สารบัญ
พระอสีติมหาสาวก
ระอสีติมหาสาวก คือ พระสาวกผู้ใหญ่ 80 องค์ของพระพุทธเจ้.
ดู พระมหากัจจายนะและพระอสีติมหาสาวก
วัดมังกรกมลาวาส
"ซำป้อหุกโจ้ว" ชื่อเรียกสามพระประธานประจำวัดมังกรกมลาวาส วัดมังกรกมลาวาส หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ (ตัวเต็ม: 龍蓮寺, ตัวย่อ: 龙莲寺, พินอิน: Lóng lián sì หลงเหลียนซื่อ, ฮกเกี้ยน: เล้งเหลียนซี่, สำเนียงแต้จิ๋ว: เล่งเน่ยยี่, สำเนียงกวางตุ้ง: หล่งลิ่นจี๋, สำเนียงฮากกา: หลุ่งเหลี่ยนซื้อ) เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ระหว่าง ซอยเจริญกรุง 19 และ 21 ในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นที่คุ้นเคยในหมู่ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนจากต่างประเทศ วัดนี้ บางคนเรียกว่า "วัดมังกร" เพราะคำว่า "เล่ง" หรือ "เล้ง" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว แปลว่ามังกร (คำว่า “เน่ย” แปลว่า ดอกบัวและคำว่า “ยี่” แปลว่า วัด) ชื่อวัดอย่างเป็นทางการคือ "วัดมังกรกมลาวาส" พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5.
ดู พระมหากัจจายนะและวัดมังกรกมลาวาส
สามก๊ก
มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..
อำเภอแม่แจ่ม
แม่แจ่ม (55px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดเชียงใหม.
ดู พระมหากัจจายนะและอำเภอแม่แจ่ม
เอตทัคคะ
อตทัคคะ หมายถึง ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ เป็นตำแหน่งที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้พระสาวกของพระองค์ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้มีความรู้ความสามารถเด่นกว่าท่านอื่น ๆ ในด้านนั้น ๆ และตำแหน่งเอตทัคคะแต่ละตำแหน่งทรงแต่งตั้งเพียงรูปเดียวท่านเดียวเท่านั้น ในแต่ละพุทธบริษัทแต่ละฝ.
เนตติฎีกา
นตติฎีกา เป็นคัมภีร์อธิบายเนื้อความและคำศัพท์ของคัมภีร์เนตติปกรณ์ จึงจัดอยู่ในกลุ่มเนตติปกรณ์ หรือเนตติบาลี ที่สืบทอดมาจากภาษิตของพระมหากัจจายนะที่กล่าวไว้ในสมัยพุทธกาล ต่อมาได้มีการรจนาคัมภีร์อธิบายความเพิ่มเติมเป็นลำดับ เริ่มจากคัมภีร์เนตติอรรถกา มาถึงคัมภีร์เนตติฎีกา และยังมีคัมภีร์อรรถาธิบายในลำดับต่อมาอีก ในภาษาไทยได้มีการแปลโดยโครงการปริวรรตอักษรขอมและอักษรโบราณท้องถิ่น มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ และฉบับแปลของพระคันธสาราภิวงศ์ แห่งวัดท่ามะโอ จังหวัดลำปาง.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระมหากัจจายนพระมหากัจจายนเถระพระสังกระจาย