โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

ดัชนี พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

รรคแรงงาน (Labour Party) เป็น พรรคการเมืองกลาง-ซ้ายในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นหนึ่งในสามพรรคการเมืองใหญ่ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) ซึ่งเก่าแก่ที่สุดในสหราชอาณาจักร โดยเข้าควบรวมพรรคเสรีนิยมในช่วงต้นยุคปี..

35 ความสัมพันธ์: บริสตอลบิล มิจิเอะพรรคชาติสกอตพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)พรรคแรงงานพระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว ค.ศ. 2018พฤษภาคม พ.ศ. 2548กอร์ดอน บราวน์การโอนมาเป็นของรัฐการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558รัฐบาลเงารัฐสภาสหราชอาณาจักรวินสตัน เชอร์ชิลสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสภาขุนนางสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสแตนลีย์ บอลดวินสโตก-ออน-เทรนต์ฮาโรลด์ วิลสันความพิถีพิถัน (จิตวิทยาบุคลิกภาพ)ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สองคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่งปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริสแกเบรียลแรมเซย์ แมคโดนัลแอนโทนี มิงเกลลาโทนี แบลร์ไบรตันและโฮฟเจ. เค. โรว์ลิงเจมส์ คัลลาฮานเจเรมี คอร์บิน2 พฤษภาคม7 มิถุนายน

บริสตอล

ริสตอล เป็นเมืองที่อยู่ในทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ โดยมีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 433,100 คนกับประชากรในแถบชานเมืองอยู่ 1,070,000 คน เป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในอันดับ 6 ของอังกฤษและอันดับ 8 ของสหราชอาณาจักร โดยเมืองบริสตอลเป็นหนึ่งในเมืองหลักของอังกฤษตะวันตกเฉียงใต้ ใน ค.ศ. 1155 เมืองบริสตอลได้รับพระบรมราชานุญาต และใน ค.ศ. 1373 ได้สถานะเป็นเทศมณฑล ชื่อของเมืองบริสตอลเป็นภาษาอังกฤษเก่า หมายถึง ที่ซึ่งมีตะพาน เมืองนี้เคยเป็นเมืองท่ามากว่า 800 ปีแต่ตอนนี้เรือมีขนาดใหญ่กว่าเมื่อก่อนจึงย้ายเมืองท่าไปที่เมืองแอวันมอทแทน บริสตอล ในอดีตเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทาส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเมืองนี้ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง แต่ปัจจุปันได้มีโรงงานมากมายมาตั้งอยู่ที่เมืองนี้ และเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงคองคอร์ดก็ได้สร้างที่เมืองนี้.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

บิล มิจิเอะ

วิลเลียม มิจิเอะ (24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1935 – 22 กันยายน ค.ศ. 2017) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ เป็นสมาชิกพรรคแรงงาน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และบิล มิจิเอะ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติสกอต

พรรคชาติสกอต (Scottish National Party) เป็นพรรคการเมืองชาตินิยมสกอตและสังคม-ประชาธิปไตยในประเทศสกอตแลนด์ พรรคฯ สนับสนุนและรณรงค์เรียกร้องเอกราชของสกอตแลนด์ เป็นพรรคการเมืองใหญ่สุดอันดับสามตามสมาชิกภาพในสหราชอาณาจักร รองจากพรรคแรงงานและพรรคอนุรักษนิยม และเป็นพรรคใหญ่สุดในประเทศสกอตแลนด์ จำนวนสมาชิกของพรรคฯ มีมากกว่าสี่เท่าของจำนวนสมาชิกพรรคอนุรักษนิยมสกอต แรงงานสกอตและเสรีประชาธิปไตยสกอตรวมกัน ผู้นำพรรคฯ นิโคลา สเตอร์เจียน (Nicola Sturgeon) เป็นนายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์คนปัจจุบัน พรรคฯ ก่อตั้งในปี 2477 จากการวมพรรคชาติสกอตแลนด์ (National Party of Scotland) และพรรคชาวสกอต (Scottish Party) มีผู้แทนในรัฐสภาอย่างต่อเนื่องนับแต่วินนี อีวิง (Winnie Ewing) ชนะการเลือกตั้งซ่อมแฮมิลตันปี 2510 เมื่อมีรัฐสภาสกอตในปี 2542 พรรคฯ กลายเป็นพรรคการเมืองใหญ่สุดอันดับสอง โดยเป็นพรรคฝ่ายค้านอยู่สองสมัย พรรคฯ เถลิงอำนาจในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2550 ตั้งรัฐบาลเสียงข้างน้อย ก่อนชนะการเลือกตั้งปี 2554 หลังจากนั้น พรรคฯ ตั้งรัฐบาลเสียงข้างมากครั้งแรกของประเทศสกอตแลนด์ ในปี 2558 พรรคฯ เป็นพรรคการเมืองใหญ่สุดในแง่สมาชิกภาพ สมาชิกรัฐสภาสกอต สมาชิกรัฐสภาและสมาชิกสภาท้องถิ่น โดยมีสมาชิกกว่า 115,000 คน สมาชิกรัฐสภาสกอต 64 คน สมาชิกรัฐสภา 55 คนและสมาชิกสภาท้องถิ่น 424 คน คิดรวมเป็น 2% ของประชากรชาวสกอตทั้งหมด ปัจจุบัน พรรคฯ ยังมี 2 ที่นั่งในรัฐสภายุโรป ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดอะกรีน/พันธมิตรเสรียุโรป (Greens/EFA) พรรคฯ เป็นสมาชิกของพันธมิตรเสรียุโรป หมวดหมู่:พรรคการเมืองในประเทศสกอตแลนด์ หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2477 หมวดหมู่:เอกราชสกอต.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และพรรคชาติสกอต · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)

รรคอนุรักษนิยม (Conservative Party) หรือชื่อเดิมว่า พรรคอนุรักษนิยมและสหภาพนิยม คือพรรคการเมืองกลาง-ขวาในสหราชอาณาจักรที่ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของลัทธิอนุรักษนิยมและลัทธิการรวมชาติบริเตน ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักรโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในรัฐสภาจำนวน 330 คน สมาชิกสภาท้องถิ่นทั่วประเทศ 9,391 คน และเป็นพรรคการเมืองจากสหราชอาณาจักรที่มีที่นั่งในรัฐสภายุโรปมากที่สุดจำนวน 25 ที่นั่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรัฐบาลเสียงข้างมากในสภาสามัญชนโดยมีหัวหน้าพรรคคือนางเทเรซา เมย์ เป็นนายกรัฐมนตรี พรรคมักถูกเรียกขานว่า พรรคขุนนาง (Tory Party) หรือ พวกขุนนาง (Tories) พรรคอนุรักษนิยมก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงาน

รรคแรงงาน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และพรรคแรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว ค.ศ. 2018

ระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และพระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว ค.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และพฤษภาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ดอน บราวน์

มส์ กอร์ดอน บราวน์ (James Gordon Brown; 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นชาวสกอตแลนด์ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรและควบตำแหน่งลอร์ดแห่งสภาการคลัง, รัฐมนตรีการสวัสดิการสังคม และหัวหน้าพรรคแรงงาน ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในฐานะหัวหน้าพรรคแรงงานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลังในรัฐบาลของนายโทนี แบลร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และกอร์ดอน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

การโอนมาเป็นของรัฐ

การโอนมาเป็นของรัฐ (Nationalization หรือ nationalisation) คือกระบวนการแปลงทรัพย์สินของเอกชนมาเป็นของรัฐบาล โดยทำให้เป็นกรรมสิทธิ์ของรัฐบาลระดับชาติหรือรัฐhttp://www.merriam-webster.com/dictionary/nationalization ซึ่งมักจะหมายถึงการที่ทรัพย์สินถูกถ่ายโอนจากภาคเอกชนหรือหน่วยราชการระดับล่าง เช่น เทศบาล มาเป็นของหน่วยราชการระดับที่ใหญ่กว่าอย่างรัฐบาล การโอนมาเป็นของรัฐมีความหมายตรงข้ามกับการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน (privatization) การโอนมาเป็นของเทศบาล (municipalization) และการแปรรูปตลาดหลักทรัพย์ (demutualization) ทั้งนี้การถ่ายโอนทรัพย์สินของรัฐที่เคยแปรรูปเป็นของเอกชนไปแล้วแต่ภายหลังได้โอนกลับมาเป็นของรัฐอีกครั้งหนึ่งจะเรียกว่า การโอนกลับมาเป็นของรัฐ (renationalization หรือ renationalisation) ซึ่งอุตสาหกรรมที่มักจะตกเป็นเป้าของการโอนมาเป็นของรัฐได้แก่ การขนส่ง การสื่อสาร พลังงาน ธนาคาร และทรัพยากรธรรมชาติ รัฐอาจโอนทรัพย์สินกลับมาเป็นของตนโดยไม่จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ครอบครองรายก่อนหน้าก็ได้ ทั้งนี้การโอนดังกล่าวแตกต่างจากการกระจายทรัพย์สิน (property redistribution) ตรงที่รัฐยังคงเป็นเจ้าของและมีอำนาจควบคุมในทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ ในบางครั้งรัฐจะทำการโอนทรัพย์สินที่ยึดมาจากการทำผิดกฎหมายมาเป็นของตนได้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างคือในปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และการโอนมาเป็นของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเงา

รัฐบาลเงา (Shadow Government) หรือ คณะรัฐมนตรีเงา (Shadow Cabinet) คือกลุ่มนักการเมืองอาวุโสที่เป็นกระบอกเสียงของฝ่ายค้าน ซึ่งในระบบการเมืองอังกฤษที่เรียกว่า ระบบเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งอยู่ภายใต้การนำของผู้นำฝ่ายค้าน ที่ได้รวมตัวกันตั้งตนเป็น รัฐมนตรีเงา ประกบรัฐมนตรีตัวจริงของรัฐบาล และเมื่อฝ่ายพรรคฝ่ายค้านมีโอกาสได้เป็นรัฐบาล รัฐมนตรีเงามักได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ทำหน้าที่ความรับผิดชอบของรัฐมนตรีเงา คือการทำหน้าที่วิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลและรัฐมนตรีจริง การออกหรือการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวนโยบายทางเลือกต่าง ๆ ต่อสาธารณ.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และรัฐบาลเงา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และรัฐสภาสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร

มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี การประชุมสภาร่วมฯ จัดขึ้นที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับสภาขุนนาง (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรั..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สภาขุนนาง

นนาง (House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยขุนนางมีบรรดาศักดิ์จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับสภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และสภาขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สแตนลีย์ บอลดวิน

แตนลีย์ บอลดวิน เอิร์ลบอลดวินแห่งบิวดลีย์ (Stanley Baldwin, 1st Earl Baldwin of Bewdley) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรคอนุรักษนิยม เขาทำงานในรัฐบาลอังกฤษคาบเกี่ยวในช่วงเวลาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง และได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึงสามครั้ง และเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่ดำรงตำแหน่งในสามรัชกาล (พระเจ้าจอร์จที่ 5, พระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 และ พระเจ้าจอร์จที่ 6) เขาเข้าเป็นสมาชิกสภาสามัญชนใน..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และสแตนลีย์ บอลดวิน · ดูเพิ่มเติม »

สโตก-ออน-เทรนต์

ตก-ออน-เทรนต์ (Stoke-on-Trent,; มักจะย่อกันว่า สโตก) เป็นเมืองในสแตฟฟอร์ดเชอร์ และเป็นนครในสหราชอาณาจักร โดยสโตก-ออน-เทรนต์มีประชากรทั้งหมด 249,000 คน.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และสโตก-ออน-เทรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโรลด์ วิลสัน

มส์ ฮาโรลด์ วิลสัน บารอนวิลสันแห่งรีโว (James Harold Wilson, Baron Wilson of Rievaulx) (11 มีนาคม พ.ศ. 2459 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองพรรคลาเบอร์ชาวอังกฤษ เขาเคยเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ในช่วง..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และฮาโรลด์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ความพิถีพิถัน (จิตวิทยาบุคลิกภาพ)

วามพิถีพิถัน (Conscientiousness)) เป็นลักษณะบุคลิกภาพ (personality trait) ที่บุคคลแสดงความละเอียดลออ ความระมัดระวัง หรือความรอบคอบ เป็นลักษณะที่แสดงถึงความต้องการที่จะทำอะไรให้ดี คนที่พิถีพิถันจะมีประสิทธิภาพและมีระเบียบ เปรียบเทียบกับคนทำอะไรง่าย ๆ หรือไม่มีระเบียบ จะโน้มเอียงไปในการมีวินัย การทำตามหน้าที่ และการตั้งเป้าหมายเพื่อความสำเร็จ จะมีพฤติกรรมแบบวางแผนแทนที่จะทำอะไรแบบทันทีทันใด และโดยทั่วไปเป็นคนที่เชื่อถือไว้ใจได้ เป็นลักษณะที่มักจะแสดงออกเป็นความเรียบร้อย การทำอะไรอย่างเป็นระบบ ความระมัดระวัง และความละเอียดรอบคอบ ความพิถีพิถันเป็นลักษณะหนึ่งในลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือที่เรียกว่าแบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (Five Factor) คนที่พิถีพิถันมักจะขยันทำงานและเชื่อถือได้ และมักจะเป็นคนทำตามกฎระเบียบประเพณีด้วย แต่ถ้าเป็นอย่างนี้อย่างสุด ๆ ก็อาจจะเป็นคนบ้างาน เป็นคนทุกอย่างต้องเพอร์เฝ็กต์ และเป็นคนย้ำคิดย้ำทำ โดยเปรียบเทียบ คนที่ไม่พิถีพิถันมักจะเป็นคนง่าย ๆ ไม่มีเป้าหมาย และไม่มีแรงจูงใจจะทำอะไรให้สำเร็จ และมีโอกาสที่จะมีพฤติกรรมต่อต้านสังคมและก่ออาชญากรรม.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และความพิถีพิถัน (จิตวิทยาบุคลิกภาพ) · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สอง

ณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สอง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2017 หลังจากที่ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานพระราชวโรกาสให้ เทเรซา เมย์ เข้าเฝ้าในฐานะหัวหน้าพรรคที่มีคะแนนเสียเป็นอันดับที่หนึ่งใน การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2560 จัดตั้งรัฐบาล โดยผลการเลือกตั้งครั้ง ไม่มีพรรคใดได้คะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง (326 ที่นั่ง) ได้ ทำให้เกิดวิกฤตสภาแขวน (Hung Parliment) โดยในวันที่ 9 มิถุนายน 2017 เมย์ประกาศที่จะจัดตั้งรัฐบาล โดยเป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย โดยมีเสียงสนับสนุนจาก พรรคสหภาพประชาธิปไตย โดยได้มีการหารือนอกรอบซึ่งทั้งสองพรรคเห็นด้วยในหลักการต่าง.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่ง

ณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่ง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2016 หลังจากที่ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานพระราชวโรกาสให้ เทเรซา เมย์ เข้าเฝ้าในฐานะหัวหน้าพรรคอนุรักษ์นิยมคนใหม่ เพื่อจัดตั้งรัฐบาล หลังจากที่ เดวิด แคเมอรอน ประกาศลาออกจากตำแหน่ง เพื่อรับผิดชอบ จาก ผลประชามติของสหราชอาณาจักรที่ต้องการแยกตัวจากสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริส

ปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริส (12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1938 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2018) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคอนุรักษนิยม จากเมืองลีโอมินซ์เตอร์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริส · ดูเพิ่มเติม »

แกเบรียล

หลุยส์ซา แกเบรียล บ็อบ (Louisa Gabrielle Bobb) (เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2513) เป็นศิลปินนักร้องหญิงชาวอังกฤษ ที่มียอดการขายในระดับทองคำขาว และเคยได้รับรางวัลบริตอะวอร์ดมาแล้ว และชื่อในวงการเพลงของเธอคือ แกเบรียล (Gabrielle) แกเบรียลเกิดที่เมืองแฮคนี่ย์ ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เธอปรากฏตัวครั้งแรกด้วยภาพลักษณ์ที่แหวกแนว คือไว้ผมดัดหยิกสั้นและมักปิดตาข้างหนึ่งด้วยผ้าคาดตาสีดำแบบโจรสลัด (ซึ่งจริงๆแล้วเธอไม่ได้ตาบอด แต่มีปัญหาเกี่ยวกับหนังตาตกและเปลือกตาหลบลงข้างหนึ่ง) เธอเปิดตัวด้วยซิงเกิลแรกที่มีชื่อว่า "ดรีมส์" ซึ่งสามารถขึ้นสู่อันดับ 1 ของ ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร (UK Singles Chart) เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2536 ส่วนซิงเกิลที่โดดเด่นอื่นๆ เช่นเพลง "โกอิงโนแวร์", "กิฟมีอะลิตเติลมอร์ไทม์", "วอล์กออนบาย" และ "อิฟยูเอเวอร์" ซึ่งเพลงนี้ได้ร้องร่วมกับนักร้องกลุ่มบอยแบนด์ อีสต์ เซเวนทีน อัลบั้มเต็มอัลบั้มแรกของเธอชื่อ "ไฟด์ยัวร์เวย์" หลังจากห่างหายไปจากวงการเพลงไม่กี่ปี แกเบรียลก็กลับมาอย่างงดงามด้วยซิงเกิล "ไรซ์" ซึ่งเป็นซิงเกิลที่ 2 ของเธอที่ขึ้นสู่อันดับ 1 ใน ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร ได้อีกครั้งในปี พ.ศ. 2543 และอัลบั้มที่ใช้ชื่อเดียวกันนี้ ก็สามารถขึ้นสู่อันดับสูงสุดใน ชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักร (UK Albums Chart) เป็นเวลา 3 สัปดาห์ หลังจากนั้นเธอก็ประสบความสำเร็จกับเพลง "เอาต์ออฟรีช" ซึ่งเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "บันทึกรักพลิกล็อก" (Bridget Jones's Diary) เพลงนี้ขึ้นสู่อันดับที่ 4 ใน ชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร และมีผลงานอัลบั้มรวมเพลง ดรีมส์แคนคัมทรู, เกรเทสฮิตส์ ชุดที่ 1 ซึ่งวางจำนายในช่วงปี พ.ศ. 2544 แกเบรียลเคยได้รับรางวัลจาก บริตอะวอดส์ ถึงสองครั้ง โดยครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2537 คือสำหรับศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม (British Breakthrough Act) และครั้งที่สองเมื่อปี พ.ศ. 2540 สำหรับศิลปินหญิงยอดเยี่ยม (Best British Female).

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และแกเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

แรมเซย์ แมคโดนัล

มส์ แรมเซย์ แมคโดนัล (อังกฤษ: James Ramsay MacDonald; 12 ตุลาคม พ.ศ. 2409 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480) เป็นนักการเมืองชาวสกอตและเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนแรกจากพรรคแรงงาน (Labour Party) สองสมัยคือ ใน พ.ศ. 2467 และระหว่าง พ.ศ. 2472 - พ.ศ. 2474 ทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลแห่งชาติระหว่าง..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และแรมเซย์ แมคโดนัล · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนี มิงเกลลา

แอนโทนี มิงเกลลา (Anthony Minghella) (6 มกราคม ค.ศ. 1954 – 18 มีนาคม ค.ศ. 2008) เป็นผู้กำกับผู้ได้รับรางวัลออสการ์คนสำคัญของอังกฤษ มิงเกลลาเป็นประธานกรรมการสถาบันภาพยนตร์อังกฤษ (British Film Institute) ระหว่างปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และแอนโทนี มิงเกลลา · ดูเพิ่มเติม »

โทนี แบลร์

แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) และเอาชนะนายจอห์น เมเจอร์ (John Major) ของพรรคอนุรักษนิยม และเป็นหัวหน้าพรรคแรงงานคนเดียวที่สามารถชนะการเลือกตั้งได้ 3 สมัยติดต่อกัน.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และโทนี แบลร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไบรตันและโฮฟ

รตันและโฮฟ (อังกฤษ:Brighton and Hove, เสียงอ่าน /ˈbraɪtən ən ˈhoʊv/) เป็นเมืองที่มีฐานะเป็นนครในสหราชอาณาจักร อยู่ภายในเทศมณฑลอีสต์ซัสเซกซ์ ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ของประเทศอังกฤษ โดยถูกยกให้เป็นพื้นที่ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของอังกฤษในด้านแหล่งท่องเที่ยวริมฝั่งชายทะเล.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และไบรตันและโฮฟ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และเจ. เค. โรว์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คัลลาฮาน

ลโอนาร์ด เจมส์ คัลลาฮาน บารอนคัลลาฮานแห่งคาร์ดิฟฟ์ (Leonard James Callaghan, Baron Callaghan of Cardiff) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และเจมส์ คัลลาฮาน · ดูเพิ่มเติม »

เจเรมี คอร์บิน

รมี คอร์บิน เจเรมี เบอร์นาร์ด คอร์บิน (Jeremy Bernard Corbyn) เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และเจเรมี คอร์บิน · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)และ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Labour Partyพรรคแรงงานสหราชอาณาจักร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »