เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)

ดัชนี พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)

ระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตกุล) (พ.ศ. 2362 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2439) เป็นขุนนางในสมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ที่มีความรู้ในเชิงช่าง สามารถซ่อมเครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้า มีความสามารถในวิชาช่างชุบโลหะ สามารถประดิษฐ์สร้างเครื่องกลึง พระยากระสาปนกิจโกศล เดิมชื่อ โหมด เกิดเมื่อวันอังคาร แรม 8 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ตรงกั..

สารบัญ

  1. 10 ความสัมพันธ์: พระยาอภัยรณฤทธิ์ (จอมถวิล อมาตยกุล)พระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน (แฉล้ม อมาตยกุล)พระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)กฎหมายตราสามดวงรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาสภาที่ปฤกษาราชการแผ่นดินหม่อมเหม็นหลุยส์ ลาร์นอดีปรีวีเคาน์ซิลเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

พระยาอภัยรณฤทธิ์ (จอมถวิล อมาตยกุล)

ระยาอภัยรณฤทธิ์ (จอมถวิล อมาตยกุล) เป็นบุตรของ พระยาธรรมสารนิติพิพิธภักดี (อธิบดีผู้พิพากษาศาลต่างประเทศ) กับคุณหญิงอิ่ม (ธิดา หลวงชาติสุรินทร) เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม..

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และพระยาอภัยรณฤทธิ์ (จอมถวิล อมาตยกุล)

พระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน (แฉล้ม อมาตยกุล)

ระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน (แฉล้ม อมาตยกุล) เจ้ากรมพระราชอุทยานสราญรมย์ ผู้ริเริ่มตั้งโรงไฟฟ้าและโรงน้ำแข็งในประเทศไทย (พ.ศ.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และพระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน (แฉล้ม อมาตยกุล)

พระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)

ระปรีชากลการ มีชื่อตัวว่า สำอาง อมาตยกุล (15 สิงหาคม พ.ศ. 2384 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422) ขุนนางชาวไทย สมรสกับสตรีลูกครึ่งอังกฤษ คือ แฟนนี่ น็อกซ์ ท่านถูกกล่าวหาว่า "ฆ่าคนตายและทารุณกรรม แก่คนไทยที่เมืองกบินทร์บุรี" โทมัส ยอร์ช น็อกซ์ ผู้เป็นพ่อตา ซึ่งเป็นกงสุลอังกฤษประจำประเทศไทย จึงได้ข่มขู่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และสมุหพระกลาโหม ว่าจะนำเรือรบอังกฤษมาข่มขู่ให้ปล่อยลูกเขยของตน แต่กลับไม่สำเร็จ และปิดท้ายด้วยการประหารพระปรีชากลการ เรื่องราวของพระปรีชากลการถูกแต่งเป็นนิยายเรื่อง Fanny & Regent of Siam ("แฟนนี่และผู้สำเร็จราชการแห่งสยาม") ซึ่งรจนาโดยอาร.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และพระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)

กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และกฎหมายตราสามดวง

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

นื้อหาในหน้านี้เป็นบัญชีรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาประเภทต่างๆ ตามที่ปรากฎหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงแต่รัชกาลปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสสริยาภรณ์สำหรับความดีความชอบเหรียญดุษฎีมาลา ปีมะเมีย จัตวาศก ศักราช 1244 และระยะที่พระราชทานตามพระราชบัญญัติเหรียญดุษฎีมาลา พุทธศักราช 2484; หมายเหต.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

สภาที่ปฤกษาราชการแผ่นดิน

ที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of State หรือ Supreme Council of the State) เป็นสภาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และสภาที่ปฤกษาราชการแผ่นดิน

หม่อมเหม็น

หม่อมเหม็น หรือ สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ กรมขุนกษัตรานุชิต หรือ เจ้าฟ้าเหม็น (17 กันยายน พ.ศ. 2322 — 13 กันยายน พ.ศ.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และหม่อมเหม็น

หลุยส์ ลาร์นอดี

ทหลวงลาร์นอดี แห่งฝรั่งเศส ณ พระราชวังฟองแตนโบล เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2404 โดยบาทหลวงลาร์นอดีได้ร่วมเดินทางกับคณะทูตชุดนี้ในฐานะล่าม หลุยส์ ลาร์นอดี หรือ บาทหลวง ลาร์นอดี (L' Abbé Larnaudie) (พ.ศ.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และหลุยส์ ลาร์นอดี

ปรีวีเคาน์ซิล

ปรีวีเคาน์ซิล หรือ สภาที่ปฤกษาในพระองค์ (privy council) เป็นสภาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และปรีวีเคาน์ซิล

เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเหม อมาตยกุล (21 กันยายน พ.ศ. 2407 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระองค์เจ้าชายหนึ่งพระองค์ (ไม่ประสูติเป็นพระองค์) และพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี ท่านเป็นผู้รักการดนตรี และได้สนิทสนมกับพระราชชายา เจ้าดารารัศมีเป็นพิเศษ เจ้าจอมมารดาเหมเป็นธิดาคนโตของพระยาธรรมสารนิติวิชิตภักดี (พลับ อมาตยกุล)และท่านขรัวยายแสง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่บ้านหน้าวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) เมื่อวันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 10 ปีชวด ตรงกับวันที่ 21 กันยายน..

ดู พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)และเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระยากระสาปนกิจโกศลพระยากระสาปน์กิจโกศลพระยากษาปนกิจโกศลโหมด อมาตกุล