทับตราภารกิจหน้าที่นี้ด้วยการหลั่งโลหิตของท่านตามแบบพระอาจารย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าท่านเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก ท่านถูกจับตรึงกางเขน และได้ขอร้องให้หันศีรษะท่านลง เพราะคิดว่าไม่สมควรที่จะตายในลักษณะเดียวกับพระเยซูผู้เป็นพระอาจาร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและซีโมนเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมเน มาร์ตีนี

หน้าแรกของ “Virgil” โดย เพทราค (Petrach) หนังสือวิจิตร วาดโดยซิโมเน มาร์ตินิราว ค.ศ. 1336 ปัจจุบันอยู่ที่มิลาน รายละเอียดจิตรกรรมฝาผนังที่ “ทีว่าการเมืองเซึยนนา” ซิโมเน มาร์ตินิ (Simone Martini, ราว ค.ศ. 1284 - ราว ค.ศ. 1344) เป็นจิตรกรสมัยยุคกลางคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ ซิโมเน มาร์ตินิเป็นจิตรกรคนสำคัญในการวิวัฒนาการการเขียนภาพในอิตาลีสมัยต้น มาร์ตินิได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากการวิวัฒนาการของศิลปะกอธิคนานาชาติ (International Gothic) เชื่อกันว่ามาร์ตินิเป็นลูกศิษย์ของดุชโช ผู้เป็นจิตรกรชาวเซียนนาที่มีความสำคัญในขณะนั้น พี่เขยของมาร์ตินิคือลิบโป เม็มมิ (Lippo Memmi) ผู้เป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงเช่นกัน หลักฐานเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวของ มาร์ตินิมีไม่มากนักและที่มีอยู่ก็ยังเป็นการถกเถียงกัน มาร์ตินิเสียชีวิตที่อาวินยองเมื่อไปเป็นจิตรกรประจำราชสำนักพระสันตะปาปาที่นั่นเมื่อราวปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและซีโมเน มาร์ตีนี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ. 1600 เป็นขอบเขตง่าย ๆ ระหว่างแนวคิดโบราณกับฟิสิกส์คลาสสิก ในปี ค.ศ. 1900 จึงเป็นจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์ยุคใหม่ ทุกวันนี้วิทยาศาสตร์ยังไม่มีอะไรแสดงถึงจุดสมบูรณ์ เพราะการค้นพบที่มากขึ้นนำมาซึ่งคำถามที่เกิดขึ้นจากอายุของเอกภพ ไปถึงธรรมชาติของสุญญากาศ และธรรมชาติในที่สุดของสมบัติของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีบางส่วนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ฟิสิกส์ได้เสนอในปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามรายนามของปัญหาที่ยังแก้ไม่ได้ของฟิสิกส์ ก็ยังคงมีมากอยู.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและประวัติศาสตร์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหากรุงโรม

ปัญหากรุงโรม (La Questione romana) เป็นกรณีพิพาททางการเมืองระหว่างรัฐบาลอิตาลีกับสมเด็จพระสันตะปาปาระหว่าง..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและปัญหากรุงโรม · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลเดปัป

ปาแลเดปัปดาวีญง (Palais des papes d'Avignon, แปล: วังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง) เป็นพระราชวังพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ที่อาวีญงในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างของสถาปัตยกรรมกอทิกที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป ปาแลเดปัปได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและปาแลเดปัป · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอักแนส

นักบุญอักแนส (Sancta Agnes) หรืออักแนสแห่งโรม เป็นคริสต์ศาสนิกชนสตรีชาวโรมันและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและนักบุญอักแนส · ดูเพิ่มเติม »

นักปราชญ์แห่งคริสตจักร

นักบุญอีซีโดโรแห่งเซบียา กับหนังสือซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่นิยมกันในการแสดงรูปของนักปราชญ์แห่งคริสตจักร นักปราชญ์แห่งคริสตจักร (Doctor of the Church; Doctor Ecclesiae) (คำว่า “docere” หรือ “doctor” ในภาษาละตินหมายถึง “สอน”) เป็นตำแหน่งที่คริสตจักรแต่งตั้งให้ผู้ที่มีความสำคัญด้านคำสอนหรือเทววิทยาศาสนาคริสต์เป็นพิเศษ.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและนักปราชญ์แห่งคริสตจักร · ดูเพิ่มเติม »

นิกายในศาสนาคริสต์

นิกายในศาสนาคริสต์ (Christian denominations) คือการแบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination) ก็แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church) รายการข้างล่างนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและนิกายในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

แบร์นาร์แห่งแกลร์โว

นักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โว (Bernard de Clairvaux; Bernard of Clairvaux) เป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่เกิดราว ค.ศ. 1090 ที่เมืองฟงแตน-แล-ดีฌง (Fontaine-lès-Dijon) ในประเทศฝรั่งเศส และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1153 ที่แกลร์โว ในประเทศฝรั่งเศสเช่นกัน นักบุญแบร์นาร์เป็นอธิการอาราม (Abbot) ชาวฝรั่งเศสผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปชีวิตอารามวาสีของคณะซิสเตอร์เชียน (Cistercian) หลังจากที่มารดาเสียชีวิตนักบุญแบร์นาร์ก็เข้าเป็นนักพรตสังกัดคณะซิสเตอร์เชียน สามปีต่อมาก็ถูกส่งไปก่อตั้งอารามใหม่ที่แบร์นาร์ตั้งชื่อว่า “Claire Vallée” (หุบเขาแกลร์) ที่เพี้ยนมาเป็น “Clairvaux” เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและแบร์นาร์แห่งแกลร์โว · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว แพริส

แม็ทธิว แพริส (Matthew Paris) (ราว ค.ศ. 1200 - (ค.ศ. 1259) แม็ทธิว แพริสเป็นนักบวชเบ็นนาดิคติน, นักบันทึกพงศาวดาร (Chronicler) ของยุคกลาง, จิตรกรหนังสือวิจิตร, นักเขียนแผนที่ชาวอังกฤษผู้จำวัดอยู่ที่สำนักสงฆ์เซนต์อัลบันในฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ แม็ทธิวเขียนงานหลายชิ้น ส่วนใหญ่เป็นงานเชิงประวัติศาสตร์ที่แม็ทธิวคัด (scribe) และวาดภาพวิจิตร (illuminate) ประกอบด้วยตนเอง งานส่วนใหญ่จะวาดบางส่วนด้วยสีน้ำที่บางครั้งก็เรียกว่า “tinted drawings” งานเขียนบางชิ้นก็เขียนเป็นภาษาละติน, บางชิ้นก็เป็นภาษาอังกฤษ-นอร์มัน หรือภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง บันทึกประวัติศาสตร์ “Chronica Majora” ที่แม็ทธิวเขียนเป็นหนังสือที่ได้รับการใช้ในการอ้างอิงบ่อยครั้ง แม้ว่านักประวัติศาสตร์สมัยใหม่จะทราบว่าเป็นงานเขียนที่ไม่ค่อยน่าเชื่อถือเท่าใดนักก็ตาม แม็ทธิวมักจะสรรเสริญสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์อย่างเลิศลอย และจะหนักไปในทางประณามพระสันตะปาป.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและแม็ทธิว แพริส · ดูเพิ่มเติม »

แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์

ำแถลงนโยบายคอมมิวนิสต์ แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ (Manifesto of the Communist Party หรือ The Communist Manifesto) หรือ คำแถลงนโยบายของพรรคคอมมิวนิสต์ (Manifest der Kommunistischen Partei) เป็นหนังสือการเมืองเล่มหนึ่งที่มีอิทธิพลสูงต่อประวัติศาสตร์โลก เขียนโดย คาร์ล มาร์กซ และ ฟรีดริช เองเงิลส์ ตามที่ได้รับมอบหมายจากสหพันธ์คอมมิวนิสต์ จัดพิมพ์ครั้งแรกในวันที่ 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและแถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กาลหว่าร์

กาลหว่าร์ หรือ วัดแม่พระลูกประคำ (Holy Rosary Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ทรงกอทิก ตั้งอยู่ที่ซอยวานิช 2 แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โบสถ์แห่งนี้ไม่ใช่โบสถ์หลังแรก หากแต่เป็นโบสถ์หลังที่สาม ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อทดแทนโบสถ์หลังเดิมที่ถูกทิ้งร้างภายหลังเพลิงไหม้ใหญ่ในปี พ.ศ. 2407 โบสถ์ในปัจจุบันได้สร้างขึ้นโดยคุณพ่อแดซาลส์ ชาวฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2434 ปัจจุบันโบสถ์มีอายุรวมแล้ว ปี ถือเป็นโบสถ์ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โบสถ์ได้รับการบูรณะใหญ่ในปี พ.ศ. 2500 ในสมัยที่คุณพ่ออาแมสตอย เป็นอธิการโบสถ์ และถือเป็นการฉลองครบ 60 ปีของโบสถ์กาลหว่าร์อีกด้วย การบูรณะครั้งล่าสุดคือในช่วงปี พ.ศ. 2526 - 2532 โดยมีบาทหลวงประวิทย์ พงษ์วิรัชไชย เป็นอธิการโบสถ์ในขณะนั้น ปัจจุบัน โบสถ์กาลหว่าร์ได้ขึ้นทะเบียนอนุรักษ์เป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โบสถ์แห่งนี้มีจุดเด่นที่สำคัญคือ รูปปั้น 2 รูปซึ่งเป็นสมบัติเก่าแก่ตั้งแต่การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ได้แก่ "รูปแม่พระลูกประคำ" และ "รูปพระศพของพระเยซูเจ้า" โดยทั้งหมดนี้ยังคงเก็บรักษาและใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาจนถึงปัจจุบันนี้ อธิการโบสถ์องค์ปัจจุบันคือ บาทหลวงไพทูรย์ หอมจิน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโบสถ์กาลหว่าร์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซิสทีน

“พระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม” ''God creates Adam'' โดย มีเกลันเจโลหลังจากการปฏิสังขรณ์ สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 โบสถ์น้อยซิสทีน (Sistine Chapel; Cappella Sistina) เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

โจแอนแห่งอังกฤษ ราชินีแห่งสก็อตแลนด์

แอนแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Joan of England; 22 กรกฎาคม ค.ศ.1210 - 4 มีนาคม ค.ศ.1238) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งสก็อตแลนด์ ตั้งแต..1221 จนสิ้นพระชนม์ พระองค์เป็นพระธิดาคนที่สามของจอห์น กษัตริย์แห่งอังกฤษ กับอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโจแอนแห่งอังกฤษ ราชินีแห่งสก็อตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

โทษต้องห้าม

ทษต้องห้าม (interdict) ในนิกายโรมันคาทอลิกหมายถึงการตำหนิโทษโดยคริสตจักร โทษต้องห้ามอาจจะประกาศต่อ อาณาจักร ท้องถิ่น หรือ ต่อบุคคล บทประกาศโทษต่อบุคคลจะลงโทษผู้หนึ่งผู้ใดโดยการระบุชื่อ การประกาศโทษต้องห้ามต่ออาณาจักรหรือท้องถิ่นจะเป็นการห้ามเข้าร่วมพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรคือจากดินแดนหรืออาณาจักรที่ถูกบังคับโดยบทประกาศ โทษต้องห้ามท้องถิ่นต่ออาณาจักรเทียบเท่ากับการตัดขาดจากศาสนาที่ทำต่อบุคคล ที่จะเป็นการปิดทุกโบสถ์ในดินแดนดังกล่าว และไม่อนุญาตให้มีพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่รวมทั้งการแต่งงาน การสารภาพบาป และการโปรดศีลมหาสนิท ที่ยกเว้นก็จะมีการอนุญาตให้ทำพิธีรับศีลล้างบาปได้ และ การเจิมผู้ป่วย และ การทำศาสนพิธีเนื่องในวันศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา การออกบทประกาศโทษเป็นเครื่องมือที่ใช้โดยพระสันตะปาปาในยุคกลางในการแสดงอิทธิพลต่อประมุขในยุโรป เช่นในกรณีที่สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3 ทรงออกประกาศโทษต้องห้ามเป็นเวลาห้าปีต่อราชอาณาจักรอังกฤษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโทษต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

โดโรเธียแห่งบรันเดินบวร์ค

รเธียแห่งบรันเดินบวร์ค (ค.ศ. 1430/1431 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1495) ทรงเป็นพระมเหสีในคริสโตเฟอร์แห่งบาวาเรียและพระเจ้าคริสเตียนที่ 1 แห่งเดนมาร์ก พระนางทรงดำรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก (ค.ศ. 1445 - 1448 และ ค.ศ. 1449 - 1481), สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ (ค.ศ. 1445 - 1448 และ ค.ศ. 1450 - 1481) และสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน (ค.ศ. 1447 - 1448 และค.ศ. 1457 - 1464) ถึงสองครั้ง พระนางยังทรงดำรงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินเดนมาร์กในช่วงที่พระสวามีเสด็จไปนอกราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโดโรเธียแห่งบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรฟแอกเซนต์

กรฟแอกเซนต์ (grave accent) เรียกย่อว่า เกรฟ (grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาอยู่เหนืออักษร (`) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินเพื่อใช้ในภาษาต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษานอร์เวย์ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ กำกับอักษรกรีกในภาษากรีก (ใช้จนถึง ค.ศ. 1982) หรือใช้กำกับอักษรอื่น ๆ ด้วยจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป ทั้งการเปลี่ยนระดับเสียง การแปรเสียง การเน้นเสียง หรือการแยกแยะคำ เป็นต้น คำว่า grave มาจากภาษาละติน gravis แปลว่า หนัก ในภาษาอังกฤษมีการอ่านว่า กราฟ เพิ่มเข้ามาเพื่อให้แตกต่างจากคำว่า grave เกรฟ ที่แปลว่า ร้ายแรง หรือหลุมศพ ซึ่งเลียนแบบมาจากภาษาฝรั่งเศส accent grave อักซอง กราฟ แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์มีแป้นเกรฟอยู่บริเวณมุมบนซ้ายของผัง บางภูมิภาคใช้ร่วมกับแป้นตาย (dead key) เพื่อประสมกับอักษร บางภูมิภาคใช้เพื่อสลับภาษาป้อนเข้า (คนไทยเรียก "ปุ่มตัวหนอน" ซึ่งเป็นปุ่มเดียวกับทิลเดอ) วงการโปรแกรมเมอร์เรียกเครื่องหมายนี้ว่า แบ็กโควต (back quote) หรือแบ็กทิก (backtick) ในยูนิโคดมีทั้งรูปแบบเดี่ยว (U+0060 `) และตัวผสาน (U+0300 ◌̀).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเกรฟแอกเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรโกริโอ อากลีไป อี ลาบายัน

ทหลวงเกรโกริโอ อากลีไป อี ลาบายัน (นั่งกลาง).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเกรโกริโอ อากลีไป อี ลาบายัน · ดูเพิ่มเติม »

เกลฟ์และกิเบลลิเน

ทธการเลญาโนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเกลฟ์และกิเบลลิเน เกลฟ์ และ กิเบลลิเน (Guelphs and Ghibellines) เป็นฝักฝ่ายทางการเมืองทางตอนกลางและตอนเหนือของอิตาลีผู้หนุนหลังฝ่ายพระสันตะปาปาและสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตามลำดับระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ความขัดแย้งกันทางอำนาจระหว่างสถาบันพระสันตะปาปาและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก่อตัวขึ้นจากปัญหาข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเกลฟ์และกิเบลลิเน · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเมษายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

เมดีชี

ตระกูลเมดีชี (Medici) เป็นตระกูลที่มีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองของฟลอเรนซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมาชิกจากตระกูลนี้ 3 คนได้เป็น พระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10, สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7, และ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11) และนักปกครองของฟลอเรนซ์เองโดยเฉพาะโลเรนโซ เด เมดีชี ก็เป็นผู้อุปถัมภ์งานชิ้นสำคัญๆ ในสมัยเรอเนซองส์ ต่อมาตระกูลเมดีชีก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

เรกนันส์อินเอกเซลซิส

รกนันส์อินเอกเซลซิส (Regnans in Excelsis; "ปกครองจากเบื้องบน") เป็นสารตราพระสันตะปาปาที่ออกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเรกนันส์อินเอกเซลซิส · ดูเพิ่มเติม »

เอลิเนอร์แห่งอากีแตน

อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ. 1122 - 1 เมษายน ค.ศ. 1204) พระราชินีเอเลเนอร์ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1122 ที่ปราสาทเบแล็ง ฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตนและดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ เป็นพระราชินีของฝรั่งเศสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:شمس پهلوی, ประสูติ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - สิ้นพระชนม์ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก และเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก

ระมหากษัตริย์โบฮีเมีย เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก (Princeps Elector, Kurfürst, Prince-elector หรือ Electors) คือสมาชิกของคณะผู้คัดเลือก (electoral college) แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีหน้าที่ในการเลือกพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมันพระองค์ใดพระองค์หนึ่งให้ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงของเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกเรียกว่าเจ้าผู้คัดเลือก (electoral prince) เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกถือเป็นผู้มีเกียรติรองจากพระมหากษัตริย์และพระจักรพรรดิ ตามทฤษฎีแล้วจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เป็นผู้ที่มาจากการเลือกตั้ง แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเลือกตั้งก็มักจะเป็นเพียงการทำเพียงพิธี โดยมีพระจักรพรรดิผู้สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของออสเตรีย ที่ตำแหน่งมักจะเป็นของพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิผู้เสด็จสวรรคต แต่กระนั้นตำแหน่งมิได้เป็นตำแหน่งสืบทอดในตระกูลเดียวกัน และทายาทไม่สามารถเรียกตนเองว่า "จักรพรรดิ" โดยมิได้รับเลือก การเลือกตั้งเป็นการเลือกพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน ผู้ได้รับเลือกในเยอรมนีและจะได้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็เมื่อได้รับทำพิธีบรมราชาภิเษกโดยพระสันตะปาปา จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 ทรงเป็นจักรพรรดิที่ได้รับการสวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิ ผู้เป็นจักรพรรดิต่อจากนั้นเป็นจักรพรรดิโดยการเลือกตั้งเท่านั้น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

เทวสิทธิราชย์

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1603–1625) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643–1715) ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” มาเริ่มลดความสำคัญลงในระหว่างสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเทวสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวากับซาตาน

ทวากับซาตาน (Angels & Demons) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ/วิทยาศาสตร์/สืบสวนของแดน บราวน์ ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเทวากับซาตาน · ดูเพิ่มเติม »

เทวากับซาตาน (ภาพยนตร์)

ทวากับซาตาน (Angels & Demons) เป็นภาพยนตร์แนวลึกลับ/ระทึกขวัญในปี 2009 กำกับและร่วมอำนวยการสร้างโดยรอน ฮาวเวิร์ด โดยดัดแปลงจากนวนิยายในชื่อเดียวกันของแดน บราวน์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อจาก รหัสลับระทึกโลก ถึงแม้ว่านวนิยายเรื่องนี้จะตีพิมพ์ก่อนก็ตาม ภาพยนตร์ถ่ายทำในโรมและสตูดิโอของโซนีพิกเจอส์ในลอสแอนเจลิส ทอม แฮงส์รับบทนำเป็นโรเบิร์ต แลงดอน สมทบด้วยยวน แม็คเกรเกอร์, อายเยเล็ต ซูเรอร์และสเตลลัน สกอร์กอร.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเทวากับซาตาน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เทวาธิปไตย

ทวาธิปไตย (Theocracy) คือระบอบการปกครองที่มีพระเจ้าหรือเทพเป็นประมุข หรือในความหมายกว้าง ๆ คือระบอบการปกครองที่รัฐปกครองโดยอำนาจจากเทพ (divine guidance) หรือโดยผู้ที่ถือกันว่าได้รับอำนาจหรือการดลใจโดยตรงจากเทพ ในภาษากรีกคอยนี (Koine Greek) หรือภาษากรีกสามัญคำว่า “theocracy” มาจากคำว่า “kra′tos” โดย “the.os” หรือ “ปกครองโดยพระเจ้า” สำหรับผู้มีความศรัทธาแล้วระบบนี้ก็เป็นระบอบการปกครองที่ใช้อำนาจจากเทพในการปกครองมวลมนุษย์ในโลก ไม่โดยผู้ที่เป็นเทพกลับชาติมาเกิด (incarnation) ก็มักจะโดยผู้แทนของศาสนจักรที่มีอำนาจเหนืออาณาจักร รัฐบาลที่ปกครองโดยระบบเทวาธิปไตยปกครองโดยเทพธรรมนูญ (theonomy) ระบอบเทวาธิปไตยควรจะแยกจากระบบการปกครองอื่น ๆ ที่มีศาสนาประจำชาติ (state religion) หรือรัฐบาลที่มีอิทธิพลจากเทวปรัชญาหรือศีลธรรม หรือระบบราชาธิปไตยที่ปกครอง “โดยพระคุณของพระเจ้า” (By the Grace of God) เทวาธิปไตยอาจจะเป็นระบบการปกครองเดี่ยวที่ฐานันดรระดับต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ปกครองโดยฝ่ายอาณาจักรเป็นฐานันดรระดับเดียวกันกับที่ใช้ในการปกครองในศาสนจักร หรืออาจจะแบ่งเป็นสองระบบที่แยกฐานันดรระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร การปกครองเทวาธิปไตยเป็นระบบที่ใช้ในหลายศาสนาที่ได้แก่ ศาสนาขงจื๊อ ศาสนายูดาห์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู พุทธศาสนาบางนิกายเช่นทะไลลามะ และ คริสต์ศาสนาบางนิกายที่รวมทั้งโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์ และมอร์มอน ตัวอย่างของการปกครองระบบเทวาธิปไตยของคริสต์ศาสนาก็ได้แก่การปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเทวาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

เขตอัครบิดร

ตอัครบิดรราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6 (Patriarchate) เป็นเขตอำนาจการปกครองของอัครบิดร อัครบิดรในศาสนาคริสต์ ได้แก.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเขตอัครบิดร · ดูเพิ่มเติม »

เขตอัครบิดรเวนิส

มหาวิหารซันมาร์โก เขตอัครบิดรเวนิส (Patriarchate of Venice) เป็นเขตอัครบิดรโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ภายในแคว้นเวเนโต ประเทศอิตาลี เขตอัครบิดรเวนิสมีต้นกำเนิดมาจากมุขมณฑลโอลีโวโลซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเขตอัครบิดรเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

เขตผู้แทนพระสันตะปาปา

ฟร็องซัว ปาลูว์ (François Pallu) มุขนายกเกียรตินามแห่งเฮลีโอโปลิส (Heliopolis) และประมุขมิสซังตังเกี๋ย เขตผู้แทนพระสันตะปาปา (Apostolic vicariate) หรือมิสซัง เป็นเขตอำนาจทางอาณาเขตของคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่ตั้งขึ้นในประเทศหรือแว่นแคว้นที่มีการเผยแพร่ศาสนาคริสต์แล้ว แต่ยังไม่ได้รับสถานะเป็น "มุขมณฑล" ตามปกติแล้วทุกคริสตจักรท้องถิ่นจะต้องปกครองตนเองภายใต้การนำของผู้ปกครองคือมุขนายก แต่กรณีที่คริสตจักรเพิ่งตั้งใหม่ หรือยังมีจำนวนคริสตชนน้อย ยังไม่พร้อมที่จะปกครองตนเอง พระสันตะปาปาจะทรงถือสิทธิ์ปกครองคริสตจักรนั้น แล้วส่งผู้แทนหรือวิคาร์ (vicar) ไปทำหน้าที่ปกครองแทน ด้วยเหตุนี้จึงเรียกผู้ปกครองนั้นว่าผู้แทนพระสันตะปาปา (apostolic vicar) (เพราะพระสันตะปาปาทรงสืบตำแหน่งมาจากอัครทูต (apostle)) บางตำราก็เรียกว่าประมุขมิสซัง หรือผู้แทนสันตะสำนักประมวลกฎหมายพระศาสนจักร บรรพ ๒ ประชากรของพระเจ้า, กรุงเทพฯ: แผนกคำสอน เขตมิสซังกรุงเทพฯ, 2543, หน้า 97-8 และเรียกเขตปกครองนั้นว่าเขตผู้แทนพระสันตะปาปา (apostolic vicariate) นอกจากนี้ยังนิยมเรียกในชื่ออื่นอีก เช่น มิสซัง (mission) เทียบมุขมณฑล หรือเขตปกครองโดยผู้แทนสันตะสำนักด้วย บุคคลที่ดำรงตำแหน่งผู้แทนพระสันตะปาปาโดยปกติจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นมุขนายกเกียรตินาม (titular bishop) ด้วยเพื่อเป็นเกียรติในการทำงานและมีศักดิ์ศรีอย่างมุขนายกเขตมิสซังอื่น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเขตผู้แทนพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องหมายแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศ เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนจากคำว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" มาเป็นคำว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มี ๔ ประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

เคลอจี

ลอจี เคลอจี (clergy อ่านว่า เคลอ-จี) คือ ผู้ได้รับศีลบวช ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่านักบวช รูปเอกพจน์เรียกว่าเคลริก (cleric) ศาสนาคริสต์เริ่มใช้คำนี้เพื่อหมายถึงศาสนบุคคลที่ได้รับศีลบวช ได้แก่ ดีกัน บาทหลวง และบิชอป ในปัจจุบันหมายถึง บุคคลในศาสนาใด ๆ ที่ผ่านพิธีบวชเพื่อปฏิบัติหน้าที่รับใช้ศาสน.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและเคลอจี · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและ10 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระสันตะปาปาและ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Bishop of RomePapacyPapalPopePope of RomeThe Popeมุขนายกแห่งพระศาสนจักรกรุงโรมสมเด็จพระสันตะปาปาสมเด็จพระสันตปาปาสังฆราชแห่งโรมสันตะปาปาสถาบันสันตะปาปาบิชอปแห่งโรมพระสังฆราชแห่งพระศาสนจักรกรุงโรมพระสันตะปาปาเท็จพระสันตปาปาโป๊ป

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »