โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)

ดัชนี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)

มหาเสวกเอก พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) อดีตผู้บัญชาการกรมมหรสพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

15 ความสัมพันธ์: บ้านพิษณุโลกพระราชนิเวศน์มฤคทายวันพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวีพูนทรัพย์ ตราโมทมัณฑนา โมรากุลรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.วังเทเวศร์สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์หม่อมไกรสรท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)ท้าวหิรัญพนาสูรดุสิตธานีเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวาเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

บ้านพิษณุโลก

้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489 บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และบ้านพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

ระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานในฤดูร้อนของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวรรณวิมล วรวรรณ; ประสูติ: 28 ตุลาคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 7 เมษายน พ.ศ. 2494) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมอินทร์ วรวรรณ ณ อยุธยา เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นอดีตพระคู่หมั้นในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับการสถาปนาเป็น พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ทั้งนี้พระองค์เป็นเสือป่าหญิงคนแรกของประเทศไทยครูตุ๊เจ้.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พูนทรัพย์ ตราโมท

นางพูนทรัพย์ ตราโมท ภรรยาศิลปินแห่งชาติ มนตรี ตราโมท บุคคลสำคัญด้านนาฏศิลป์จากคณะละครของเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ที่มีชีวิตอยู่เป็นคนสุดท้าย และศิลปินรุ่นแรกของวงการละครวิทยุของประเทศไทย นางพูนทรัพย์ ตราโมท เกิดในสกุล "นาฏประเสริฐ" เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และพูนทรัพย์ ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑนา โมรากุล

มัณฑนา โมรากุล ปัจจุบันมีชื่อจริงว่า มัณฑนา เกียรติวงศ์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2466 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปีพุทธศักราช 2552 อดีตนักร้องหญิงคนแรกของวงดนตรีกรมโฆษณาการและนักร้องรุ่นแรกของวงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และมัณฑนา โมรากุล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

วังเทเวศร์

วังเทเวศร์ หรือ วังพลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร และทายาทในราชสกุลกิติยากร ตั้งอยู่บริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางทิศใต้ติดกับวังเทวะเวสม์ ทางทิศตะวันออกติดกับวัดนรนาถสุนทริการามพระตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระตำหนักใหญ่) ภายในวังเทเวศร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานที่ดินบริเวณป้อมหักกำลังดัสกรซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้ว สร้างพระตำหนักพระราชทาน รวมกับที่สวนอีก 2 แปลงที่ทรงซื้อไว้ และที่ดินฝ่ายเจ้าจอมมารดาเหม พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ซึ่งพระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ น้อมเกล้าฯ ถวายรวมเป็นอาณาบริเวณตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงบริเวณถนนกรุงเกษม ตำหนักในวังเทเวศร์ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และวังเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมไกรสร

หม่อมไกรสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไกรสร ต่อมามีพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงรักษ์รณเรศ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ทรงเป็นต้นราชสกุล พึ่งบุญ และ สกุล อนิรุทธเทว.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และหม่อมไกรสร · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) มีนามเดิมว่า แก้ว อภัยวงศ์ (เกิด: 5 มกราคม พ.ศ. 2396 — ถึงแก่อนิจกรรม: 15 กันยายน พ.ศ. 2473) บุตรีของพระสุพรรณพิศาล (กอง อภัยวงศ์) บุตรชายของเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน อภัยวงศ์) ผู้ว่าราชการจังหวัดพระตะบองคนแรก อนึ่งท้าวศรีสุนทรนาฏเป็นน้องสาวของเจ้าจอมมารดาเอี่ยมบุษบา พระชายาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (ซึ่งเจ้าจอมมารดาเอี่ยมบุษบาเป็นทวดในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ) ทั้งนี้ท้าวศรีสุนทรนาฏยังเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวหิรัญพนาสูร

ท้าวหิรัญพนาสูร หรือ ท้าวหิรัญฮู เป็นเทพเจ้าที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงนับถือเป็นเทพารักษ์ประจำพระอง.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และท้าวหิรัญพนาสูร · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิตธานี

มืองดุสิตธานี ดุสิตธานี เป็นเมืองจำลองรูปแบบระบอบประชาธิปไตย ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 บริเวณพระราชวังพญาไท ดุสิตธานีเป็นเมืองเล็ก ๆ มีเนื้อที่ 3 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณรอบพระที่นั่งอุดร ในพระราชวังดุสิต มีลักษณะเป็นเมืองเล็ก ๆ คล้ายเมืองตุ๊กตา มีขนาดพื้นที่ 1 ใน 20 เท่าของเมืองจริง ประกอบด้วย พระราชวัง ศาลารัฐบาล วัดวาอาราม สถานที่ราชการ โรงทหาร โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาดร้านค้า ธนาคาร โรงละคร ประมาณเกือบสองร้อยหลัง เพื่อเป็นแบบทดลองของการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยโปรดให้มีพระธรรมนูญการปกครองลักษณะนัคราภิบาล ซึ่งเปรียบลักษณะของเมือง มีพรรคการเมือง 2 พรรค การเลืองตั้งนัคราภิบาล หรือนายกเทศมนตรี(ตำแหน่งนี้ปัจจุบันเปรียบได้กับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน) และมีสภาการเมือง(หรือรัฐสภาในปัจจุบัน)แบบระบอบประชาธิปไตย ต่อมาดุสิตธานีได้โตขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่มีที่จะสร้างบ้านเรือน พอดีกับเวลาที่จะสร้างพระราชฐานใหม่ที่พระราชวังพญาไทจึงได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองทั้งเมืองไปตั้งที่บริเวณพระราชวังพญาไท เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2462 ในจำนวนบ้านเล็ก ๆ นั้น มีศาลาว่าการมณฑลดุสิตธานี(ปัจจุบันเทียบเท่ากับศาลากลางจังหวัด)และมีนาคาศาลา(เทียบได้กับศาลากลางบ้านหรือศาลากลางชุมชน) ซึ่งมีความหมายว่า ศาลาของประชาชน เท่ากับว่าเป็นที่ตั้งสภาจังหวัด รัชกาลที่ 6 ทรงเป็นนาคาแห่งดุสิตธานีผู้หนึ่ง ทรงใช้พระนามแฝงว่า นายราม ณ กรุงเทพ ทรงเป็นทนายและทรงเป็นมรรคนายกวัดพระบรมธาตุ ทรงเป็นพระราชมุนี เจ้าอาวาสวัดธรรมธิปไตย และทรงแสดงพระธรรมเทศนาจริง ๆ ด้วย นอกจากนี้ทรงให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกรณีพิพาทเรื่องที่ดิน.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และดุสิตธานี · ดูเพิ่มเติม »

เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

ันเอก เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เป็นบุตรชายของ พลเอก เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา และ หม่อมราชวงศ์หญิงวิมลโพยม (สวัสดิวัตน์) มีชื่อเล่นว่า "แซม" สืบตระกูลโดยเป็นหลานชายของพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านพิษณุโลก น้องชายของเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านนรสิงห์ โดยที่ตระกูลอนิรุทธเทวารับราชการทหารมาตั้งแต่รัชสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระยาอนิรุทธเทวาพระยาอนิรุทธเทวา ( หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ )

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »