โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระนางจามเทวี

ดัชนี พระนางจามเทวี

ระนางจามเทวี เป็นสตรีซึ่งปรากฏพระนามในเอกสารต่างๆ ซึ่งระบุว่าทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญชัย อันเป็นอาณาจักรโบราณในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำนานต่างๆ ที่กล่าวถึงพระองค์ระบุศักราชไว้ไม่ตรงกัน ปรากฏบันทึกและการสอบศักราชโดยบุคคลต่างๆ เช่น (คัดจากหนังสือ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2544).

34 ความสัมพันธ์: ชาวมอญบ่อเหล็กลองพ.ศ. 1203พญาญี่บาพระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยพระเมกุฏิสุทธิวงศ์รายชื่ออนุสาวรีย์และอนุสรณ์สถานในประเทศไทยรายชื่อผลงานละครของกันตนารายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายพระนามผู้ปกครองแคว้นหริภุญชัยรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปางวัดพระพุทธบาทตากผ้าวัดพระธาตุลำปางหลวงวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหารวัดพระธาตุดอยคำวัดพระธาตุดอยเวียงวัดพระธาตุเสด็จวัดรมณียารามวัดสะแล่งวัดจามเทวีสมเด็จพระราชินีนาถหอคอยเฉลิมพระเกียรติอาณาจักรหริภุญชัยอำเภอบ้านธิอำเภอลองอำเภอลี้อำเภอห้างฉัตรจังหวัดลพบุรีจังหวัดลำพูนจังหวัดตากจามเทวีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106แม่น้ำลพบุรีเวียงเจ็ดลิน

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

บ่อเหล็กลอง

อเหล็กลอง หรือ บ่อเหล็กเมืองลอง เป็นแหล่งสินแร่เหล็กตามธรรมชาติ ตั้งอยู่ระหว่างบ้านนาตุ้ม หมู่ที่ 2 และบ้านแม่ลอง หมู่ที่ 4 ตำบลบ่อเหล็กลอง อำเภอลอง จังหวัดแพร่ โดยแร่เหล็กเมืองลองยุคจารีตถือว่าเป็นเหล็กที่มีคุณภาพดี และสันนิษฐานว่านำไปใช้อย่างกว้างขวางในล้านนา กล่าวกันว่าบ่อเหล็กเมืองลองเป็นบ่อเหล็กที่ใช้ทำศาสตราวุธหรือที่เรียกว่า ดาบสรีกัญไชย ของกษัตริย์ล้านนา และมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าเหล็กจากแหล่งแร่เหล็กเมืองลองมีความแข็งแกร่ง ความศักดิ์สิทธิ์และอาถรรพ์ในตัว โดยจัดให้เหล็กเมืองลองอยู่ในโลหะธาตุตระกูลเดียวกับเหล็กไหล คือเป็นโคตรเหล็กไหล หรือเหล็กไหลงอก คือเหล็กที่แข็งตัวไปตามธรรมชาติแล้ว แต่สามารถงอกออกมาได้.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและบ่อเหล็กลอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1203

ทธศักราช 1203 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและพ.ศ. 1203 · ดูเพิ่มเติม »

พญาญี่บา

ญาญี่บา พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรหริภุญชัย ปกครองในช่วงปี พ.ศ. 1814 – พ.ศ. 1836 รวมระยะเวลาการครองราชย์ 22 ปี.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและพญาญี่บา · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย

ระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย เป็นพระพุทธรูปสำคัญของประเทศองค์หนึ่ง ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและพระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเมกุฏิสุทธิวงศ์

ระเป็นเจ้าแม่กุตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี, หน้า 91 (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) พระเมกุฏิสุทธิวงศ์ (พงศาวดารโยนก) พญาเมกุ หรือเจ้าขนานแม่กุประวัติศาสตร์ล้านนา, หน้า 178-179 ส่วนพม่าเรียกว่า ยูนบะหยิ่น (ယွန်းဘုရင်, Yun Bayin "กษัตริย์ของชาวโยน"), พระสังพม่าอ่านไทย, หน้า 162-163 หรือ พระสารพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1129 เป็นอดีตเจ้านายเมืองนาย และเป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้สืบเชื้อสายมาจากพญามังราย ภายหลังอาณาจักรล้านนาได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัยพระเจ้าบุเรงนอง พระเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นองค์ประกันในพม่าก่อนพิราลัยที่นั่นด้วยโรคบิด การพิราลัยด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็นนัตตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ในรูปลักษณ์ของนัตมีลักษณะคือ ประทับนั่งชันพระชานุขวา พระหัตถ์ขวาถือพระแสงดาบพาดพระอังสาเบื้องขวา และพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระชานุซ้.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออนุสาวรีย์และอนุสรณ์สถานในประเทศไทย

นี่คือ รายชื่ออนุสาวรีย์และอนุสรณ์สถานในประเทศไทย แบ่งตาม.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและรายชื่ออนุสาวรีย์และอนุสรณ์สถานในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานละครของกันตนา

ละครของกันตนา เป็นผลงานละครโทรทัศน์ของกันตนา ที่ออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2523 ถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและรายชื่อผลงานละครของกันตนา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองแคว้นหริภุญชัย

รายพระนามผู้ปกครองอาณาจักรหริภุญชัย โดยมีลำพูน เป็นเมืองหลวง หมวดหมู่:อาณาจักรหริภุญชัย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ไทย.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและรายพระนามผู้ปกครองแคว้นหริภุญชัย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง

้าผู้ครองนครลำปาง เป็นตำแหน่งที่เริ่มมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรหริภุญชัย โดยกษัตริย์พระองค์แรกของนครลำปางคือพระเจ้าอนันตยศ พระราชโอรสของพระนางจามเทวี พระเจ้าอนันตยศทรงสร้างนครลำปางและขึ้นครองเมืองเมื่อ..

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระพุทธบาทตากผ้า

วัดพระพุทธบาทตากผ้า เดิมเป็นวัดราษฎร์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม..

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดพระพุทธบาทตากผ้า · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุลำปางหลวง

วัดพระธาตุลำปางหลวง (100px) ตั้งอยู่ในเขตตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากตัวเมืองลำปางไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร วัดตั้งอยู่บนเนินสูง มีการจัดวางผังและส่วนประกอบของวัดสมบูรณ์แบบที่สุด มีสิ่งก่อสร้าง และสถาปัตยกรรมต่าง ๆ บริเวณพุทธาวาสประกอบด้วย องค์พระธาตุลำปางหลวง เป็นประธาน มีบันไดนาคนำขึ้นไปสู่ซุ้มประตูโขง ถัดซุ้มประตูโขงขึ้นไปเป็น วิหารหลวง บริเวณทิศเหนือขององค์พระธาตุมีวิหารบริวารตั้งอยู่คือ วิหารน้ำแต้ม และ วิหารต้นแก้ว ด้านตะวันตกขององค์พระธาตุประกอบด้วย วิหารละโว้ และ หอพระพุทธบาท ด้านใต้มี วิหารพระพุทธ และอุโบสถ ทั้งหมดนี้จะแวดล้อมด้วยแนวกำแพงแก้วทั้งสี่ด้าน นอกกำแพงแก้วด้านใต้มีประตูที่จะนำไปสู่เขตสังฆาวาส ซึ่งประกอบด้วยอาคาร หอพระไตรปิฎก กุฏิประดิษฐาน พระแก้วดอนเต้า อาคารพิพิธภัณฑ์และกุฏิสง.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดพระธาตุลำปางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร

วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร (180px) เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 55, ตอน 0 ง, 8 สิงหาคม 2481, หน้า 1476 ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลำพูน มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 28 ไร่ 3 งาน 26 ตารางว.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุดอยคำ

วัดพระธาตุดอยคำ เป็นวัดสำคัญในจังหวัดเชียงใหม่ อายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยคำ ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 10 กิโลเมตร วัดพระธาตุดอยคำมีความสูงจากระดับที่ราบเชียงใหม่ราว 140 เมตร และมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 465 เมตร วัดพระธาตุดอยคำมีลานชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์รอบเมืองเชียงใหม่ และยังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่าห้าร้อยปี.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดพระธาตุดอยคำ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุดอยเวียง

วัดพระธาตุดอยเวียง ตั้งอยู่บ้านดอยเวียง หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านธิ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน ห่างจากอำเภอบ้านธิ ประมาณ 7 กิโลเมตร บริเวณใกล้กับอ่างเก็บน้ำแม่ธิ มีเนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ และบนดอยเป็นที่ประดิษฐานเจดีย์เก่าแก่ซึ่งมีพระสารีริกธาตุบรรจุอยู่ สันนิษฐานว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. 1220 ในสมัยพระนางจามเทวี ตามตำนานจารึกในใบลานเล่าว่าขุนหลวงปาละวิจา มาตั้งเมืองที่นี่ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านและได้สร้างวัดไว้บนดอย ต่อมาถูกไฟป่าไหม้ลุกลาม ทำให้เหลือแต่เจดีย์และศาลาเล็ก ๆ หลังหนึ่ง วัดพระธาตุดอยเวียง เดิมชื่อว่า วัดดอยเวียง ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงชื่อวัดเป็น "วัดพระธาตุดอยเวียง" ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดพระธาตุดอยเวียง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุเสด็จ

วัดพระธาตุเสด็จ (100px)ห่างจากตัวเมืองตามเส้นทางลำปาง-งาว ประมาณ 19 กิโลเมตร แยกซ้ายกิโลเมตรที่ 17 ไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร ตำบลบ้านเสด็จ อำเภอเมืองลำปาง วัดพระธาตุเสด็จเป็นโบราณสถานอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดลำปาง มีตำนานกล่าวว่าสร้างขึ้นในสมัยพระนางจามเทวี อุโบสถและวิหารต่างๆ ซึ่งเป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ ได้รับการบูรณะใหม่ทั้งหมดแต่ยังคงสภาพศิลปะโบราณให้เห็นได้อยู่จนปัจจุบัน กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนไว้เป็นโบราณสถานของชาติแล้ว พุทธสถานที่สำคัญคือ องค์พระธาตุเสด็จ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เป็นเจดีย์แบบล้านนา ลักษณะคล้ายพระธาตุลำปางหลวงแต่องค์เล็กกว่า นอกจากนี้ยังมีวิหารใหญ่ เรียกว่า “วิหารกลาง” ประดิษฐานพระพุทธรูปสำริดปางลีลาองค์ใหญ่มีพุทธลักษณะงดงามนามว่า “หลวงพ่อห้ามญาติ” วิหารหลวง เรียกว่า “วิหารจามเทวี” ประดิษฐานพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสน และวิหารพระพุทธมีพระพุทธรูปชื่อ “พระเจ้าดำองค์อ้วน” เป็นพระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัย พระธาตุเสด็จ ส หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดพระธาตุเสด็จ · ดูเพิ่มเติม »

วัดรมณียาราม

วัดรมณียาราม เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ในตำบลต้นธง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดรมณียาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดสะแล่ง

วัดสะแล่ง หรือ วัดป่าสุคันธธรรมาราม ตั้งอยู่ที่ตำบลห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ เป็นวัดเก่าแก่สมัยเดียวกับวัดพระธาตุศรีดอนคำ และเป็นที่บรรจุพระธาตุพระอุระพระพุทธเจ้า พระอุโบสถเป็นทรงล้านนาประยุกต์ ประวัติความเป็นมาของวัดมีว่า วัดนี้สร้างในสมัยพระนางจามเทวี เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ มีโบราณวัตถุเป็นพระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยอาณาจักรทวารวดี จนถึงอยุธยาตอนปล.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดสะแล่ง · ดูเพิ่มเติม »

วัดจามเทวี

วัดจามเทวี หรือเดิมชื่อ วัดกู่กุด ตั้งอยู่บนถนนจามเทวี หมู่ 5 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและวัดจามเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

หอคอยเฉลิมพระเกียรติ

หอคอยเฉลิมพระเกียรติ เป็นหอคอยสำหรับชมทิวทัศน์ของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ ตำบลหนองบัว อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและหอคอยเฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหริภุญชัย

แผนที่อาณาจักรหริภุญชัยประมาณ พ.ศ. 1543-1643 (สีเขียว) อาณาจักรหริภุญชัย หรือ หริภุญไชย เป็นอาณาจักรมอญที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำนานจามเทวีวงศ์โบราณได้บันทึกไว้ว่า ฤๅษีวาสุเทพเป็นผู้สร้างเมืองหริภุญชัยขึ้นในปี พ.ศ. 1310 แล้วทูลเชิญพระนางจามเทวี ซึ่งเป็นเจ้าหญิงจากอาณาจักรละโว้ ขึ้นมาครองเมืองหริภุญชัย ในครั้งนั้นพระนางจามเทวีได้นำพระภิกษุ นักปราชญ์ และช่างศิลปะต่าง ๆ จากละโว้ขึ้นไปด้วยเป็นจำนวนมากราวหมื่นคน พระนางได้ทำนุบำรุงและก่อสร้างบ้านเมือง ทำให้เมืองหริภุญชัย (ลำพูน) นั้นเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ต่อมาพระนางได้สร้างเขลางค์นคร (ลำปาง) ขึ้นอีกเมืองหนึ่งให้เป็นเมืองสำคัญ สมัยนั้นปรากฏมีการใช้ภาษามอญโบราณในศิลาจารึกของหริภุญชัย มีหนังสือหมานซูของจีนสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญชัยไว้ว่าเป็น “อาณาจักรของสมเด็จพระราชินีนาถ” (女王國 หนี่ว์ หวัง กว๋อ) ต่อมา พ.ศ. 1824 พญามังรายมหาราชผู้สถาปนาอาณาจักรล้านนา ได้ยกกองทัพเข้ายึดเอาเมืองหริภุญชัยจากพญายีบาได้ ต่อจากนั้นอาณาจักรหริภุญชัยจึงสิ้นสุดลงหลังจากรุ่งเรืองมา 618 ปี มีพระมหากษัตริย์ครองเมือง 49 พระองค์ ปัจจุบัน โบราณสถานสำคัญของอาณาจักรหริภุญชัยคือพระธาตุหริภุญไชย ที่จังหวัดลำพูน ซึ่งเป็นบริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็นราชธานีในสมัยนั้น และยังมีเมืองโบราณเวียงมโน ตำบลหนองตอง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ โบราณสถานที่เวียงเกาะ บ้านสองแคว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และเวียงท่ากาน ที่ตำบลบ้านกลาง ต.สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการพบจารึกอักษรมอญโบราณ สมัยหริภุญไชย ราวพุทธศตวรรษที่ 17 จำนวน 7 หลัก ที่ลำพูน ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน บางหมู่บ้านของจังหวัดลำพูนนั้นพบว่า ยังมีคนพูดภาษามอญและอนุรักษ์วัฒนธรรมมอญอยู.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและอาณาจักรหริภุญชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านธิ

้านธิ (40px) เป็นอำเภอขนาดเล็ก อยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัดลำพูน แยกตัวออกจากอำเภอเมืองลำพูน มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน มีแหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์โบราณคดีที่น่าสนใจ ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยอีกด้วย อำเภอบ้านธิได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2533 โดยชื่อ "บ้านธิ" ตั้งขึ้นตามลำน้ำแม่ธิที่ไหลผ่านหมู่บ้านต่าง ๆ ของอำเภอนี้ สีประจำอำเภอคือสีชมพู.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและอำเภอบ้านธิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลอง

อำเภอลอง (25px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและอำเภอลอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลี้

ลี้ (20px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดลำพูน มีเนื้อที่เกือบครึ่งหนึ่งของจังหวัด เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน และยังมีโบราณสถานหลายแห่งน่าเที่ยวชม.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและอำเภอลี้ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้างฉัตร

ห้างฉัตร (50px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลำปาง เดิมชื่อว่า "อำเภอหางสัตว์" ต่อมาเปลี่ยนเป็น "ห้างฉัตร" ในปี..

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและอำเภอห้างฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

จามเทวี

มเทวี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและจามเทวี · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 สายดอนไชย–อุโมงค์ เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร มีแนวเส้นทางเริ่มจากทางแยกถนนพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1) อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง ผ่านอำเภอลี้ อำเภอบ้านโฮ่ง อำเภอเวียงหนองล่อง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน และตัดเข้าตัวเมืองเชียงใหม่ สิ้นสุดที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เส้นทางนี้เป็นเส้นทางลัดจากถนนพหลโยธิน ที่สามารถเชื่อมต่อไปยังสถานที่สำคัญ เช่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุทยานแห่งชาติออบหลวง โดยไม่ต้องผ่านตัวเมืองเชียงใหม่ และสามารถใช้เป็นเส้นทางเชื่อมต่อเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 108 เข้าสู่อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้โดยไม่ต้องเริ่มจากตัวเมืองเชียงใหม่ แต่ไม่เป็นที่นิยมนักเนื่องจากช่วงอำเภอเถิน ถึงอำเภอลี้ (รอยต่อระหว่างจังหวัดลำปางและจังหวัดลำพูน) เป็นทางแคบ ตัดขึ้นภูเขาสูง และคดเคี้ยวมาก จึงไม่เหมาะในการสัญจรในเวลากลางคืน โดยส่วนที่แคบและคดเคี้ยวนั้นคือส่วนที่ตัดผ่านอุทยานแห่งชาติดอยจง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 ช่วงจังหวัดลำพูนและเชียงใหม่นั้น มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์คือ มีต้นขี้เหล็กและต้นยางนาสูงใหญ่ปลูกเรียงรายตลอดสองข้างทางตั้งแต่ลำพูนจนถึงเชียงใหม่ จนเรียกกันว่าเป็น "ถนนสายต้นยาง" หรือ "ถนนต้นยาง".

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำลพบุรี

แม่น้ำลพบุรี เป็นลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำเจ้าพระยา ก่อนไหลไปรวมเข้ากับแม่น้ำป่าสัก มีความยาวทั้งหมด 85 กิโลเมตร บางแห่งว่ามีความยาว 95 กิโลเมตร บางแห่งว่า 305 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและแม่น้ำลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เวียงเจ็ดลิน

วียงเจ็ดลิน (80px) เป็นเวียง (เมือง) ขนาดเล็ก ตั้งอยู่บริเวณเชิงดอยสุเทพทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม่ เป็นเวียงที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ล้านนาภาพถ่ายทางอากาศของเวียงเจ็ดลิน คำว่า ลิน หมายถึง รางริน และ คำว่า “เจ็ดลิน” ก็หมายความถึง รางรินทั้งเจ็ด แต่จะหมายถึง มีรางรินอยู่ 7 แห่ง หรือว่า มีรางรินอยู่ทั้งหมด 7 ราง ก็จะต้องค้นหาหลักฐานกันต่อไป แต่บางตำราสันนิษฐานว่าในเวียงดังกล่าว มีแม่น้ำ หรือคลองส่งน้ำจำนวน 7.

ใหม่!!: พระนางจามเทวีและเวียงเจ็ดลิน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »