โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรรคสหประชาไทย

ดัชนี พรรคสหประชาไทย

รรคสหประชาไทย (ตัวย่อ: ส.ป.ท.) พรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทยที่เคยเป็นพรรคที่ชนะการเลือกตั้งและเป็นพรรคที่เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลก่อตั้งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม..

92 ความสัมพันธ์: บันเทิง อับดุลบุตรบุญส่ง สมใจบุญเลิศ เลิศปรีชาพรรคสามัคคีธรรมพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511พจน์ สารสินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535ญาติ ไหวดีมาลัย หุวะนันทน์ยศ อินทรโกมาลย์สุตรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยลัทธิอำนาจนิยมศิริ สิริโยธินสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10สมศาสตร์ รัตนสัคสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาทสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงครามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคายสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี...สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทราสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาสสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์สวัสดิ์ คำประกอบสันติ์ เทพมณีสงกรานต์ อุดมสิทธิ์สง่า กิตติขจรอุดมศักดิ์ ทั่งทองอุดร ตันติสุนทรถนอม กิตติขจรทวี จุลละทรัพย์ทวี แรงขำขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)ประชุม รัตนเพียรประภาส จารุเสถียรประมวล กุลมาตย์ประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประจวบ ชนะภัยปรีดา พัฒนถาบุตรปัญจะ เกสรทองปิยะ อังกินันทน์น้อม อุปรมัยเชื้อ ทิพย์มณี ขยายดัชนี (42 มากกว่า) »

บันเทิง อับดุลบุตร

นายบันเทิง อับดุลบุตร (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและบันเทิง อับดุลบุตร · ดูเพิ่มเติม »

บุญส่ง สมใจ

นายบุญส่ง สมใจ (11 กันยายน พ.ศ. 2472 - ???) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี 9 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและบุญส่ง สมใจ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ เลิศปรีชา

ันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 5 สมัย และอดีตเลขาธิการพรรคธรรมสังคม.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและบุญเลิศ เลิศปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสามัคคีธรรม

รรคสามัคคีธรรม (Justice Unity Party) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 เป็นลำดับที่ 30/2535 เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2535 ในช่วงก่อนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535 มีการรวบรวมนักการเมืองจากหลายพรรค และมีบุคคลในพรรคที่ใกล้ชิดกับคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. โดยมีนายณรงค์ วงศ์วรรณ อดีตหัวหน้าพรรครวมไทย และพรรคเอกภาพ เป็นหัวหน้าพรรค และ นาวาอากาศตรีฐิติ นาครทรรพ บิดาของ นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ เป็นเลขาธิการพรรค พรรคสามัคคีธรรม ได้ประกาศนโยบายของพรรคไว้ว่า "จะพัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีความมั่นคงทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพื่อความผาสุกของประชาชนโดยถ้วนหน้า ทั้งนี้ โดยอาศัยวิธีการตามหลักการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข".

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและพรรคสามัคคีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511

ระราชบัญญัติพรรคการเมือง..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและพจน์ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

ญาติ ไหวดี

นายญาติ ไหวดี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2455 - พ.ศ. 2534) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิบูลสงคราม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ รวม 7 สมัย และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคสังคมก้าวหน้.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและญาติ ไหวดี · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย หุวะนันทน์

ตราจารย์ มาลัย หุวะนันทน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและมาลัย หุวะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ยศ อินทรโกมาลย์สุต

นายยศ อินทรโกมาลย์สุต เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์ ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 5 สมัย ยศ อินทรโกมาลย์สุต มีบุตรชายเป็นนักการเมืองคนหนึ่งคือ มานะศักดิ์ อินทรโกมาลย์สุต อดีต..กรุงเทพมหานคร และมีหลานชายคือ ชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต อดีต..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและยศ อินทรโกมาลย์สุต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 8 ซี่งได้มีรัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 มีนาย ทวี บุณยเกตุ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการโดยมีทั้งสิ้น 183 มาตรา ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงโดยการปฏิวัติตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย

รายชื่อพรรคการเมืองไทย ปัจจุบันมีพรรคการเมืองในประเทศไทยทั้งหมด 69 พรรคที่จดทะเบียนและยังมีสถานะเป็นพรรคการเมืองอยู่ ณ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 นอกเหนือจากนั้นเป็นพรรคที่ยกเลิกการดำเนินงาน หรือยุบเพื่อรวมกับพรรคอื่น หรือถูกสั่งให้ยุบโดยคำวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและรายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอำนาจนิยม

อำนาจนิยม (authoritarianism) เป็นรูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมซึ่งมีลักษณะของการอ่อนน้อมต่ออำนาจหน้าที่ ตามปกติมักตรงข้ามกับปัจเจกนิยมและอิสรนิยม ในทางการเมือง รัฐบาลอำนาจเป็นรัฐบาลซึ่งอำนาจหน้าที่ทางการเมืองกระจุกตัวอยู่กับนักการเมืองกลุ่มเล็ก อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ อำนาจนิยมมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที่จัดได้ว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น ข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา นำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายประเทศจำนวนหนึ่งที่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดระบอบประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏมากที่สุดคือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107) ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคต.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและลัทธิอำนาจนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ศิริ สิริโยธิน

ลตรีศิริ สิริโยธิน (5 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและศิริ สิริโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 219 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 โดยมาจากการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลถนอม กิตติขจร เข้ายึดอำนาจตัวเอง เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สมศาสตร์ รัตนสัค

ร้อยโทสมศาสตร์ รัตนสัค (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 7 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมศาสตร์ รัตนสัค · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี มี 11 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 11 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดมี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา มี 15 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 15 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2557) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ คำประกอบ

นายสวัสดิ์ คำประกอบ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 28 กันยายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสวัสดิ์ คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ์ เทพมณี

นายสันติ์ เทพมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 3 สมัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำพูนคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง และเป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองลำพูน.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสันติ์ เทพมณี · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์ อุดมสิทธิ์

ันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย รวม 5 สมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสงกรานต์ อุดมสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สง่า กิตติขจร

ลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและสง่า กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศักดิ์ ทั่งทอง

นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง (4 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 25 มกราคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรี 5 รัฐบาล และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 11 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและอุดมศักดิ์ ทั่งทอง · ดูเพิ่มเติม »

อุดร ตันติสุนทร

นายอุดร ตันติสุนทร (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2476) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและอุดร ตันติสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ทวี จุลละทรัพย์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารสูงสุดและผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตเสนาธิการทหารอากาศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย เคยเป็นพระเอกภาพยนตร์ของ กองภาพยนตร์ทหารอากาศ เรื่อง "บ้านไร่นาเรา" เมื่อ..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและทวี จุลละทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวี แรงขำ

ตราจารย์ ทวี แรงขำ เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ครม.27, 28, 30, 31) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและทวี แรงขำ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)

นคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) · ดูเพิ่มเติม »

ประชุม รัตนเพียร

ประชุม รัตนเพียร เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและประชุม รัตนเพียร · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและประภาส จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล กุลมาตย์

นายประมวล กุลมาตย์ (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2527) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและประมวล กุลมาตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ชนะภัย

นายประจวบ ชนะภัย (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและประจวบ ชนะภัย · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดา พัฒนถาบุตร

นายปรีดา พัฒนถาบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและปรีดา พัฒนถาบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและปัญจะ เกสรทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะ อังกินันทน์

นายปิยะ อังกินันทน์ (เกิด 5 ตุลาคม พ.ศ. 2476) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและปิยะ อังกินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

น้อม อุปรมัย

นายน้อม อุปรมัย (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและน้อม อุปรมัย · ดูเพิ่มเติม »

เชื้อ ทิพย์มณี

นายเชื้อ ทิพย์มณี (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคสหประชาไทยและเชื้อ ทิพย์มณี · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »