โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

ดัชนี พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

ระราชพิธีกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee) เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ตามคติสากล พระราชพิธีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระองค์ทรงครองราชสมบัติ เป็นปีที่ 50 ใน พุทธศักราช 2538 และครบรอบ 50 ปีจริงในวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 ซึ่งถือเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีกาญจนาภิเษก และงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ระหว่างวันที่ 8-10,12,14,23 มิถุนายน,7พฤศจิกายน..

65 ความสัมพันธ์: บีโอไอแฟร์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531พระราชพิธีรัชดาภิเษก พ.ศ. 2514พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียมพระราชลัญจกรประจำรัชกาลกรมศิลปากรกระบวนพยุหยาตราชลมารคกาญจนาภิเษกการเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเสด็จออกมหาสมาคมในรัชกาลที่ 9มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามะหาดรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539รายชื่อผลงานเพลงของธงไชย แมคอินไตย์รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโกรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์วัดหมื่นพุทธเมตตาคุณารามวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนสถาบันพระบรมราชชนกสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมหอแก้วมุกดาหารอำเภออำเภอเฉลิมพระเกียรติจรัล มโนเพ็ชรจังหวัดนนทบุรีธงทอง จันทรางศุธงไชย แมคอินไตย์ถนนกาญจนาภิเษกถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ถนนอุทยานท้องสนามหลวงตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบต้นไม้ของพ่อประเทศไทยใน พ.ศ. 2539ป้อมพระจุลจอมเกล้านิติพงษ์ ห่อนาคโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรีโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)...โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนปัวโอฬาร พรหมใจเพชรกาญจนาภิเษกเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9เหรียญ 1 บาทเหรียญ 1 สตางค์เหรียญ 10 สตางค์เหรียญ 20 บาทเหรียญ 25 สตางค์เหรียญ 5 บาทเหรียญ 5 สตางค์เหรียญ 50 สตางค์7 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (15 มากกว่า) »

บีโอไอแฟร์

ีโอไอแฟร์ (BOI FAIR) เป็นมหกรรมแสดงนิทรรศการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย ตลอดจนเทคโนโลยีและนวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ และการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในอนาคต.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และบีโอไอแฟร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

''พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ณ เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2430'' (พ.ศ. 2430 - 2433) โดยวิลเลียม อีวาร์ต ล็อกฮาร์ต เหรียญเงินพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฯ มูลค่าสองฟลอริน (0.2 ปอนด์สเตอร์ลิง) พ.ศ. 2430 พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Golden Jubilee of Queen Victoria) จัดขึ้นในวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม 2535 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีและความปีติยินดี ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในระหว่าง วันที่ 4-7 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 รวมทั้งสิ้น 4 วัน รัฐบาลสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และประชาชนชาวไทยร่วมกันจัดพระราชพิธีนี้ขึ้น ดังปรากฏเป็นเหตุการณ์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

การทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุประทาน ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ 9 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยที่เคยทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เป็นเวลา 42 ปี 23 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีหมายกำหนดการจัดงานในระหว่างวันที่ 2, 3 และ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 รวมทั้งสิ้น 3 วัน พระราชพิธีนี้ รัฐบาลในสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และ ประชาชนชาวไทย ร่วมกันจัดขึ้น ดังปรากฏเป็นเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีรัชดาภิเษก พ.ศ. 2514

ระราชพิธีรัชดาภิเษก เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 25 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2514 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก ระหว่างวันที่ 8-10 มิถุนายน พุทธศักราช 2514 รวมทั้งสิ้น 3 วัน รัฐบาลในสมัยของจอมพล ถนอม กิตติขจร และประชาชนชาวไทยร่วมกันจัดพระราชพิธีนี้ขึ้น ดังปรากฏเป็นเหตุการณ์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระราชพิธีรัชดาภิเษก พ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม

ระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน เป็นพงศาวดารสยาม มีเนื้อหาเริ่มตั้งแต่แรกสร้างเมืองสวรรคโลกประชุมพงศาวดารภาคที่ 82, หน้า 1จนถึงพระเจ้ากษัตริย์ศึกขึ้นครองราชสมบัติกรุงเทพมหานคร และพระเจ้าปดุงโปรดให้วังหน้าผู้เป็นพระราชโอรสไปตียะไข่สำเร็จแล้วจึงยกทัพกลับกรุงอังวะในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชลัญจกรประจำรัชกาล

ระราชลัญจกรประจำรัชกาล เป็นตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆ ของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน เช่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และเอกสารสำคัญส่วนพระองค์ ที่ไม่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน พระราชลัญจกรนับเป็นเครื่องมงคลที่แสดงถึงอิสริยยศและพระบรมเดชานุภาพของพระมหากษัตร.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และพระราชลัญจกรประจำรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนพยุหยาตราชลมารค

กระบวนเรือ กระบวนพยุหยาตราชลมารค หรือ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เป็นกระบวนเสด็จพระราชดำเนินทางน้ำที่เป็นราชประเพณีไทยที่มีมาแต่โบราณ โดยมีหลักฐานชัดเจนตั้งแต่สมัยอยุธยา เรือในกระบวนมีการสลักโขนเรือเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย มีการจัดกระบวนหลายแบบ ที่รู้จักกันดีก็คือ "กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง" ดังปรากฏใน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตพรรณนากระบวนเรือ ประพันธ์โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เมื่อ พ.ศ. 2330 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยยึดถือตามแบบแผนเดิมสมัยอยุธยา ประเภทของการเห่เรือ สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ การเห่เรือหลวง (การเห่เรือในงานพระราชพิธี) และการเห่เรือเล่น (การเห่เรือเล่นของชาวบ้านในงานต่างๆ) ในปัจจุบันการเห่เรือยังคงอยู่เฉพาะ การเห่เรือหลวง ที่ใช้ในกระบวนพยุหยาตราชลมาร.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และกระบวนพยุหยาตราชลมารค · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนาภิเษก

กาญจนาภิเษก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล่นเรือใบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดการเล่นกีฬามาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เมื่อประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โปรดกีฬาหลายประเภท เช่น สกีน้ำแข็ง, ยิงปืน, กอล์ฟเล็ก, การแข่งขันรถเล็ก, เทนนิส, แบดมินตัน, เครื่องร่อน โดยทรงเล่นกีฬาเหล่านี้มาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ โดยทรงศึกษาข้อมูลของกีฬาแต่ละประเภทอย่างละเอียด และทรงฝึกฝนจนปฏิบัติได้ดี นับเป็นแบบอย่างที่ดีของนักกีฬา น่าสังเกตว่ากีฬาที่โปรด มักเป็นกีฬาที่ไม่ได้ใช้แต่พละกำลังเพียงอย่างเดียว คือ ต้องอาศัย ความรู้รอบตัวและเทคนิคไหวพริบ ผนวกกับความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในกีฬานั้น ๆ ซึ่งทรงพอพระทัยกับการเผชิญความท้าทายในเกมกีฬาเป็นอย่างมาก เช่น เทนนิส, เรือใบ เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเคารพกฎกติกาของการกีฬาที่ทรงเล่น และมักจะทรงเน้นย้ำให้นักกีฬาทั้งหลายมีวินัยตลอดเวลา ทรงให้ความสำคัญต่อการฝึกซ้อมเป็นอันมาก ทรงสนพระทัยกีฬาที่มีโอกาสได้ฝึกซ้อม ด้วยทรงเห็นว่าการจะเป็นนักกีฬาที่ดีนั้น ต้องให้ความสนใจในการฝึกซ้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับปรุงตนเอง มีประสบการณ์เพิ่มขึ้นถ้านักกีฬาคนใดไม่ฝึกซ้อมก็จะเป็นนักกีฬาที่ดีไม่ได้ แต่ด้วยพระราชภารกิจ อันมากมายของพระองค์ กีฬาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนั้น ส่วนมากจะทรงเป็นระยะๆ บางช่วง ด้วยไม่สะดวกที่จะทรงฝึกซ้อมเป็นประจำ นอกจากกีฬาแข่งขันแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังสนพระทัยในการออกกำลังพระวรกายเพื่อสุขภาพอีกด้วย เช่น วิ่งเหยาะ และเดินเร็ว การออกกำลังพระวรกายสม่ำเสมออย่างถูกหลักวิชาการ คือ มีการบันทึกพระชีพจร ความดันพระโลหิตทั้งก่อนและหลังการทรงออกกำลังพระวรกาย รวมทั้งทรงกระตุ้นให้เกิดความอบอุ่นแก่พระวรกายก่อนเริ่ม และผ่อนคลายความตึงเครียดของพระกล้ามเนื้อ หลังจากการออกกำลังพระวรกาย โดยทรงปฏิบัติเช่นนี้เป็นกิจวัตร เป็นแบบฉบับของนักกีฬาที่ดี ถึงแม้ในช่วงแปรพระราชฐานไปในที่ต่าง ๆ ในเวลากลางวันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะอุทิศเวลาเพื่อราษฎรของพระองค์ กว่าจะเสร็จสิ้นพระวรกายด้วยการทรงพระดำเนินแล้ว เป็นระยะทางนับเป็นหลายร้อยเมตร เพื่อให้พระวรกายของพระองค์แข็งแรง พร้อมที่จะเสด็จพระราชดำเนินไปในที่ต่าง ๆ เพื่อเยี่ยมเยียนราษฎรของพระองค์ได้เสมอ โดยพระราชทานพระราชดำรัสเกี่ยวกับการกีฬาไว้ว่า "การกีฬามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับชีวิตของแต่ละคนและชีวิตบ้านเมือง" พระราชดำรัสนี้แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธานในเรื่องการส่งเสริมการกีฬาว่าเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคคลและประเทศชาติ จึงทรงส่งเสริมกีฬาทุกประเภท พร้อมทั้งทรงกีฬามากมายหลายประเภทเช่นกัน.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และการเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การเสด็จออกมหาสมาคมในรัชกาลที่ 9

การเสด็จออกมหาสมาคม เป็นพระราชพิธีที่พระมหากษัตริย์เสด็จออกที่ประชุมใหญ่เพื่อการสำคัญ โดยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร มีการเสด็จออกมหาสมาคม ทั้งเป็นพระราชพิธีประจำปี และพระราชพิธีในโอกาสพิเศษ แต่ละครั้งมีขึ้นในสถานที่ต่าง ๆ อาทิ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณมหินทรพิมาน สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท มุขเด็จ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระที่นั่งองค์พิเศษ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ทั้งนี้ เพื่อพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา คณะทูตานุทูต ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ ตลอดจนพสกนิกรทุกหมู่เหล่า เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และการเสด็จออกมหาสมาคมในรัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (Walailak University; อักษรย่อ:มวล.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (Rajamangala University of Technology Lanna) เป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐ ได้รับการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขต ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยชื่อ "ราชมงคล" นั้น ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2533 พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ "พระมหาพิชัยมงกุฎ" และ "พระราชลัญจกร" ประจำพระองค์ ให้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภูมิภาคภาคเหนือของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอน 4 ระดับ คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนหรือธันวาคมเป็นประจำทุกปี.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

มะหาด

มะหาด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae ต้นกำเนิดจากภูมิภาคเอเชียใต้ นิยมปลูกเอาไว้ใช้ประโยชน์ทุกส่วนของต้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทราย, ดินร่วนปนทราย, ดินร่วน และ ดินเหนียว มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีมาก ชอบบริเวณที่มีความชื้นสูงและแสงแดดเข้าถึงได้น้อย มักขึ้นกระจายตามป่าดิบทั่วไป.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และมะหาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานเพลงของธงไชย แมคอินไตย์

ผลงานเพลงอัลบั้มแรกของธงไชย แมคอินไตย์ คือ "หาดทราย สายลม สองเรา" ปี 2529 ส่งผลให้เบิร์ดเป็นขวัญใจของคนไทยทุกเพศทุกวัย และมีผลงานต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันสามารถทำยอดขายอัลบั้มมากกว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของเอเชีย โดยเฉพาะอัลบั้ม "ชุดรับแขก" เป็นอัลบั้มที่ทำสถิติยอดจำหน่ายสูงสุดของไทย 5 ล้านตลับ(ซึ่งยังไม่นับรวมวีซีดี ดีวีดีบันทึกภาพคอนเสิร์ตเต็มรูปแบบในปีเดียวกัน) โดยผลงานในวงการเพลงถือเป็นงานหลักของเบิร์ดซึ่งได้รับตอบรับอย่างดีมาโดยตลอด อีกทั้งได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเทิดพระเกียรติ และเพลงพิเศษเนื่องในโอกาสสำคัญต่าง.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และรายชื่อผลงานเพลงของธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้เปลี่ยนมาเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์มีรายชื่อและลำดับเกียรติ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และรายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก

ลสำคัญของประเทศไทยที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ (ตัวเต็ม: 普頌皇恩寺, ตัวย่อ: 普頌皇恩寺, พินอิน: Pǔ sòng huáng ēn sì ผู่ซ่งหวางเอินสื้อ, ฮกเกี้ยน: โพ้ซงอ๋องอุนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: โพ้วซึงอ๊วงอึ๋นยี่) หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ 2 เป็นวัดมหายานในความอุปถัมภ์ของคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ที่ 4 ตำบลโสนลอย อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี บนพื้นที่ 12 ไร่เศษ จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และวัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดหมื่นพุทธเมตตาคุณาราม

วัดหมื่นพุทธเมตตาคุณาราม เป็นวัดมหายาน สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ บ้านป่าไร่ ตำบลท่าข้าวเปลือก (ถนนสายกิ่วพร้าว-บ้านปงน้อย) อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และวัดหมื่นพุทธเมตตาคุณาราม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการ

วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ(Kanchanapisek Samutprakan Technical College) เป็นหนึ่งใน 7 วิทยาลัยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

ลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเงินตราไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลรักษา (อนุรักษ์ จัดเก็บ จัดทำทะเบียน) ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน อันได้แก่ เครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเงินตราไทย ฯลฯ ให้ปลอดภัยอยู่ในสภาพที่ดีตามหลักการอนุรักษ์ และนำออกจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ให้คนไทยได้รับรู้ และเกิดความภาคภูมิใจในมรดกของชาติ รวมทั้งให้ชาวต่างชาติได้รู้จักศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ตั้งอยู่ภายในพระบรมมหาราชวัง บริเวณทางเข้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.00 น.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน

รานุกรมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสารานุกรมภาษาไทยจัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาบางส่วนเผยแพร่ในระบบออนไลน์ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำโดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน แต่ละเล่มรวบรวมเนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของเรื่องต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับ 3 ระดับความรู้ ให้แก่เด็กรุ่นเล็ก เด็กรุ่นกลาง และเด็กรุ่นใหญ่ รวมทั้งผู้ใหญ่ที่สนใจทั่วไป แต่ละเรื่องเริ่มต้นด้วยเนื้อหาของระดับเด็กรุ่นเล็ก ตามด้วยเนื้อหาของรุ่นกลางและรุ่นใหญ่ตามลำดับ เนื้อหาในแต่ละระดับพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดต่างกัน.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพระบรมราชชนก

ันพระบรมราชชนก เป็นสถาบันที่ผลิตบุคลากรด้านการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสาธารณสุข สืบสานพระปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์และสาธารณสุขไทย และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระมารดาแห่งการสาธารณสุข ก่อตั้งขึ้นโดยการรวมองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบุคลากรด้านการสาธารณสุขเข้าด้วยกัน เพื่อเอกภาพด้านนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ได้มีพระราชกฤษฏีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้จัดตั้งเป็น "สถาบันพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุข" ดูแลงานด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และสถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

นีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television ชื่อย่อ: DLTV) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เพื่อเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี บริหารงานโดย มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Distance Learning Foundation ชื่อย่อ: DLF) โดยจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ถ่ายทอดสดตามหลักสูตร อนุบาลศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา สายอาชีวศึกษา อุดมศึกษา ให้แก่โรงเรียนในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน จำนวน 15 ช่อง (ในชื่อ DLTV 1-15) รวมทั้ง การออกอากาศรายการเพื่อพัฒนาครู จำนวน 15 ช่อง (ในชื่อ DSTV Network 186-200) ปัจจุบันไม่ได้ถ่ายทอดสดการเรียนการสอนตามตารางสอนของชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม · ดูเพิ่มเติม »

หอแก้วมุกดาหาร

หอแก้วมุกดาหาร (Ho Kaeo Mukdahan) หรือหอแก้วมุกดาหารเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก คือ หอสังเกตการณ์ที่มีความสูง 65.50 เมตร สร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และหอแก้วมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

อำเภอเฉลิมพระเกียรติ เป็นอำเภอซึ่งได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอำเภอกรณีพิเศษ โดยไม่ผ่านการเป็นกิ่งอำเภอ มีการประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อ 5 ธันวาคม 2539 เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี โดยมีการตั้งชื่ออำเภอว่า อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ใน 5 จังหวัด ดังนี้.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และจรัล มโนเพ็ชร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

ธงไชย แมคอินไตย์

งไชย แมคอินไตย์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย ได้รับขนานนามว่าเป็นซูเปอร์สตาร์เมืองไทย แรกเข้าวงการบันเทิงเป็นนักแสดงสมทบ ต่อมาได้รับบทพระเอก โดยภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาที่สุดเรื่อง ด้วยรักคือรัก ส่วนละครที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของเขาคือบท "โกโบริ" ในละครคู่กรรม ด้านวงการเพลงซึ่งเป็นอาชีพหลักเขาเริ่มต้นจากการประกวดร้องเพลงของสยามกลการ และเป็นนักร้องในสังกัดบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) โดยเขามีอัลบั้มเพลงทั้งหมด 17 อัลบั้ม นอกจากผลงานประจำแล้ว เขาได้รับเกียรติให้ขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่สำคัญหลายบทเพลง และในช่วง 25 ปีที่ผ่านมามีคอนเสิร์ตใหญ่ โดยเฉพาะคอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 9 และ คอนเสิร์ตแบบเบิร์ดเบิร์ดโชว์ ครั้งที่ 10 สร้างปรากฏการณ์ยอดผู้ชมสูงสุดในประเทศไทย สำหรับบทบาทอื่น ๆ ของเขาในช่วงแรกของวงการบันเทิงเขาเป็นพิธีกรรายการถ่ายทอดสด 7 สีคอนเสิร์ต นอกจากนั้นเขายังเป็นนักพากย์ และผู้บรรยาย ชีวิตของธงไชยทุ่มเทให้กับการทำงานเป็นหลัก เขามีผู้จัดการ 2 คน ที่ดูแลเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน และมีเจ้าหน้าที่ของบริษัทแกรมมี่ช่วยทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ชีวิตส่วนตัวของเขาเป็นโสดและไม่พยายามออกไปไหน เขามี "ไร่อุดมสุข" ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่งตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้านความพอเพียง จากความกตัญญูของเขาภายหลังจากสูญเสียมารดา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประทานพระเมตตา รับเขาเป็นเสมือนบุตรบุญธรรม ธงไชยเป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในรอบ 30 ปี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย โดยมียอดจำหน่ายอัลบั้มทั้งหมดสูงสุดของประเทศไทย กว่า 25 ล้านชุด ติดระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย และเป็นศิลปินคนแรกของแกรมมี่ที่ทำยอดขายอัลบั้มเกินสองล้านตลับ และมีสตูดิโออัลบั้มเดี่ยวที่ล้านตลับมากที่สุด 7 ชุด โดยเฉพาะอัลบั้มที่ยอดจำหน่ายสูงสุดของเขาคืออัลบั้ม ชุดรับแขก ซึ่งขายได้มากกว่า 5 ล้านชุด จนสื่อบันเทิงต่างประเทศ นำโดยนิตยสาร เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ยกให้ธงไชยเป็นศิลปินนักร้องผู้ทรงอิทธิพลที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของประเทศไทย และเป็นระดับแนวหน้าของทวีปเอเชีย ธงไชยได้รับรางวัลต่าง ๆ จำนวนมาก รวมทั้งบิลบอร์ดวิวเออส์ชอยส์อะวอดส์ 1997 ณ สหรัฐ เป็นนักร้องจากทวีปเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลดังกล่าว เขาได้รับฉายา "ดาวค้างกรุ" ในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และธงไชย แมคอินไตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอุทยาน

นนอุทยาน ในปี พ.ศ. 2549 ถนนอุทยาน (Thanon Utthayan) หรือที่นิยมเรียกในชื่อเดิมว่า ถนนอักษะ เป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 ในเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ถึงถนนพุทธมณฑลสาย 4 ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีระยะทาง 3.98 กิโลเมตร ความกว้าง 90 เมตร พร้อมด้วยทัศนียภาพที่สวยงาม มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น คือ เสาโคมไฟรูปหงส์เรียงราง 2 ข้างทาง ที่มากถึง 979 ต้น และคูน้ำคั่นกลางความกว้าง 30 เมตร ที่มีน้ำพุเล่นระดับ 3 แห่ง จนได้ชื่อว่าเป็นถนนที่สวยที่สุดในประเทศไทย ถนนอุทยานหรือเดิมชื่อถนนอักษะ เป็นถนนที่สร้างมุ่งไปพุทธมณฑลซึ่งได้เริ่มก่อสร้างใน พ.ศ. 2498 สมัยที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีเพื่อเฉลิมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2500) โดยเริ่มดำเนินการเวนคืนที่ดินของราษฎรเพื่อสร้างถนนตั้งแต่ พ.ศ. 2494 แต่การก่อสร้างพุทธมณฑลและถนนอักษะได้หยุดชะงักไปเมื่อจอมพล ป.พิบูลสงคราม ถูกจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก่อรัฐประหารยึดอำนาจใน พ.ศ. 2500 ต่อมาในสมัยพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้เริ่มรื้อฟื้นโครการพุทธมณฑลขึ้นเนื่องจากใกล้การเฉลิมฉลองโอกาสที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปีใน พ.ศ. 2525 และเสร็จสมบูรณ์ในสมัยที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนถนนอักษะได้รับอนุมัติให้ลงมือก่อสร้างในสมัยที่นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โครงการก่อสร้างถนนอักษะเป็นโครงการหนึ่งที่กรุงเทพมหานครดำเนินการเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ใน พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสง่างามแก่พุทธมณฑลซึ่งเป็นสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ และอำนวยความสะดวกในพระราชพิธีที่พุทธมณฑล ใช้งบประมาณการก่อสร้าง 1,068,987,571 บาท (ถือเป็นถนนที่ใช้งบประมาณในการสร้างสูงที่สุดในประเทศไทยด้วยกรุงเทพมหานคร, แฟนพันธุ์แท้. เกมโชว์ทางช่อง 5: ศุกร์ที่ 5 เมษายน 2545) และเสร็จสมบูรณ์เปิดให้ประชาชนใช้ได้ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 สำหรับชื่อถนนอักษะซึ่งมาจากภาษาอังกฤษว่า "Axis" แปลว่า "แกนกลาง" นั้นเป็นคำที่ใช้เรียกหมายถึงประเทศฝ่ายอักษะ คือ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น ซึ่งทำสงครามกับฝ่ายพันธมิตร คือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่ 2 และรัฐบาลในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายอักษะ เมื่อสร้างถนนเสร็จแล้ว กรุงเทพมหานครได้ประสานงานกับกรมศิลปากรในเรื่องชื่อถนนอักษะ ซึ่งกรมศิลปากรได้แนะนำให้ใช้ชื่อว่า ถนนอักษะ ซึ่งแปลว่าแกนกลาง เนื่องจากเป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนพุทธมณฑลสาย 3 กับถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต่อมากรุงเทพมหานครได้ประสานงานกับกรมศิลปากรเพื่อขอพระราชทานชื่อถนนจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนว่า "ถนนอุทยาน" ซึ่งเป็นชื่อที่สัมพันธ์กับพุทธมณฑล ในเทศกาลสงกรานต์สมัยปัจจุบัน ถนนอุทยานรวมถึงถนนเลียบคลองทวีวัฒนาที่อยู่ใกล้เคียงกัน นิยมใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมและเล่นสาดน้ำเช่นเดียวกับถนนข้าวสารในเขตพระนครและถนนสีลมในเขตบางรัก แต่ในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และถนนอุทยาน · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ

ตราสัญลักษณ์งานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 ตราสัญลักษณ์ งานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 ออกแบบโดย นายพินิจ สุวรรณบุณย์ นายช่างกองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ในขณะนั้น) ประกอบด้วยรูปครุฑพ่าห์ ซึ่งหมายถึงรัฐบาลและปวงชนชาวไทย เทิดพระแสงจักร และตรี อันเป็นพระราชสัญลักษณ์ประจำพระบรมราชจักรีวงศ์ กลางวงจักร มีอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร และเลข 9 ประจำรัชกาลปัจจุบัน อยู่ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี สองข้างซ้ายและขวา มีรูปคชสีห์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแทนข้าราชการฝ่ายทหาร กับราชสีห์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแทนข้าราชการฝ่ายพลเรือน ประคองฉัตรเครื่องสูง 7 ชั้น สำหรับประกอบพระบรมราชอิสริยยศ สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า เบื้องล่างมีแพรแถบ จารึกอักษรข้อความว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐”.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ · ดูเพิ่มเติม »

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ

250px ตราสัญลักษณ์ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ออกแบบโดย นายนิรันดร์ ไกรสรรัตน์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานตราสัญลักษณ์ดังกล่าว (ซึ่งเป็นแบบที่ได้รับรางวัลที่ 1 ในการประกวดตราสัญลักษณ์ฯ โดยกรมศิลปากร) สำหรับใช้ในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ จากการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแบบโดยรัฐบาล เพื่อทรงเลือกแบบที่เหมาะสม ดังที่ปรากฏนี้.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้ของพ่อ

ลงต้นไม้ของพ่อ จัดทำขึ้นเพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเนื่องในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พุทธศักราช 2539.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และต้นไม้ของพ่อ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2539

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2539 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และประเทศไทยใน พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมพระจุลจอมเกล้า

ป้อมพระจุลจอมเกล้า หรือเรียกสั้นๆว่า "ป้อมพระจุล" เป็นป้อมปราการทางน้ำ ตั้งอยู่ที่ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ สร้างขึ้นเมื่อใด ไม่พบหลักฐานแน่ชัด แต่คาดว่าสร้างขึ้นในราวเดือน มีนาคม พ.ศ. 2427 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อป้องกันการรุกรานจากอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งเป็นชัยภูมิเหมาะสม หากมีเรือรบของข้าศึกบุกเข้ามาทางปากน้ำ ป้อมแห่งนี้สร้างเป็นป้อมปืนใหญ่แบบตะวันตก และได้ติดตั้งปืนใหญ่อาร์มสตรอง 152 มม.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และป้อมพระจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

นิติพงษ์ ห่อนาค

นิติพงษ์ ห่อนาค อดีตสมาชิกและหัวหน้าวงวงเฉลียง และนักแต่งเพลงชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานธุรกิจดนตรี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และผู้บริหารค่ายสหภาพดนตรี.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และนิติพงษ์ ห่อนาค · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

รงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ตั้งอยู่บริเวณท้ายพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี

รงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี เป็นหนึ่งใน 9 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)

รงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม) เป็นหนึ่งใน ๙ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย จากเว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีหนังสืออนุสรณ์ 24 ปี สวนกุหลาบนนท์ 2521-2545 30 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซุ้มประตูทางเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ประดับประดาด้วยไฟสวยงาม เนื่องในงาน “ราตรีกุหลาบนนท์”) ด้านหลังซุ้มประตูคือ อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปัว

รงเรียนปัว เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทโรงเรียนประจำอำเภอ จัดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 (แพร่-น่าน) ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 266 หมู่ 8 ถนนวรนคร ตำบลปัว อำเภอปัว จังหวัดน่าน เปิดทำการสอนตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และโรงเรียนปัว · ดูเพิ่มเติม »

โอฬาร พรหมใจ

อฬาร พรหมใจ (ชื่อเล่น: โอ้; เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักดนตรีและมือกีตาร์ หัวหน้าวงดิ โอฬาร โปรเจ็คต์ ได้รับการยอมรับให้เป็นมือกีตาร์ฝีมือดีและมีชื่อเสียงในระดับแถวหน้าคนหนึ่งของประเทศไทย โดยโอฬาร พรหมใจ เริ่มเล่นดนตรีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 และเคยร่วมงานกับวง วีไอพี ของแหลม มอริสันในช่วงที่วง วีไอพี กลับมาจากการทัวร์คอนเสิร์ตในกลุ่มประเทศแถบสแกนดิเนเวีย หลังจากที่วง วีไอพี ได้ยุบตัวลง โอฬาร พรหมใจ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกวงดนตรีในแนวเฮฟวี่เมทัลชื่อ โซดา โดยมี ปฐมพงศ์ สมบัติพิบูลย์ เป็นนักร้องนำ และมีผลงานเพลงกับค่ายแกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ 1 ชุด ต่อมาได้ชักชวนโป่ง ปฐมพงศ์ มาเป็นนักร้องนำวงดนตรีของตัวเองในชื่อ ดิ โอฬาร โปรเจ็คต์ และนับเป็นวงที่ทำให้โอฬาร พรหมใจ ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงมากที่สุด เมื่อโอฬาร หยุดวงThe O-larn Project ด้วยเหตุผลเพื่อความเหมาะสม...โป่ง ปฐมพงศ์ ไปก่อตั้งวงหิน เหล็ก ไฟ โอฬาร พรหมใจ ได้รับการยกย่องให้เป็นนักกีตาร์ฝีมือระดับชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของไทย เช่นเดียวกับแหลม มอริสัน, กิตติ กีตาร์ปืน,.อ้น ณ บางช้าง, ป๊อบ - จักรรินทร์ ดวงมณีรัตนชัย, หมู คาไลโดสโคป, ชัคกี้ ธัญญรัตน์, เล็ก คาราบาว, โอม - ชาตรี คงสุวรรณ เป็นผู้ที่เล่นดนตรีด้วยการพยายามเข้าใจถึงเนื้อหาและสาระของเพลงที่จะเล่น ด้วยการตีความของตัวเอง นอกจากนี้แล้ว ในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติครบรอบ 50 ปี โอฬาร พรหมใจ ก็ได้แต่งเพลงบรรเลงเนื่องในวโรกาสนี้ ชื่อ พลังและความตั้งใจ ถวายแด่พระองค์ท่าน เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ ซึ่งต่อมาเพลงนี้ได้รับรางวัลสีสันอะวอร์ดส์ สาขาเพลงบรรเลงยอดเยี่ยม ประจำปีอีกด้วย โอฬาร พรหมใจ ได้รับเกียรติ ในการเป็นผู้รับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้แก่ Squier ยี่ห้อของกีตาร์ไฟฟ้าในเครือของเฟนเดอร์ของสหรัฐอเมริกาอยู่หลายปีก่อนที่จะได้รับการผลิตกีตาร์รุ่นลายเซ็น ของตัวเอง ซึ่งมีวางจำหน่ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ซึ่งโอฬาร พรหมใจ ยังถือว่าเป็นมือกีตาร์คนแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน ในการผลิตกีตาร์รุ่นลายเซ็นของ Squier อีกด้วยและในปี2560 ทางFender Coporation ได้ผลิตกีตาร์Fender Stratocaster O-larn Signature ถือเป็นเกียรติประวัติของคนไทยและโอฬาร.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และโอฬาร พรหมใจ · ดูเพิ่มเติม »

เพชรกาญจนาภิเษก

รกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee Diamond) เป็นเพชรเจียระไนขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีขนาดใหญ่กว่าคูลลิแนน 1 หรืออีกชื่อว่า ดาวใหญ่แห่งแอฟริกา ซึ่งเป็นเป็นอดีตเพชรเจียระไนขนาดใหญ่ที่สุดในปี..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเพชรกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์

รือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เป็นหนึ่งในเรือพระที่นั่ง และพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็นเรือที่ถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก ในปัจจุบันจัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ปากคลองบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อ.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9

รือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เป็นเรือพระที่นั่งกิ่งประเภทเรือรูปสัตว์ หนึ่งในเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาส พระราชพิธีกาญจนาภิเษก แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 โดย กองทัพเรือ ร่วมกับ กรมศิลปากร ได้นำ โขนเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ที่สร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 และ รัชกาลที่ 4 มาเป็นต้นแบบ โดยกองทัพเรือ สร้างในส่วนที่เป็นโครงสร้างเรือ พาย และคัดฉาก ส่วนกรมศิลปากร ดำเนินการในงานที่เกี่ยวกับ ศิลปกรรมของเรือทั้งหม.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 1 บาท

หรียญ 1 บาท เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย แบ่งออกเป็นเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนที่ผลิตออกมาตามความต้องการใช้งานในระบบ ไม่มีข้อจำกัดเรื่องจำนวน และเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกที่ทำขึ้นจำนวนจำกัดเพื่อเป็นที่ระลึก แต่ยังสามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 1 บาทในชุดปัจจุบัน เป็นเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนรุ่นแรกในรัชกาลที่ 10 มีด้านหน้าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ส่วนด้านหลังเป็น อักษรพระปรมาภิไธย วปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ ออกใช้เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 1 บาท · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 1 สตางค์

หรียญ 1 สตางค์ เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย มีการผลิตมาใช้งานหลายรุ่นหลายสมั.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 1 สตางค์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 10 สตางค์

หรียญ 10 สตางค์ เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย มีการผลิตมาใช้งานหลายรุ่นหลายสมั.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 10 สตางค์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 20 บาท

เหรียญชนิดราคา 20 บาท เป็นเหรียญบาทที่มีในประเทศไทย แต่ไม่ได้เป็นเหรียญที่ใช้งานเป็นหลักของไทย ซึ่งเหรียญชนิดราคา 20 บาทนี้จะออกในรูปเหรียญกษาปณ์ที่ระลึก ตัวอย่างเช่น เนื่องในโอกาสพระราชพิธีต่างๆ เช่น พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปีกาญจนาภิเษก, พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 70 พรรษา, พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ, พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ และ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เป็นต้น หมวดหมู่:หน่วยเงินในประเทศไทย.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 20 บาท · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 25 สตางค์

หรียญ 25 สตางค์ หรือ เหรียญสลึง เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย มีการผลิตมาใช้งานหลายรุ่นหลายสมั.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 25 สตางค์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 5 บาท

หรียญ 5 บาท เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย ด้านหน้าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ด้านหลังเป็นอักษรพระปรมาภิไธย วปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ ออกใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 5 บาท · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 5 สตางค์

หรียญ 5 สตางค์ เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย มีการผลิตมาใช้งานหลายรุ่นหลายสมั.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 5 สตางค์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 50 สตางค์

หรียญ 50 สตางค์ เป็นเหรียญของสกุลเงินบาท ที่ใช้ในประเทศไทย มีการผลิตมาใช้งานหลายรุ่นหลายสมั.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และเหรียญ 50 สตางค์ · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539และ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พุทธศักราช 2539พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๓๙งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พุทธศักราช 2539ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปีตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปีเหรียญกาญจนาภิเษก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »