โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

ดัชนี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าสุทธสิริโสภา จุฑาธุช; ประสูติ: 16 ธันวาคม พ.ศ. 2464 — สิ้นพระชนม์: 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ที่ประสูติแต่หม่อมลออ จุฑาธุช ณ อ.

21 ความสัมพันธ์: พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถการสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีการเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชญาณี ตราโมทราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์วังเพ็ชรบูรณ์วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากรหอพระนากอินทุรัตนา บริพัตรตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุมโรงเรียนราชินี16 ธันวาคม

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวรานนท์ธวัช จุฑาธุช พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ที่ประสูติแต่หม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา (ไกยานนท์) ประสูติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2465 มีพระเชษฐภคินีต่างมารดา 1 พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธสิริโสภา (16 ธันวาคม 2463-2541) ทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีสิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและการสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล่นเรือใบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดการเล่นกีฬามาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เมื่อประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โปรดกีฬาหลายประเภท เช่น สกีน้ำแข็ง, ยิงปืน, กอล์ฟเล็ก, การแข่งขันรถเล็ก, เทนนิส, แบดมินตัน, เครื่องร่อน โดยทรงเล่นกีฬาเหล่านี้มาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ โดยทรงศึกษาข้อมูลของกีฬาแต่ละประเภทอย่างละเอียด และทรงฝึกฝนจนปฏิบัติได้ดี นับเป็นแบบอย่างที่ดีของนักกีฬา น่าสังเกตว่ากีฬาที่โปรด มักเป็นกีฬาที่ไม่ได้ใช้แต่พละกำลังเพียงอย่างเดียว คือ ต้องอาศัย ความรู้รอบตัวและเทคนิคไหวพริบ ผนวกกับความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในกีฬานั้น ๆ ซึ่งทรงพอพระทัยกับการเผชิญความท้าทายในเกมกีฬาเป็นอย่างมาก เช่น เทนนิส, เรือใบ เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเคารพกฎกติกาของการกีฬาที่ทรงเล่น และมักจะทรงเน้นย้ำให้นักกีฬาทั้งหลายมีวินัยตลอดเวลา ทรงให้ความสำคัญต่อการฝึกซ้อมเป็นอันมาก ทรงสนพระทัยกีฬาที่มีโอกาสได้ฝึกซ้อม ด้วยทรงเห็นว่าการจะเป็นนักกีฬาที่ดีนั้น ต้องให้ความสนใจในการฝึกซ้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงตนเอง มีประสบการณ์เพิ่มขึ้นถ้านักกีฬาคนใดไม่ฝึกซ้อมก็จะเป็นนักกีฬาที่ดีไม่ได้ แต่ด้วยพระราชภารกิจ อันมากมายของพระองค์ กีฬาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนั้น ส่วนมากจะทรงเป็นระยะๆ บางช่วง ด้วยไม่สะดวกที่จะทรงฝึกซ้อมเป็นประจำ นอกจากกีฬาแข่งขันแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังสนพระทัยในการออกกำลังพระวรกายเพื่อสุขภาพอีกด้วย เช่น วิ่งเหยาะ และเดินเร็ว การออกกำลังพระวรกายสม่ำเสมออย่างถูกหลักวิชาการ คือ มีการบันทึกพระชีพจร ความดันพระโลหิตทั้งก่อนและหลังการทรงออกกำลังพระวรกาย รวมทั้งทรงกระตุ้นให้เกิดความอบอุ่นแก่พระวรกายก่อนเริ่ม และผ่อนคลายความตึงเครียดของพระกล้ามเนื้อ หลังจากการออกกำลังพระวรกาย โดยทรงปฏิบัติเช่นนี้เป็นกิจวัตร เป็นแบบฉบับของนักกีฬาที่ดี ถึงแม้ในช่วงแปรพระราชฐานไปในที่ต่าง ๆ ในเวลากลางวันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะอุทิศเวลาเพื่อราษฎรของพระองค์ กว่าจะเสร็จสิ้นพระวรกายด้วยการทรงพระดำเนินแล้ว เป็นระยะทางนับเป็นหลายร้อยเมตร เพื่อให้พระวรกายของพระองค์แข็งแรง พร้อมที่จะเสด็จพระราชดำเนินไปในที่ต่าง ๆ เพื่อเยี่ยมเยียนราษฎรของพระองค์ได้เสมอ โดยพระราชทานพระราชดำรัสเกี่ยวกับการกีฬาไว้ว่า "การกีฬามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับชีวิตของแต่ละคนและชีวิตบ้านเมือง" พระราชดำรัสนี้แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธานในเรื่องการส่งเสริมการกีฬาว่าเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคคลและประเทศชาติ จึงทรงส่งเสริมกีฬาทุกประเภท พร้อมทั้งทรงกีฬามากมายหลายประเภทเช่นกัน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและการเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

ญาณี ตราโมท

ญาณี ตราโมท ญาณี ตราโมท เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายมนตรี ตราโมท ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ และปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษา คุณญาณีได้เข้าทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและญาณี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี

ราชสกุลวงศ์ในรัชกาลปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและราชสกุลวงศ์ในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วังเพ็ชรบูรณ์

วังเพ็ชรบูรณ์ เคยตั้งอยู่ริมถนนพระราม 1 และถนนราชดำริ เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย พระราชโอรสองค์ที่ 72 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 สำหรับที่ตั้งวังเพ็ชรบูรณ์คือ พระราชวังปทุมวัน ซึ่งรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเสด็จประพาสและให้ประชาชนไปแล่นเรือ โดยโปรดให้ขุดสระใหญ่ 2 สระติดกัน โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพลับพลา 2 ชั้น สำหรับประทับแรม ริมสระมีพลับพลาเสด็จออกและโรงละคร พร้อมกับตำหนักฝ่ายใน โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดใกล้กับพระราชวัง พระราชทานนามว่า วัดปทุมวนาราม ในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยเสด็จกลับจากศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชวังปทุมวัน นี้ว่า "วังเพ็ชรบูรณ์" ภายในวังประกอบด้วยตำหนัก ซึ่งมีชื่อเป็นเพลงไทยเดิม เนื่องจากทรงมีความสนพระทัยในด้านนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ ตำหนักประถม วังเพ็ชรบูรณ์ สำหรับตำหนักมีดังนี้.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและวังเพ็ชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (Poh-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin) เดิมคือ โรงเรียนเพาะช่าง ตั้งอยู่ที่ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีสีแดง–สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน เพาะช่างเป็นสถาบันศิลปะการช่าง ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเอาวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์

หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) หรือนามปากกาที่รู้จักกัน คือ หมึกแดง เป็นผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหาร โดยเฉพาะอาหารไทย ปัจจุบันเป็นเจ้าของภัตตาคาร กรรมการผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการทางโทรทัศน์ ที่ปรึกษาทางด้านอาหาร คอลัมนิสต์ และวิทยากร.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและหม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร

หม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2523) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและหม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

อินทุรัตนา บริพัตร

อินทุรัตนา บริพัตร (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอินทุรัตนา บริพัตร และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา).

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและอินทุรัตนา บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของ พันตำรวจเอกวิจิตร และนางเกื้อกูล อภัยวงศ์ จบการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และต่อในระดับปริญญาที่ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบได้รับการทาบทามให้เป็นอาจารย์ประจำที่คณะ หนึ่งปีต่อมาไปศึกษาเพิ่มเติมทางด้านศิลปะการละคร (MA in Theatre Practice) ในระดับมหาบัณฑิต ที่ มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นนักเรียนชาวเอเชีย เพียงคนเดียวที่ได้รับการตอบรับให้เข้าเรียนในสาขานี้ ซึ่งเปิดสอนนักศึกษาเพียงแค่ 5 คนในปีนั้น จากนั้นกลับมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำ ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นอาจารย์พิเศษในปัจจุบัน ตรีดาวเคยเป็นพิธีกรในรายการ "เรียงร้อย ถ้อยไทย" ซึ่งเป็นรายการเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ซึ่งเป็นรายการสั้น ๆ ช่วงหัวค่ำวันธรรมดา ทางช่อง 3 อยู่พักหนึ่ง ชีวิตครอบครัว สมรสกับ พงษ์ สุขุม บุตรชายคนโตของ ปราโมทย์ สุขุม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์กับคุณหญิงกัญญา หงส์ลดารมภ์ ไปเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธสิริโสภา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »