เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระราชวังบางปะอิน

ดัชนี พระราชวังบางปะอิน

ระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 45 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)พระราชวังบางปะอินพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทพระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทพระที่นั่งในประเทศไทยพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญพระตำหนักฝ่ายใน (พระราชวังบางปะอิน)พระตำหนักสวนหงส์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์การตราสังวัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหารวัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหารสภาคารราชประยูรสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยาหลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)หอวิฑูรทัศนาหอเหมมณเฑียรเทวราชอนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาคุณพุ่มแสตมป์ทั่วไปโทรเลขเกาะเกร็ดเราสู้เรือนเจ้าจอมมารดาแสเจ้าจอมก๊กออเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5เจ้าดารารัศมี พระราชชายา31 พฤษภาคม

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (20 มิถุนายน พ.ศ. 2422 - 20 กันยายน พ.ศ. 2487) อธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกและคนสุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ผู้เป็นต้นสกุล "ณ ป้อมเพชร์".

ดู พระราชวังบางปะอินและพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)

พระราชวังบางปะอิน

ระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระราชวังบางปะอิน

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์

ระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ พระมเหสีในรัชกาลที่ 5 หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์รองในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์

พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท

ระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท เป็นพระที่นั่งโถงทรงปราสาทจตุรมุขประกอบเครื่องยอดบุษบก โดยมุขรี(ด้านยาว)สั้นกว่ามุขด้านสกัด(ด้านกว้าง)มีเชิงเทินเกยเทียบพระยานคานหาม ตั้งอยู่ระหว่าง พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ด้านหน้าพระที่นั่งราชกรันยสภา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในพระบรมมหาราชวังชั้นกลาง เดิมทีใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีโสกันต์(โกนจุก) และยังเคยใช้เป็นที่ประทับเกยเสด็จบนพระราชยานคานหามด้วย นอกจากนี้ ความสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมไทยแท้นี้ ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปกรรมประจำชาติแขนงหนึ่งในหลายๆแขนง ที่เรียกกันว่า ศาลาไทย พระที่นั่งแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นโดยจำลองขึ้น มีชื่อว่า พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ ตั้งอยู่ใน พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อีกด้ว.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท

พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์

ระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ เป็นพระที่นั่งภายในพระบวรราชวัง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่ประทับของพระองค์ ปัจจุบัน เป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร จัดเป็นห้องพระบวรราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์

พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร

ระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน บริเวณด้านข้างของพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ที่สอง พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรองค์แรก พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน ตรงข้ามกับสระทางด้านตะวันออก ของพระราชวังบางปะอิน พระที่นั่งองค์นี้สร้างด้วยไม้ สไตล์ยุโรป แบบสวิสชาเล่ต์ 2 ชั้น มีกำแพงแก้ว จดหมายเหตุได้กล่าวไว้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเงิน 90 ชั่งเพื่อสร้างพระที่นั่งองค์นี้ และรั้วพระราชวังบางปะอิน เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

ระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของหมู่พระมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลาง ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท มีพระที่นั่งพิมานรัตยา พระปรัศว์ซ้าย พระปรัศว์ขวา และ เรือนบริวาร หรือ เรือนจันทร์ ต่อเนื่องทางด้านหลังในเขตพระราชฐานชั้นใน พระที่นั่งองค์นี้ได้รับยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมชั้นเอกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นพระที่นั่งทรงไทยแท้องค์เดียว ในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะเรือนยอดพระมหาปราสาท (กุฎาคาร) มีรูปทรงต้องด้วยศิลปะลักษณะอันวิจิตรงดงาม.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

พระที่นั่งในประเทศไทย

ระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่ง มีหลายความหมาย ความหมายแรกนั้น หมายถึง เรือนที่ประทับหรือที่สำหรับทรงงานสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน ทั้งประเภทเรือนยอด (หรือที่เรียกว่าปราสาท) และเรือนหลังคาจั่ว พระที่นั่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ รวมทั้งสถานที่ภายในองค์ปราสาทที่ใช้สำหรับประกอบกิจต่าง ๆ หรืออาจหมายถึง พระราชอาสน์หรือที่นั่งที่มีชื่อเฉพาะในแต่ละองค์ โดยถ้าใช้คำว่าพระที่นั่งประกอบกับคำอื่น ๆ ก็มีความหมายว่าเป็นพาหนะที่จัดเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง โดยพระที่นั่งที่สำคัญในประเทศไทย ได้แก.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งในประเทศไทย

พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์

ระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ ภายในประดิษฐานพระบรมรูปรัชกาลที่ 5 พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งปราสาทโถงกลางน้ำ สร้างในแบบจตุรมุข พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จำลองแบบมาจาก พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์

พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ

ระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ (ด้านหน้า) พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ (ด้านหลัง) พระที่นั่งเวหาศจำรูญ เป็นพระที่นั่งสองชั้น สถาปัตยกรรมแบบจีน ตั้งอยู่ภายในพระราชวังบางปะอิน สร้างในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ

พระตำหนักฝ่ายใน (พระราชวังบางปะอิน)

ระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระตำหนักฝ่ายใน ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นในของพระราชวังบางปะอิน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นสำหรับเป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายในเพื่อเป็นที่ประทับเมื่อเสด็จแปรพระราชฐานมา ณ พระราชวังแห่งนี้ โดยมีดังต่อไปนี้.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระตำหนักฝ่ายใน (พระราชวังบางปะอิน)

พระตำหนักสวนหงส์

ระตำหนักสวนหงส์ พระตำหนักสวนหงส์ เป็นพระตำหนักภายในพระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ปัจจุบัน ใช้เป็นสถานที่จัดแสดงภาพงานพระราชพิธีโบราณต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีสมโภชเดือนขึ้นพระอู่ พระราชพิธีตรียัมปวาย รวมทั้ง จัดแสดงพระฉายาลักษณ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระตำหนักสวนหงส์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..

ดู พระราชวังบางปะอินและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

การตราสัง

การตราสังศพผู้ประสบภัยคลื่นสึนามิ พ.ศ. 2547 การตราสัง หมายความว่า การมัดศพ หรือการผูกศพให้เป็นเปลาะ ๆ ด้วยด้ายดิบเป็นต้น "ดอยใน" ก็เรียก.

ดู พระราชวังบางปะอินและการตราสัง

วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร

วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่หัวเกาะบางปะอิน ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดต่อกับเขตอุปจาระพระราชวังบางปะอิน มีอาณาเขตติดกับพระราชวังบางปะอิน.

ดู พระราชวังบางปะอินและวัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร

วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร

ใน พระอุโบสถ และแท่นประดิษฐานพระพุทธนฤมลธรรโมภาส วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ที่ ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อทรงใช้เป็นสถานที่สำหรับบำเพ็ญพระราชกุศล เมื่อเสด็จฯ แปรพระราชฐานมาประทับที่พระราชวังบางปะอิน ใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเลียนแบบโบสถ์คริสต.

ดู พระราชวังบางปะอินและวัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร

สภาคารราชประยูร

รราชประยูร สภาคารราชประยูร เป็นอาคาร 2 ชั้น ศิลปะแบบโคโลเนียล ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ริมสระน้ำตรงข้ามกับหอเหมมณเฑียรเทวราช ปัจจุบัน ใช้เป็นอาคารจัดแสดงประวัติและเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ของพระราชวังบางปะอิน.

ดู พระราชวังบางปะอินและสภาคารราชประยูร

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

มเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี หรือที่ชาวบ้านเรียกพระนามว่า สมเด็จพระนางเรือล่ม (10 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เป็นพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บางคราวเรียกว่าสมเด็จพระอัครมเหสีฝ่ายซ้าย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าทองสุกซึ่งเป็นพระธิดาในพระเจ้าอินทวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์) พระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี.

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2430) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งในเวลาที่พระองค์ประสูตินั้น ได้มีฝนดาวตกเต็มท้องฟ้าและสามารถมองเห็นได้ในพระนคร ดังนั้น ชาววังจึงได้ออกพระนามของพระองค์ว่า “ทูลกระหม่อมดาวร่วง” พระนามของพระองค์เป็นที่มาของชื่อ โรงพยาบาลศิริร.

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ (15 เมษายน พ.ศ. 2416 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448) พระราชธิดาลำดับที่ 8 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน.

ดู พระราชวังบางปะอินและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา

ลเอกหญิง ท่านผู้หญิง สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2519) มีนามเดิมว่า สุทิดา ติดใจ เป็นนายทหารบกหญิงชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรองผู้บัญชาการ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ (อัตรา พลเอกพิเศษ) และยังได้รับพระกรุณาให้เป็นราชองครักษ์เวรในพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ ท่านผู้หญิงสุทิดา สำเร็จการศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต จากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เมื่อ..

ดู พระราชวังบางปะอินและสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา

หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)

หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค) หลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ นามเดิม แจ๋ว เกิดในราชินิกุลบุนนาค เป็นบุตรเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) มารดาชื่อ มอญ นับเป็นราชินิกุลบุนนาค ชั้นที่ ๔ และวงศ์เฉกอะหมัด ชั้นที่ ๙ (สืบเชื้อสายจากเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)) เกิดเมื่อปี ๒๔๓๒ ถึงแก่กรรมเมื่อปี ๒๔๙.

ดู พระราชวังบางปะอินและหลวงวิจารณ์ภัณฑกิจ (แจ๋ว บุนนาค)

หอวิฑูรทัศนา

หอวิฑูรทัศนา หอวิฑูรทัศนา ตั้งอยู่ระหว่างพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรและพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นภายในพระราชวังบางปะอิน แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและหอวิฑูรทัศนา

หอเหมมณเฑียรเทวราช

หอเหมมณเฑียรเทวราช หอเหมมณเฑียรเทวราช หรือที่บางคนเรียกกันว่า "ศาลพระเจ้าปราสาททอง" เป็นปรางค์ศิลา จำลองแบบจากปรางค์ขอม ภายในประดิษฐานเทวรูปสมมุติแทนพระองค์พระเจ้าปราสาททอง ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ริมสระใต้ต้นโพธิ์ ภายในพระราชวังบางปะอิน.

ดู พระราชวังบางปะอินและหอเหมมณเฑียรเทวราช

อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์

อนุสาวรีย์ภายในพระราชวังบางปะอิน มี 2 แห่ง ได้แก่ อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง.

ดู พระราชวังบางปะอินและอนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ดู พระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

คุณพุ่ม

ณพุ่ม หรือที่รู้จักกันในนาม บุษบาท่าเรือจ้าง เป็นกวีหญิงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีความสำคัญในสมัยรัชกาลที่ 3 มีผลงานการประพันธ์คือ เพลงยาวสามชาย เพลงยาวบวงสรวงฉลองสระบางโขมด เพลงยาวเฉลิมพระเกียรติ และนิราศวังบางยี่ขัน.

ดู พระราชวังบางปะอินและคุณพุ่ม

แสตมป์ทั่วไป

แสตมป์ทั่วไปของสหรัฐอเมริกา มีภาพจอร์จ วอชิงตัน ออกใช้เมื่อปี พ.ศ. 2510 แสตมป์ทั่วไป (อังกฤษ definitive stamp) เป็นแสตมป์ที่วัตถุประสงค์ในการพิมพ์เพื่อใช้งาน แทนที่จะพิมพ์ขึ้นเพื่อการสะสมเหมือนแสตมป์ที่ระลึก ลักษณะของแสตมป์ทั่วไป มักมีหลายราคาครอบคลุมอัตราค่าไปรษณีย์ต่าง ๆ กัน มักทยอยพิมพ์และนำออกจำหน่ายต่อเนื่องกันหลายปี และมีการพิมพ์เพิ่มเติมเมื่อแสตมป์ที่มีอยู่ถูกใช้งานจนเหลือน้อย คำว่า definitive stamp เริ่มแพร่หลายช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อใช้แยกความแตกต่างจากแสตมป์ที่ระลึก สำหรับประเทศไทยแสตมป์ทั่วไปส่วนใหญ่เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในสมัยนั้น เรียกว่า แสตมป์พระบรมฉายาลักษณ.

ดู พระราชวังบางปะอินและแสตมป์ทั่วไป

โทรเลข

การส่งโทรเลขสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โทรเลข อดีตเรียก ตะแล็บแก๊บ (Telegraph) คือระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งข้อความจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เดิมส่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกันและอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ แต่ระยะหลังมีการใช้วิธีการส่งไร้สาย ที่เรียกว่า วิทยุโทรเลข (radio telegraph, wireless telegraph หรือ continuous wave ย่อว่า CW).

ดู พระราชวังบางปะอินและโทรเลข

เกาะเกร็ด

กาะเกร็ด เป็นเกาะแม่น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง และมีฐานะเป็นตำบลหนึ่งในท้องที่อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 4.2 ตารางกิโลเมตรหรือ 2,625 ไร่ เป็นที่อยู่ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่มีอาชีพปั้นเครื่องปั้นดินเผาเป็นส่วนใหญ่ เกาะเกร็ดเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อปี พ.ศ.

ดู พระราชวังบางปะอินและเกาะเกร็ด

เราสู้

ลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 44 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ดู พระราชวังบางปะอินและเราสู้

เรือนเจ้าจอมมารดาแส

เรือนเจ้าจอมมารดาแส เรือนเจ้าจอมมารดาแส ตั้งอยู่ในพระราชวังบางปะอิน เป็นเรือนที่พักของเจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตัวอาคารก่ออิฐถือปูน มี 2 ชั้น ชั้นบนมี 3 ห้องนอน 3 ห้องน้ำ แต่ละห้องมีประตูเข้าด้านหน้า เรือนเจ้าจอมมารดาแส ตั้งอยู่ระหว่างพระตำหนักสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีและเรือนเจ้าจอมเอี่ยม เอิบ อาบ เอื้อน และเจ้าจอมมารดาอ่อน หมวดหมู่:พระราชวังบางปะอิน.

ดู พระราชวังบางปะอินและเรือนเจ้าจอมมารดาแส

เจ้าจอมก๊กออ

'''แถวบน''': เจ้าจอมแก้ว เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมเอี่ยม '''แถวล่าง''': เจ้าจอมแส พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ เจ้าจอมเอิบ เจ้าจอมมารดาอ่อน พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา เจ้าจอมก๊กออ หรือ เจ้าจอมพงศ์ออ เป็นชื่อที่ใช้เรียกพระสนมเอกทั้งห้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีนามขึ้นต้นด้วยอักษร อ.

ดู พระราชวังบางปะอินและเจ้าจอมก๊กออ

เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค ป..(19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 - 29 มกราคม พ.ศ. 2512) เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประสูติพระราชธิดา 2 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา และยังมีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ อีก 2 พระองค์ เจ้าจอมมารดาอ่อน เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือนยี่ ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 19 กุมภาพัน..

ดู พระราชวังบางปะอินและเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5

้าจอม หม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5 เป็นหม่อมราชวงศ์คนแรก ในราชสกุล "ลดาวัลย์" เกิดเมื่อวันศุกร์ ที่ 30 ตุลาคม..

ดู พระราชวังบางปะอินและเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ดู พระราชวังบางปะอินและเจ้าดารารัศมี พระราชชายา

31 พฤษภาคม

วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.

ดู พระราชวังบางปะอินและ31 พฤษภาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ