โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)

ดัชนี พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)

ระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง) ได้รับพระราชทานนามสกุล บุญ-หลง (Boon-Long) ระหว่างดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพร.

11 ความสัมพันธ์: รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงสภาผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475)สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3หลวงแจ่มวิชาสอน (แจ่ม นิยมเหตุ)คณะกรรมการราษฎรคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยาแนบ พหลโยธินโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475)

ผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475) หรือ ผู้แทนราษฎรชั่วคราว (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2476).

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และสภาผู้แทนราษฎรไทย (ผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475) · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480) เป็นสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทย ได้มาจากการแต่งตั้งและเลือกตั้งโดยอ้อม สภาชุดแรกนี้อยู่ทำหน้าที่จนครบวาระ สภาพผู้แทนราษฎรไทยชุดถัดไปที่อยู่จนครบวาระโดยไม่ถูกยุบสภาหรือรัฐประหารคือ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 7 และ 21.

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี..

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 91 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 91 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้ลงโทษผู้ก่อให้เกิดการปกครองตามลัทธิคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

หลวงแจ่มวิชาสอน (แจ่ม นิยมเหตุ)

หลวงแจ่มวิชาสอน (แจ่ม นิยมเหตุ) ผู้คิดสูตรยาสีฟัน วิเศษนิยม ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ทิพนิยม สมรสกับ นางสาวผิน นิงสานนท์ บุตรสาว หลวงพินิจโภคากร เมื่อ..

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และหลวงแจ่มวิชาสอน (แจ่ม นิยมเหตุ) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการราษฎร

ณะกรรมการราษฎร (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) นับเป็นคณะรัฐมนตรีคณะแรกของประเทศสยาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติ ให้ใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 สภาผู้แทนราษฎรอันประกอบด้วย สมาชิกซึ่งคณะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารได้ตั้งขึ้น จำนวน 70 นาย ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม โดยที่ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน มาตรา 33 บัญญัติว่า "ให้สภาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้หนึ่งเป็นประธานกรรมการ และให้ผู้เป็นประธานนั้นเลือกสมาชิกในสภาอีก 14 นาย เพื่อเป็นกรรมการ การเลือกนี้เมื่อได้รับความเห็นชอบของสภาแล้ว ให้ถือว่าผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการของสภา" ในการนี้ ได้มีสมาชิกเสนอให้มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นประธานคณะกรรมการราษฎร โดยสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เลือก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ประธานคณะกรรมการราษฎรได้เสนอชื่อคณะกรรมการราษฎรและสภาได้อนุมัติ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ดังมีรายชื่อต่อไปนี้.

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และคณะกรรมการราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา

นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา ผู้ได้รับการยกย่องเป็น “บรมครูแห่งวิชากระบี่กระบอง” เคยดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

แนบ พหลโยธิน

แนบ พหลโยธิน แนบ พหลโยธิน อดีตนักการเมืองและหนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แนบ พหลโยธิน เป็นบุตรของ พลโท พระยาพหลโยธินรามินทรภักดี (นพ พหลโยธิน) บิดาเป็นพี่ชายของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) จบการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย (โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปัจจุบัน) จบการศึกษาเนติบัณฑิต ประเทศอังกฤษ ระหว่างการศึกษาอยู่ยังประเทศอังกฤษนั้น ได้ร่วมกับนักเรียนไทยที่ประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศสส่วนหนึ่ง ก่อตั้งคณะราษฎรขึ้นมา โดยที่แนบ ถือเป็นสมาชิกรุ่นแรก ที่มีด้วยกันทั้งหมด 7 คน ซึ่งนอกจากนายแนบแล้ว ยังประกอบด้วย ปรีดี พนมยงค์, ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ, จรูญ สิงหเสนี, ประยูร ภมรมนตรี, ร้อยโท ทัศนัย มิตรภักดี และตั้ว ลพานุกรม ในการประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 ถนนซอมเมอราร์ด กรุงปารีส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และแนบ พหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ. 2443) พระองค์ทรงกำหนดหลักสูตรแนวการสอนด้วยพระองค์เอง และเปิดสอนตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2444 มีนักเรียน 40 คน เป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรงไม่ขึ้นตรงต่อกระทรวงธรรมการสมัยนั้น หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระบรมวงศานุวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ร่วมกันวางแผนปรับปรุงโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่สำคัญยิ่งก็คือ พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารถาวรเป็นตึกทรงยุโรปสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic และทรงห่วงใยในเรื่องการก่อสร้างเป็นอย่างยิ่ง แม้ในสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ก็ต้องได้รับพระราชทาน บรมราชานุญาตทุกอย่าง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรปัจจุบันเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)และโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระยาประมวญวิชาพูล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »