โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์

ดัชนี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าสุขุมาภินันท์ บริพัตร (29 มิถุนายน 2466 - 10 เมษายน 2546) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (ธิดาของพระยาวทัญญูวินิจฉัย (หม่อมหลวงชุ่ม ปาลกะวงศ์) ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลที่ 7 และเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ ทรงเสกสมรสกับหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) มีโอรส 2 คน คือ.

15 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2465พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกรมการเร่งรัดพัฒนาชนบทรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์สภากาชาดไทยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยาหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยาอินทุรัตนา บริพัตรโรงเรียนเทพศิรินทร์29 มิถุนายน

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท

กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2509 มีหน้าที่รับผิดชอบงานเร่งรัดพัฒนาชนบท ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ถนน โครงสร้าง แหล่งน้ำ) ตามแผนงานพัฒนาชนบท ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และกรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี

้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี เป็นการรวบรวมรายพระนามเจ้านายในราชวงศ์จักรีตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้า ซึ่งมีพระชันษายืนนับตั้งแต่ 90 ปีขึ้นไปอันเคยมีเป็นสูงสุดลงจน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นต้นเขตของ "อายุยืน" เรียงเป็นลำดับกันตามพระชันษา โดยได้อ้างอิงเนื้อหาตามหนังสือชื่อ"เจ้านายพระชันษายืนในพระราชวงศ์จักรี" พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และรายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และสภากาชาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา

หม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; ?—?) เป็นหม่อมในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา

หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่าน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อินทุรัตนา บริพัตร

อินทุรัตนา บริพัตร (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอินทุรัตนา บริพัตร และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา).

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และอินทุรัตนา บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ. 2428 ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันโรงเรียนเทพศิรินทร์มีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนเทพศิรินทร์ยังประกอบด้วย โรงเรียนเครือข่ายที่มีคำนำหน้าว่า "เทพศิรินทร์" อีก 10 แห่ง โรงเรียนเทพศิรินทร์เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในประเทศไทย ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเข้ารับการศึกษา คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนเก่าที่ดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองมากมาย อาทิ นายกรัฐมนตรีไทย 4 คน รวมถึง นายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และโรงเรียนเทพศิรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์และ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »