สารบัญ
153 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2543พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)พระพรหมกวี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ)พระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ)พระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช)พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)พระพรหมมุนีพระพรหมมุนี (วิชมัย ปุญฺญาราโม)พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)พระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)พระพรหมมุนี (แย้ม อุปวิกาโส)พระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)พระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล)พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร)พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)พระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ)พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ)พระพรหมคุณาภรณ์พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร)พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)พระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส)พระพรหมเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม)พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)พระพิมลธรรมพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)พระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)พระพุทธวรญาณพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)พระพุทธวรญาณ (ทองย้อย กิตฺติทินฺโน)พระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจฺจกาโร)พระมหารัชมงคลดิลก (บุญเรือน ปุณฺณโก)พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (โพธิ์แจ้ง)พระมหาโพธิวงศาจารย์พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร)พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษาพระราชาคณะพระราชาคณะชั้นธรรมพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากรพระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)พระสาสนโสภณพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก)... ขยายดัชนี (103 มากกว่า) »
พ.ศ. 2543
ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพ.ศ. 2543
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
ระพรหมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม ประยูร มีฤกษ์ ฉายา ธมฺมจิตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระนักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมายทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้างสำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาต.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
พระพรหมกวี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ)
ระพรหมกวี ฉายา คงฺคปญฺโญ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าคณะภาค 10 เจ้าอาวาสวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมกวี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ)
พระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ)
ระพรหมกวี (พงศ์สันต์ (เดิมชื่อ ประกอบ) ธมฺมเสฏฺโฐ) (นามเดิม: ประกอบ วงศ์พรนิมิตร) (21 พฤษภาคม 2498 - ปัจจุบัน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 13 และเจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ)
พระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช)
ระพรหมมังคลาจารย์ นามเดิม ธงชัย ฉายา ธมฺมธโช เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ และรองรองแม่กองธรรมสนามหลวง กำกับดูแลฝ่ายวิเทศสัมพัน.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช)
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)
ระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร) (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)
พระพรหมมุนี
ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี
พระพรหมมุนี (วิชมัย ปุญฺญาราโม)
ระพรหมมุนี นามเดิม วิชมัย ฉายา ปุญฺญาราโม เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี (วิชมัย ปุญฺญาราโม)
พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)
ระพรหมมุนี นามเดิม สุชิน มงคลแถลง ฉายา อคฺคชิโน วิทยฐานะ ประโยค 1-2, ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษากรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 14-15 (ธรรมยุต) รักษาการเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต) แม่กองธรรมสนามหลวง รองแม่กองงานพระธรรมทูต หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 7 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเลขานุการสมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)
พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)
ระพรหมมุนี นามฉายา สุวโจ (นามเดิม: ผิน ธรรมประทีป) เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ของวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และอดีตสังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การเผยแผ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)
พระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)
ระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะกลาง และอดีตเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)
พระพรหมมุนี (แย้ม อุปวิกาโส)
ระพรหมมุนี นามเดิม แย้ม ฉายา อุปวิกาโส เป็นพระภิกษุในคณะธรรมยุติกนิกาย พระราชาคณะเจ้าคณะรองหนกลาง อดีตเจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี (แย้ม อุปวิกาโส)
พระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)
ระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองในคณะกลาง และอดีตเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)
พระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล)
ระพรหมมงคล นามเดิม ทอง พรหมเสน ฉายา สิริมงฺคโล (21 กันยายน พ.ศ. 2466 - ปัจจุบัน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายวิปัสสนาธุระ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล)
พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร)
ระพรหมวชิรญาณ (นามเดิม ประสิทธิ์ บางแห่งว่าปสฤทธิ์ นามสกุล สุทธิพันธ์) (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 - ปัจจุบัน) กรรมการมหาเถรสมาคม, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 10 (ฝ่ายศาสนศึกษา) กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร)
พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)
ระพรหมวิสุทธาจารย์ นามเดิม มนตรี บุญถม ฉายา คณิสฺสโร เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) รองแม่กองธรรมสนามหลวง และเจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์วรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)
พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)
ระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) นามสกุล ฝังมุข (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 – 25 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตเจ้าคณะภาค 12 อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร)
พระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ)
ระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ) น..เอก ป..7 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนใต้ และเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ)
พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ)
ระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ผู้สร้างคุณูปการให้กับพระพุทธศาสนาอีกท่านหนึ่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนใต้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ)
พระพรหมคุณาภรณ์
ระพรหมคุณาภรณ์ เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ขั้นหิรัญบัฏ พระราชทานแก่พระภิกษุมหานิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมคุณาภรณ์
พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร)
ระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดยานนาวา เป็นนักเขียนวรรณกรรมศาสนาพุทธ โดยเฉพาะผลงาน 3 ชิ้น ได้แก่ ภูมิวิลาสินี วิมุตติรัตนมาลี และกรรมทีปนี ได้รับรางวัลชนะเลิศวรรณกรรมสาขาศาสนา จากธนาคารกรุงเท.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร)
พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)
ระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) เจ้าคณะภาค 5 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ แม่กองบาลีสนามหลวง เลขานุการแม่กองงานพระธรรมทูต รองประธานคณะพระธรรมจาริก หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 ประธานคณะเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เลขาธิการสมัชชามหาคณิสสร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)
พระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส)
ระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดบุรณศิริมาตยาราม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส)
พระพรหมเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม)
ระพรหมเวที นามเดิม สุเทพ บุษบก ฉายา ผุสฺสธมฺโม เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัณยบัฎ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะภาค 15.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม)
พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)
ระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร) (นามเดิม:พิมพ์ บุญรัตนาภรณ์) (17 กันยายน พ.ศ. 2488 - ปัจจุบัน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร และเจ้าคณะภาค 7.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)
พระพิมลธรรม
ระพิมลธรรม เป็นราชทินนามสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ในสมัยหลัง ๆ ได้พระราชทานเฉพาะพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันไม่มีพระราชาคณะรูปใดได้รับราชทินนามนี้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพิมลธรรม
พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)
ระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) ราชบัณฑิต อดีตเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บำรุง เจ้าคณะจังหวัดชลบุรี เจ้าคณะตรวจการภาค 9 และ 2 และแม่กองธรรมสนามหลวง และเป็นผู้ริเริ่มให้มีวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่งในประเทศไท.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี)
พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)
ระพิมลธรรม นามเดิม ช้อย ฝอยทอง ฉายา านทตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลนครสวรรค์ เจ้าคณะตรวจการภาค 1 สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การสาธารณูปการ และสังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺโต)
พระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)
ระพิมลธรรม นามเดิม นาค ฉายา สุมนนาโค เป็นพระราชาคณะรองเจ้าคณะหนเหนือ เจ้าคณะมณฑลชุมพร เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร นอกจากนี้ท่านยังเป็นพระเกจิอาจารย์ผู้มีชื่อเสียงจากการทำตะกรุดหนังหน้าผากเสือ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)
พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)
ระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) พระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)
พระพุทธวรญาณ
ระพุทธวรญาณ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย เริ่มพระราชทานครั้งแรกในปี..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพุทธวรญาณ
พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) (2 มกราคม พ.ศ. 2462 - 29 มกราคม พ.ศ. 2557) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
พระพุทธวรญาณ (ทองย้อย กิตฺติทินฺโน)
ระพุทธวรญาณ ฉายา กิตฺติทินฺโน เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น เจ้าอาวาสวัดกวิศรารามราชวรวิหาร เจ้าคณะจังหวัดลพบุรี และเจ้าคณะตรวจการภาค 6 อีกทั้งเป็นผู้ก่อตั้ง โรงเรียนวินิตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ฯ.ลพบุรี.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระพุทธวรญาณ (ทองย้อย กิตฺติทินฺโน)
พระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจฺจกาโร)
ระญาณวโรดม นามเดิม สนธิ์ มั่งเรือน ฉายา กิจฺจกาโร เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตรองเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร อดีตเจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจฺจกาโร)
พระมหารัชมงคลดิลก (บุญเรือน ปุณฺณโก)
ระมหารัชมงคลดิลก นามเดิม บุญเรือน ปิ่นเกษ ฉายา ปุณฺณโก อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และเป็นพระอภิบาลในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เมื่อครั้งทรงผนวช ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร".
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระมหารัชมงคลดิลก (บุญเรือน ปุณฺณโก)
พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (โพธิ์แจ้ง)
ระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร นามฉายา โพธิ์แจ้ง อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย อดีตเจ้าอาวาสวัดมังกรกมลาวาส และอดีตเจ้าอาวาสผู้ก่อตั้งวัดโพธิ์เย็น (จีนนิกาย) และวัดโพธิ์แมนคุณาราม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (โพธิ์แจ้ง)
พระมหาโพธิวงศาจารย์
ระมหาโพธิวงศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่งในฝ่ายมหานิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระมหาโพธิวงศาจารย์
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร)
ระมหาโพธิวงศาจารย์ นามเดิม สุจี ขรวงค์ ฉายา กตสาโร หรือ ตุ๊ปู่จี๋ อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6 อดีตประธานสภาวิทยาเขตแพร่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และอดีตเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระนักการศึกษาแห่งแผ่นดินล้านน.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร)
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)
ระมหาโพธิวงศาจารย์ นามเดิม ทองดี สุรเดช ฉายา สุรเตโช เป็นราชบัณฑิต พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)
พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา
ระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา พุทธศักราช 2520 จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 เป็นเวลาหมื่นวันเศษ ใน พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 50 พรรษา
พระราชาคณะ
ในการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะขึ้นไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปพระราชทานด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็โปรดเกล้าให้ผู้แทนพระองค์เป็นผู้มอบแทน พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง พระราชาคณะ หมายถึงพระภิกษุที่ได้รับสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระสังฆราชาคณะ หมายความว่าเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ ต่อมาในสมักรุงรัตนโกสินทร์เปลี่ยนเป็นพระราชาคณะ ความหมายยังคงเดิม มีคำนำหน้าราชทินนามว่าพระ แต่ภาษาชาวบ้านเรียกกันว่าเจ้าคุณหรือท่านเจ้าคุณ ถ้าเป็นสมเด็จพระราชาคณะเรียกว่าท่านเจ้าประคุณ แยกเป็นลำดับดังนี้ พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระราชาคณะ
พระราชาคณะชั้นธรรม
ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระราชาคณะชั้นธรรม
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร
ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร ที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2444) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุลลดาวัลย์ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ดำรงสมณศักดิ์สุดท้ายที่สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง เจ้าอาวาสพระองค์แรกของวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนวัดร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร
พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)
ระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) (นามเดิม:วิเชียร เรืองขจร) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และรองเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)
พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)
ระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2423 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง ประธานกรรมการคณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไท.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)
พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)
ระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไทย เช่น สมาชิกสังฆสภา สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง เจ้าคณะภาค 7-8-9 (ธรรมยุต) เป็นต้น ในปี..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)
พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)
ระศาสนโศภน นามเดิม แจ่ม ฉายา จตฺตสลฺโล เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสังฆสภา และแม่กองธรรมสนามหลวงรูปแรก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)
พระสาสนโสภณ
ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสาสนโสภณ
พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)
ระสาสนโสภณ นามเดิม พิจิตร ฉายา ิตวณฺโณ นามสกุล ถาวรสุวรรณ วิทยฐานะ ป..9, น.เอก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)
พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก)
ระสาสนโสภณ นามเดิม อ่อน ฉายา อหึสโก (อ่านว่า อะหิงสะโก) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการามวรวิหาร เจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเจ้าคณะมณฑลกรุงเทพมหานคร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก)
พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย)
ระสาสนโสภณ ฉายา ภทฺทิโย (นามเดิม: ใย สุขสิงห์; 27 ธันวาคม พ.ศ. 2443 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2541) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร รองแม่กองบาลีสนามหลวง และเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย)
พระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต)
ระสาสนโสภณ นามเดิม เอื้อน สุดเฉลียว ฉายา ชินทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต)
พระสุธรรมาธิบดี
ระสุธรรมาธิบดี เป็นราชทินนามของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฎ พระราชทานแก่พระเถระฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสุธรรมาธิบดี
พระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)
ระสุธรรมาธิบดี หรือ หลวงปู่แสง นามเดิม แสง ขุทรานนท์ ฉายา ชุตินฺธโร (10 มิถุนายน 2456 - 5 กุมภาพันธ์ 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมบูชา และอดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)
พระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาโค)
ระสุธรรมาธิบดี นามเดิม เพิ่ม นาควาณิช ฉายา อาภาโค เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร แม่กองธรรมสนามหลวง และกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาโค)
พระสุเมธมังคลาจารย์ (อมร อมรปญฺโญ)
ระสุเมธมังคลาจารย์ นามเดิม อมร ฉายา อมรปญฺโญ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระสุเมธมังคลาจารย์ (อมร อมรปญฺโญ)
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เป็นสมณศักดิ์ของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ตั้งชื่อตามพระอุบาลี พระอรหันต์สาวกของพระโคตมพุทธเจ้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)
ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นามเดิม ฟู บรรเลง ฉายา อตฺตสิโว เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะ ฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่ และวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าคณะตรวจการภาค 4 และ 5 พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ได้ขึ้นไปจัดการศึกษาพระปริยัตรธรรมที่จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่าง..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นามเดิม จันทร์ ฉายา สิริจนฺโท เป็นพระภิกษุฝ่ายเถรวาท คณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี อดีตเจ้าคณะใหญ่เมืองนครจำปาศักดิ์ เจ้าคณะมณฑลอีสาน มณฑลจันทบุรี มณฑลราชบุรี และมณฑลกรุงเทพ อดีตเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ และวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ท่านเป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษาสมัยใหม่ ทั้งในฝ่ายสงฆ์และฝ่ายฆราวาสในภาคอีสาน ท่านเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนอุบลวิทยาคมที่วัดสุปัฏนารามวรวิหาร จังหวัดอุบลราชธานี และเป็นผู้สอนธรรมะให้แก่พระเถระองค์สำคัญในธรรมยุติกนิกายหลายรูปรวมถึงพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ใหญ่แห่งพระกรรมฐานสายวัดป่าด้ว.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)
ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคำ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปัญญา อินฺทปญฺโญ)
ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ นามเดิม ปัญญา ทิพย์มณฑา ฉายา อินทปญฺโญ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2465 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551) อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง และผู้สร้างโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปัญญา อินฺทปญฺโญ)
พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)
ระอุดมญาณโมลี นามเดิม จันทร์ศรี แสนมงคล ฉายา จนฺททีโป หรือ หลวงปู่ใหญ่ (10 ตุลาคม 2454-14 ธันวาคม 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)
พระจำนงค์ ธมฺมจารี
ระจำนงค์ ธมฺมจารี นามเดิม จำนงค์ เอี่ยมอินทรา ฉายา ธมฺมจารี ผู้ต้องหาหนีหมายจับความผิดฐานร่วมกันฟอกเงิน ตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระจำนงค์ ธมฺมจารี
พระธรรมวโรดม
ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมวโรดม
พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน)
ระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าคณะภาค 6 และอดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน)
พระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม)
ระธรรมวโรดม นามเดิม เซ่ง ฉายา อุตฺตโม เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ดำรงสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม)
พระธรรมปัญญาบดี
ระธรรมปัญญาบดี เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ฝ่ายมหานิก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมปัญญาบดี
พระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต)
ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม พีร์ ผ่องสุภาพ ฉายา สุชาโต เป็นพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมปัญญาบดี (พีร์ สุชาโต)
พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)
ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม ถาวร เจริญพานิช ฉายา ติสฺสานุกโร (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)
พระธรรมปัญญาจารย์
พระธรรมปัญญาจารย์ เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบัน มีพระภิกษุได้รับสมณศักดิ์ที่พระธรรมปัญญาจารย์มาแล้ว 4 รูป ดังนี้ หมวดหมู่:พระราชาคณะเจ้าคณะรอง.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมปัญญาจารย์
พระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร)
ระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร) (นามเดิม: สุพจน์ ใช้สงวน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม วรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร)
พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (16 ธันวาคม พ.ศ. 2402 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุล ชมพูนุท ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
ฐานานุกรม
ระราชาคณะตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป สามารถตั้งพระฐานานุกรมของตนได้ตามอัธยาศัย (ในพระบรมราชานุญาต) ฐานานุกรม คือชื่อเรียกลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย ซึ่งภิกษุผู้มีตำแหน่งทางการปกครองหรือมีสมณศักดิ์สูงบางตำแหน่งมีสิทธิ์ตั้งพระรูปอื่นให้เป็นฐานากรมได้ตามศักดิ์ที่ได้รับพระบรมราชานุญาต เช่น พระสงฆ์ตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอ สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง พระราชาคณะชั้นสามัญตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง เป็นต้น ไปจนกระทั่งถึงสมเด็จพระสังฆราชทรงตั้งฐานานุกรมได้ 15 ตำแหน่ง ฐานานุกรมนั้นมีตำแหน่งที่เป็นหลัก 3 ตำแหน่ง คือ พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา หากพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์ตั้งฐานานุกรมเป็นผู้ที่มีสมณศักดิ์ตั้งแต่พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป พระฐานานุกรมที่ท่านเหล่านั้นตั้ง จะเรียก "พระครู" นำหน้าตำแหน่งฐานานุกรมนั้นทุกตำแหน่ง เช่น พระครูปลัด พระครูสังฆรักษ์ เป็นต้น สิทธิในการให้พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์สามารถแต่งตั้งพระฐานานุกรมได้ จะมีระบุไว้ในสัญญาบัตรพระราชทานสมณศักดิ์ ว่าให้สามารถตั้งได้เท่านั้นเท่านี้รูป ซึ่งพระสงฆ์ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิในการตั้งพระฐานานุกรม จะตั้งหรือไม่ตั้งก็ได้ หรือจะตั้ง แต่ตั้งเพียงจำนวนเท่าที่เห็นควรก็ได้ ไม่จำต้องตั้งทั้งหมด ตำแหน่งเหล่านี้เดิมมีพัดยศของหลวงพระราชทานมาให้ แต่ปัจจุบันนี้ต้องจัดทำเอง โดยพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์แต่งตั้งฐานานุกรมจะแต่งตั้งพระสงฆ์รูปใดในศิษยานุศิษย์ของตน ก็สุดแล้วแต่อัธยาศัย ทางการไม่ได้เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งพระฐานานุกรม เพียงแต่รับรู้เท่านั้น ภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งในลักษณะนี้เรียกว่า พระฐานานุกรม ทุกรูปจัดเป็นพระมีสมณศักดิ์เหมือนพระสมณศักดิ์ที่ทรงแต่งตั้ง พระในตำแหน่งเหล่านี้บางทีเรียกประทวนสัญญาบัตร บ้าง ฐานาประทวน บ้าง และเนื่องจากสมณศักดิ์เหล่านี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ได้พระราชทานเอง ดังนั้นเมื่อพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่ได้ตั้งฐานานุกรมไว้มรณภาพ ตำแหน่งฐานานุกรมต่าง ๆ ก็ถือว่าเป็นอันสิ้นสุดไปด้วย เรียกกันในภาษาปากว่า พระครูม่าย หรือ ฐานาม่าย จนกว่าจะได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมใหม่ ในอดีต ตำแหน่งฐานานุกรมบางตำแหน่งมีลำดับสมณศักดิ์สูงกว่าพระมหาเปรียญ จึงมีบางครั้งที่พระมหาเปรียญก็อาจได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมบ้าง ซึ่งเรียกกันในภาษาปากว่า ฐานาทรงเครื่อง หรือ พระครูทรงเครื่อง คือมีทั้งตำแหน่งมหาเปรียญและฐานานุกรมในคราวเดียวกัน.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและฐานานุกรม
มหาเถรสมาคม
มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและมหาเถรสมาคม
สมณศักดิ์
มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมณศักดิ์
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม)
ตราจารย์พิเศษ ดร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม)
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)
มเด็จพระพุทธชินวงศ์ นามเดิม สุวรรณ เขื่อนเพ็ชร ฉายา สุวณฺณโชโต อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร)
มเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช รักษาการเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานอำนวยการฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสีลาจารวัตรมีความรอบรู้ทั้งในทางคดีโลกและคดีธรรม กล่าวได้อย่างเต็มภาคภูมิว่า เป็นสมเด็จพระราชาคณะรูปแรกของไทยที่สำเร็จการศึกษาในทางคดีโลกถึงชั้นปริญญาเอก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร)
สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร)
มเด็จพระพุทธปาพจนบดี นามเดิม ทองเจือ สายเมือง ฉายา จินฺตากโร (2 มีนาคม พ.ศ. 2451 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2551) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม แม่กองงานพระธรรมทูต เป็นต้น.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พุฒ สุวฑฺฒโน)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พุฒ สุวฑฺฒโน) (นามเดิม: พุฒ สุวัฒนกุล) (11 มีนาคม พ.ศ. 2450 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2553) อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร และเป็นคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พุฒ สุวฑฺฒโน)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฤทธิ์ ฉายา ธมฺมสิริ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าคณะใหญ่ฝายเหนือและอดีตเจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุขวรวิหารและวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น กรรมการมหาเถรสมาคมโดยสมณศักดิ์ เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (หม่อมราชวงศ์เจริญ ญาณฉนฺโท)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ฉายา ญาณฉนฺโท นามเดิม หม่อมราชวงศ์เจริญ ราชสกุล อิศรางกูร เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และอดีตเจ้าอาวาสวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหารและวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (หม่อมราชวงศ์เจริญ ญาณฉนฺโท)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (แสง ปญฺญาทีโป)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม แสง ฉายา ปญฺญาทีโป เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบุรณราชวรวิหารและเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (แสง ปญฺญาทีโป)
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)
มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ าณวโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในการปกครองคณะสงฆ์ไทย เช่น สังฆนายก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร เป็นต้น.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติาโณ) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนใต้ กรรมการมหาเถรสมาคม และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานคณะกรรมการศูนย์ควบคุมการไปต่างประเทศสำหรับพระภิกษุสามเณร (ศตภ.) หัวหน้าพระธรรมทูต สายที่ 5.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม อาจ ดวงมาลา ฉายา อาสโภ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไท.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม โสม ศุภเทศ ฉายา ฉนฺโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชบุรณราชวรวิหาร เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และประธานคณะวินัยธร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เสงี่ยม วิโรทัย ฉายา จนฺทสิริ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)
มเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ) เป็นพระภิกษุธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะกลางและเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)
มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เข้ม ฉายา ธมฺมสโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจ้าอาวาสรูปที่ 9 ของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลชุมพรและพิศณุโลก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร)
สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)
มเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (สนั่น จนฺทปชฺโชโต)
มเด็จพระมหามุนีวงศ์ ฉายา จนฺทปชฺโชโต (นามเดิม: สนั่น สรรพสาร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดนรนาถสุนทริการาม กรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าคณะภาค 8 และ 10 (ธรรมยุต).
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (สนั่น จนฺทปชฺโชโต)
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)
มเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ นามเดิม ช่วง สุดประเสริฐ ฉายา วรปุญฺโญ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (พระอารามหลวง) ประธานสมัชชามหาคณิสสร และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ เช่น ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช สังฆมนตรี รองประธานสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เป็นต้น.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร และกรรมการมหาเถรสมาคม เคยดำรงตำแหน่งคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช มีวัตรปฏิบัติเรียบง่าย งดงาม น่าเลื่อมใส ดุจเดียวกับพระกัมมัฏฐาน ที่ครั้งหนึ่งเคยเดินธุดงค์ไปบนเส้นทางเดียวกับพระกัมมัฏฐานสายหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต เน้นการปฏิบัติภาวนาพร้อมกับการปฏิบัติเคร่งครัดตามพระธรรมวินัย ก่อนจะหันเหชีวิตมุ่งหน้าสู่การเรียนพระปริยัติธรรมตามแนวทาง “คันถธุระ” จนประสบผลส่าเร็จสูงสุด ได้เปรียญธรรม 9 ประโยค และได้น้อมนำหลักธรรมค่าสอนของพระพุทธองค์มาสู่การปฏิบัติ อบรมสั่งสอนพุทธบริษัท บริหารการคณะสงฆ์ นำความเจริญรุ่งเรืองให้กับพระพุทธศาสนาโดยรวม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ยัง ฉายา เขมาภิรโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกาย และเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธนฺมสาโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม วรวิหาร สังฆมนตรี แม่กองธรรมสนามหลวง เป็นต้น.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) (21 มีนาคม พ.ศ. 2410) - (26 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุปัฏนารามวรวิหาร อำเภอเมืองอุบลราชธานี วัดสุทธจินดาวรวิหาร มณฑลนครราชสีมา วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร กรุงเทพฯ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ แม่กองธรรมสนามมณฑลตลอดระยะที่ยังมิได้ยุบมณฑล รองแม่กองธรรมสนามหลวง กรรมการตรวจข้อสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวง กรรมการมหาเถระสมาคม กรรมการมหามกุฎราชวิทยาลัย กรรมการฝ่ายศึกษาประชาบาล เขตปทุมวัน รองเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต เจ้าคณะตรวจการภาค 3, 4, 5 องค์ประธานคณะวินัยธร ชั้นฎีกาตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ทิม อุฑาฒิโม)
มเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ทิม ฉายา อุฑาฒิโม เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และอดีตกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ทิม อุฑาฒิโม)
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร)
มเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร) (นามเดิม: นิยม จันทนินทร) (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2554) เป็นอดีตกรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลาง และเป็นคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร)
สมเด็จพระราชาคณะ
ัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสง..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระราชาคณะ
สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม จับ สุนทรมาศ ฉายา ตธมฺโม เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต) และกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)
สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
มเด็จพระวันรัต ฉายา พฺรหฺมคุตฺโต (นามเดิม:จุนท์ พราหมณ์พิทักษ์) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ปฏิบัติหน้าที่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร และผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม จ่าย ฉายา ปุณฺณทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่หนใต้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)
สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม ทรัพย์ สุนทรัตต์ ฉายา โฆสโก เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง สมาชิกสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก และผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)
สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม ฑิต ฉายา อุทโย เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)
สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม นิรันตร์ ฉายา นิรนฺตโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)
สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม แดง ฉายา สีลวฑฺฒโน เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และผู้สร้างวัดโพธินิมิตรสถิตมหาสีมาราม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)
สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม เฮง ฉายา เขมจารี เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และแม่กองบาลีสนามหลวง.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)
มเด็จพระวันรัต นามเดิม เผื่อน คงธรรม ฉายา ติสฺสทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะมณฑลราชบุรี สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)
สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)
มเด็จพระวันรัตน์เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 123 นามเดิม ทับ ฉายา พุทฺธสิริ (6 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม อยู่ ช้างโสภา ฉายา าโณทโย เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 15 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพัน..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม จวน ศิริสม ฉายา อุฎฺฐายี สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปลด เกตุทัต ฉายา กิตฺติโสภโณ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม แพ ฉายา ติสฺสเทโว เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)
สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)
มเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า มี ประสูติเมื่อวันพุธขึ้น 12 ค่ำ เดือน 8 ตรงกับวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)
สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย)
มเด็จพระธีรญาณมุนี นามเดิม สมชาย พุกพุ่มพวง ฉายา วรชาโย เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม และรองแม่กองธรรมสนามหลวง รูปที่ 1 ฝ่ายนักธรรม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย)
สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี)
มเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี) สมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร อดีตเจ้าอาวาสวัดเพชรสมุทรวรวิหาร อดีตเจ้าคณะภาค 1 และ ภาค 15 และอดีตกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี)
สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก)
มเด็จพระธีรญาณมุนี นามเดิม ธีร์ จันทวีระ ฉายา ปุณฺณโก เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ตำแหน่งสำคัญในคณะสงฆ์ไทย เช่น เจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก แม่กองงานพระธรรมทูต และกรรมการมหาเถรสมาคม เป็นผู้ถวายอนุสาสน์ ในพระราชพิธีทรงผนวช พันตรี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก)
หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าทัด (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง และเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและหม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)
อำเภอบางซ้าย
งซ้าย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเดิมอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2491 ได้แยกการปกครองออกจากอำเภอเสนา เป็นกิ่งอำเภอบางซ้าย และได้มีการราชยกฐานะจากกิ่งอำเภอบางซ้าย เป็นอำเภอบางซ้าย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2500 พื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอบางซ้ายเป็นทุ่งนา อาชีพส่วนใหญ่ของคนอำเภอบางซ้าย คือเกษตรกรรม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและอำเภอบางซ้าย
อำเภอผักไห่
อำเภอผักไห่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอเสนาใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและอำเภอผักไห่
จังหวัดชลบุรี
ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดชลบุรี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพะเยา
ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดพะเยา
จังหวัดกำแพงเพชร
ังหวัดกำแพงเพชร เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 8,607 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดกำแพงเพชร
จังหวัดลพบุรี
ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดลพบุรี
จังหวัดลำพูน
ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดลำพูน
จังหวัดสมุทรสาคร
ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดสมุทรสงคราม
ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดสมุทรสงคราม
จังหวัดสระบุรี
ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดสระบุรี
จังหวัดสิงห์บุรี
ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดสิงห์บุรี
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดสงขลา
งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดสงขลา
จังหวัดอุบลราชธานี
อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดตรัง
ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดตรัง
จังหวัดนครปฐม
ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและจังหวัดนครปฐม
ธงชัย สุขโข
งชัย สุขโข อดีตพระพรหมสิทธิ ฉายา สุขญาโณ อดีตพระราชาคณะเจ้าคณะรอง เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะภาค 10 เจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ประธานสำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ ๖ รองแม่กองธรรมสนามหลวง และกรรมการมหาเถรสมาคม.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและธงชัย สุขโข
โกศ
ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ.
เอื้อน กลิ่นสาลี
ร.เอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีต พระพรหมดิลก ฉายา หาสธมฺโม ป..
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและเอื้อน กลิ่นสาลี
เจ้าคณะใหญ่
้าคณะใหญ่ เป็นตำแหน่งทางพระสังฆาธิการระดับสูงในการปกครองคณะสงฆ์ไทย รองจากสกลมหาสังฆปริณายก โดยแบ่งการปกครอง ดังนี้.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและเจ้าคณะใหญ่
29 เมษายน
วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.
ดู พระราชาคณะเจ้าคณะรองและ29 เมษายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รองสมเด็จพระราชาคณะพระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ