โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ดัชนี พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

33 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มนัสนิตย์ วณิกกุลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491รายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยรายนามเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2สภากรรมการองคมนตรีสภาผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475)สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครสุนทร หงส์ลดารมภ์อภิรัฐมนตรีสภาอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะธนาคารกรุงไทยคณะกรรมการราษฎรคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 14คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 19คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 20คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3ประเสริฐ รุจิรวงศ์ปรีดี พนมยงค์ไทยเชื้อสายจีนเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ9 มีนาคม

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มนัสนิตย์ วณิกกุล

ท่านผู้หญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล (สกุลเดิม: ศรีวิสารวาจา; 27 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 เมษายน พ.ศ. 2558) อดีตราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และอดีตเลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ โดยได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานานกว่า 60 ปี.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และมนัสนิตย์ วณิกกุล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491

รัฐประหาร 6 เมษายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย

และนี่คือรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไท.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

้านล่างนี้เป็นรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ

้านล่างนี้คือรายนามเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และรายนามเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภากรรมการองคมนตรี

กรรมการองคมนตรี เป็นคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 40 คน ตั้งเป็น สภากรรมการองคมนตรี ทำหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมาย ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งองคมนตรี ขึ้นใหม่ทุกปีในวันที่ 4 เมษายน เนื่องในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ในขณะที่กฎหมายกำหนดให้องคมนตรี ดำรงตำแหน่งจนถึงสิ้นรัชกาล และมีกำหนดหลังจากนั้นอีก 6 เดือน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงมีองคมนตรีมากถึง 233 คน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้นสามคณะ ประกอบด้วย อภิรัฐมนตรีสภา เสนาบดีสภา และ สภากรรมการองคมนตรี โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติองคมนตรี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ซึ่งทรงตราขึ้นมาใช้บังคับแทน พระราชบัญญัติปรีวีเคาน์ซิล พุทธศักราช ๒๔๑๗ ประกอบด้วยกรรมการองคมนตรีจำนวน 40 คน ซึ่งจะทรงตั้งจากองคมนตรี มีหน้าที่ประชุมปรึกษาหารือ ถวายความเห็นเกี่ยวกับสวัสดิภาพแห่งบ้านเมืองและประชาชน โดยกำหนดให้กรรมการองคมนตรี อยู่ในตำแหน่งได้ครั้งละ 3 ปี หลังจากนั้นอาจจะทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งซ้ำอีกก็ได้ สภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีทั้งสิ้น 2 ชุด คือ ชุดที่หนึ่ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474 และชุดที่สอง ตั้งแต่ 1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และสภากรรมการองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475)

ผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475) หรือ ผู้แทนราษฎรชั่วคราว (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2476).

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และสภาผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475) · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร หงส์ลดารมภ์

นทร หงส์ลดารมภ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 16 กันยายน พ.ศ. 2548) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และสุนทร หงส์ลดารมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิรัฐมนตรีสภา

อภิรัฐมนตรีสภา (Supreme Council of State of Siam) เป็นสภาที่ปรึกษาและนิติบัญญัติที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้น พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะตั้งสภาคล้ายกับคณะรัฐมนตรี ที่ซึ่งเจ้าหน้าที่ที่สำคัญที่สุดของรัฐจะประชุมเพื่อตัดสินใจในการงานของรัฐ สภาได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และอภิรัฐมนตรีสภา · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงไทย

นาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทบริการการเงินในประเทศไทยมีสำนักงานอยู่ที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เพียงแห่งเดียวในประเทศที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจในรูปแบบของสถาบันการเงินภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง และเป็นหนึ่งในห้าธนาคารขนาดใหญ่และมีจำนวนสาขาเป็นอันดับสองของประเทศไท.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และธนาคารกรุงไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการราษฎร

ณะกรรมการราษฎร (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) นับเป็นคณะรัฐมนตรีคณะแรกของประเทศสยาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติ ให้ใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 สภาผู้แทนราษฎรอันประกอบด้วย สมาชิกซึ่งคณะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารได้ตั้งขึ้น จำนวน 70 นาย ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม โดยที่ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน มาตรา 33 บัญญัติว่า "ให้สภาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้หนึ่งเป็นประธานกรรมการ และให้ผู้เป็นประธานนั้นเลือกสมาชิกในสภาอีก 14 นาย เพื่อเป็นกรรมการ การเลือกนี้เมื่อได้รับความเห็นชอบของสภาแล้ว ให้ถือว่าผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการของสภา" ในการนี้ ได้มีสมาชิกเสนอให้มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นประธานคณะกรรมการราษฎร โดยสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เลือก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ประธานคณะกรรมการราษฎรได้เสนอชื่อคณะกรรมการราษฎรและสภาได้อนุมัติ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ดังมีรายชื่อต่อไปนี้.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และคณะกรรมการราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 14

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 14 (31 มกราคม พ.ศ. 2489 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2489) พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 31 มกราคม..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 19

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 19 ของไทย (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นายควง อภัยวงศ์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 20

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 20 ของไทย (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 เมษายน พ.ศ. 2491) นายควง อภัยวงศ์ เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง ส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ รุจิรวงศ์

ลเอก พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ (4 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 19 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สมรสกับคุณหญิง น้อย รุจิรวง.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และประเสริฐ รุจิรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และไทยเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)และ9 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หุ่น ฮุนตระกูลพระยาศรีวิศาลวาจาพระยาศรีวิสารวาจาพระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล)เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »