โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)

ดัชนี พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)

ลตำรวจโท พระยาอธิกรณประกาศ เป็นอธิบดีกรมตำรวจคนที่ 2 ของประเทศไทย และต้นสกุลจาติกวณิช พระยาอธิกรณ์ประกาศ มีชื่อจริงว่าว่า หลุย จาติกวณิช (ชื่อเดิม: ซอ เทียนหลุย) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

13 ความสัมพันธ์: กรณ์ จาติกวณิชกษมา วรวรรณ ณ อยุธยารายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทยรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยสภากรรมการองคมนตรีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตทวี บุณยเกตุไกรศรี จาติกวณิชไปรษณียาคารเกษม จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และกรณ์ จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา

ณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา กรรมการกฤษฎีกาอดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมสามัญศึกษาคนสุดท้าย เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษา (กปช.) ที่ปรึกษาโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย

และนี่คือรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไท.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภากรรมการองคมนตรี

กรรมการองคมนตรี เป็นคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 40 คน ตั้งเป็น สภากรรมการองคมนตรี ทำหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมาย ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งองคมนตรี ขึ้นใหม่ทุกปีในวันที่ 4 เมษายน เนื่องในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ในขณะที่กฎหมายกำหนดให้องคมนตรี ดำรงตำแหน่งจนถึงสิ้นรัชกาล และมีกำหนดหลังจากนั้นอีก 6 เดือน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงมีองคมนตรีมากถึง 233 คน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้นสามคณะ ประกอบด้วย อภิรัฐมนตรีสภา เสนาบดีสภา และ สภากรรมการองคมนตรี โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติองคมนตรี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ซึ่งทรงตราขึ้นมาใช้บังคับแทน พระราชบัญญัติปรีวีเคาน์ซิล พุทธศักราช ๒๔๑๗ ประกอบด้วยกรรมการองคมนตรีจำนวน 40 คน ซึ่งจะทรงตั้งจากองคมนตรี มีหน้าที่ประชุมปรึกษาหารือ ถวายความเห็นเกี่ยวกับสวัสดิภาพแห่งบ้านเมืองและประชาชน โดยกำหนดให้กรรมการองคมนตรี อยู่ในตำแหน่งได้ครั้งละ 3 ปี หลังจากนั้นอาจจะทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งซ้ำอีกก็ได้ สภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีทั้งสิ้น 2 ชุด คือ ชุดที่หนึ่ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474 และชุดที่สอง ตั้งแต่ 1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และสภากรรมการองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

ทวี บุณยเกตุ

นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และทวี บุณยเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศรี จาติกวณิช

นายไกรศรี จาติกวณิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากร และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมสรรพากร เกิดวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 6 ในบุตรธิดา 8 คนของ พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช หรือ ซอเทียนหลุย) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และ องคมนตรี ในสมัยรัชกาลที่ 7 นายไกรศรี สมรสกับ นางรัมภา จาติกวณิช มีบุตรที่เข้าสู่วงการเมืองคือ นายกรณ์ จาติกวณิช รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายไกรศรีมีพี่ชายคนที่ 3 คือ นายเกษม จาติกวณิช หรือ "ซูเปอร์เค" อดีตผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) นายไกรศรีเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนอัสสัมชัญ มัธยมศึกษาตอนต้นที่ วชิราวุธวิทยาลัย และสำเร็จมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน โดยเป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี และ ดร.อำนวย วีรวรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาล พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ นายไกรศรี สำเร็จปริญญาโท ด้านการตลาด จาก มหาวิทยาลัยลองไอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา ต่อมาได้รับการทาบทามจาก ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ให้มาช่วยราชการที่กระทรวงการคลัง มีผลงานชิ้นแรก คือ การจัดตั้ง สำนักเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ซึ่งนายไกรสีห์ได้หวนกลับมาเป็น ผู้อำนวยการ ในเวลาต่อมา ระหว่างการรับราชการนายไกรศรีมีผลงานที่สำคัญ คือการเป็นประธานยกร่าง พระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จนผ่านมาเป็นกฎหมายในปี..

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และไกรศรี จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณียาคาร

ปรษณียาคาร ที่สร้างขึ้นใหม่ (ภาพเมื่อปี พ.ศ. 2554) ไปรษณียาคาร เดิมสะกดว่า ไปรสะนียาคาร เป็นอาคารที่ตั้งเดิมของกรมไปรษณีย์ และที่ทำการไปรษณีย์แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ปากคลองโอ่งอ่าง ฝั่งพระนคร อยู่ทางทิศใต้ของสะพานพุทธ ตึกไปรสะนียาคาร สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. 2414 เดิมเป็นบ้านของพระปรีชากลการ (สำอางค์ อมาตยกุล) อดีตเจ้าเมืองปราจีนบุรี ซึ่งต้องคดีข้อหา ฆ่าคนตายและทารุณกรรม แก่คนไทยที่เมืองกบินทร์บุรี พระยาปรีชากลการถูกประหารชีวิตเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 และถูกยึดทรัพย์ตกเป็นของแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกิจการไปรษณีย์ไทย เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีผู้สำเร็จราชการไปรษณีย์และโทรเลขพระองค์แรก ได้ใช้บ้านเดิมของพระปรีชากลการ เป็นที่ทำการ ใช้ชื่อเรียกว่า "ไปรสะนียาคาร" ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อาคารไปรษณีย์ยาคารเป็นสถานที่แห่งแรกที่ทางคณะราษฎรจะต้องทำการบุกยึด เนื่องจากเป็นสถานที่ ๆ เป็นชุมทางการสื่อสาร คือ โทรเลขและโทรศัพท์ เพื่อตัดระบบการสื่อสาร โดยกลุ่มคณะราษฎรสายพลเรือนที่นำโดย หลวงโกวิทอภัยวงศ์ (ควง อภัยวงศ์) และนายประยูร ภมรมนตรี เหตุเพราะรับราชการที่นี่ จึงรู้ถึงระบบการทำงานดี โดยที่มีคณะราษฎรสายทหารเรือคุ้มกันเพียงไม่กี่คน ซึ่งต้องทำการยึดและตัดการสื่อสารให้ได้ภายในเวลา 04.00 น. และต้องทำให้เสร็จก่อนเวลา 05.00 น. เพื่อมิให้ผู้คนสงสัย แม้คณะราษฎรสามารถกระทำการได้สำเร็จ แต่ทว่าก็มีเจ้าพนักงานคนหนึ่งหนีไปแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ ทางตำรวจโดย พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช) อธิบดีกรมตำรวจจึงทราบเรื่องจากเหตุนี้เอง จึงรุดเข้าวังบางขุนพรหมเพื่อถวายรายงานแด่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ผู้สำเร็จราชการ อาคารไปรษณียาคาร ถูกทุบทิ้งเมื่อ พ.ศ. 2525 เพื่อเปิดทางให้กับการก่อสร้างสะพานพระปกเกล้า ซึ่งเป็นสะพานคู่ขนานอยู่ทางทิศใต้ของสะพานพุทธ ปัจจุบันถูกสร้างขึ้นใหม่ตามแบบเดิม ในตำแหน่งใกล้เคียงกับที่ตั้งเดิม เพื่อใช้เป็นพิพิธภัณฑ์กิจการไปรษณีย์ไท.

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และไปรษณียาคาร · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จาติกวณิช

นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".

ใหม่!!: พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)และเกษม จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระยาอธิกรณ์ประกาศ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »