โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรรคประชาธิปัตย์

ดัชนี พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

942 ความสัมพันธ์: ชมรมคนรักอุดรบรม ตันเถียรบรรหาร ศิลปอาชาชรินรัตน์ พุทธปวนชวลิต อภัยวงศ์ชวน หลีกภัยชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุตบัญญัติ บรรทัดฐานชัย ชิดชอบชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ชัยวุฒิ ผ่องแผ้วชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ชัยอนันต์ สมุทวณิชบัณฑิต ศิริพันธุ์บัณฑูร ล่ำซำชาญชัย อิสระเสนารักษ์ชาติชาย ชุณหะวัณชาติชาย พุคยาภรณ์ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ชินวรณ์ บุณยเกียรติชื่นชอบ คงอุดมบุญชู โรจนเสถียรบุญมาก ศิริเนาวกุลบุญยอด สุขถิ่นไทยบุญรื่น ศรีธเรศบุญส่ง ไข่เกษบุญจง วงศ์ไตรรัตน์บุญเกิด หิรัญคำบุญเลิศ ไพรินทร์บุญเลิศ เลิศปรีชาบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ชุมพร เทพพิทักษ์ชุมพล จุลใสบุรณัชย์ สมุทรักษ์บุศรินทร์ ภักดีกุลบุณย์ธิดา สมชัยชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ชนะ รุ่งแสงชนิกา ตู้จินดาชนินทร์ รุ่งแสงบ้านเจ้าพระยาฟองสนาน จามรจันทร์ฟ้าวันใหม่พ.ศ. 2485พ.ศ. 2488พ.ศ. 2535พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550...พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคชาติไทยพรรคพลังธรรมพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517)พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคพลังใหม่พรรคกิจสังคมพรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)พรรคภูมิใจไทยพรรคมหาชนพรรคมาตุภูมิพรรคราษฎร (พ.ศ. 2517)พรรคสังคมชาตินิยมพรรคสังคมประชาธิปไตยไทยพรรคสามัคคีธรรมพรรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศลพรรคอธิปัตย์พรรคอนุรักษนิยมพรรคทวงคืนผืนป่าประเทศไทยพรรคความหวังใหม่พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)พรรคประชาชน (พ.ศ. 2511)พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคแทนคุณแผ่นดินพรรคแนวร่วมสังคมนิยมพรรคไทยพอเพียงพรรคไทยรักไทยพรรคไทยเข้มแข็งพรรคเกษตรสังคมพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พรรคเสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498)พรรคเดโมแครตพรวุฒิ สารสินพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560พระธรณีพระประยุทธชลธี (แป๊ะ วีราสา)พรทิวา นาคาศัยพร้อม บุญฤทธิ์พรเทพ เตชะไพบูลย์พฤษภาทมิฬพฤษภาคม พ.ศ. 2547พฤษภาคม พ.ศ. 2549พลอย จริยะเวชพัชรวาท วงษ์สุวรรณพัลลภ ปิ่นมณีพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพิชัย รัตตกุลพิชัย เกียรติวินัยสกุลพิชาญเมธ ม่วงมณีพิภพ อะสีติรัตน์พิมพา จันทร์ประสงค์พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะพิมล ศรีวิกรม์พิษณุ พลไวย์พิจิตต รัตตกุลพิทักษ์ รังสีธรรมพิทักษ์ จารุสมบัติพิเชฐ พัฒนโชติพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุลพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัยพูนสุข โลหะโชติพจนารถ แก้วผลึกพีรพันธุ์ พาลุสุขพีรยศ ราฮิมมูลาพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคพงศ์ประยูร ราชอาภัยพงศ์เวช เวชชาชีวะพนิช วิกิตเศรษฐ์พเยาว์ พูนธรัตน์กรกฎาคม พ.ศ. 2548กรกฎาคม พ.ศ. 2549กระจ่าง ตุลารักษ์กระแส ชนะวงศ์กริช กงเพชรกรุณา ชิดชอบกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553กรณ์ จาติกวณิชกฤษ ศรีฟ้ากลุ่ม 10 มกรากลุ่มวังน้ำเย็นกลุ่มวาดะห์กลุ่มงูเห่ากลุ่มเพื่อนเนวินกล้วย เชิญยิ้มกษิต ภิรมย์กอร์ปศักดิ์ สภาวสุกัลยา รุ่งวิจิตรชัยกัลยา โสภณพนิชกังสดาล พิพิธภักดีกันยายน พ.ศ. 2549กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดินการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2554การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2555การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554การอภิปรายไม่ไว้วางใจการุณ ใสงามการุณ โหสกุลการทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตรการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งการเมืองไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2553การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2556การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎรธานี เขต 1 แทนตําแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2556การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภากรุงเทพมหานครเขต 1 ดอนเมือง พ.ศ. 2555การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549กปปส.กนก วงษ์ตระหง่านก่อแก้ว พิกุลทองฐิติมา ฉายแสงภักดีหาญส์ หิมะทองคำภิญโญ นิโรจน์ภิรพล ลาภาโรจน์กิจภุชงค์ รุ่งโรจน์มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มัลลิกา มหาสุขมารุต บุนนาคมาลินี สุขเวชชวรกิจมานะ มหาสุวีระชัยมานะ คงวุฒิปัญญามานะ แพรสกุลมานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์มาโนชญ์ วิชัยกุลมิถุนายน พ.ศ. 2549มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยามีนาคม พ.ศ. 2548มีนาคม พ.ศ. 2549มณทิพย์ ศรีรัตนามณฑล ไกรวัตนุสสรณ์มนูญกฤต รูปขจรมนตรี พงษ์พานิชมนตรี ปาน้อยนนท์ยอด นครนายกยิ่งพันธ์ มนะสิการยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุพราช บัวอินทร์ยุทธพงศ์ จรัสเสถียรยุทธ์ ชัยประวิตรยงยุทธ สุวภาพยงยุทธ ติยะไพรัชยงยุทธ นพเกตุรชฏ พิสิษฐบรรณกรระวี กิ่งคำวงศ์รัชฎาภรณ์ แก้วสนิทรัชดา ธนาดิเรกรัฐบาลเงารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รังสิมา รอดรัศมีรายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทยรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายชื่อตอนในเชลล์ดอนรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรายนามผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรำรี มามะรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์วรรณพร พรประภาวรวีร์ มะกูดีวรศักดิ์ นิมานันท์วรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์วรัญชัย โชคชนะวรงค์ เดชกิจวิกรมวัชระ พรรณเชษฐ์วัชระ เพชรทองวัชรินทร์ เกตะวันดีวัยโรจน์ พิพิธภักดีวัลลภ ไทยเหนือวัฒนชัย วุฒิศิริวันมูหะมัดนอร์ มะทาวาสนา เพิ่มลาภวิชัย ราชานนท์วิชัย ตันศิริวิชาญ มีนชัยนันท์วิชิต แสงทองวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วิรัช ร่มเย็นวิรัตน์ กัลยาศิริวิลาศ จันทร์พิทักษ์วิสาร เตชะธีราวัฒน์วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์วิจิตร ศรีสอ้านวิจิตร สุวิทย์วิจิตร สุคันธพันธุ์วิทยา บุรณศิริวิทยา แก้วภราดัยวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจวิทย์ รายนานนท์วิทเยนทร์ มุตตามระวิฑูรย์ กรุณาวิฑูรย์ นามบุตรวินัย สมพงษ์วินัย เสนเนียมวิโรจน์ ณ บางช้างวิไล เบญจลักษณ์วิเชียร คันฉ่องวิเชียร เวชสวรรค์วุฒิชัย สงวนวงศ์ชัยวุฒิพงศ์ ฉายแสงวุฒิพงษ์ นามบุตรวีระ สมความคิดวีระ สุพัฒนกุลวีระชัย วีระเมธีกุลวีระชัย แนวบุญเนียรวีระกานต์ มุสิกพงศ์วนัสธนา สัจจกุลศรชัย มนตริวัตศรัณยู วงษ์กระจ่างศราวุธ เพชรพนมพรศรีสกุล พร้อมพันธุ์ศรีเรศ โกฎคำลือศักดา นพสิทธิ์ศักดา แซ่เอียวศิระ ปัทมาคมศิริวรรณ ปราศจากศัตรูศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ศิริศักดิ์ อ่อนละมัยศิริโชค โสภาศุภชัย พานิชภักดิ์ศุภชัย ศรีหล้าศุภชัย โพธิ์สุศุภรัตน์ นาคบุญนำศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)สกลธี ภัททิยกุลสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9สภาเสรีภาพและประชาธิปไตยแห่งเอเชียสมบัติ ยะสินธุ์สมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมชาย โล่สถาพรพิพิธสมชาย เพศประเสริฐสมบุญ ระหงษ์สมบุญ ศิริธรสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุลสมบูรณ์ จีระมะกรสมมารถ เจ๊ะนาสมศักดิ์ เส็นดาโอ๊ะสมศาสตร์ รัตนสัคสมัย เจริญช่างสมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาทสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหารสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงครามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคายสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทราสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาสสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลยสมานฉันท์ ชมภูเทพสมิตา สรสุชาติสมคิด นวลเปียนสมนเล๊าะ โปขะรีสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์สรรเสริญ สมะลาภาสวัสดิ์ สืบสายพรหมสวัสดิ์ จำปาศรีสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์สหรัฐ กุลศรีสอ เสถบุตรสัมพันธ์ ทองสมัครสัมพันธ์ แป้นพัฒน์สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์สันติ์ เทพมณีสากล ม่วงศิริสามารถ มะลูลีมสามารถ ม่วงศิริสามารถ ราชพลสิทธิ์สาวิตต์ โพธิวิหคสาธิต ปิตุเตชะสาทิตย์ วงศ์หนองเตยสาคร เกี่ยวข้องสานันท์ สุพรรณชนะบุรีสำราญ รอดเพชรสำราญ ศรีแปงวงค์สำเภา ประจวบเหมาะสิทธิชัย โควสุรัตน์สิดดิก สารีฟสิงหาคม พ.ศ. 2547สิงหาคม พ.ศ. 2549สืบแสง พรหมบุญสุชาติ บรรดาศักดิ์สุชาติ ตันเจริญสุชาติ แก้วนาโพธิ์สุชีน เอ่งฉ้วนสุพัฒน์ ธรรมเพชรสุพัตรา มาศดิตถ์สุกิจ ก้องธรนินทร์สุกิจ อัถโถปกรณ์สุภรณ์ อัตถาวงศ์สุรชาติ เทียนทองสุรบถ หลีกภัยสุรพร ดนัยตั้งตระกูลสุรพงษ์ ราชมุกดาสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์สุรสิทธิ์ ตรีทองสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์สุรันต์ จันทร์พิทักษ์สุรินทร์ พิศสุวรรณสุรินทร์ มาศดิตถ์สุรินทร์ ปาลาเร่สุรใจ ศิรินุพงศ์สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์สุรเชษฐ์ แวอาแซสุวิชช พันธเศรษฐสุวโรช พะลังสุธรรม ระหงษ์สุธา นิติภานนท์สุทัศน์ จันทร์แสงศรีสุทัศน์ เงินหมื่นสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์สุขวิชชาญ มุสิกุลสุดิน ภูยุทธานนท์สุนัย จุลพงศธรสุนารี ราชสีมาสุเทพ เทือกสุบรรณสีน้ำเงินสถาพร มณีรัตน์สด จิตรลดาสดใส รุ่งโพธิ์ทองสงบ ทิพย์มณีสงกรานต์ จิตสุทธิภากรสง่า กิตติขจรสนอง นิสาลักษณ์สนั่น สบายเมืองสนั่น สุธากุลสนั่น ขจรประศาสน์สนิท กุลเจริญสนธิ ลิ้มทองกุลส่งสุข ภัคเกษมสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ เอฟซีสโมสรฟุตบอลสโตกซิตีสเสฏฐสิฏฐ สิทธิมนต์หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุลหม่อมหลวงเสรี ปราโมชหฤทัย ม่วงบุญศรีหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)หวน มุตตาหารัชหาญ ลีนานนท์อภิชาต การิกาญจน์อภิชาต ศักดิเศรษฐ์อภิชาติ สุภาแพ่งอภิชาติ หาลำเจียกอภิชาติ ตีรสวัสดิชัยอภิรักษ์ โกษะโยธินอภิวัฒน์ เงินหมื่นอภิสิทธิ์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรพินท์ ไชยกาลอรรถวิชช์ สุวรรณภักดีอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะอรรคพล สรสุชาติอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์อรอนงค์ คล้ายนกอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์อลงกรณ์ พลบุตรอสิ มะหะมัดยังกีอัญชลี วานิช เทพบุตรอัมรินทร์ สิมะโรจน์อัศวัชร์ อภัยวงศ์อัศวิน วิภูศิริอันวาร์ สาและอารมณ์ มีชัยอารีย์ วีระพันธุ์อาทิตย์ อุไรรัตน์อาณัฐชัย รัตตกุลอาคม เอ่งฉ้วนอานันท์ ปันยารชุนอานิก อัมระนันทน์อำนวย สุวรรณคีรีอำนวย ปะติเสอิสมาแอล เบญอิบรอฮีมอิสรา สุนทรวัฒน์อิสสระ สมชัยอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์อินทร สิงหเนตรอุสมาน อุเซ็งอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554อุทกทานอุทยานเบญจสิริอุทัย พิมพ์ใจชนอุดม วรวัลย์อุดม แดงโกเมนอุดร ทองน้อยอดิศร เพียงเกษอดุลย์ เหลืองบริบูรณ์องอาจ วงษ์ประยูรองอาจ คล้ามไพบูลย์องค์การนักศึกษาในประเทศไทยอนันต์ ภักดิ์ประไพอนันต์ ลิมปคุปตถาวรอนันต์ อนันตกูลอนันต์ ผลอำนวยอนุชา บูรพชัยศรีอนุมัติ ซูสารออนงค์ ตงศิริฮอชาลี ม่าเหร็มผุสดี ตามไทผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครผู้หญิง 5 บาปผณินทรา ภัคเกษมผ่องศรี ธาราภูมิจรัญ หัตถกรรมจรัสศรี ทีปิรัชจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนครจักรพันธุ์ ยมจินดาจักรภพ เพ็ญแขจังหวัดชัยนาทในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดบึงกาฬในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดพัทลุงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดพังงาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดมุกดาหารในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดระนองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดสมุทรสาครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดสมุทรสงครามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดสิงห์บุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดอำนาจเจริญในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดตรังจังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จังหวัดเชียงรายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554จัตุรนต์ คชสีห์จาตุรนต์ ฉายแสงจำรูญ ไชยลังการณ์จำลอง ศรีเมืองจิรายุ ห่วงทรัพย์จิรายุส เนาวเกตุจิตภัสร์ กฤดากรจิตตนาถ ลิ้มทองกุลจุมพฏ บุญใหญ่จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์จุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฎ์จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์จุติ ไกรฤกษ์จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธธรรมนูญ ฤทธิมณีธรรมนูญ เทียนเงินธวัช วิชัยดิษฐธวัช สุรินทร์คำธวัชชัย อนามพงษ์ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ธัญญา โสภณธารินทร์ นิมมานเหมินท์ธารทอง ทองสวัสดิ์ธานินทร์ ใจสมุทรธานี เทือกสุบรรณธำรงค์ ไทยมงคลธีรภัทร พริ้งศุลกะธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ธีระ สลักเพชรธนา ชีรวินิจธนิตพล ไชยนันทน์ธเนศ เครือรัตน์ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถวิล ฤกษ์หร่ายถวิล ไพรสณฑ์ถัด พรหมมาณพถาวร เสนเนียมถนอม อ่อนเกตุพลถนัด คอมันตร์ถ้วน หลีกภัยทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ทวี สุระบาลทวี ไกรคุปต์ทศพร เทพบุตรทหาร ขำหิรัญทองดี อิสราชีวินทักษิณ ชินวัตรทิวา เงินยวงที่สุดในประเทศไทยที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิขยัน วิพรหมชัยขวัญชัย สาราคำขุนพันธรักษ์ราชเดช (บุตร พันธรักษ์)ขุนทอง ภูผิวเดือนณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทยณหทัย ทิวไผ่งามณัฎฐ์ บรรทัดฐานณัฏฐพล ทีปสุวรรณณัฐวุฒิ สุทธิสงครามณัฐวุฒิ ใสยเกื้อณิรัฐกานต์ ศรีลาภดำรง ลัทธพิพัฒน์ดี๋ ดอกมะดันดนุพร ปุณณกันต์คมคาย พลบุตรครรชิต ทับสุวรรณคล้าย ละอองมณีความจริงวันนี้ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552ควง อภัยวงศ์คำรณ ณ ลำพูนคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549คดีระหว่างนายทะเบียนพรรคการเมือง กับพรรคประชาธิปัตย์ (2553)คนเดือนตุลางามพรรณ เวชชาชีวะตรี ด่านไพบูลย์ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุมฉลอง เรี่ยวแรงฉลาด วรฉัตรฉลาด ขามช่วงฉัตรชัย พะลังฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทรประชา บูรณธนิตประชาธิปัตย์ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขประพร เอกอุรุประพันธ์ คูณมีประกอบ รัตนพันธ์ประกอบ สังข์โตประกอบ จิรกิติประภัสร์ จงสงวนประมวล พงศ์ถาวราเดชประมวล รุจนเสรีประยูร อภัยวงศ์ประวัฒน์ อุตโมทประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประวิทย์ รุจิรวงศ์ประสาร ไตรรัตน์วรกุลประสิทธิ์ วุฒินันชัยประจวบ ไชยสาส์นประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ประไพพรรณ พศบูรณินทร์ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริประเสริฐ มงคลศิริประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2485ประเทศไทยใน พ.ศ. 2489ประเทศไทยใน พ.ศ. 2535ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550ปราโมทย์ สุขุมปริญญา ฤกษ์หร่ายปริญญา นาคฉัตรีย์ปรีชา บุญมีปรีชา มุสิกุลปรีชา ผ่องเจริญกุลปรีดี พนมยงค์ปวีณา หงสกุลปัญญวัฒน์ บุญมีปัญญา จีนาคำปารเมศ โพธารากุลปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์นพพล เหลืองทองนารานพดล ปัทมะนรพล ตันติมนตรีนราพัฒน์ แก้วทองนริศ ขำนุรักษ์นฤชาติ บุญสุวรรณนวลพรรณ ล่ำซำนันทนา สงฆ์ประชานาม ยิ้มแย้มนาราชา สุวิทย์นาถยา แดงบุหงานิพิฏฐ์ อินทรสมบัตินิพนธ์ บุญญามณีนิพนธ์ พร้อมพันธุ์นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์นิพนธ์ ศรีธเรศนิภา พริ้งศุลกะนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์นิคม จันทรวิทุรนิคม เชาว์กิตติโสภณนิติรัฐ สุนทรวรนินนาท ชลิตานนท์นุรักษ์ มาประณีตนุสบา ปุณณกันต์แก๊งออฟโฟร์ (ประเทศไทย)แยกราชประสงค์แยกอุรุพงษ์แผน สิริเวชชะพันธ์แผนฟินแลนด์แทนคุณ จิตต์อิสระใหญ่ ศวิตชาติโชคสมาน สีลาวงษ์โชติ คุ้มพันธ์โพธิพงษ์ ล่ำซำโกวิทย์ ธารณาโมฮามัดยาสรี ยูซงโรงเรียนพนัสพิทยาคารโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนศรีวิกรม์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโรงเรียนเทพศิรินทร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรตารีสากลโสภณ เพชรสว่างโอภาส รองเงินโอภาส อรุณินท์ไชยยศ จิรเมธากรไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ไชยา พรหมาไพร พัฒโนไพฑูรย์ แก้วทองไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์ไกรศรี จาติกวณิชไกรศักดิ์ ชุณหะวัณไกรสร ตันติพงศ์ไกรสร นันทมานพไม่มีโทษถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไรน่าน อรุณรังษีไสว พัฒโนไผ่ ลิกค์ไถง สุวรรณทัตไทกร พลสุวรรณไตรรงค์ สุวรรณคีรีเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเชียรช่วง กัลยาณมิตรเชน เทือกสุบรรณเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวาเพชร ซีพีเฟรชมาร์ทเกรียง กัลป์ตินันท์เกรียงยศ สุดลาภาเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์เกษม บุญศรีเกษม รุ่งธนเกียรติเกียรติ สิทธีอมรเกียรติศักดิ์ ส่องแสงเมษายน พ.ศ. 2549เมธี ชาติมนตรีเยาวภา วงศ์สวัสดิ์เรวัต สิรินุกุลเรวัต อารีรอบเรืองวิทย์ ลิกค์เลื่อน พงษ์โสภณเลียง ไชยกาลเลขา อภัยวงศ์เล็ก นานาเสริมศักดิ์ การุญเสนาะ พึ่งเจียมเสนาะ เทียนทองเหตุการณ์ 6 ตุลาเอกพจน์ วงศ์นาคเอกยุทธ อัญชันบุตรเอกนัฏ พร้อมพันธุ์เอี่ยม ทองใจสดเอนก ทับสุวรรณเอนก เหล่าธรรมทัศน์เจริญ คันธวงศ์เจริญทอง เกียรติบ้านช่องเจะอามิง โตะตาหยงเจิมมาศ จึงเลิศศิริเจือ ราชสีห์เจี่ย ก๊กผลเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมงเจ้าบุญมี ตุงคนาครเจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูนเจ้านายฝ่ายเหนือเทพ โชตินุชิตเทพไท เสนพงศ์เทศบาลนครหาดใหญ่เทอดพงษ์ ไชยนันทน์เทียม ไชยนันทน์เดชา สุขารมณ์เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงเดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่เด่น โต๊ะมีนาเดโช สวนานนท์เครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทยเตือนใจ นุอุปละเฉลิมชัย ศรีอ่อนเฉลิมชัย เอียสกุลเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์เฉลียว อยู่สีมารักษ์เปรม ติณสูลานนท์เปรียว อวอร์ดเนวิน ชิดชอบ11 มกราคม11 มิถุนายน13 กันยายน29 สิงหาคม30 พฤษภาคม4 สิงหาคม6 เมษายน ขยายดัชนี (892 มากกว่า) »

ชมรมคนรักอุดร

ตราสัญลักษณ์ของชมรม ชมรมคนรักอุดร เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมือง ของผู้สนับสนุน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ต่อต้านการรัฐประหาร พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และพรรคประชาธิปัตย์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดย นายขวัญชัย ไพรพนา นักจัดรายการวิทยุเพลงลูกทุ่งจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชมรมคนรักอุดร · ดูเพิ่มเติม »

บรม ตันเถียร

รม ตันเถียร อดีตนักการเมืองไทยชาวพังงา และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42, 43).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบรม ตันเถียร · ดูเพิ่มเติม »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชรินรัตน์ พุทธปวน

รองศาสตราจารย์ ดร.ชรินรัตน์ พุทธปวน (21 สิงหาคม พ.ศ. 2496 -) เดิมชื่อ "สาคร พุทธปวน" เป็นบุตรของพ่อหลวงอินสนธิ์ กับแม่แปง พุทธปวน เป็นชาวจังหวัดลำพูนโดยกำเนิด เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชรินรัตน์ พุทธปวน · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต อภัยวงศ์

วลิต อภัยวงศ์ เป็นอดีตรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระตะบอง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชวลิต อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต

วนนท์ อินทรโกมาลย์สุต โฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า หนึ่งในผู้ดำเนินรายการ 3 คน คือ นายศิริโชค โสภา, นายเทพไท เสนพงศ์ และนายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้วย (ปัจจุบันได้เปลี่ยนสถานีเป็นฟ้าวันใหม่).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบัญญัติ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์(ภาคเหนือ) และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว

นายชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว (เกิด 16 สิงหาคม พ.ศ. 2514) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์

นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสิงห์บุรี สังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 เป็นบุตรของ พล.ต.ต.ชนะ สมุทวณิช นามสกุล "สมุทวณิช" เป็นนามสกุลพระราชทาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ศาสตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช หรือ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมรสกับ นางสุภาธร สมุทวณิช (สกุลเดิม สาครบุตร) มีบุตร 3 คนคือ นายพชร สมุทวณิช ผู้บริหารหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ,พลอย จริยะเวช นักเขียน นักแปล (สมรสกับ พันโทธีระ จริยะเวช กรมยุทธบริการ กองบัญชาการทหารสูงสุด) และ นายพลาย สมุทวณ.ดร.ชัยอนันต์ ไม่ใช่เด็กเรียนดีมาก่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากวชิราวุธวิทยาลัย ด้วยคะแนนเพียง 57.3% แต่พยายามจนสอบเข้า คณะรัฐศาสตร์ แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้สำเร็จ เรียนอยู่ 1 ปีสามารถสอบชิง ทุนโคลัมโบ ไปเรียนปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศนิวซีแลนด์ ต่อมาสำเร็จปริญญาโท และ ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชัยอนันต์ สมุทวณิช · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต ศิริพันธุ์

นายบัณฑิต ศิริพันธุ์ ทนายความและนักกฎหมายที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2484 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร, นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาธรรมศาสตร์ (ร่วมรุ่นเดียวกับ นายชวน หลีกภัย และ นายสมัคร สุนทรเวช), เนติบัณฑิตไทย จากสำนักงานอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LL.M) จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำงานครั้งแรกด้วยการเป็นทนายความฝึกหัดของสำนักงานกฎหมายเสนีย์ ปราโมช ของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ตั้งแต่ยังเป็นนักศึกษา จึงใกล้ชิดและสนิทสนมกับ ม.ร.ว.เสนีย์ และบุคคลในพรรคประชาธิปัตย์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 และเป็นหัวหน้าสำนักงานกฎหมายแห่งนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 หลังจาก ม.ร.ว.เสนีย์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งกรรมการรัฐวิสาหกิจหลายแห่ง อาทิ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน), บริษัท ขนส่งจำกัด (บ.ข.ส.), องค์การค้าของคุรุสภา, องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) เป็นต้น และยังเป็นรองประธานคณะกรรมการมรรยาททนายความของสภาทนายความ 2 สมัย เป็นสมาชิกวุฒิสภาระหว่างปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2539 นายบัณฑิตได้ชื่อว่าเป็นทนายความที่มีชื่อเสียงและความสามารถอย่างมากโดยเฉพาะในคดีหมิ่นประมาทและคดีแพ่ง เคยรับว่าความให้กับนักการเมืองหลายคน อาทิ คดีที่ภริยาและบุตรนายดำรง ลัทธพิพัฒน์ ฟ้องหมิ่นประมาท นายสมัคร สุนทรเวช, คดีที่ น.ต.ประสงค์ สุ่นศิริ ถูกฟ้องหมิ่นประมาทจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดียุบพรรคประชาธิปัตย์และยุบพรรคไทยรักไทย หรือ คดีที่ นายสามารถ ราชพลสิทธิ์ ฟ้องหมิ่นประมาท นายสมัคร สุนทรเวช และ นายดุสิต ศิริวรรณ เป็นต้น จากความที่ใกล้ชิดกับนักการเมืองหลายคนมาตั้งแต่ต้น ทำให้มีผู้ชักชวนให้เล่นการเมือง แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธเนื่องจาก ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้ขอไว้ ปัจจุบัน รับเป็นหนึ่งในทีมทนายความว่าความคดียุบพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นที่ปรึกษาของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีทางด้านกฎหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบัณฑิต ศิริพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑูร ล่ำซำ

ัณฑูร ล่ำซำ (15 มกราคม พ.ศ. 2496) โลโก้ใหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบัณฑูร ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย อิสระเสนารักษ์

นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2496) อดีตรองประธานอนุกรรมาธิการ ด้านกลไกการปราบปรามการทุจริต คณะกรรมาธิการวิสามัญป้องกันและปราบปรามการทุจริต สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชาญชัย อิสระเสนารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย พุคยาภรณ์

นายชาติชาย พุคยาภรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ อดีตรองเลขาธิการ พรรคประชาธิปัตย์ เป็นทายาทผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชาติชาย พุคยาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชำนิ ศักดิเศรษฐ์

ำนิ ศักดิเศรษฐ์ (3 มีนาคม พ.ศ. 2490-) รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย เป็นหนึ่งในกำลังสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชำนิ ศักดิเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ

นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหรัญญิกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..นครศรีธรรมราช 6 สมัย มีผลงานทั้งด้านการเมือง และนิติบัญญัติมากม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชินวรณ์ บุณยเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่นชอบ คงอุดม

ื่นชอบ คงอุดม อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ และเป็นบุตรชายของนายชัชวาลย์ คงอุดม หรือ ชัช เตาปูน อดีต สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานครและผู้บริหาร หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปัจจุบันสังกัด พรรคพลังท้องถิ่นไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชื่นชอบ คงอุดม · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู โรจนเสถียร

นายบุญชู โรจนเสถียร (20 มกราคม พ.ศ. 2464 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ ได้รับการยกย่องให้เป็น "ซาร์เศรษฐกิจ".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญชู โรจนเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

บุญมาก ศิริเนาวกุล

ร.บุญมาก ศิริเนาวกุล อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 2 สมัย เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีด้านพลังงาน ในการเลือกตั้งวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 ดร.บุญมากได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรราชบุรีในนามพรรคประชาธิปัตย์ต่อเนื่องเป็นสมัยที่ 3 แต่ต่อมาถูกคณะกรรมการการเลือกตั้งกลางให้ใบแดง จากการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งได้อ้างว่าได้ส่งสายลับเข้าไปในศูนย์การเลือกตั้งของ ดร.บุญมาก และพบเห็นมีการจ่ายเงินจำนวน 1 พันบาทให้กับกำนันในพื้นที่และพวกอีก 6 คนเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ก่อนวันเลือกตั้ง 30 วัน การแจกใบแดงครั้งนั้นถือเป็นใบแดงประวัติศาสตร์ใบแรกของการเลือกตั้งในประเทศไทยที่จัดโดยการดูแลของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นองค์กรอิสระที่มีขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ในการเลือกตั้งปี 2548 ดร.บุญมาก ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรราชบุรีอีกครั้ง แต่แพ้ให้กับกอบกุล นพอมรบดี จากพรรคไทยรักไทยไป หลังจากนั้น ดร.บุญมาก ได้ต่อสู้คดีใบแดงในชั้นศาล โดยศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องเมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญมาก ศิริเนาวกุล · ดูเพิ่มเติม »

บุญยอด สุขถิ่นไทย

ญยอด สุขถิ่นไทย เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้ประกาศข่าว และอดีตนักจัดรายการวิทยุชาวไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญยอด สุขถิ่นไทย · ดูเพิ่มเติม »

บุญรื่น ศรีธเรศ

นางบุญรื่น ศรีธเรศ (สกุลเดิม มัธยมนันทน์) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญรื่น ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

บุญส่ง ไข่เกษ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญส่ง ไข่เกษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดตราด เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเป็นอาจารย์ประจำวิทยาลัยนครราชสีม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญส่ง ไข่เกษ · ดูเพิ่มเติม »

บุญจง วงศ์ไตรรัตน์

นายกองเอกบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ (เกิด: 14 มกราคม 2504–ปัจจุบัน) อดีตรองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 1 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเกิด หิรัญคำ

นายบุญเกิด หิรัญคำ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 4 สมัย และเป็นหนึ่งในสามนักการเมืองที่เป็นโจทย์ยื่นฟ้อง จอมพลถนอม กิตติขจร เมื่อครั้งก่อการรัฐประหารในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญเกิด หิรัญคำ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ ไพรินทร์

ญเลิศ ไพรินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ หรือที่เป็นที่รู้จักในนาม "โหร.ว.".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญเลิศ ไพรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ เลิศปรีชา

ันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 5 สมัย และอดีตเลขาธิการพรรคธรรมสังคม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญเลิศ เลิศปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพร เทพพิทักษ์

มพร เทพพิทักษ์ (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 − 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น เดียร์ นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ มีชื่อจริงว่า คมสันต์ เทพพิทักษ์ เกิดที่จังหวัดชุมพรเมื่อปี พ.ศ. 2482 จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดขันเงินและโรงเรียนศรียาภัย เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย โดยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกับ พล.ต.ท.วรรณรัตน์ คชรัตน์ (อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544) ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้อง แต่ขณะที่เรียนเมื่ออายุได้ 17 ปี ต้องโทษจำคุกในคดีฆาตกรรมด้วยอาวุธปืน และรับสารภาพ จึงถูกลดโทษเหลือ 25 ปี จากนั้นได้รับการลดหย่อนโทษเรื่อยมา จนได้รับอิสรภาพในที่สุด ในระหว่างต้องโทษ อยู่ห้องขังเดียวกับ แคล้ว ธนิกุล เข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการเป็นนักแสดงบทร้ายแทน ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงบทตัวร้ายที่ไม่สบาย ด้วยความที่หน้าตาตล้ายกัน จากการชักชวนของ ปริญญา ทัศนียกุล และ ลือชัย นฤนาท ในเรื่อง คมแสนคม ในปี พ.ศ. 2507 ตามด้วยบทตัวร้ายมาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2511 มีผลงานละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม, ช่อง 5 และช่อง 7 ในยุคแพร่ภาพระบบขาวดำ ด้วยการพลิกบทบาทมารับบทเป็นพระเอกบ้าง ซึ่งก็ได้รับการวิจารณ์ในตอนต้นว่า คนดูจะรับได้หรือไม่กับการที่ผู้ร้ายในแบบภาพยนตร์ใหญ่ มารับบทพระเอกในแบบละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทพระเอกแนวลูกทุ่งหรือแอ็คชั่น และถือว่าประสบความสำเร็จพอสมควร ต่อมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีผลงานมากมาย อาทิ ถุยชีวิต (พ.ศ. 2521), นักสู้ภูธร ในปีเดียวกัน, ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก (พ.ศ. 2522) และที่ประสบความสำเร็จที่สุดคือ แหกค่ายนรกเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และได้รับรางวัลอื่น ๆ รวมทั้งหมด 5 รางวัล และยังคงมีผลงานออกมาเป็นระยะๆ เช่น บางระจัน (พ.ศ. 2543),โหมโรง(พ.ศ. 2547), ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (พ.ศ. 2550), รักสยามเท่าฟ้า (พ.ศ. 2551), 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (พ.ศ. 2552) ผลงานละครโทรทัศน์ได้แก่ สุสานคนเป็น (พ.ศ. 2545) ธิดาวานร 2 (พ.ศ. 2552) และ เงาพราย (พ.ศ. 2554) ผลงานละครเรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนกระทิง และผลงานภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนพันธ์ (พ.ศ. 2559) ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ มยุรี เทพพิทักษ์ (นามสกุลเดิม-ศรีสินธุ์อุไร) มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นเป็นนักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียง คือ ศรราม เทพพิทักษ์ ชุมพรมีอาการป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองตีบตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชุมพร เทพพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพล จุลใส

นายชุมพล จุลใส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชุมพล จุลใส · ดูเพิ่มเติม »

บุรณัชย์ สมุทรักษ์

นายแพทย์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ (ชื่อเล่น: ท็อป) หรือที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า หมอท็อป..บัญชีรายชื่อ และ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พล.อ.เมธี สมุทรักษ์ อดีตประธานคณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการหน่วยข่าวกรองทางทหาร และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์วัลย์ สมุทรักษ์ อดีต.ว.สรรหา และ อดีตคณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุรณัชย์ สมุทรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุศรินทร์ ภักดีกุล

ลโท บุศรินทร์ ภักดีกุล ม.ว.ม.,ป..,ท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุศรินทร์ ภักดีกุล · ดูเพิ่มเติม »

บุณย์ธิดา สมชัย

ณย์ธิดา สมชัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็น 1 ใน 4..อีสาน ของพรรคประชาธิปัตย์ อีกทั้งยังเป็น..หญิงที่อายุน้อยที่สุดในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 และเป็นบุตรของนายอิสสระ สมชัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบุณย์ธิดา สมชัย · ดูเพิ่มเติม »

ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ

ูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ หรือชื่อที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า ชูวิทย์ กุ่ย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี สังกัดพรรคเพื่อไทย เจ้าของธุรกิจสวนเสือตระการ และประธานสโมสรฟุตบอลอุบล ไทเกอร์ นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ เป็นแกนนำกลุ่มชักธงรบของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติในจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ รุ่งแสง

นะ รุ่งแสง อดีตนักการเมืองสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ (ส.ส.) และนักธุรกิจการธนาคารชาวไทย นายชนะเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเป็นทายาทตระกูลคหบดีชาวนาตำบลบางนา ซึ่งปัจจุบันคือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ถนนสุขุมวิท (สี่แยกบางนา), ถนนสุขุมวิท 103, ถนนสุขุมวิท 105, ถนนสรรพาวุธ, สองฝั่งคลองบางนา และบริเวณตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเข้าสู่แวดวงธุรกิจด้วยการเป็นผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าสู่แวดวงการเมือง ด้วยการลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร ในสังกัดของพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้ง รวมทั้งได้ดำรงตำแหน่งเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพมหานคร อีกด้วย และได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516 จากนั้นในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 นายชนะได้ลงรับสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในเขต 8 กรุงเทพมหานคร ก็ได้รับเลือกตั้งไป แต่ก็ต้องพ้นจากตำแหน่งในวันที่ 6 ตุลาคม ปีเดียวกัน เมื่อเกิดเหตุการณ์นองเลือดขึ้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสนามหลวง และก็มีการรัฐประหารขึ้นในวันเดียวกัน ต่อมา ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ โดยได้หมายเลข 4 มีนโยบาย คือ "6 เป้าหมาย 4 แนวทางและ 10 มาตรการ" และใช้คำขวัญในการหาเสียง คือ "เลือกชนะ เพื่อชัยชนะของประชาชน" แต่ก็ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยแพ้ให้แก่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง ผู้สมัครอิสระ หมายเลข 8 ไป โดยนายชนะได้ 241,002 คะแนน ขณะที่ พล.ต.จำลอง ได้ 408,233 คะแนน ปัจจุบัน นายชนะได้วางมือจากการเมืองแล้ว แต่ยังมีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการน้ำแห่งชาติ และคณะทำงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศ.) และมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นนายกสภาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีหลานชาย คือ นายชนินทร์ รุ่งแสง เป็น..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชนะ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

ชนิกา ตู้จินดา

ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง ชนิกา ตู้จินดา (25 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชนิกา ตู้จินดา · ดูเพิ่มเติม »

ชนินทร์ รุ่งแสง

นายชนินทร์ รุ่งแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานสภากรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และชนินทร์ รุ่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเจ้าพระยา

อาคารอนุรักษ์ บ้านเจ้าพระยา บ้านเจ้าพระยา หรือ วังพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าคำรบ ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับสวนสันติชัยปราการ เป็นอาคารเก่าแก่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์จากกรมศิลปากร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และบ้านเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

ฟองสนาน จามรจันทร์

ฟองสนาน จามรจันทร์ ฟองสนาน จามรจันทร์ อดีตนักจัดรายการวิทยุของกรมประชาสัมพันธ์ สังกัดสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) จัดเป็นสื่อมวลชนฝีปากกล้าที่ถูกอำนาจรัฐคุกคาม ปัจจุบันเป็นนักจัดการวิทยุและสื่อมวลชนอิสระ รวมถึงเป็นนักโหราศาสตร์สมัครเล่นอีกด้วย ฟองสนาน เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฟองสนาน จามรจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าวันใหม่

ฟ้าวันใหม่ เดิมชื่อ บลูสกายแชนแนล เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฟ้าวันใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ

แพทย์หญิงพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

รรคชาติพัฒนา (National Development Party) เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2525 ในชื่อพรรคปวงชนชาวไทย ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคชาติพัฒนา หลังการยุบสภาในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เนื่องจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังธรรม

รรคพลังธรรม เป็นพรรคการเมืองขนาดกลาง หัวหน้าพรรคคนแรก คือ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคพลังธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517)

รรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

รรคพลังประชาชน (อักษรย่อ: พปช. People Power Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ช่วงก่อนการเข้าร่วมของกลุ่มไทยรักไทย เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 นางสาวสุภาพร เทียนแก้ว เป็นหัวหน้าพรรค, นางสาวปิยะรัตน์ เทียนแก้ว เป็นเลขาธิการพรรค และ พันตำรวจโทกานต์ เทียนแก้ว เป็นประธานกรรมการบริหารพรรค ก่อนการยุบพรรค นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรค นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นเลขาธิการพรรค มี นายยงยุทธ ติยะไพรัช เป็นรองหัวหน้าพรรคคนที่ 1 และมี นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ ต่อมาเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เพื่อพิจารณากรณี พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ได้ลงมติ 4 ต่อ 1 เห็นชอบตามที่นายอภิชาติ สุขัคคานนท์ ประธาน กกต.ในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมืองเสนอให้ส่งเรื่องถึงอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาเสนอต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยยุบพรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย โดยมติเสียงข้างน้อย 1 เสียง คือ นายสมชัย จึงประเสริฐ กกต.ฝ่ายกิจการสอบสวนสอบสวน ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย และตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารของแต่ละพรรคเป็นเวลา 5 ปี อันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งของนายยงยุทธ ติยะไพรั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังใหม่

รรคพลังใหม่ เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมการเมืองหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเลขที่ 17/2517 เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคพลังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคกิจสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)

รรคก้าวหน้า เป็นพรรคการเมืองแรกของประเทศไทยที่กำเนิดขึ้นมาภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ที่ให้สิทธิเสรีภาพในการตั้งพรรคการเมือง โดยที่ยังมิได้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมืองแต่อย่างใด จึงมิได้เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หากแต่มีรัฐธรรมนูญให้การรับรอง มีหัวหน้าพรรค คือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และสมาชิกคนสำคัญ เช่น นายสุวิชช พันธเศรษฐ, นายสอ เศรษฐบุตร, พระยาสุรพันธุ์เสนี, ดร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคภูมิใจไทย

รรคภูมิใจไทย (ย่อว่า: ภท.) ก่อตั้งเมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 มี นายพิพัฒน์ พรมวราภรณ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก นายมงคล ศรีอ่อน เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และนางวันเพ็ญ ขวัญวงศ์ เป็นโฆษกพรรคคนแรก ในปัจจุบันมีนาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นหัวหน้าพรรคนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรค และนางวาว ศุภมาศ อิศรภักดี เป็นโฆษกพรร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคภูมิใจไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมหาชน

รรคมหาชน (Mahachon Party ตัวย่อ: MCP. พมช.) เป็นพรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 โดยใช้ชื่อว่า "พรรคราษฎร" และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคมหาชน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็นพรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากพรรคประชาธิปัตย์ มีจำนวนสมาชิกกว่า 1.18 ล้านคน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมาตุภูมิ

รรคมาตุภูมิ (Matubhum Party) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคมาตุภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคราษฎร (พ.ศ. 2517)

รรคราษฎร (The Party of Commons) พรรคการเมืองของไทยในอดีตที่จดทะเบียนจัดตั้ง ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 และ พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517 เป็นลำดับที่ ๘/๒๕๑๗ เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคราษฎร (พ.ศ. 2517) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสังคมชาตินิยม

รรคสังคมชาตินิยม เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนจัดตั้งพรรคเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 มีนาย ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ เป็นหัวหน้าพรรคและนาย ฉันท์ จันทชุม เป็นเลขาธิการพรรค ซึ่งมีผู้ร่วมก่อตั้งอาทิ นิยม วรปัญญา ธเนตร เอียสกุล พรรคสังคมชาตินิยมลงรับสมัครเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 ก่อนจะถูกยุบพรรคเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ตามคำสั่งของ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ก่อนจะฟื้นพรรคพรรคขึ้นมาอีกครั้งในปี พ.ศ. 2522 โดยคณะกรรมการบริหารพรรคชุดเดิมเพื่อลงรับสมัครเลือกตั้งในปีนั้น แต่ทางพรรคมิได้ส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้งและได้ทำการยุบพรรคไปเองในที.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคสังคมชาตินิยม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย

รรคสังคมประชาธิปไตยไทย (อักษรย่อ: ส.ป.ท. Thai Social Democratic Party - TSDP) เป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยมีพื้นฐานมาจากกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) เดิมเคยใช้ชื่อว่า พรรคการเมืองใหม่ (ก.ม.ม.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552 และจดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคสังคมประชาธิปไตยไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสามัคคีธรรม

รรคสามัคคีธรรม (Justice Unity Party) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 เป็นลำดับที่ 30/2535 เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2535 ในช่วงก่อนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย มีนาคม พ.ศ. 2535 มีการรวบรวมนักการเมืองจากหลายพรรค และมีบุคคลในพรรคที่ใกล้ชิดกับคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. โดยมีนายณรงค์ วงศ์วรรณ อดีตหัวหน้าพรรครวมไทย และพรรคเอกภาพ เป็นหัวหน้าพรรค และ นาวาอากาศตรีฐิติ นาครทรรพ บิดาของ นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ เป็นเลขาธิการพรรค พรรคสามัคคีธรรม ได้ประกาศนโยบายของพรรคไว้ว่า "จะพัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีความมั่นคงทั้งในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพื่อความผาสุกของประชาชนโดยถ้วนหน้า ทั้งนี้ โดยอาศัยวิธีการตามหลักการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคสามัคคีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศล

รรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศล เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนจัดตั้งตามพระราชบัญญัติพรรคการเมือง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคสงเคราะห์อาชีพและการกุศล · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอธิปัตย์

รรคอธิปัตย์ พรรคการเมืองของไทยในอดีตที่จดทะเบียนก่อตั้งตาม พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517 เมื่อปี พ.ศ. 2517 โดยมีพลตำรวจโท ประชา บูรณธนิต เป็นหัวหน้าพรรคและนาย บุญเกิด หิรัญคำ เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคอธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนุรักษนิยม

รรคอนุรักษนิยม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคอนุรักษนิยม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคทวงคืนผืนป่าประเทศไทย

รรคทวงคืนผืนป่าประเทศไทย (อักษรย่อ:ทป.) พรรคการเมืองที่ก่อตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2555 มีนาย ดำรงค์ พิเดช อดีตอธิบดี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เป็นหัวหน้าพรรคและนายธิติ กนกทวีฐากร เป็นรองหัวหน้าพรรค โดยที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่ 706 โชคชัย 4 ลาดพร้าว กรุงเทพฯ ซึ่งได้มีพิธีเปิดที่ทำการพรรคเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2556.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคทวงคืนผืนป่าประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)

รรคประชาชน พรรคการเมืองของไทยในอดีตจดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2490 โดยมีนาย เลียง ไชยกาล หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรค ประชาธิปัตย์ เป็นหัวหน้าพรรค โดยการก่อตั้งพรรคเกิดขึ้นภายหลังจากการลาออกจากพรรคประชาธิปัตย์ของนายเลียงและนาง อรพินท์ ไชยกาล ภรรยานายเลียงพร้อมกับสมาชิกพรรคอีก 16 คนอันเนื่องมาจากการขัดแย้งกันระหว่างนายเลียงกับ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช รองหัวหน้าพรรค ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2491 พรรคประชาชนได้ส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้งปรากฎว่าพรรคประชาชนได้ที่นั่งในสภาทั้งสิ้น 12 ที่นั่งจากทั้งหมด 99 ที่นั่ง เป็นอันดับ 2 รองจากพรรค ประชาธิปัตย์ ที่ได้ที่นั่งในสภาทั้งสิ้น 53 ที่นั่งในภายหลัง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชน (พ.ศ. 2511)

รรคประชาชน พรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนจัดตั้งตาม พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511 โดยจดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2511 มีนาย เลียง ไชยกาล หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ เป็นหัวหน้าพรรคและนาย เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ เป็นเลขาธิการพรรค ซึ่งก่อนหน้านั้นพรรคประชาชนได้เคยก่อตั้งมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2490 โดยนายเลียง ไชยกาล และอดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์อีก 16 คน พรรคประชาชน มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร และมีคณะกรรมการบริหารที่สำคัญ อาทิ อรพินท์ ไชยกาล สุธรรม ปัทมดิลก ประมวล ศิริกูล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชาชน (พ.ศ. 2511) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)

รรคประชาชน (ชื่อเดิม พรรครักไทย) พรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 พรรครักไทยได้เปลี่ยนแปลงชื่อพรรคเป็น พรรคประชาชน และในปี พ.ศ. 2531 ได้เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่นำโดยกลุ่มของนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ย้ายเข้ามาสังกัดพรรคประชาชนและได้ให้คุณหญิงศศิมา ศรีวิกรม์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรคและนางสาวนิตยา ภูมิดิษฐ์ เป็นรักษาการเลขาธิการพรรค ต่อมาอีกเพียง 15 วัน ที่ประชุมใหญ่ได้มีมติเลือกให้นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ เป็นหัวหน้าพรรค และนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นเลขาธิการพรรคแทน และมีแกนนำคนสำคัญ อาทิ นายเดโช สวนานนท์, นายไกรสร ตันติพงศ์, นายเลิศ หงษ์ภักดี, นายอนันต์ ฉายแสง, นายสุรใจ ศิรินุพงศ์, นายถวิล ไพรสณฑ์, นายพีรพันธุ์ พาลุสุข, นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์, นายกริช กงเพชร พรรคประชาชน ลงรับเลือกตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2531 ปรากฏว่าทางพรรคได้ที่นั่งทั้งสิ้น 19 ที่นั่ง พรรคประชาชนประกาศยุบพรรคเมื่อวันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคประชาชน (พ.ศ. 2531) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแทนคุณแผ่นดิน

รรคแทนคุณแผ่นดิน (Thaen Khun Phaendin Party) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดย กลุ่มแทนคุณแผ่นดินอีสาน นำโดย นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคแทนคุณแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแนวร่วมสังคมนิยม

รรคแนวร่วมสังคมนิยม (Socialist Front Party) พรรคการเมืองที่จดทะเบียนตาม.ร..พรรคการเมือง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคแนวร่วมสังคมนิยม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยพอเพียง

รรคไทยพอเพียง พรรคการเมืองของไทยที่จดทะเบียนจัดตั้งพรรคเมื่อ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2553 มีนายจำรัส อินทุมาร เป็นหัวหน้าพรรคและนายธีรวุธ พราหมณสุทธ์เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคไทยพอเพียง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยเข้มแข็ง

รรคไทยเข้มแข็ง หรือชื่อย่อ "ท." เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2553 มีนายมนัส พานิช เป็นหัวหน้าพรรค และนายประธาน พรหมอ่อน เป็นเลขาธิการพรรค มีที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่เลขที่ 385 หมู่ 1 ถนนบ้านหน้าควนลัง-บ้านพรุ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 พรรคไทยเข้มแข็ง มีเป็นที่จับตามองของสังคมไทยว่าจะเป็นพรรคการเมืองที่อาจจะถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จากพรรคประชาธิปัตย์ หากถูกตัดสินยุบพรรค แต่แกนนำของพรรคประชาธิปัตย์ และพรรคไทยเข้มแข็งต่างปฏิเสธว่าเรื่องดังกล่าวไม่เป็นความจริง ต่อมาเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554 คณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้มีมติเห็นชอบให้นายทะเบียนพรรคการเมืองประกาศให้พรรคไทยเข้มแข็งสิ้นสภาพความเป็นพรรคการเมือง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคไทยเข้มแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเกษตรสังคม

รรคเกษตรสังคม เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2517 โดยมีนาย เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ เป็นหัวหน้าพรรคและมีนาย จารุบุตร เรืองสุวรรณ เป็นเลขาธิการพรรค โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งอาทิ น้อม อุปรมัย สวัสดิ์ คำประกอบ สะไกร สามเสน อุดร ตันติสุนทร ปัญจะ เกสรทอง ประเทือง คำประกอบ แผน สิริเวชชะพัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคเกษตรสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ที่ประชุมใหญ่ของพรรคมีมติเอกฉันท์ให้รวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498)

รรคเสรีประชาธิปไตย พรรคการเมืองของไทยในอดีตที่จดทะเบียนก่อตั้งตาม พระราชบัญญัติพรรคการเมือง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคเสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเดโมแครต

พรรคเดโมแครต (Democratic Party) เป็นชื่อในภาษาอังกฤษของพรรคการเมืองหลายพรรค ในหลายประเทศ เช่น พรรคเดโมแครต ของสหรัฐอเมริกา, พรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่น ของญี่ปุ่น ในส่วนของประเทศไทย คือ พรรคประชาธิปัตย์ category:พรรคการเมือง category:การแก้ความกำกวม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคเดโมแครต · ดูเพิ่มเติม »

พรวุฒิ สารสิน

รวุฒิ สารสิน เป็นนักธุรกิจ นักการเมือง และนักแสดงชาวไทย ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการ บริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด ซึ่งในประวัติการทำงานส่วนนี้ทำให้ได้รับฉายาว่า "เจ้าพ่อน้ำดำ".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรวุฒิ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)

นาวาเอก พระยาศราภัยพิพัฒ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 - 21 กันยายน พ.ศ. 2511) นักหนังสือพิมพ์ อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และวุฒิสมาชิก พระยาศราภัยพิพัฒ มีชื่อจริงว่า เลื่อน ศราภัยวานิช สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญรุ่นเดียวกับพระยาอนุมานราชธน และไปศึกษาต่อด้านสื่อสารมวลชน จาก School of Journalism เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย สมรสกับ หม่อมหลวงฉลอง ศราภัยวานิช พระยาศราภัยพิพัฒ ได้รับราชการเป็นนายเวรวิเศษ เลขาประจำตัวของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้ากรมเสมียนตรา และปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม ถูกปลดออกจากราชการหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 พร้อมกับทำงานด้านหนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ ไปพร้อมกับนายหลุย คีรีวัต นายสอ เศรษฐบุตร เป็นต้น หนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ที่พระยาศราภัยพิพัฒ นั้นได้ถูกเพ่งเล็งจากฝ่ายรัฐบาล ว่าเป็นสื่อที่สนับสนุนการปกครองแบบเก่า หลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช ในปี พ.ศ. 2476 และพระยาศราภัยพิพัฒเขียนบทความชื่อ "ฟ้องในหลวง" โจมตี กรณีนายถวัติ ฤทธิ์เดช ยื่นฟ้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อศาลอาญา อีกทั้งยังเดินทางไปเข้าเฝ้าสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ปีนัง พระยาศราภัยพิพัฒและพวกถูกหมายจับในข้อหาแจกใบปลิวเถื่อนและปลุกระดมการกบฏ จึงหลบหนีด้วยการลงเรือตังเกหนีลงทะเล แต่ถูกจับได้ที่อ่าวไทย หลังจากนั้นจึงถูกส่งไปจำคุกในฐานะนักโทษการเมือง ที่เกาะตะรุเตา พร้อมกับนักโทษคนสำคัญอีกหลายคน จนกระทั่งในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560

ระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระธรณี

วัดท่าสุทธาวาส พระแม่ธรณี หรือ พระศรีวสุนธรา ภาษากะเหรี่ยงว่า ซ่งทะรี่ เป็นเทพีแห่งพื้นแผ่นดิน ปรากฏในตำนานทั้งศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ในคติของศาสนาฮินดูให้ความเคารพนับถือว่าแผ่นดินเป็นสิ่งค้ำจุนสรรพสิ่งทั้งปวงในโลกเปรียบเสมือนมารดาผู้ให้กำเนิดหล่อเลี้ยงโลกและแผ่นดิน จึงได้รับยกย่องว่าเป็นเทพจากธรรมชาติองค์หนึ่งเป็นเพศหญิง เรียกนามว่า "ธรณิธริตริ" แปลว่า "ผู้ค้ำจุนพระธรณี" แม้จะมิค่อยมีรูปเคารพอย่างแพร่หลายเช่นเทพองค์อื่นแต่ก็มีผู้ให้ความเคารพนับถือเป็นจำนวนมิใช่น้อย เพราะถือกันว่าพระธรณีสถิตย์อยู่ตามที่ต่าง ๆ ทุกหนทุกแห่ง จะทำการบูชาด้วย ข้าว ผลไม้ และนมด้วยการวางไว้บนก้อนหิน หรือประพรมลงบนพื้นดิน บางแห่งใช้เหล้าเป็นการสังเวยก็มี นอกจากนี้ชาวฮินดูยังมีการขอขมาลาโทษเมื่อจะวางเท้าลงบนพื้นดินก่อนจะลุกขึ้นในตอนเช้า วัวหรือควายที่มีลูกก่อนที่จะให้ลูกกินนมครั้งแรก เจ้าของจะปล่อยน้ำนมของแม่วัวลงบนพื้นดินเสียก่อนทุกครั้งไป ถ้าเป็นพวกชาวนาก็จะขอให้พระธรณีช่วยคุ้มครองผืนนาและวัวควาย แม้ในพระเวทก็มีการขอร้องต่อพระธรณีให้ช่วยพิทักษ์คุ้มครองวิญญาณของคนตาย และต่อมาได้นับถือว่าเป็นเทพแห่งไร่นาด้วย ในแคว้นปัญจาบเชื่อกันว่าพระธรณีจะนอนหลับเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ของทุก ๆ เดือนชาวไร่ชาวนาจะหยุดไม่ทำงานในระยะนี้ เทพแห่งแผ่นดินหรือพระธรณี ไม่ค่อยมีเรื่องราวประวัติความเป็นมาปรากฏมากมายดังเช่นเทพองค์อื่น หรือมีก็สับสน เช่น บางแห่งว่าพระธรณีมีโอรสกับพระนารายณ์องค์หนึ่งคือพระอังคาร บางแห่งว่าพระอังคารเป็นโอรสของพระศิวะกับพระธรณี หรือในคติพราหมณ์พบเพียงว่าเป็นชายาของพระธุรวะหรือดาวเหนือ ในพุทธศาสนา พระแม่ธรณีปรากฏกายเพื่อบีบน้ำจากมวยผมให้ท่วมทัพท้าววสวัตตีที่มาผจญพระโคตมพุทธเจ้าในคืนวันตรัสรู้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพระธรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระประยุทธชลธี (แป๊ะ วีราสา)

ระประยุทธชลธี หรือ นาวาโท พระประยุทธชลธี ราชนาวี มีชื่อจริงว่า แป๊ะ วีราสา เป็นชาวไทยเชื้อสายมอญ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดตราด และเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร ในสมัยนายควง อภัยวง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพระประยุทธชลธี (แป๊ะ วีราสา) · ดูเพิ่มเติม »

พรทิวา นาคาศัย

รทิวา ศักดิ์ศิริเวทย์กุล หรือ พรทิวา นาคาศัย(6 มิถุนายน พ.ศ. 2504 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชัยนาท อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ อดีตเลขาธิการพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรทิวา นาคาศัย · ดูเพิ่มเติม »

พร้อม บุญฤทธิ์

ร้อม บุญฤทธิ์ หรือ พร้อมน้อย ตลุงสากล เป็นนายหนังตะลุงที่มีชื่อเสียง และเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) ปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพร้อม บุญฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พรเทพ เตชะไพบูลย์

นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (สมัยแรก) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพรเทพ เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพฤษภาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพฤษภาคม พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พลอย จริยะเวช

ลอย จริยะเวช นักเขียนสไตล์ Informative Entertaining นักแปล และนักออกแบบคอนเซปต์ เกิดวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพลอย จริยะเวช · ดูเพิ่มเติม »

พัชรวาท วงษ์สุวรรณ

ลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ (เกิด 22 มีนาคม พ.ศ. 2492) ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) และ กรรมการอิสระ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพัชรวาท วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พัลลภ ปิ่นมณี

ล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี พลเอก พัลลภ ปิ่นมณี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองผู้อำนวยการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ฝ่ายการเมือง (กอ.รมน.) และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2479 ที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีชื่อเดิมว่า อำนาจ ปิ่นมณี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร แล้วเข้าศึกษาต่อโรงเรียนเตรียมนายร้อยทหารบก รุ่นที่ 14 และจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.7 รุ่นเดียวกับ พลตรีจำลอง ศรีเมือง, พล.ต.มนูญกฤต รูปขจร, พันเอก (พิเศษ) ประจักษ์ สว่างจิตร) และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 49.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพัลลภ ปิ่นมณี · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย เกียรติวินัยสกุล

นายพิชัย เกียรติวินัยสกุล (เกิด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิชัย เกียรติวินัยสกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิชาญเมธ ม่วงมณี

ลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 และอดีตที่ปรึกษาพิเศษ กองทัพบก.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิชาญเมธ ม่วงมณี · ดูเพิ่มเติม »

พิภพ อะสีติรัตน์

นายพิภพ อะสีติรัตน์ (มกราคม พ.ศ. 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 5 สมัย และ อดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิภพ อะสีติรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิมพา จันทร์ประสงค์

มพา จันทร์ประสงค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ต่อมาได้เป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิมพา จันทร์ประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ (สกุลเดิม: ศกุนตาภัย; เกิด: 5 สิงหาคม พ.ศ. 2507) อาจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภรรยาอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย และหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

พิมล ศรีวิกรม์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมล ศรีวิกรม์ (เกิด 14 เมษายน พ.ศ. 2507) นายกสมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย กรรมการโรงเรียนศรีวิกรม์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิมล ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

พิษณุ พลไวย์

ษณุ พลไวย์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 17 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิษณุ พลไวย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตต รัตตกุล

ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิจิตต รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ รังสีธรรม

ทักษ์ รังสีธรรม พิทักษ์ รังสีธรรม อดีตนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง (ส.ส.ตรัง) 1 สมัย นายพิทักษ์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2485 ที่จังหวัดตรัง จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนทับเที่ยงฮั่วเฉียว และศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนตรังวิทยา จบไฮสกูลจากเมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย และสอบได้เกียรตินิยม จากนั้นได้ทำงานที่บริษัท มารูเบนิ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทของประเทศญี่ปุ่น ตามมาด้วยที่โรงแรมฟูจิ และที่สถานทูตประเทศสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย จากนั้น นายพิทักษ์ได้เดินทางกลับจังหวัดตรังบ้านเกิด ประกอบธุรกิจหมู่บ้านจัดสรร "รังสีวิลลา" ในเขตเทศบาลนครตรัง และยังประสบความสำเร็จในธุรกิจหลาย ๆ ด้าน เช่น โรงแรมเอ็ม.พี.รีสอร์ต หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ "โรงแรมเรือ", โรงยางพารา, เคเบิลทีวี, โรงเรียน เป็นต้น ในทางการเมือง นายพิทักษ์ ได้ลงสมัคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิทักษ์ รังสีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ จารุสมบัติ

ลตำรวจโท พิทักษ์ จารุสมบัติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ พล.ต.ท.พิทักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ที่อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพี่ชายแท้ๆ ของนายพินิจ จารุสมบัติ นักการเมืองที่มีชื่อเสียงและอดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา ปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รัฐศาสตรบัณฑิต-ร่วมรุ่นเดียวกับ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) และปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รับราชการเป็นตำรวจ โดยมีตำแหน่งสำคัญ ๆ ได้แก่ ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 8 ดูแลพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด, รองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออก, รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล และรองผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พล.ต.ท.พิทักษ์ ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ในพื้นที่เขต 4 จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งประกอบไปด้วย อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอแปลงยาว โดยต้องแข่งขันกับนายวุฒิพงศ์ ฉายแสง จากพรรคเพื่อไทย และเป็นฝ่ายได้รับเลือกตั้งไป โดย พล.ต.ท.พิทักษ์ได้คะแนนไปทั้งสิ้น 59,036 คะแนน ขณะที่นายวุฒิพงศ์ได้ไป 36,723 คะแนน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิทักษ์ จารุสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชฐ พัฒนโชติ

นายพิเชฐ พัฒนโชติ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตรองหัวหน้าพรรคการเมืองใหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิเชฐ พัฒนโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล

นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล · ดูเพิ่มเติม »

พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย

นายพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

พูนสุข โลหะโชติ

นางสาวพูนสุข โลหะโชติ (เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2502) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพูนสุข โลหะโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พจนารถ แก้วผลึก

นารถ แก้วผลึก นางพจนารถ แก้วผลึก เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503 ที่อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี จบการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนบางละมุง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร ปริญญาตรีจากวิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา เมื่อจบการศึกษาได้ยึดอาชีพเป็นครูที่โรงเรียนอนุบาลอักษรศึกษา อ.บางละมุง อยู่ 6 ปี จากนั้นจึงได้ขยับขยายขึ้นเป็นผู้บริหารโรงเรียนและรับตำแหน่งนี้มานานถึง 23 ปี แล้วจึงลาออกมาทำธุรกิจส่วนตัว โดยเปิดอพาร์ตเมนต์ให้เช่าพร้อมกับขายของเล็ก ๆ น้อย ๆ รวมทั้งกิจการอย่างอื่นด้วย เช่น ธุรกิจวิ่งรถในจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพจนารถ แก้วผลึก · ดูเพิ่มเติม »

พีรพันธุ์ พาลุสุข

ีรพันธุ์ พาลุสุข (10 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 30 เมษายน พ.ศ. 2557) อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แล้วได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อไทย เมื่อตอนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพีรพันธุ์ พาลุสุข · ดูเพิ่มเติม »

พีรยศ ราฮิมมูลา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรยศ ราฮิมมูลา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) นักวิชาการด้านการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพีรยศ ราฮิมมูลา · ดูเพิ่มเติม »

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์ประยูร ราชอาภัย

งศ์ประยูร ราชอาภัย ชื่อเล่น พงศ์ เป็นนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงละครโทรทัศน์สังกัดช่อง 7 และเป็นอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพงศ์ประยูร ราชอาภัย · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์เวช เวชชาชีวะ

นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดจันทบุรี พรรคประชาธิปัตย์ และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย และหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพงศ์เวช เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

พนิช วิกิตเศรษฐ์

นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพนิช วิกิตเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

พเยาว์ พูนธรัตน์

ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์ อดีตฮีโร่โอลิมปิคคนแรกของไทย อดีตแชมเปี้ยนโลกชาวไทยคนที่ 7 และอดีต ส.ส. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ของพรรคประชาธิปัตย์ พเยาว์ เกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ที่อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สมัยวัยรุ่นเคยชกมวยไทยมาก่อนอย่างโชกโชน ในชื่อ "เพชรพเยาว์ ศิษย์ครูทัศน์" โดยชกประจำในรายการศึกจ้าวตะวันออก ของโปรโมเตอร์ นภา นาคปฐม ที่เวทีราชดำเนิน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และพเยาว์ พูนธรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรกฎาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กระจ่าง ตุลารักษ์

ร้อยโท กระจ่าง ตุลารักษ์ หรือ นายกระจ่าง ตุลารักษ์ (2456 — 23 มิถุนายน 2552) หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ นายกระจ่าง เป็นชาวไทยเชื้อสายจีน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2456 ที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เข้าร่วมกับคณะราษฎรด้วยวัยเพียง 19 ปี ขณะยังเป็นนักเรียนช่างกลอยู่ จากการชักชวนของพี่ชาย คือ นายสงวน ตุลารักษ์ โดยเข้ามาเป็นสมาชิกคณะราษฎรในสายพลเรือนเพียง 5 วัน ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเท่านั้น โดยนายสงวนได้มอบหมายให้นายกระจ่างพาเพื่อนร่วมอุดมการณ์ที่มีพฤติกรรมดี ไม่ดื่มเหล้า ไม่ติดการพนัน เข้าร่วมเป็นคณะราษฎรเพิ่มด้วย 2-3 คน ในเช้าวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายกระจ่างรับหน้าที่ควบคุมตัวบุคคลสำคัญและเจ้านายชั้นสูงในพระที่นั่งอนันตสมาคม รวมถึงอารักขาหัวหน้าคณะราษฎรด้วย โดยไม่ได้รับรู้มาก่อนเลยว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เพราะเป็นบุคคลระดับเล็ก ๆ ไม่ได้รับรู้ถึงแผนการชั้นสูง ภายหลังเปลี่ยนแปลงการครอง ที่สมาชิกคณะราษฎรหลายคนได้มีตำแหน่งและบทบาททางการเมือง แต่นายกระจ่างก็ได้กลับไปเป็นลูกจ้างตามเดิม โดยไม่มีตำแหน่งใด ๆ ทั้งสิ้น เนื่องจากอายุยังน้อยอยู่ จนกระทั่งเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 นายกระจ่างได้ร่วมกับขบวนการเสรีไทย โดยได้ปฏิบัติหน้าที่เล็ดรอดเข้าไปในประเทศจีนเพื่อให้ความคุ้มครองบุคคลสำคัญต่าง ๆ และปฏิบัติงานอยู่ตามตะเข็บชายแดนไทย-ลาว และลาว-เวียดนาม หลังเสร็จสงครามแล้วได้รับยศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) จากนั้น ร.ท.กระจ่างก็ได้กลับไปใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวที่จังหวัดยะลา โดยได้เปิดกิจการโรงเลื่อยที่อำเภอรามัน และได้สมรสกับนางพวงเพ็ชร (นามเดิม: สวนเพ็ชร โกวิทยา) ซึ่งเป็นภรรยา มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 4 คน ร.ท.กระจ่าง เคยเป็น ส.ส. จังหวัดขอนแก่น จากการเลือกตั้งเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2489 จากนั้น เมื่อหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตหัวหน้าเสรีไทยสาย สหรัฐอเมริกา ได้เข้ารับตำแหน่งหัวหน้า พรรคประชาธิปัตย์ ต่อจากนายควง อภัยวงศ์ ที่ถึงแก่อสัญกรรมไปเมื่อปี พ.ศ. 2511 ร.ท.กระจ่างได้สมัครเป็นสมาชิกพรรค และได้ลงเลือกตั้งเป็น ส.ส. ในจังหวัดยะลา แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง หลังจากนั้นชีวิตก็ได้วนเวียนอยู่ในแวดวงการเมืองมาโดยตลอด เช่น เป็นนักการเมืองท้องถิ่น และปลูกฝังทัศนคติทางการเมือง การปกครองแก่บุตรหลานและคนใกล้ชิด เป็นต้นกระทั่ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกระจ่าง ตุลารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กริช กงเพชร

กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกริช กงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กรุณา ชิดชอบ

นางกรุณา ชิดชอบ (ชื่อเล่น: ต่าย) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ (ส.ส.บุรีรัมย์) หลายสมัย ต่าย เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรีคนโตของคะแนน สุภา เจ้าของ บริษัท เชียงใหม่ คอนสตรัคชั่น จำกัด กิจการรับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับสัมปทานก่อสร้างในพื้นที่ภาคเหนือ จากส่วนราชการ หลายกระทรวงทบวงกรม มูลค่ารวมกว่า หนึ่งหมื่นล้านบาท และมีนางกรุณา เป็นกรรมการผู้จัดการ นางกรุณาสมรสกับ นายเนวิน ชิดชอบ นักการเมืองชื่อดัง เมื่อ พ.ศ. 2537 และในการแถลงทรัพย์สินรัฐมนตรี เมื่อ ปี พ.ศ. 2547 นางกรุณา ชิดชอบ ติดอันดับ 2 ของ ภรรยารัฐมนตรี ที่มีที่ดินถือครองมากที่สุด รองจาก คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ โดยแจ้งยอดทรัพย์สินต่อ ป.ป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรุณา ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกรณ์ จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

กฤษ ศรีฟ้า

กฤษ ศรีฟ้า (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกฤษ ศรีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 10 มกรา

กลุ่ม 10 มกรา กลุ่มการเมืองที่ก่อตัวขึ้นภายใน พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีส่วนสำคัญทำให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นต้องประกาศยุบสภา กลุ่ม 10 มกรา ก่อตั้งโดยนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคช่วงปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกลุ่ม 10 มกรา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มวังน้ำเย็น

กลุ่มวังน้ำเย็น หมายถึง กลุ่มของนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย เสนาะ เทียนทอง ตั้งชื่อตามชื่อ ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นฐานธุรกิจ และการเมืองดั้งเดิมของนายเสนาะ (เดิม อ.วังน้ำเย็น อยู่ใน จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนจะแยกออกมาพร้อม อ.อรัญประเทศ, อ.ตาพระยา, อ.วัฒนานคร และ อ.คลองหาด เพื่อจัดตั้งเป็น จังหวัดสระแก้ว) "กลุ่มวังน้ำเย็น" เดิมเป็นสมาชิก พรรคชาติไทย ซึ่งมี นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นหัวหน้าพรรค เนื่องจากมีจำนวน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกลุ่มวังน้ำเย็น · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มวาดะห์

กลุ่มวาดะห์ หรือ "กลุ่มเอกภาพ" เป็นชื่อกลุ่มนักการเมืองที่เคยทรงอิทธิพลอย่างสูงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก่อตั้งโดย นายเด่น โต๊ะมีนา และ นายวันมูหะมัดนอร์ มะท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกลุ่มวาดะห์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มงูเห่า

กลุ่มงูเห่า เป็นชื่อเรียก ส.ส. กลุ่มหนึ่งที่เคยสังกัดพรรคประชากรไทย มีที่มาจากคำเปรียบเปรยของ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรคประชากรไทย ในขณะนั้น ที่เปรียบตัวเองเป็นเหมือนชาวนาที่ถูกงูเห่ากัดในนิทานอีสป เหตุการณ์เกิดขึ้น หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ปลายปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกลุ่มงูเห่า · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเพื่อนเนวิน

นายเนวิน ชิดชอบ และกลุ่มเพื่อนเนวิน ประกาศสนับสนุนนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี กลุ่มเพื่อนเนวิน เป็นกลุ่มของนายเนวิน ชิดชอบ เดิมมีสมาชิกกว่า 70 คน แต่ในปัจจุบันเหลือสมาชิกเพียง 23 คน กลุ่มเพื่อนเนวินเป็นกลุ่มการเมืองที่มีพลังในการต่อรองทางการเมืองสูงมากภายในพรรคพลังประชาชน และเป็นกลุ่มสำคัญที่ผลักดันให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และพรรคประชาธิปัตย์ได้จัดตั้งรัฐบาลในปลายปี พ.ศ. 2551 ภายหลังจากที่พรรคพลังประชาชนถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ในปัจจุบันสมาชิกกลุ่มเพื่อนเนวินได้สังกัดพรรคภูมิใจไทย ซึ่งเป็นพรรคที่รองรับสมาชิกพรรคมัชฌิมาธิปไตยเดิมของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน กลุ่มเพื่อนเนวินจึงได้รับฉายาว่า กลุ่มงูเห่า 2551.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกลุ่มเพื่อนเนวิน · ดูเพิ่มเติม »

กล้วย เชิญยิ้ม

กล้วย เชิญยิ้ม นักแสดงตลกชาวไทยชื่อดังในคณะเชิญยิ้ม มีชื่อจริงว่า ฐานุพงศ์ ศักดิ์ธนาวัฒน์ (ชื่อเดิม: สุนทร คมขำ).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกล้วย เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2492 เป็นบุตรของ นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และคุณหญิงศรีประพาฬ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์เป็นบุตรคนโต มีพี่น้องอีก 4 คนคือ นางศิริณี สภาวสุ, นายกุมพล สภาวสุ, นางจารุวรรณ กัลยางกูร และนายประโภชณ์ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล เมื่อ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ · ดูเพิ่มเติม »

กัลยา รุ่งวิจิตรชัย

นางสาวกัลยา รุ่งวิจิตรชัย (เกิด 10 มิถุนายน พ.ศ. 2508) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกัลยา รุ่งวิจิตรชัย · ดูเพิ่มเติม »

กัลยา โสภณพนิช

ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกัลยา โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

กังสดาล พิพิธภักดี

กังสดาล พิพิธภักดี หรือเดิมคือ เติงกูซูไบดะห์ บินตีเติงกูนูรุดดีน เติงกู อัมปวน มะห์โกตา กลันตัน อดีตพระชายาในสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 ประเทศมาเลเซีย เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารแห่งกลันตัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกังสดาล พิพิธภักดี · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกันยายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์

นางกันตวรรณ กุลจรรยาวิวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงที่สุดในประเทศไทย จากการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551

หตุการณ์ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน

ตราสัญลักษณ์รายการความจริงวันนี้ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน เป็นการชุมนุมทางการเมือง ที่ผู้บริหารและผู้จัดรายการทางสถานีประชาธิปไตยร่วมกันจัดขึ้น โดยพัฒนามาจากงานครอบครัวความจริงวันนี้สัญจร ที่จัดโดยกลุ่มผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ เพื่อพบปะกับผู้ชมรายการ รวมถึงย้อนรำลึกถึงบรรยากาศ ในการชุมนุมต่อต้านเผด็จการทหาร ในนามของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2554

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551

นายสมัคร สุนทรเวช และนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี หลังจากที่ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีจากการรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดำรงตำแหน่งครบวาระตามรัฐธรรมนูญ โดยนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยต้องมี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548

.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ใน พ.ศ. 2548 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีในตำแหน่งที่ว่างลง หลังจากที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งครบวาระ 4 ปี โดยนายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้กำหนดวิธีลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีแบบเปิดเผยด้วยการขานชื่อ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก บรรยายกาศการลงมติ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 7-19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สวรรคตเพราะต้องพระแสงปืนเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อการเมืองไทยอย่างรุนแรง และนำไปสู่การเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และการลดบทบาททางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ภายหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2490 โดยกลุ่มจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทุกวันนี้กรณีดังกล่าวยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และได้รับความสนใจในหมู่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ แต่ไม่เป็นประเด็นสาธารณะเพราะกรณีดังกล่าวพาดพิงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยโดยตรง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ขณะชี้แจงข้อกล่าวหาจากผู้อภิปราย การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2555

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการอภิปรายไม่ไว้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

การุณ โหสกุล

การุณ โหสกุล (4 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 สังกัดพรรคเพื่อไทย ประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการุณ โหสกุล · ดูเพิ่มเติม »

การทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นับตั้งแต่เริ่มต้นโครงการก่อสร้างเป็นต้นมา ก็ได้มีข้อกล่าวหาการทุจริตในโครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยตลอด โดยข้อกล่าวหาการทุจริตเริ่มขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1970 ภายหลังการจัดซื้อที่ดินของรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร ซึ่งกินเวลามาจนถึงรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งมีความคืบหน้าของการก่อสร้างท่าอากาศยานมากที่สุด จนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีองค์การใดที่สามารถพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการทุจริตในโครงการก่อสร้างได้เลย ในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 กองทัพไทยอาศัยข้อกล่าวหาการทุจริตในโครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหนึ่งในข้ออ้างรัฐประหาร ส่วนความล่าช้าในการซ่อมแซมและปัญหาท่าอากาศยานที่พบในภายหลังนั้น คณะรัฐประหารเองก็ได้กล่าวหารัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตรมากขึ้นอีก ใน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544–2549 ระหว่างดำรงตำแหน่ง ทักษิณริเริ่มหลายนโยบายซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา พลังงาน ยาเสพติดและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาชนะการเลือกตั้งถล่มทลายถึงสองสมัยProtesters Jam Bangkok, but Rural Thais Love the Leader.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองไทย

การเมืองไทยปัจจุบันอยู่ในระบอบเผด็จการทหารในพฤตินัย ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นผู้ใช้อำนาจบริหารและเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 แทนตำแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 2 ลำพูน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน เขต 2 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎรธานี เขต 1 แทนตําแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎรธานี เขต 1 แทนตําแหน่งที่ว่าง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎรธานี เขต 1 แทนตําแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 5 ปทุมธานี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 5 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 3 เชียงใหม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 3 เชียงใหม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500

ประชาชนและบรรดานักศึกษาประท้วงการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย แถลงข่าวในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ถึงการคว่ำบาตรการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

แต่เดิม ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นข้าราชการการเมืองที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552

ปสเตอร์รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552 การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภากรุงเทพมหานครเขต 1 ดอนเมือง พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภากรุงเทพมหานครเขต 1 ดอนเมือง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภากรุงเทพมหานครเขต 1 ดอนเมือง พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ

ลเอกกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ นักการเมืองชาวไทย ประธานที่ปรึกษา พรรคไทยศรีวิไลย์ อดีตผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายชวน หลีกภัย) เคยเป็นอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม่ และประธานที่ปรึกษาพรรคประชาสันติ และพรรคต้นตระกูลไทย รวมถึงอดีตกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่

นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า แม่แดง มีชื่อเดิมว่า กิ่งกาญจน์ โกไศยกานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย และอดีตกรรมการบริหารพรรคความหวังใหม่ และเป็นภรรยาของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กปปส.

กปป. มีชื่อเต็มว่า คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ ชื่อเดิม คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า People's Democratic Reform Committee, แปลตามตัวอักษร คณะกรรมการประชาชนปฏิรูปประชาธิปไตย, ย่อ: PDRC) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย โดยมุ่งหมายขจัดอิทธิพลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จากการเมืองไทย และการจัดตั้งสภาประชาชนที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อควบคุมการปฏิรูปการเมือง กลุ่มดังกล่าวมีบทบาทสูงในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 ในสถานะของผู้จัดกิจกรรมชุมนุมประท้วงขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร สุเทพ เทือกสุบรรณ ผู้นำการประท้วงและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ ก่อตั้งกลุ่มดังกล่าวตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 และแต่งตั้งตนเองเป็นเลขาธิการ ขบวนการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากหลายองค์การ รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กลุ่มนักเคลื่อนไหวนักศึกษา สหภาพแรงงานของรัฐ และกลุ่มนิยมทหาร การสนับสนุนของ กปป.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกปปส. · ดูเพิ่มเติม »

กนก วงษ์ตระหง่าน

ตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) และคณะกรรมการขับเคลื่อนวาระประชาชนของพรรคประชาธิปัตย์ ด้านเศรษฐกิจและการศึกษ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และกนก วงษ์ตระหง่าน · ดูเพิ่มเติม »

ก่อแก้ว พิกุลทอง

นายก่อแก้ว พิกุลทอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และอดีตรักษาการผู้อำนวยการ องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และก่อแก้ว พิกุลทอง · ดูเพิ่มเติม »

ฐิติมา ฉายแสง

ติมา ฉายแสง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของจาตุรนต์ ฉายแสง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฐิติมา ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ

ร.ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2516) อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตวังทองหลาง และอดีตนักแสดงสังกัดดาราวิดีโอทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และภักดีหาญส์ หิมะทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ นิโรจน์

ร.ภิญโญ นิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครสวรรค์ และเป็นที่ปรึกษาสมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และภิญโญ นิโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภิรพล ลาภาโรจน์กิจ

นายภิรพล ลาภาโรจน์กิจ (เกิด 30 มิถุนายน พ.ศ. 2519) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และภิรพล ลาภาโรจน์กิจ · ดูเพิ่มเติม »

ภุชงค์ รุ่งโรจน์

งค์ รุ่งโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดชลบุรี และอดีตนายกเทศมนตรีเมืองชะอำ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และภุชงค์ รุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มัลลิกา มหาสุข

มัลลิกา บุญมีตระกูล พระราชทานน้ำสังข์ข้างที่ มัลลิกา บุญมีตระกูล ณัฐพล มหาสุข หรือ มัลลิกา บุญมีตระกูล มหาสุข (ชื่อเล่น: ติ่ง, มอลลี่; เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ที่จังหวัดพะเยา) เป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และในอดีตเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการร่วมมือร่วมใจ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี นอกจากนี้ยังเป็นประธานมูลนิธิมัลลิกาเพื่อประชาชน และประธานชมรมนักรบไซเบอร์ (ขจัดเว็บหมิ่นผิดกฎหมาย).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมัลลิกา มหาสุข · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

มาลินี สุขเวชชวรกิจ

แพทย์หญิง มาลินี สุขเวชชวรกิจ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมาลินี สุขเวชชวรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

มานะ มหาสุวีระชัย

มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2498 ที่ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เป็นบุตรของนายประวิทย์ และนางสุชา มหาสุวีระชั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมานะ มหาสุวีระชัย · ดูเพิ่มเติม »

มานะ คงวุฒิปัญญา

มานะ คงวุฒิปัญญา นายมานะ คงวุฒิปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมานะ คงวุฒิปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

มานะ แพรสกุล

นายมานะ แพรสกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 4 สมัย ได้รับการเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ในสังกัดพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมานะ แพรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์

นายมานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ (เกิด 31 มีนาคม พ.ศ. 2521) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

มาโนชญ์ วิชัยกุล

นายมาโนชญ์ วิชัยกุล (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 9 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมาโนชญ์ วิชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมิถุนายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา

มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา (เกิด 12 ตุลาคม พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมีนาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มณทิพย์ ศรีรัตนา

ร.มณทิพย์ ศรีรัตนา เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมณทิพย์ ศรีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑล ไกรวัตนุสสรณ์

นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2482) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มนูญกฤต รูปขจร

ลตรี มนูญกฤต รูปขจร อดีตประธานวุฒิสภาและอดีต..ระบบสัดส่วนพรรคประชาธิปัตย์ เดิมมีชื่อว่า "มนูญ" เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2478 จบการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 7 (จปร.7) จากนั้นได้ไปเรียนหลักสูตรผู้บังคับกองร้อยที่จังหวัดสระบุรี มีผลการเรียนดีด้วยการสอบได้ที่ 1 และได้ทุนไปเรียนต่อที่ฟอร์ตนอกซ์ สหรัฐอเมริกา จึงได้รู้จักกับ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ จากนั้นจึงกลับมารับราชการครั้งแรกในตำแหน่งผู้บังคับหมวดอาวุโสที่กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ (ม.1 รอ.) ในปี พ.ศ. 2509 พล.ต.มนูญกฤตเริ่มเข้ามามีส่วนร่วมในการเมืองด้วยการเป็นคนสนิทของ พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ รองผู้บัญชาการทหารบก และ พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา อดีตผู้บัญชาการทหารบกและรัฐมนตรีว่าการและช่วยว่าการหลายกระทรวง หลังการรัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 พล.ต.มนูญกฤตได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาปฏิรูปแผ่นดิน และเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520 แต่ในเหตุการณ์กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 ที่นำโดย พล.อ.ฉลาด หิรัญสิริ พล.ต.มนูญกฤตซึ่งในขณะนั้นเป็นผู้บังคับบัญชาการกองพันทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ (ม.พัน 4 รอ.) ได้นำรถถังออกมาต่อต้านการรัฐประหาร ปรากฏว่าฝ่าย พล.อ.ฉลาดเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และกลายเป็นกบฏ ต่อมาในรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.ต.มนูญกฤตเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกระทำรัฐประหารถึง 2 ครั้ง แต่ไม่สำเร็จ คือ กบฏเมษาฮาวาย ระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน พ.ศ. 2524 ทำให้ต้องหลบหนีออกนอกประเทศ และถูกถอดยศทางทหาร ซึ่งในขณะนั้นมียศ พันเอก (พ.อ.) และอีกครั้งเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 หรือ กบฏ 9 กันยา ได้ร่วมมือกับ พล.อ.อ.มนัส รูปขจร น้องชายของตนซึ่งขณะนั้นมียศ นาวาอากาศโท (น.ท.) และดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชาหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (อย.) นำกองกำลังและรถถังออกปฏิบัติการ แต่ไม่สำเร็จ ทำให้ต้องหลบหนีอีกครั้ง ก่อนจะกลับมาสู้คดีในปี พ.ศ. 2531 ซึ่งรวมถึงคดีวันลอบสังหารด้วย พร้อมกับได้เปลี่ยนชิ่อมาเป็น มนูญกฤต เช่นในปัจจุบัน ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ จึงได้คืนยศทางทหาร และคดีวันลอบสังหารศาลได้สั่งยกฟ้อง ด้วยความช่วยเหลือของ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ ซึ่งหันมาเล่นการเมืองแล้วในขณะนั้น จนกระทั่งในวันที่ 4 มีนาคม ปี พ.ศ. 2543 ได้ลงเลือกตั้งเป็นวุฒิสภาชิกจังหวัดสระบุรี ได้รับเลือกตั้ง และได้รับเลือกให้เป็นประธานวุฒิสภา ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทางกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในต้นปี พ.ศ. 2549 พล.ต.มนูญกฤตในฐานะอดีตประธานวุฒิสภาได้ขึ้นเวทีในรายการ "รู้ทันประเทศไทย" ของ ดร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมนูญกฤต รูปขจร · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมนตรี พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ปาน้อยนนท์

นายมนตรี ปาน้อยนนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเป็นประธานกรรมาธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และมนตรี ปาน้อยนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอด นครนายก

อด นครนายก เป็นนักแสดงตลกชาวไทยซึ่งเอกลักษณ์ประจำตัวคือหัวล้าน มีชื่อจริงว่า สมัคร ผลประเสริฐ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดนครนายก จบการศึกษาจากการศึกษานอกโรงเรียน และมหาวิทยาลัยปทุมธานี เข้าสู่วงการปี 2507 โดยอยู่วงดนตรีลูกทุ่ง และ เริ่มเล่นตลกคาเฟ่จากคณะสี่ดาว สมาชิกประกอบด้วย แดน บุรีรัมย์ ยอด นครนายก ตุ๊ยตุ๋ย น้ำเชื่อมหยด และ ศรีแพร ต่อมาตั้งคณะรวมดาว ประมาณปี 2530 ประกอบด้วย ยอด ตุ๊ยตุ๋ย ยาว ดาร์กี้ โย่ง อยู่ด้วยกันได้ 3 ปี ยาว โย่ง ไปตั้งคณะ จึงเปลี่ยนเป็นคณะ ยอด นครนายก และ มีผลงานการแสดงต่าง ๆ มากมาย รวมถึงเคยเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งนานถึง 20 ปีด้วย ชีวิตส่วนตัว เคยผ่านมาสมรสมาแล้วถึง 2 ครั้ง มีบุตรทั้งหมด 4 คน ภรรยาคนปัจจุบัน ชื่อ วรรณทิพย์ ขุนทิพย์แสง เป็นข้าราชการระดับ 6 ของเทศบาลเมืองคูคต โดยทำพิธีสมรสไปเมื่อต้นปี พ.ศ. 2552 นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นนักการเมืองในท้องถิ่นของจังหวัดปทุมธานี ด้วยการเป็นรองนายกเทศมนตรีเมืองคูคต อำเภอลำลูกกา มาแล้ว 5 สมัย และในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งเป็น ส.ส. ในเขต 6 จังหวัดปทุมธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ด้วย แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง และเป็นพิธีกรในรายการ "สน.อาสา" ทางบลูสกายแชนแนล คู่กับมัลลิกา บุญมีตระกูล เป็นบางครั้งสน.อาสา รายการทางบลูสกายแชนแนล: อังคารที่ 17 กันยายน 2556 ปัจจุบันเป็นพิธีในรายการ "ข่าวบ่ายคลายเครียด" ทางฟ้าวันใหม่ คู่กับ หยอง ลูกหยี และกล้วย เชิญยิ้ม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยอด นครนายก · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งพันธ์ มนะสิการ

นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2546) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยิ่งพันธ์ มนะสิการ · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ยุพราช บัวอินทร์

นายยุพราช บัวอินทร์ (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยุพราช บัวอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธพงศ์ จรัสเสถียร

นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม เขต 3 สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยุทธพงศ์ จรัสเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธ์ ชัยประวิตร

ร.ยุทธ์ ชัยประวิตร (ชื่อเดิม: อายุทธ์ จิรชัยประวิตร) เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 จบการศึกษาระดับประถมกับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีเกียรตินิยมจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ดร.ยุทธ์ เป็นอาจารย์พิเศษในระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีประสบการณ์ทำงานเป็น ประธานอนุกรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นผู้ช่วยเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีผลงานทางด้านการตรวจสอบ วิจัยและเสนอแนะเกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมหลายเรื่อง ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 ดร.ยุทธ์ ในขณะนั้นซึ่งยังใช้ชื่อว่า อายุทธ์ ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคมัชฌิมาธิปไตย และลงเลือกตั้งในเขต 2 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตสาทร บางคอแหลม ยานนาวา คลองเตย และวัฒนา คู่กับนายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ และนางสาวสุภาภรณ์ แสงทอง อดีตนักแสดง แต่ไม่ได้รับเลือก โดยในช่วงการหาเสียงเลือกตั้ง นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ หัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย ได้กล่าวถึง ดร.ยุทธ์ว่า มีความเก่งกาจ ความรู้สูง เป็นคนหนุ่มรุ่นใหม่ อีกทั้งยังหน้าตาดี จนสามารถนำไปเปรียบกับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยุทธ์ ชัยประวิตร · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ สุวภาพ

งยุทธ สุวภาพ (12 กันยายน พ.ศ. 2489 -) นายกเทศมนตรีตำบลเมืองงาย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวของพรรคประชาธิปัตย์ที่ชนะการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ในจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นอดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยงยุทธ สุวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ นพเกตุ

นายยงยุทธ นพเกตุ (เกิด 17 เมษายน พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และยงยุทธ นพเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

รชฏ พิสิษฐบรรณกร

ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร อดีต ส.ส.พรรคไทยรักไทยและอดีตทหารบกชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 34 ในตำแหน่งประธานรุ่น, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 45 ในตำแหน่งหัวหน้านักเรียน, ปริญญาโทจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย Santo Thomas, ผ่านหลักสูตรอบรมจากสถาบันพระปกเกล้า เคยรับราชการที่กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 8 จังหวัดเลย และกรมทหารพรานกองทัพภาคที่ 2 ก่อนจะย้ายมารับราชการทหารสังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยทำหน้าที่ถวายอารักขาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ จากนั้นได้ลาออกจากราชการ เพื่อมาทำงานด้านการเมืองการเมือง โดยได้ลงรับสมัครเลือกตั้งในเขต 4 กรุงเทพมหานคร (เขตพญาไท, เขตราชเทวี) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยพบกับคู่แข่งคนสำคัญ คือ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ของพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่ง ร.อ.รชฏ สามารถเอาชนะไปได้อย่างเฉียดฉิว (ร.อ.รชฏได้ 30,352 คะแนน, นายพุทธิพงษ์ได้ 28,423 คะแนน) และในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรชฏ พิสิษฐบรรณกร · ดูเพิ่มเติม »

ระวี กิ่งคำวงศ์

นายระวี กิ่งคำวงศ์ (เกิด 18 มกราคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 4 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดมุกดาหาร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และระวี กิ่งคำวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท (5 เมษายน พ.ศ. 2495-) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตนักศึกษาหลบหนีเข้าป่าจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 "สหายศรัทธา" เป็นชื่อจัดตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รัชดา ธนาดิเรก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 33 (บางพลัด บางกอกน้อย) พรรคประชาธิปัตย์ อดีตอาจารย์ประจำ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัชดา ธนาดิเรก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเงา

รัฐบาลเงา (Shadow Government) หรือ คณะรัฐมนตรีเงา (Shadow Cabinet) คือกลุ่มนักการเมืองอาวุโสที่เป็นกระบอกเสียงของฝ่ายค้าน ซึ่งในระบบการเมืองอังกฤษที่เรียกว่า ระบบเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งอยู่ภายใต้การนำของผู้นำฝ่ายค้าน ที่ได้รวมตัวกันตั้งตนเป็น รัฐมนตรีเงา ประกบรัฐมนตรีตัวจริงของรัฐบาล และเมื่อฝ่ายพรรคฝ่ายค้านมีโอกาสได้เป็นรัฐบาล รัฐมนตรีเงามักได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ทำหน้าที่ความรับผิดชอบของรัฐมนตรีเงา คือการทำหน้าที่วิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลและรัฐมนตรีจริง การออกหรือการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวนโยบายทางเลือกต่าง ๆ ต่อสาธารณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐบาลเงา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 8 ซี่งได้มีรัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 มีนาย ทวี บุณยเกตุ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการโดยมีทั้งสิ้น 183 มาตรา ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงโดยการปฏิวัติตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491

รัฐประหาร 6 เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

หตุการณ์ขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ นำคณะนักศึกษาเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รังสิมา รอดรัศมี

นางสาวรังสิมา รอดรัศมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายา "ดาวเด่น" จากสื่อมวลชนประจำรัฐสภา ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรังสิมา รอดรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย

รายชื่อพรรคการเมืองไทย ปัจจุบันมีพรรคการเมืองในประเทศไทยทั้งหมด 69 พรรคที่จดทะเบียนและยังมีสถานะเป็นพรรคการเมืองอยู่ ณ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 นอกเหนือจากนั้นเป็นพรรคที่ยกเลิกการดำเนินงาน หรือยุบเพื่อรวมกับพรรคอื่น หรือถูกสั่งให้ยุบโดยคำวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย หมายถึง กลุ่มที่มีความมุ่งหมายทางการเมืองร่วมกัน จับมือกันเป็นวิธีบรรลุเป้าหมายและผลักดันวาระและฐานะของพวกตน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเชลล์ดอน

รายชื่อตอนในเชลล์ดอน เป็นรายชื่อตอนที่อยู่ในการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศไทยเรื่อง "เชลล์ดอน".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายชื่อตอนในเชลล์ดอน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

150px รายชื่อศิษย์เก่า คณาจารย์ ที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

100px รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

right รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงจาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

180px รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้นำของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคฝ่ายค้าน โดยผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่สำคัญคือการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่ไม่มีพรรคการเมืองใดในสภาผู้แทนราษฎรมีลักษณะที่กำหนด สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองซึ่งได้รับเสียงสนับสนุนข้างมากจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดของพรรคนั้นมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่มีเสียงสนับสนุนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลาก ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ปัจจุบันยังไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากการรัฐประหาร โดย คณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รำรี มามะ

รำรี มามะ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรำรี มามะ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ

นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2484) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์

นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ที่เป็นสตรีคนแรกของประเทศไทยในคณะรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตผู้ประกาศข่าวช่อง 11.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์

วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ (เกิดวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่กรุงเทพมหานคร) สถาปนิกชาวไทยได้รับรางวัล Difference Design Awards ในปี 2549 ปัจจุบันเป็นเจ้าของและผู้ก่อตั้งบริษัท Supergreen Studio.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วรรณพร พรประภา

วรรณพร พรประภา หรือนามสกุลเดิม ล่ำซำ เป็นภูมิสถาปนิกและสถาปนิกเจ้าของสำนักงานออกแบบ โดยดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท PLA (บริษัท พี แลนด์สเคป จำกัด) บุตรโพธิพงษ์ ล่ำซำ และน้องสาวนวลพรรณ ล่ำซำ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรรณพร พรประภา · ดูเพิ่มเติม »

วรวีร์ มะกูดี

วรวีร์ มะกูดี (ชื่อเล่น: ยี; เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 16จาก ไทยรัฐ ที่เป็นชาวไทยมุสลิมคนแรก โดยดำรงตำแหน่งต่อเนื่องเป็นวาระที่ 4 และกรรมการบริหารพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรวีร์ มะกูดี · ดูเพิ่มเติม »

วรศักดิ์ นิมานันท์

นายวรศักดิ์ นิมานันท์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรศักดิ์ นิมานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์

นางวรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์ (เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2498) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วรงค์ เดชกิจวิกรม

นายแพทย์ วรงค์ เดชกิจวิกรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวรงค์ เดชกิจวิกรม · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ พรรณเชษฐ์

วัชระ พรรณเชษฐ์ ​อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน และเป็นทายาทกลุ่มสิทธิผล ผู้จำหน่ายรถยนต์รายใหญ่ของไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวัชระ พรรณเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ เพชรทอง

นายวัชระ เพชรทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา และเจ้าของคอลัมน์ "วัชรทัศน์" ของ นสพ.แนวหน้า รายวัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวัชระ เพชรทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัชรินทร์ เกตะวันดี

วัชรินทร์ เกตะวันดี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย 5 สมัย และอดีตกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวัชรินทร์ เกตะวันดี · ดูเพิ่มเติม »

วัยโรจน์ พิพิธภักดี

นายวัยโรจน์ พิพิธภักดี (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2484) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวัยโรจน์ พิพิธภักดี · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ ไทยเหนือ

นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และอดีตปลัดกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวัลลภ ไทยเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนชัย วุฒิศิริ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวัฒนชัย วุฒิศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา เพิ่มลาภ

ลตำรวจเอก วาสนา เพิ่มลาภ อดีตประธานกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวาสนา เพิ่มลาภ · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ราชานนท์

นาวาอากาศเอก วิชัย ราชานนท์ เดิมใช้ชื่อว่า วิชัย ขัดโพธิ์ เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นคนหนึ่งที่ได้เหรียญทองแดงจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เคยได้เหรียญทองกีฬาซีเกมส์ด้วย ปัจจุบัน เป็นเจ้าของค่ายมวยราชานนท์ และเป็นผู้จัดการให้กับ เอฟ 16 ราชานนท์ ซึ่งเป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิชัย ราชานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ตันศิริ

วิชัย ตันศิริ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิชัย ตันศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิชาญ มีนชัยนันท์

นายวิชาญ มีนชัยนาน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิชาญ มีนชัยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต แสงทอง

นายวิชิต แสงทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิชิต แสงทอง · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช ร่มเย็น

นายวิรัช ร่มเย็น อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง พรรคประชาธิปัตย์ และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2498.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิรัช ร่มเย็น · ดูเพิ่มเติม »

วิรัตน์ กัลยาศิริ

วิรัตน์ กัลยาศิริ (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิรัตน์ กัลยาศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิลาศ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสาร เตชะธีราวัฒน์

นายกองเอก วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 8 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิสาร เตชะธีราวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์

วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ศรีสอ้าน

ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิจิตร ศรีสอ้าน · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร สุวิทย์

ันตำรวจโทวิจิตร สุวิทย์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิจิตร สุวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร สุคันธพันธุ์

นายวิจิตร สุคันธพันธุ์ (1 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิจิตร สุคันธพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา บุรณศิริ

วิทยา บุรณศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 ของไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรรคเพื่อไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย และอดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิทยา บุรณศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา แก้วภราดัย

นายวิทยา แก้วภราดัย (5 มกราคม 2498 -; ชื่อเล่น: น้อย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตประธานวิปรัฐบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แล..นครศรีธรรมราช หลายสมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะเรียนปี 4 นายวิทยาเป็นหนึ่งในนิสิตที่เข้าร่วมการชุมนุมที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับบาดเจ็บถูกยิงที่ขาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิทยา แก้วภราดัย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ

วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ (Srivikorn Management Technological College) ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย จัดเป็นโรงเรียนเอกชนขนาดกลาง ประเภทอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

วิทย์ รายนานนท์

นายวิทย์ รายนานนท์ (2 มีนาคม 2485 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตเอกอัคราชทูตชาวไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิทย์ รายนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทเยนทร์ มุตตามระ

วิทเยนทร์ มุตตามระ กรรมการผู้จัดการสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล และอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิทเยนทร์ มุตตามระ · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ กรุณา

วิฑูรย์ กรุณา (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) ชื่อเล่น แอ๊ด เป็นนักแสดงชาวไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม วิฑูรย์เกิดที่ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนที่ 3 เริ่มเข้าวงการบันเทิงเมื่อศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยเริ่มจากแสดงละครเวทีอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง เจ้าหญิงแสนหวี โดยแสดงร่วมกับ ศรีวิไล ประสุตานนท์ และ จตุพล ภูอภิรมย์ ต่อมาเข้าเป็นนักแสดงละครโทรทัศน์ ในสังกัดค่ายรัชฟิล์มทีวี มีผลงานการแสดงหลายเรื่อง และ เข้าสู่วงการภาพยนตร์โดยการชักชวนของ ฉลอง ภักดีวิจิตร จบการศึกษาปริญญาตรีสาขาศิลปศาสตร์จาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ ปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันสมรสกับ นาง พิมพ์ชนก กรุณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิฑูรย์ กรุณา · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ นามบุตร

นายวิฑูรย์ นามบุตร (23 กันยายน 2502 -) อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 6 สมัย เกิดที่ตำบลเขื่องใน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เป็นบุตรของ นายลา นามบุตร และนางพิมพา นามบุตร ก่อนเข้าสู่วงการเมืองประกอบอาชีพเป็นทนายความ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิฑูรย์ นามบุตร · ดูเพิ่มเติม »

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวินัย สมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย เสนเนียม

นายวินัย เสนเนียม (22 สิงหาคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวินัย เสนเนียม · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ ณ บางช้าง

นายวิโรจน์ ณ บางช้าง หรือ พระวิโรจน์ ภูริสีโร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม 1 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนายกสมาคมพลังผู้บริโภคแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิโรจน์ ณ บางช้าง · ดูเพิ่มเติม »

วิไล เบญจลักษณ์

นายวิไล เบญจลักษณ์ (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิไล เบญจลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร คันฉ่อง

นายวิเชียร คันฉ่อง (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิเชียร คันฉ่อง · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร เวชสวรรค์

นายวิเชียร เวชสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 2 สมัย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวิเชียร เวชสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชัยภูมิ สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง (บ้านเลขที่ 111).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิพงศ์ ฉายแสง

นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นน้องชายของนายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวุฒิพงศ์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิพงษ์ นามบุตร

วุฒิพงษ์ นามบุตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นหลานชายนายวิฑูรย์ นามบุตร และเป็นหนึ่งในสี..ของพรรคประชาธิปัตย์ที่สามารถชนะการเลือกตั้งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวุฒิพงษ์ นามบุตร · ดูเพิ่มเติม »

วีระ สมความคิด

วีระ สมความคิด (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500—) ประธานกลุ่มพิทักษ์สิทธิเสรีภาพของประชาชน และเลขาธิการเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน (คปต.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวีระ สมความคิด · ดูเพิ่มเติม »

วีระ สุพัฒนกุล

นายวีระ สุพัฒนกุล (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2481) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวีระ สุพัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

วีระชัย วีระเมธีกุล

วีระชัย วีระเมธีกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวีระชัย วีระเมธีกุล · ดูเพิ่มเติม »

วีระชัย แนวบุญเนียร

นายวีระชัย แนวบุญเนียร อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2483.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวีระชัย แนวบุญเนียร · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วนัสธนา สัจจกุล

นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และวนัสธนา สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศรชัย มนตริวัต

ลตรี นายกองเอก ศรชัย มนตริวัต หรือ.นิด อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตเลขาธิการพรรคนำไทย พลตรีศรชัย เป็นนักการเมืองคนสนิทของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศรชัย มนตริวัต · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศราวุธ เพชรพนมพร

นายศราวุธ เพชรพนมพร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคชาติพัฒนา ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศราวุธ เพชรพนมพร · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสกุล พร้อมพันธุ์

รีสกุล พร้อมพันธุ์ (เกิด: 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2498) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา และเป็นภรรยาคนปัจจุบันของสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศรีสกุล พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีเรศ โกฎคำลือ

นายศรีเรศ โกฎคำลือ (เกิด 3 สิงหาคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 10 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศรีเรศ โกฎคำลือ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา นพสิทธิ์

นายศักดา นพสิทธิ์ เป็นนักโทษและประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดชลบุรี และเป็นอดีตโฆษกพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศักดา นพสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา แซ่เอียว

ักดา แซ่เอียว (ชื่อเล่น: เซีย) เป็น นักเขียนการ์ตูนล้อการเมือง ประจำหน้า 3 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (ขอลาพักการทำงานดังกล่าว ระหว่างวันพุธที่ 29 พฤษภาคม - วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เพื่อรักษาตัวจากโรคหลอดเลือดสมอง).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศักดา แซ่เอียว · ดูเพิ่มเติม »

ศิระ ปัทมาคม

นางศิระ ปัทมาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตหัวหน้าพรรคกิจประชาคม และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงคนแรกของจังหวัดพระนคร (หรือกรุงเทพมหานคร ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศิระ ปัทมาคม · ดูเพิ่มเติม »

ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ริวรรณ ปราศจากศัตรู (สกุลเดิม ศุภศิริ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ และแบบบัญชีรายชื่อหลายสมัย และเป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศิริวรรณ ปราศจากศัตรู · ดูเพิ่มเติม »

ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์

นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีต..พิจิตร มีชื่อเล่นว่า "ยอด" หรือ "ลูกยอด" เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรของ ".หนั่น" พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา กับ นางฉวีวรรณ ขจรประศาสน์ เป็นลูกคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้อง 4 คน ด้านชีวิตครอบครัวสมรสกับ สิชา อัญชนานันท์ นายศิริวัฒน์ เป็นประธานบริหาร บริษัท วี-วัน กอล์ฟ ผู้บริหารงาน "บูรพากอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท" บนพื้นที่กว่า 900 ไร่ ที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริศักดิ์ อ่อนละมัย

นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศิริศักดิ์ อ่อนละมัย · ดูเพิ่มเติม »

ศิริโชค โสภา

นายศิริโชค โสภา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในฉายา วอลล์เปเปอร์ จากการมักปรากฏตัวหลังนายกรัฐมนตรีเมื่อปรากฏภาพในจอโทรทัศน์เสมอ ๆ ซึ่งเจ้าตัวก็ยอมรับในฉายานี้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศิริโชค โสภา · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย พานิชภักดิ์

ัย พานิชภักดิ์ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ อังก์ถัด (UNCTAD) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ก่อนหน้านั้นเคยรับตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก (WTO) ศุภชัยมีชื่อเรียกย่อ ๆ ที่รู้จักกันทั่วไปว่า ดร.ซุป.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศุภชัย พานิชภักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย ศรีหล้า

ัย ศรีหล้า อดีตรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงหนึ่งในสี่คนของพรรค ที่ชนะการเลือกตั้งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศุภชัย ศรีหล้า · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย โพธิ์สุ

นายศุภชัย โพธิ์สุ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม แกนนำกลุ่มเพื่อนเนวิน พรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศุภชัย โพธิ์สุ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรัตน์ นาคบุญนำ

รัตน์ นาคบุญนำ ศุภรัตน์ นาคบุญนำ ผู้ประกาศข่าวและพิธีกรข่าวอิสระ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศุภรัตน์ นาคบุญนำ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน

ูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (Centre for Resolution of Emergency Situation) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอฉ. (CRES) เป็นหน่วยงานพิเศษของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2553 ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)

ูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) (Thai-Japan Bangkok Youth Center) หรือที่นิยมเรียกว่า สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อเวลา 16:45 นาฬิกา ของวันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2525 ศูนย์เยาวชนแห่งนี้ ตั้งอยู่ริมถนนมิตรไมตรี แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ภายในบริเวณประกอบด้วยสนามกีฬาประเภทต่างๆ คือสนามฟุตบอล พร้อมลู่วิ่งมาตรฐาน สนามแข่งขันกีฬาในร่มทุกประเภท เพื่อให้บริการแก่สมาชิก ซึ่งประกอบด้วยเยาวชน และประชาชนทั่วไป และมีการจัดฝึกสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันมี "นายกรณิศ บัวจันทร์(2560)" เป็นผู้อำนวยการศูนย์ฯ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) · ดูเพิ่มเติม »

สกลธี ภัททิยกุล

กลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของพลเอกวินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสกลธี ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553

กรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 219 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 โดยมาจากการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลถนอม กิตติขจร เข้ายึดอำนาจตัวเอง เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 269 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยมีสาเหตุมาจากพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลขาดเอกภาพ ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 (4 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 279 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งดขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เข้ายึดอำนาจการปกครองในประเทศ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 17 สิ้นสุดสมาชิกภาพ เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 (26 กุมภาพันธ์ - 16 กันยายน พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 (15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน อยู่ในตำแหน่ง 5 ปี (ตามกฎหมายกำหนด) สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สภาเสรีภาพและประชาธิปไตยแห่งเอเชีย

รีนิยมและประชาธิปไตยแห่งเอเชีย (Council of Asian Liberals and Democrats) หรือ CALD เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของพรรคการเมืองที่เน้นเสรีนิยมและประชาธิปไตยในเอเชีย สภานี้ก่อตั้งเมื่อ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสภาเสรีภาพและประชาธิปไตยแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ยะสินธุ์

นายสมบัติ ยะสินธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวในเขตภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด ที่ไม่ได้สังกัดพรรคเพื่อไทย ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นฐานเสียงสำคัญของกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมบัติ ยะสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ. 2518 ปัจจุบันเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย โล่สถาพรพิพิธ

มชาย โล่สถาพรพิพิธ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นประธานคณะกรรมาธิการตำรวจ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมชาย โล่สถาพรพิพิธ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย เพศประเสริฐ

ันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (แกนนำกลุ่มอีสานพัฒนา) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม และอดีตโฆษกกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมชาย เพศประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สมบุญ ระหงษ์

ลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 — 23 กันยายน พ.ศ. 2556) อดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมบุญ ระหงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบุญ ศิริธร

มบุญ ศิริธร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 1 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ มีฉายาทางการเมืองว่า "หมูหิน".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมบุญ ศิริธร · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล (เกิด 24 เมษายน พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณ์ จีระมะกร

นายสมบูรณ์ จีระมะกร (เต๊กเล้งหยวน) (เกิด 7 กันยายน พ.ศ. 2471) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 3 สมัย เป็นคนจีนโพ้นทะเล มีถิ่นกำเนิดที่มณฑลเสี้ยะหยาง เดิมสกุลเล้ง ซึ่งแปลว่ามังกร ตอนหลังจึงตั้งนามสกุลว่า "จีระมังกร" และเปลี่ยนเป็น 'จีระมะกร' ในภายหลังเพื่อลดความเชื่อมโยงกับสัญชาติจีน มีบุตร 1 คน คือนายนรุตน์ จีระมะกร(เต๊กหงี).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมบูรณ์ จีระมะกร · ดูเพิ่มเติม »

สมมารถ เจ๊ะนา

นายสมมารถ เจ๊ะนา (เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมมารถ เจ๊ะนา · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เส็นดาโอ๊ะ

นายสมศักดิ์ เส็นดาโอ๊ะ (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมศักดิ์ เส็นดาโอ๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

สมศาสตร์ รัตนสัค

ร้อยโทสมศาสตร์ รัตนสัค (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 7 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมศาสตร์ รัตนสัค · ดูเพิ่มเติม »

สมัย เจริญช่าง

นายสมัย เจริญช่าง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย และอดีตประธานคณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 ได้รับเลือกตั้งเป็น..สมัยแรก ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมัย เจริญช่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี มี 11 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 11 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดมี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา มี 15 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 15 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2557) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย · ดูเพิ่มเติม »

สมานฉันท์ ชมภูเทพ

ร.สมานฉันท์ ชมภูเทพ (ชื่อเดิม: สมาน ชมภูเทพ) อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน (อบจ.) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในนาม "หนานหล้า".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมานฉันท์ ชมภูเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สมิตา สรสุชาติ

มิตา สรสุชาติ อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และเป็นภริยาของนายอรรคพล สรสุชาติ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมิตา สรสุชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด นวลเปียน

นายสมคิด นวลเปียน (เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมคิด นวลเปียน · ดูเพิ่มเติม »

สมนเล๊าะ โปขะรี

นายสมนเล๊าะ โปขะรี (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2483) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมนเล๊าะ โปขะรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์

'''ผศ.สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2493 ที่ อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีการศึกษาบัณฑิต(กศ.บ.)สาขาภาษาไทย-ประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ระดับปริญญาโทศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(ศศ.ม.) สาขาหลักสูตรและการสอนมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และเป็นแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ สมะลาภา

รรเสริญ สมะลาภากรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารของไทย ถือเป็นหนึ่งในทีมเศรษฐกิจของพรรคประชาธิปัตย์ ขณะเป็นพรรคฝ่ายค้าน ในสมัยรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร สมัยแรก.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสรรเสริญ สมะลาภา · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ สืบสายพรหม

วัสดิ์ สืบสายพรหม (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2490) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 4 สมัย และอดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลเมืองขุขัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสวัสดิ์ สืบสายพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ จำปาศรี

.ต.อ.สวัสดิ์ จำปาศรี พันตำรวจเอกสวัสดิ์ จำปาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรของพ่อซึ่งเป็นกำนัน ชื่อ นายทองคำ และแม่คือ นางกองศรี จำปาศรี.ต.อ.สวัสดิ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เริ่มรับราชการตำรวจ โดยเริ่มตั้งแต่เป็นลูกแถวและผู้บังคับหมู่ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน และเป็นสารวัตรประจำแผนกสืบสวนสอบสวนในสถานีตำรวจแถบฝั่งธนบุรีหลายท้องที่นานถึง 25 ปี เช่น หนองค้างพลู, บางขุนเทียน เป็นต้น จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2548 ในยศ พันตำรวจเอก (พ.ต.อ.) เพื่อออกมาเล่นการเมือง โดยในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548.ต.อ.สวัสดิ์ ได้ลงรับสมัคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสวัสดิ์ จำปาศรี · ดูเพิ่มเติม »

สวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์

นายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ (27 มกราคม 2459 - 24 มีนาคม 2553) อดีตจุฬาราชมนตรีของประเทศไทย และประธานกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ กุลศรี

นายสหรัฐ กุลศรี (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2504) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสหรัฐ กุลศรี · ดูเพิ่มเติม »

สอ เสถบุตร

อ เสถบุตร ในวัยหนุ่ม สอ เสถบุตร หรือชื่อเดิม สอ เศรษฐบุตร ผู้แต่งพจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ฉบับ สอ เสถบุตร ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสอ เสถบุตร · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ ทองสมัคร

นายสัมพันธ์ ทองสมัคร กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ แล..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสัมพันธ์ ทองสมัคร · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ แป้นพัฒน์

นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ (เกิด 17 ธันวาคม พ.ศ. 2488) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์

ัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ์ เทพมณี

นายสันติ์ เทพมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 3 สมัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำพูนคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง และเป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองลำพูน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสันติ์ เทพมณี · ดูเพิ่มเติม »

สากล ม่วงศิริ

นายสากล ม่วงศิริ (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสากล ม่วงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ มะลูลีม

มารถ มะลูลีม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และประธานคณะกรรมาธิการกิจการชายแดน สภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสามารถ มะลูลีม · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ ม่วงศิริ

ันตำรวจเอกสามารถ ม่วงศิริ (เกิด 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 1 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสามารถ ม่วงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ ราชพลสิทธิ์

มารถ ราชพลสิทธิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ฝ่ายโยธาและจราจร หนึ่งในทีมบริหารกรุงเทพมหานครชุดเริ่มต้นของ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ที่ ตำบลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นบุตรของ นายจบ ราชพลสิทธิ์ และนางละม้าย ราชพลสิทธิ์ สำเร็จการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมจราจรและขนส่ง และปริญญาเอก วิศวกรรมโยธา สาขาการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ดร.สามารถ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการวางระบบจราจรเมืองใหญ่ เป็นหนึ่งในคณะกรรมการพิจารณาโครงการ รถเมล์ด่วนพิเศษบีอาร์ที (Bus Rapid Transit หรือ BRT) ของ สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีประสบการณ์ทำงานเกี่ยวข้องกับจราจรและขนส่ง ทั้งในและต่างประเทศหลายประเภท เช่น รถไฟฟ้า ทางด่วน สนามบิน และท่าเรือ โดยเป็นที่ปรึกษาโครงการ ให้กับองค์การระหว่างประเทศต่างๆ เช่น ธนาคารโลก องค์การสหประชาชาติ ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (ไจก้า) และกองทุนความร่วมมือด้านเศรษฐกิจโพ้นทะเล (โออีซีเอฟ) ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น "เจบิก" หรือ ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น ระหว่างดำรงตำแหน่ง รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นเวลาสั้นๆ ระหว่างเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสามารถ ราชพลสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สาวิตต์ โพธิวิหค

วิตต์ โพธิวิหค กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสาวิตต์ โพธิวิหค · ดูเพิ่มเติม »

สาธิต ปิตุเตชะ

ต ปิตุเตชะ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคกลาง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสาธิต ปิตุเตชะ · ดูเพิ่มเติม »

สาทิตย์ วงศ์หนองเตย

ทิตย์ วงศ์หนองเตย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังหลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสาทิตย์ วงศ์หนองเตย · ดูเพิ่มเติม »

สาคร เกี่ยวข้อง

นายสาคร เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสาคร เกี่ยวข้อง · ดูเพิ่มเติม »

สานันท์ สุพรรณชนะบุรี

นายสานันท์ สุพรรณชนะบุรี (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2496) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสานันท์ สุพรรณชนะบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ รอดเพชร

นายสำราญ รอดเพชร (30 กันยายน พ.ศ. 2499; ที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช; ชื่อเล่น: อ๊อด) สื่อมวลชนอิสระ, อดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) รุ่นที่ 2 และแนวร่วมกปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสำราญ รอดเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ ศรีแปงวงค์

นายสำราญ ศรีแปงวงค์ (เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2500) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 1 โดยได้รับการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสำราญ ศรีแปงวงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สำเภา ประจวบเหมาะ

นายสำเภา ประจวบเหมาะ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสำเภา ประจวบเหมาะ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิชัย โควสุรัตน์

นายกองเอก สิทธิชัย โควสุรัตน์ (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรองหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสิทธิชัย โควสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สิดดิก สารีฟ

นายสิดดิก สารีฟ (7 เมษายน พ.ศ. 2472 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2534) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสิดดิก สารีฟ · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสิงหาคม พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสิงหาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สืบแสง พรหมบุญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบแสง พรหมบุญ อดีตนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ นักการศึกษา และนักการเมืองชาวไทย ผ.ดร.สืบแสง เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2484 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนพิณพลราษฎร์ จังหวัดพิษณุโลก ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยม) ปริญญาโทและปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนของมูลนิธิเอ็ดวาร์ด ดับเบิลยู เฮเซน และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 77 (วปรอ.377) รับราชการโดยเริ่มจากการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นพระอาจารย์ถวายการสอนวิชาประวัติศาสตร์จีนแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งที่ทรงเป็นนิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้เป็นนายกสมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาได้ย้ายไปเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้เป็นคณบดีระหว่างปี พ.ศ. 2526-พ.ศ. 2528 ผ.ดร.สืบแสง เป็นอาจารย์พิเศษในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ในหลายสถาบันการศึกษา และเป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและยุทธศาสตร์องค์กร และอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต ในปี พ.ศ. 2538 ในทางด้านการศึกษา ได้เป็นผู้วางรากฐานการศึกษา โดยเฉพาะวิชาประวัติศาสตร์ในหลายสถาบัน เป็นกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย และ ประธานคณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยจากเอกสารจีน สำนักนายกรัฐมนตรี ทางด้านการเมือง ได้ร่วมงานกับพรรคพลังใหม่ จากนั้นได้ย้ายเข้าสู่พรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เขต 7 กรุงเทพมหานคร ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ) เมื่อปี พ.ศ. 2553 ต่อมาในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสืบแสง พรหมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ บรรดาศักดิ์

ติ บรรดาศักดิ์ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2498) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี (ส.ส.นนทบุรี) 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุชาติ บรรดาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ตันเจริญ

นายกองเอก สุชาติ ตันเจริญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 8 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และพรรคไทยรักไทย อีกทั้งยังเป็นอดีต..ในกลุ่ม 16.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุชาติ ตันเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ แก้วนาโพธิ์

นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ (เกิด 23 มิถุนายน พ.ศ. 2488) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุชาติ แก้วนาโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชีน เอ่งฉ้วน

นายสุชีน เอ่งฉ้วน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุชีน เอ่งฉ้วน · ดูเพิ่มเติม »

สุพัฒน์ ธรรมเพชร

นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุพัฒน์ ธรรมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สุพัตรา มาศดิตถ์

ณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นบุตรสาวของนายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นน้องสาวของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุพัตรา มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ ก้องธรนินทร์

กิจ ก้องธรนินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุกิจ ก้องธรนินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ อัถโถปกรณ์

นายแพทย์ สุกิจ อัถโถปกรณ์ (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุกิจ อัถโถปกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภรณ์ อัตถาวงศ์

นายสุภรณ์ อัตถาวงศ์ หรือ สุภรณ์ อัตถาวงศ์ (แรมโบ้อีสาน) อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุภรณ์ อัตถาวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรชาติ เทียนทอง

นายสุรชาติ เทียนทอง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 11 และโฆษกคณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม สภาผู้แทนราษฎร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรชาติ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

สุรบถ หลีกภัย

รบถ หลีกภัย เกิดวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรบถ หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

สุรพร ดนัยตั้งตระกูล

นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรพร ดนัยตั้งตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ ราชมุกดา

นายสุรพงษ์ ราชมุกดา (8 มกราคม พ.ศ. 2485 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2558) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรพงษ์ ราชมุกดา · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล

รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์

นายสุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ ตรีทอง

นายสุรสิทธิ์ ตรีทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน และเป็นหลานชายของนายบุญชู ตรีทอง อดีต..ลำปาง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรสิทธิ์ ตรีทอง · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์

นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ในสังกัดพรรคเอกภาพ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์

ร้อยตำรวจเอกสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม อดีตรองหัวหน้าพรรคกิจสังคม ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด กลุ่มบริษัทในเครือโอสถสภา และนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรันต์ จันทร์พิทักษ์

ทันตแพทย์ สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นน้องชายของเภสัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ..กทม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรันต์ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม ในอดีตเคยดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลชวน หลีกภัย สุรินทร์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน วาร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรินทร์ พิศสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ มาศดิตถ์

นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นบิดาของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรินทร์ มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ ปาลาเร่

ลตำรวจตรีสุรินทร์ ปาลาเร่ กรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา และอดีตกรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรินทร์ ปาลาเร่ · ดูเพิ่มเติม »

สุรใจ ศิรินุพงศ์

รใจ ศิรินุพงศ์ (เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2471) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรใจ ศิรินุพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์

นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเชษฐ์ แวอาแซ

นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุรเชษฐ์ แวอาแซ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิชช พันธเศรษฐ

นายสุวิชช พันธเศรษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย เป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง เป็นกรรมการในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2491 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2515 และเป็นพี่ชายของนายทองดี อิสราชีวิน อดีต..เชียงใหม่ 6 สมัย และเป็นน้าของนายไกรสร ตันติพงศ์ อดีต..เชียงใหม่ 7 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุวิชช พันธเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุวโรช พะลัง

นายสุวโรช พะลัง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุวโรช พะลัง · ดูเพิ่มเติม »

สุธรรม ระหงษ์

นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ผู้อำนวยการ พรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2505 ที่ ต.ท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรของ นายอุดม ระหงษ์ และนางมาลัย ระหงษ์ รับราชการเป็นทหารเรือ ต่อมาเป็นปลัดอำเภอ ก่อนจะเข้าสู่วงการเมืองโดยลงสมัคร อ. แล..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุธรรม ระหงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุธา นิติภานนท์

นายสุธา นิติภานนท์ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) 5 สมัยของเขตภาษีเจริญ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นายสุธาเป็นชาวกรุงเทพมหานครโดยกำเนิด โดยเกิดที่เขตราษฎร์บูรณะ แต่มาเติบโตที่เขตภาษีเจริญซึ่งเป็นพื้นเพเดิมของมารดา เริ่มเข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นผู้ช่วยของนายมงคล สิมะโรจน์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ต่อมาได้เข้าสมัครเป็นสมาชิกพรรคกิจสังคมและเคยร่วมทีมเลือกตั้งเดียวกับ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ซึ่งในขณะนั้นยังเป็นผู้สมัครอิสระ โดยมิได้สังกัดพรรคการเมืองใด ๆ นายสุธามีบทบาทอย่างมากในการเป็น.ก. ของกรุงเทพมหานคร เคยเป็นประธานสภากรุงเทพมหานครและมีชื่อเข้าชิงตำแหน่งนี้หลายครั้ง จนถูกจับตามองหลายครั้งว่าจะลงเล่นการเมืองในระดับประเทศ แต่ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายสุธาก็ส่งบุตรสาวของตนเอง คือ นางสาวหฤทัย นิติภานนท์ ลงสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในพื้นทื่เขต 31 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตภาษีเจริญเฉพาะแขวง และเขตตลิ่งชัน แต่ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ก่อนการเลือกตั้งในต้นปี พ.ศ. 2548 นายสุธาถูกโจมตีว่าจะไปเข้าสังกัดกับพรรคไทยรักไทย อันเนื่องจากปัญหาความขัดแย้งในการเลือกประธาน.ก. ทางพรรคประชาธิปัตย์จึงส่ง ทันตแพทย์สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ ลงสมัครแทนในพื้นที่เขต 32 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตภาษีเจริญเฉพาะแขวง เขตบางกอกใหญ่ แต่ ท..สุรันต์ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง โดยแพ้ให้กับนายมานะ คงวุฒิปัญญา ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยไป ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 นายสุธา นิติภานนท์ ได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ของเขตภาษีเจริญเป็นสมัยที่ 4 และในวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ของเขตภาษีเจริญเป็นสมัยที่ 5 ติดต่อกัน โดยครั้งนี้ได้คะแนนไป 18,784 คะแนน นอกจากนี้แล้ว ชีวิตส่วนตัว นายสุธายังเป็นบิดาบุญธรรมของ ชนกวนันท์ รักชีพ ดารานักแสดงที่มีชื่อเสียงอีกด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุธา นิติภานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ จันทร์แสงศรี

นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2500) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคประชาภิวัฒน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุทัศน์ จันทร์แสงศรี · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ เงินหมื่น

ทัศน์ เงินหมื่น กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และเป็นบิดาของนายอภิวัฒน์ เงินหมื่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุทัศน์ เงินหมื่น · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์

นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และนักธุรกิจชาวไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุขวิชชาญ มุสิกุล

นายสุขวิชชาญ มุสิกุล (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 1 โดยได้รับการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุขวิชชาญ มุสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุดิน ภูยุทธานนท์

นายสุดิน ภูยุทธานนท์ (เกิด 20 กันยายน พ.ศ. 2480) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุดิน ภูยุทธานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนัย จุลพงศธร

ร.สุนัย จุลพงศธร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุนัย จุลพงศธร · ดูเพิ่มเติม »

สุนารี ราชสีมา

นารี ราชสีมา (16 มีนาคม พ.ศ. 2511 - ปัจจุบัน) เป็นนักร้องและราชินีเพลงลูกทุ่งไทยจากเมืองย่าโม สุนารีมีความโดดเด่นในเรื่อง Range เสียงคือมีช่วงเสียงที่กว้าง (สามารถร้องโน้ตต่ำและโน้ตสูงได้ดี) และเสียงหนาเป็นเอกลักษณ์มักหาคนเลียนแบบได้ยาก นอกจากนี้แล้วสุนารีสามารถร้องเพลงโดยสื่ออารมณ์ผ่านเสียงร้องออกมาได้เป็นอย่างดี มีไวเบรโต้หรือลูกคอที่หาตัวจับยาก ด้วยเหตุนี้เพลงของสุนารีจึงเป็นเพลงที่ร้องยากเป็นอย่างมากทั้งการถ่ายทอดอารมณ์ เสียงต่ำ และเสียงสูง เช่นเพลง "จำเสี่ยงเลี้ยงพ่อ" เป็นเพลงที่ได้การโหวตจากนักร้องประกวดว่าเป็นเพลงที่ร้องยากมากที่สุด รวมถึงเพลง "กลับไปถามเมียดูก่อน" ที่มีท่อนที่เสียงต่ำสุดและสูงสุด ยากต่อการร้องเพลงมากๆ แต่ สุนารีก็ถ่ายทอดออกมาอย่างดีมาก เพลงนี้มีชื่อเสียงถึงขีดสุด เนื่องจากยุคนั้นเป็นยุคที่คาเฟ่กำลังเฟื่องฟู นักร้องคาเฟ่นิยมนำมาร้อง ทำให้เพลงนี้เป็นที่นิยมเป็นอย่างสูง โดยสุนารีมีผลงานสร้างชื่อจากเพลง "กราบเท้าย่าโม", "สุดท้ายที่กรุงเทพ" และอีกมากม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุนารี ราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสุเทพ เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สถาพร มณีรัตน์

นายสถาพร มณีรัตน์ (20 เมษายน พ.ศ. 2505-14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำพูน เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย และสังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นพรรคสุดท้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสถาพร มณีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สด จิตรลดา

ตรลดา มีชื่อจริงว่า เชาวลิต วงศ์เจริญ (ชื่อเล่น: เชาว์) เป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 8 โดยเป็นแชมป์ในรุ่นฟลายเวท (112 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) และแชมป์เดอะริง เกิดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 ที่ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีสถิติการชกทั้งหมด 29 ครั้ง ชนะ 23 ครั้ง แพ้ 4 ครั้ง เสมอ 1 ครั้ง (ชนะน็อก 14 ครั้ง).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสด จิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

สดใส รุ่งโพธิ์ทอง

ใส รุ่งโพธิ์ทอง มีชื่อจริงในอดีตว่า วันชัย โรจนวิชัย เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่ อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยมีพ่อเป็นคนทำขวัญนาค แม่มีอาชีพชาวนา ในวัยเด็กชอบร้องเพลง โดยเฉพาะเพลงลูกทุ่ง สดใสบันทึกเสียงตัวเองลงแผ่นเสียงครั้งแรกกับเพลง ข้าด้อยเพียงดิน ซึ่งเป็นเพลงที่เขียนเอง แต่เพลงที่ทำให้ได้ชื่อเสียงและได้รับความนิยมคือ รักจางที่บางปะกง ในปี พ.ศ. 2517 ซึ่งสดใสเขียนเนื้อเพลงเอง เป็นที่ได้รับความนิยมมากเพราะมีเนื้อร้องที่ไหลลื่นและคลองจองกัน พร้อมกับมีดนตรีที่เป็นจังหวะฉิ่งฉับ ฟังแล้วให้รู้สึกคึกคัก หลังจากนั้นมา สดใส ก็ได้มีผลงานบันทึกเสียงกับบริษัท นิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยอยู่ในอัลบั้ม สุดยอดลูกทุ่งเสียงทอง ต่อมาสดใสก็มีผลงานบันทึกเสียงกับค่ายโรสวิดีโอ (ปัจจุบันคือ โรสมีเดียฯ) โดยนำผลงานเพลงของตัวเอง และเพลงของ ศรเพชร ศรสุพรรณ รวมถึงนักร้องท่านอื่น ๆ มาขับร้องด้วย สดใส รุ่งโพธิ์ทอง กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งในปี พ.ศ. 2540 กับเพลง รักน้องพร ซึ่งมีเนื้อหาและลีลาการร้องที่ออดอ้อน ซึ่งเพลงนี้ต่อมาได้ถูกนำมาร้องใหม่และแปลงเนื้อร้องโดยนักร้องลูกทุ่งหลายคน ในทางการเมือง สดใสสนใจการเมืองมาตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ได้นำเอาเพลงของคาราวานไปใส่เนื้อร้องใหม่เป็นเพลงลูกทุ่ง เช่นเพลง เราคนจน มาจากเพลง คนกับควาย เพลงโอ้ชาวนา มาจากเพลง เปิบข้าว เป็นต้น จากนั้น ได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและปริญญาโท รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 สดใสได้ลงสมัครเป็น ส.ว. ที่จ.ปทุมธานี และได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงถึง 52,180 คะแนน เป็นอันดับหนึ่งของจังหวัด มีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมของวุฒิสภา แต่ทำหน้าที่ได้เพียง 5 เดือนเท่านั้นก็ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยการถูกรัฐประหาร ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งที.ปทุมธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการทาบทามของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรค โดยลงในเขต 2.ปทุมธานี ซึ่งประกอบด้วย อ.ธัญบุรี อ.ลำลูกกา และ อ.หนองเสือ พร้อมกับได้เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น สดใส โรจนวิชัย แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งในกลางปี พ.ศ. 2554 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งในพื้นที่เดิม โดยย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสดใส รุ่งโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สงบ ทิพย์มณี

นายสงบ ทิพย์มณี (เกิด 17 สิงหาคม พ.ศ. 2481) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสงบ ทิพย์มณี · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์ จิตสุทธิภากร

นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร (เกิด 13 เมษายน พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสงกรานต์ จิตสุทธิภากร · ดูเพิ่มเติม »

สง่า กิตติขจร

ลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสง่า กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

สนอง นิสาลักษณ์

ลเรือตรี สนอง นิสาลักษณ์ อดีตนายทหารเรือ นักการทูต และนักการเมืองไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสนอง นิสาลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น สบายเมือง

นายสนั่น สบายเมือง (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2478) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 และครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสนั่น สบายเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น สุธากุล

นายสนั่น สุธากุล (1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2548) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสนั่น สุธากุล · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

สนิท กุลเจริญ

นายสนิท กุลเจริญ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2561) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 9 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสนิท กุลเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

ส่งสุข ภัคเกษม

นายส่งสุข ภัคเกษม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และส่งสุข ภัคเกษม · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ เอฟซี

รีรัมย์ เอฟซี (Buriram FC, ฉายา: นักรบลาวาเพลิง) สโมสรฟุตบอลในอดีตของ ประเทศไทย ที่ตั้งอยู่ใน จังหวัดบุรีรัมย์ สโมสรแห่งนี้ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2552 โดยมีนาง กรุณา ชิดชอบ หรือ เจ๊ต่าย ภรรยาของนาย เนวิน ชิดชอบ เป็นประธานสโมสรและได้ส่งทีมเข้าร่วม ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือใน ฤดูกาล 2552 แต่ไม่ประสบความสำเร็จโดยจบฤดูกาลในอันดับ 4 ด้วยคะแนน 31 คะแนนจนกระทั่งใน ฤดูกาล 2553 ทางนายเนวินได้เข้าซื้อกิจการ สโมสรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรบุรีรัมย์-พีอีเอ และได้ส่งนักเตะบางส่วนของทีมบุรีรัมย์-พีอีเอลงมาเล่นกับทีมบุรีรัมย์ เอฟซีทำให้ผลงานของทีมดีขึ้นและสามารถจบฤดูกาลในตำแหน่งรองแชมป์โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยคะแนน 65 คะแนนห่างจากทีมแชมป์คือ สโมสรเลย ซิตี้ ที่ได้ 67 คะแนนเพียง 2 คะแนนแต่ทั้งสองทีมก็ได้เข้าสู่รอบแชมเปียนส์ลีก ซึ่งทางบุรีรัมย์ เอฟซีได้ถูกจับสลากให้อยู่ในกลุ่มเอผลปรากฏว่าทางสโมสรสามารถคว้าแชมป์ของกลุ่มเอด้วยคะแนน 23 คะแนนและเลื่อนชั้นขึ้นสู่ ลีกดิวิชั่น 1 พร้อมกับ สโมสรเชียงใหม่ เอฟซี รองแชมป์กลุ่มเอและแชมป์กับรองแชมป์ของกลุ่มบีคือ สโมสรภูเก็ต เอฟซี และ สโมสรชัยนาท เอฟซี ในศึก ลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2554 ทางสโมสรได้ทำการซื้อนักเตะฝีเท้าดีหลายคนเข้ามาเสริมทีมบวกกับนักเตะในทีมที่มีพรสวรรค์ทำให้สโมสรบุรีรัมย์ เอฟซีสามารถคว้าแชมป์ลีกดิวิชัน 1 มาครองได้ทั้งที่ยังไม่จบฤดูกาลและได้สิทธิ์ขึ้นมาเล่นใน ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2555 ต่อมาทางสโมสรได้ควบรวมทีมเข้ากับทีมบุรีรัมย์-พีอีเอและได้เปลี่ยนชื่อเป็น บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สืบเนื่องจากทางรัฐบาลในสมัยนั้นต้องการให้แยกสโมสรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคออกจากบุรีรัมย์และให้นายเนวินขายหุ้นจำนวน 70% ที่ถืออยู่ ต่อมาในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2555 นายเนวินได้ทำการตั้งโต๊ะแถลงข่าวว่าได้ทำการซื้อหุ้นจำนวน 30% จากทางฝั่ง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ทำให้นายเนวินเป็นเจ้าของสโมสรแต่เพียงผู้เดียวและทางการไฟฟ้าได้ยุติการทำทีมไปในที่สุดส่วนสิทธิ์การทำทีมและสิทธิ์การเลื่อนชั้นของบุรีรัมย์ได้โอนไปให้กับ สโมสรสงขลา เอฟซี ที่มีนาย นิพนธ์ บุญญามณี อดีต ส.ส. สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ เป็นประธานสโมสรโดยได้เปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรวัวชน ยูไนเต็ด โดยอดีตนักเตะของบุรีรัมย์ เอฟซีบางส่วนได้ย้ายเข้ามาร่วมทีมวัวชน ยูไนเต็ดต่อมาทางวัวชน ยูไนเต็ดได้ควบรวมทีมเข้ากับทีมสงขลา เอฟซีที่ตกชั้นจากดิวิชัน 1 และได้ยุบทีมไปและเปลี่ยนชื่อเป็น สโมสรสงขลา ยูไนเต็.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ เอฟซี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลสโตกซิตี

มสรฟุตบอลสโตกซิตี (Stoke City Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลอังกฤษในพรีเมียร์ลีก จากเมืองสโตก-ออน-เทรนต์ สแตฟฟอร์ดเชอร์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1863 เป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในพรีเมียร์ลีก และถือเป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอันดับ 2 รองจากนอตส์เคาน์ตี สโมสรได้เลื่อนมาอยู่ในพรีเมียร์ลีกในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสโมสรฟุตบอลสโตกซิตี · ดูเพิ่มเติม »

สเสฏฐสิฏฐ สิทธิมนต์

นายสเสฏฐสิฏฐ สิทธิมนต์ (17 มิถุนายน พ.ศ. 2490 - 4 มกราคม พ.ศ. 2561) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และสเสฏฐสิฏฐ สิทธิมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล (28 กันยายน 2486 -) กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยและรองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง สื่อมวลชนเรียก หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล กันติดปากว่า หม่อมเต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล (30 เมษายน พ.ศ. 2521 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร รองโฆษกพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช อดีตนักการเมืองและนักดนตรีชาวไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมหลวงเสรี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หฤทัย ม่วงบุญศรี

หฤทัย ม่วงบุญศรี (เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2517) เป็นนักร้องชาวไทย อดีตนักร้องนำของวง เปเปอร์แจม ซึ่งเคยมีผลงานเพลงในปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีผลงานอัลบั้มเดี่ยวอีกหลายชุด มีบทเพลงที่โด่งดังเช่น ไม่รักดี, แค่หลับตา, จะภาวนา, ตำนานคนโชคดี และเคยได้รับรางวัล สีสันอะวอร์ดส์ ในฐานะศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยมถึง 2 สมัย ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหฤทัย ม่วงบุญศรี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)

นาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ร.น. (22 มกราคม พ.ศ. 2438 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2508) มีชื่อจริงว่า บุง ศุภชลาศัย รองผู้บัญชาการทหารเรือ อธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย) · ดูเพิ่มเติม »

หวน มุตตาหารัช

ร้อยตำรวจเอกหวน มุตตาหารัช (8 เมษายน พ.ศ. 2446 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และ อดีตที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหวน มุตตาหารัช · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาต การิกาญจน์

อภิชาต การิกาญจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการการศึกษา ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิชาต การิกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาต ศักดิเศรษฐ์

นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2503) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ สุภาแพ่ง

อภิชาติ สุภาแพ่ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการคุ้มครองผู้บริโภค ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิชาติ สุภาแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ หาลำเจียก

อภิชาติ หาลำเจียก (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 - 15 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ 2 สมัย สังกัดพรรคกิจสังคม และพรรคสามัคคีธรรม อดีตสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิชาติ หาลำเจียก · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย

นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิรักษ์ โกษะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

อภิวัฒน์ เงินหมื่น

อภิวัฒน์ เงินหมื่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอำนาจเจริญ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ บุตรชายของนายสุทัศน์ เงินหมื่น และเป็น 1 ใน 4..ของพรรคประชาธิปัตย์ที่สามารถเอาชนะการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิวัฒน์ เงินหมื่น · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์

อภิสิทธิ์ มีความหมายว่า "สิทธิพิเศษ" มีความหมายใกล้เคียงกับ เอกสิทธิ์ (advantage, privilege) เมื่อเป็นชื่อบุคคล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรพินท์ ไชยกาล

อรพินท์ ไชยกาล (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - 1 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เป็นสตรีที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของประเทศไทย เคยรับราชการเป็นครูใหญ่โรงเรียนนารีนุกูล จังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรพินท์ ไชยกาล · ดูเพิ่มเติม »

อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี

อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กทม. เขตจตุจักร พรรคประชาธิปัตย์ ประธานกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย กรรมการสภาสถาบันพระปกเกล้า ปัจจุบันเป็นคณะทำงานเศรษฐกิจของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี · ดูเพิ่มเติม »

อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 10 คนของนายโฆสิต เวชชาชีวะ น้องชายของพระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีพี่ชายคือนายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ที่เป็นบิดาของนายสุรนันท์ เวชชาชีวะ นักการเมืองพรรคไทยรักไทย และเป็นพี่ชายของนายวิทยา เวชชาชีวะ ที่เป็นอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศเช่นกัน ระหว่างเป็นคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล น.อรรถสิทธิ์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการศูนย์วินิจฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา (AIMC) เป็นโครงการนำร่องของการบริหารงานภายใต้การกำกับดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ มีระบบบริหารจัดการแบบพิเศษ โดยมูลนิธิรามาธิบดี เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรรคพล สรสุชาติ

นายอรรคพล สรสุชาติ อดีตผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2 สมัย).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรรคพล สรสุชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์

นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรอนงค์ คล้ายนก

นางอรอนงค์ คล้ายนก (ชื่อเล่น: แจง; เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) จบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาจากวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ระดับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีประสบการณ์ทำงานเป็นพนักงานของการไฟฟ้านครหลวง และเป็นผู้ช่วยของนายสุพิน คล้ายนก สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตบางแค ผู้เป็นสามี และมีกิจการของตัวเองเกี่ยวกับพลาสติกและบริษัทโฆษณา ปัจจุบัน ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 นางอรอนงค์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขต 11 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย เขตภาษีเจริญ เขตบางแค และ เขตหนองแขม คู่กับ นายโกวิทย์ ธารณา และ นายวัชระ เพชรทอง ซึ่งนางอรอนงค์และนายโกวิทย์ได้รับเลือกตั้ง และในการเลือกตั้งในกลางปี พ.ศ. 2554 นางอรอนงค์ได้รับเลือกตั้งอีกครั้ง โดยเป็นฝ่ายชนะ ร.ท.หญิง สุณิสา เลิศภควัต จากพรรคเพื่อไทยไป 48,362 คะแนน ต่อ 43,420 คะแนน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรอนงค์ คล้ายนก · ดูเพิ่มเติม »

อรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์

นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ (เกิด 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคเพื่อไทย จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อลงกรณ์ พลบุตร

นายอลงกรณ์ พลบุตร รองประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศคนที่หนึ่ง กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอลงกรณ์ พลบุตร · ดูเพิ่มเติม »

อสิ มะหะมัดยังกี

นายแพทย์ อสิ มะหะมัดยังกี (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2501) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอสิ มะหะมัดยังกี · ดูเพิ่มเติม »

อัญชลี วานิช เทพบุตร

อัญชลี วานิช เทพบุตร (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต และอดีตนายทะเบียนพรรคประชาธิปัตย์ เคยเป็นผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นิพนธ์ พร้อมพันธุ์) เมื่อ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอัญชลี วานิช เทพบุตร · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ สิมะโรจน์

อัมรินทร์ สิมะโรจน์ นักแสดง, นักธุรกิจและนักการเมืองในระดับท้องถิ่นชาวไทย มีชื่อเล่นว่า "หลุยส์" เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอัมรินทร์ สิมะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวัชร์ อภัยวงศ์

นายอัศวัชร์ อภัยวงศ์ นักธุรกิจและนักการเมืองไทย อดีตเลขาธิการพรรคถิ่นไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรครวมใจไทยชาติพัฒน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอัศวัชร์ อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน วิภูศิริ

นายอัศวิน วิภูศิริ (เกิด: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพิจิตร) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 33 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการพรรคมหาชน ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคชาติไทย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอัศวิน วิภูศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อันวาร์ สาและ

นายอันวาร์ สาและ (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2513) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปัตตานี เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอันวาร์ สาและ · ดูเพิ่มเติม »

อารมณ์ มีชัย

นางอารมณ์ มีชัย อดีตครูชาวนครศรีธรรมราช นักต่อสู้การเมืองภาคประชาชน และเป็นผู้เข้าร่วมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นางอารมณ์เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่ อ.หัวไทร.นครศรีธรรมราช เป็นบุตรของนายเปลี่ยน และนางเพื่อม กาญจนโอภาส จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา ศึกษาศาสตร์บัณฑิต จากวิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช เมื่อปี พ.ศ. 2520 ปริญญาโท สาขา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อปี พ.ศ. 2542 นางอารมณ์รับราชการเป็นครูสอนภาษาอังกฤษมาโดยตลอดชีวิตราชการ โดยเริ่มอาชีพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 แม้ว่าฐานะทางบ้านอยู่ในขั้นร่ำรวย แต่ด้วยความที่ต้องการจะช่วยเหลือประชาชนคนยากคนจนให้อ่านออกเขียนได้เพื่อจะได้ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ โดยได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมหลายแห่งใน.นครศรีธรรมราช โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัยจากการแทรกซึมของลัทธิคอมมิวนิสต์ อย่างไรก็ตาม จากการที่นางอารมณ์มีบทบาทในการนำชาวบ้านประท้วงเจ้าหน้าที่รัฐในเรื่องความไม่เป็นธรรมต่าง ๆ ทำให้ถูกย้ายเข้ามาสอนในกรุงเทพมหานครในช่วงปลายของการรับราชการครู แต่ก็ยังคงทำบทบาทการต่อสู้เพื่อความถูกต้องต่อไป รวมทั้งการขับไล่รัฐบาล พล.อ.สุจินดา คราประยูร ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2535 ด้วย เคยลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประจำ.นครศรีธรรมราช ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคความหวังใหม่ แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง จากบทบาทของความเป็นครูและความเป็นแม่ที่เข้มแข็ง ทำให้ได้รางวัลแม่ดีเด่นแห่งชาติ สาขาผู้เสียสละและทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมปี พ.ศ. 2520 และยังเป็นครูต้นแบบด้านภาษาอังกฤษปี พ.ศ. 2540 นางอารมณ์ถูกตรวจพบว่าเป็นมะเร็งเต้านมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 โดยแพทย์ผู้รักษาบอกว่าจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 5 ปี แต่ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 นางอารมณ์ได้เข้าร่วมมาโดยตลอด โดยขึ้นเวทีปราศรัยอย่างตรงไปตรงมา จนเป็นขวัญใจของผู้ชุมนุมคนหนึ่ง โดยเรียกกันว่า "แม่อารมณ์" หรือ "ครูอารมณ์" แม้ร่างกายจะอ่อนแอเพราะต้องไปฉายแสงเป็นประจำทุกวันจันทร์ นางอารมณ์ปราศรัยเป็นครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2551 จากนั้นจึงได้งดไปเพื่อรักษาตัว แต่ก่อนหน้านั้นในวันที่ 29 สิงหาคม นางอารมณ์เป็นผู้หนึ่งที่ชุมนุมที่หน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลที่วังปารุสกวัน เพื่อทวงถามความเป็นธรรมที่ตำรวจบุกรื้อเวทีของผู้ชุมนุมที่สะพานมัฆวานในช่วงเที่ยงของวันเดียวกัน ซึ่งนางอารมณ์ได้ถูกแก๊สน้ำตายิงมาจากภายในกองบัญชาการจนทำให้ร่างกายทรุดหนักเข้าไปอีก นางอารมณ์เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในระยะสุดท้ายในเวลาประมาณ 4 ทุ่มเศษ ของวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี งานศพจัดขึ้นที่ศาลา 6 วัดโสมนัสราชวรวิหาร มีบุคคลสำคัญมาร่วมงานมากมาย เช่น แกนนำและแนวร่วมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย, นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีพรรคประชาธิปัตย์หลายคน, หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้น และได้รับพระราชทานเพลิงศพในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอารมณ์ มีชัย · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วีระพันธุ์

นายอารีย์ วีระพันธุ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอารีย์ วีระพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช. และเจ้าของฉายา "ดร.ไข่ผง" จากการเคยมีกิจการโรงงานผลิตไข่ผงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอาทิตย์ อุไรรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณัฐชัย รัตตกุล

อาณัฐชัย รัตตกุล ผู้อำนวยการศูนย์นโยบายสาธารณะและการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และอดีตนักการเมืองชาวไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอาณัฐชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2494 เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากนายอาคมเป็นบุคคลที่มีรูปร่างอ้วนใหญ่ จึงได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า ตูมตาม มีบทบาทตรวจสอบรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านสภาผู้แทนราษฎร โดยเป็นผู้อภิปรายเรื่อง การทุจริตจัดซื้อเครื่องฉายดาว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอาคม เอ่งฉ้วน · ดูเพิ่มเติม »

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ เขายังได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจำปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอานันท์ ปันยารชุน · ดูเพิ่มเติม »

อานิก อัมระนันทน์

นางอานิก อัมระนันทน์ (30 มิถุนายน พ.ศ. 2499 -) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ และเป็นผู้ดูแลเว็บไซต์ส่วนตัวของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอานิก อัมระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย สุวรรณคีรี

นายอำนวย สุวรรณคีรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 9 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอำนวย สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย ปะติเส

นายอำนวย ปะติเส ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.ปรีดียาธร เทวกุล ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอำนวย ปะติเส · ดูเพิ่มเติม »

อิสมาแอล เบญอิบรอฮีม

นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2500) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม · ดูเพิ่มเติม »

อิสรา สุนทรวัฒน์

อิสรา สุนทรวัฒน์ นายอิสรา สุนทรวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอิสรา สุนทรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อิสสระ สมชัย

อิสสระ สมชัย (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ หลายสมัย และมีบุตรสาวที่เป็นนักการเมืองคือ นางสาวบุญย์ธิดา สมชัย อดีต..อุบลราชธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอิสสระ สมชัย · ดูเพิ่มเติม »

อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์

นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2507) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำปาง เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อินทร สิงหเนตร

อินทร สิงหเนตร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอินทร สิงหเนตร · ดูเพิ่มเติม »

อุสมาน อุเซ็ง

อุสมาน อุเซ็ง (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุสมาน อุเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554

อุทกภัยในประเทศไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

อุทกทาน

อุทกทาน ประดิษฐานรูปปั้นพระแม่ธรณีบีบมวยผม อุทกทาน มีความหมายว่า ให้ทานด้วยน้ำ (หรือให้น้ำเป็นทาน) เป็นศาลตั้งอยู่ริมถนนราชดำเนินใน ใกล้โรงแรมรัตนโกสินทร์ และ สะพานผ่านพิภพลีลา สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นปูนปั้นรูปพระแม่ธรณีกำลังบีบมวยผม มีน้ำสะอาดไหลออกมาจากปลายมวยผม สามารถใช้ดื่มกินได้ อุทกทาน สร้างจากพระราชดำริของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เพื่อแจกจ่ายน้ำดื่มสะอาดบริสุทธิ์ให้ผู้คนทั่วไป โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะกำลังทรงพระยศเป็น เจ้าฟ้าวชิราวุธฯ อยู่นั้น ได้พระราชทานคำแนะนำให้สร้างอุทกทาน เป็นรูปพระแม่ธรณีบีบมวยผม ปั้นขึ้นด้วยฝีพระหัตถ์ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ร่วมกับ พระยาจินดารังสรรค์ (พลับ) แล้วเสร็จทำพิธีเปิดในวันที่ 27 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุทกทาน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานเบญจสิริ

ระวังสับสนกับ: สวนเบญจกิติ อุทยานเบญจสิริ หรือ สวนเบญจสิริ เป็นสวนสาธารณะระดับชุมชนขนาดเล็กในกรุงเทพมหานครสร้างบนที่ดินเดิมเนื้อที่ 29 ไร่ของกรมอุตุนิยมวิทยาริมถนนสุขุมวิทที่ย้ายออกไปอยู่ที่ถนนสุขุมวิท เขตบางนา โดยด้านข้างของสวนสาธารณะแห่งนี้ติดกับโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์พาร์ค ห้างสรรพสินค้าเอ็มโพเรี่ยม กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษาในปีพ.ศ. 2535 ได้รับการออกแบบภูมิทัศน์โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ ภายในสวนสาธารณะแห่งนี้มีประติมากรรมที่งดงาม และเป็นชิ้นงานสำคัญของศิลปินระดับชาติที่ร่วมใจกันถวายเป็นการเทิดพระเกียรติฯ ตั้งประดับอยู่เป็นการถาวรถึง 12 ชิ้นงาน ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อุทยานเบญจสิริได้ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดการหาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในปลายปีเดียวกัน และในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดหาเสียงของนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 และเป็นที่เปิดตัวและปิดท้ายการปราศรัยใหญ่หาเสียงของ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2556 และในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้งในกลางปีเดียวกัน และใช้เป็นที่ปราศรัยใหญ่ปิดท้ายการหาเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ในวันที่ 1 มีนาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุทยานเบญจสิริ · ดูเพิ่มเติม »

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุทัย พิมพ์ใจชน · ดูเพิ่มเติม »

อุดม วรวัลย์

ตำรวจ อุดม วรวัลย์ (เกิด 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมัย และเป็นอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (สมพงษ์ อมรวิวัฒน์).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุดม วรวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อุดม แดงโกเมน

นายอุดม แดงโกเมน (เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุดม แดงโกเมน · ดูเพิ่มเติม »

อุดร ทองน้อย

นายอุดร ทองน้อย (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 - 25 กันยายน พ.ศ. 2560) นักเขียนชาวไทย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอุดร ทองน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอดิศร เพียงเกษ · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ เหลืองบริบูรณ์

นายอดุลย์ เหลืองบริบูรณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา (เกิดเมื่อวันที่) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และปริญญาโทจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี 3 สมัย และประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอดุลย์ เหลืองบริบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ วงษ์ประยูร

นายองอาจ วงษ์ประยูร (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และองอาจ วงษ์ประยูร · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ คล้ามไพบูลย์

องอาจ คล้ามไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ อดีต..กรุงเทพฯ หลายสมัย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และองอาจ คล้ามไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนักศึกษาในประเทศไทย

ในประเทศไทย องค์การนักศึกษา หรือ สโมสรนักศึกษา เป็นกลุ่มนักศึกษาในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในแต่ละสถาบัน โดยภาพรวมแล้วองค์การนักศึกษาถือเป็นศูนย์กลางของนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย องค์การนักศึกษาที่เรียกว่า สโมสรนักศึกษา เช่น สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ยกเว้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยทักษิณ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และองค์การนักศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ภักดิ์ประไพ

อนันต์ ภักดิ์ประไพ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนันต์ ภักดิ์ประไพ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ลิมปคุปตถาวร

นายอนันต์ ลิมปคุปตถาวร (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ เขต 4 อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนันต์ ลิมปคุปตถาวร · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ อนันตกูล

นายอนันต์ อนันตกูล ราชบัณฑิต กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ที่จังหวัดชลบุรี เคยดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นเวลายาวนานถึง 4 ปี และดำรงตำแหน่ง ปลัดกระทรวงมหาดไทยอีก 2 สมัยรวมเวลาเกือบ 4 ปี นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่ง เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ในช่วงปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนันต์ อนันตกูล · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ผลอำนวย

นายอนันต์ ผลอำนวย (เกิด 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 3 อดีตสมาชิกวุฒิสภา ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนันต์ ผลอำนวย · ดูเพิ่มเติม »

อนุชา บูรพชัยศรี

อนุชา บูรพชัยศรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนุชา บูรพชัยศรี · ดูเพิ่มเติม »

อนุมัติ ซูสารอ

นายอนุมัติ ซูสารอ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานีสังกัดพรรคมาตุภูมิ ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเพียงคนเดียวของพรรคมาตุภูมิที่ชนะการเลือกตั้ง ในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนุมัติ ซูสารอ · ดูเพิ่มเติม »

อนงค์ ตงศิริ

อนงค์ ตงศิริ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 - 21 กันยายน พ.ศ. 2536) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และอนงค์ ตงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอชาลี ม่าเหร็ม

นายฮอชาลี ม่าเหร็ม (เกิด 3 มีนาคม พ.ศ. 2507) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฮอชาลี ม่าเหร็ม · ดูเพิ่มเติม »

ผุสดี ตามไท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผุสดี ตามไท กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และอดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และผุสดี ตามไท · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ผู้หญิง 5 บาป

ผู้หญิง 5 บาป (Sin Sisters) ภาพยนตร์ไทยแนวตลกร้าย นำแสดงโดย คลาวเดีย จักรพันธุ์, กมลชนก เวโรจน์, ศลยา ปิ่นนรินทร์, ชุติมา เอเวอรี่, ทอฝัน จิตธาราทิต ร่วมด้วยนักแสดงรับเชิญมากมาย โอลิเวอร์ บีเวอร์, เด๋อ ดอกสะเดา, พะเยาว์ พัฒนพงศ์, พยงค์ มุกดา, สุขุม นวลสกุล, นินนาท สินไชย,เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์,นรีกระจ่าง คันธมาส, เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่, กษาปณ์ จำปาดิบ, เมืองชัย กิตติเกษม, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, บุญยอด สุขถิ่นไทย, อัญชลีพร กุสุมภ์, เกรียงศักดิ์ สกุลชัย, ศิริศักดิ์ นันทเสน, กพล ทองพลับ, สุรัช ทับวัง กำกับการแสดงโดย สุกิจ นรินทร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และผู้หญิง 5 บาป · ดูเพิ่มเติม »

ผณินทรา ภัคเกษม

นางผณินทรา ภัคเกษม (ผณินทรา แซ่อึ้ง) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาไทย-ญี่ปุ่น ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และผณินทรา ภัคเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ผ่องศรี ธาราภูมิ

ผ่องศรี ธาราภูมิ กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี เป็นพี่น้องกับนายนิพนธ์ ธาราภูมิ อดีต.พรรคประชาธิปัตย์ และ นางดรุณี รุ่งศรีทอง อดีตสมาชิกสภาเทศบาลเมืองลพบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และผ่องศรี ธาราภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ หัตถกรรม

นายจรัญ หัตถกรรม ระหว่างการอ่านคำพิพากษาคดียุบพรรค ในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 นายจรัญ หัตถกรรม (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นการอ่านประกาศคำพิพากษาตุลาการศาลปกครอง และ ตุลาการรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจรัญ หัตถกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จรัสศรี ทีปิรัช

ณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (3 มีนาคม พ.ศ. 2482 -) สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย โดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก เป็นผู้ริเริ่มโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาเมืองในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจรัสศรี ทีปิรัช · ดูเพิ่มเติม »

จรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร

นายจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา เขต 8 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจักรพันธุ์ ยมจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยนาทในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดชัยนาทในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดชัยนาทในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบึงกาฬในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดบึงกาฬในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดบึงกาฬในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดชุมพรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพัทลุงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดพัทลุงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดพัทลุงในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพังงาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดพังงาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดพังงาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมุกดาหารในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดมุกดาหารในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระนองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดระนองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดระนองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดสมุทรสาครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงครามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดสมุทรสงครามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดสมุทรสงครามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

งห์บุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดสิงห์บุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอำนาจเจริญในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอำนาจเจริญ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดอำนาจเจริญในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงรายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงร..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจังหวัดเชียงรายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

จัตุรนต์ คชสีห์

ัตุรนต์ คชสีห์ (เกิด 19 เมษายน พ.ศ. 2490) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจัตุรนต์ คชสีห์ · ดูเพิ่มเติม »

จาตุรนต์ ฉายแสง

ตุรนต์ ฉายแสง (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เขาได้รับการคัดเลือกจากนิตยสารเอเชียวีคให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาติเอเชียที่มีบทบาทโดดเด่นในศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจาตุรนต์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

จำรูญ ไชยลังการณ์

ร.จำรูญ ไชยลังการณ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจำรูญ ไชยลังการณ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจำลอง ศรีเมือง · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ห่วงทรัพย์

นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 18 (เขตคลองสามวา) สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจิรายุ ห่วงทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุส เนาวเกตุ

นายจิรายุส เนาวเกตุ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 3 สมัย ปัจจุบันเป็นแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติประจำจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจิรายุส เนาวเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

จิตภัสร์ กฤดากร

ตภัสร์ กฤดากร ชื่อเล่นว่า ตั๊น ปัจจุบันเป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตแนวร่วมกลุ่ม กปปส., อดีตเลขานุการรัฐมนตรีจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจิตภัสร์ กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

จิตตนาถ ลิ้มทองกุล

ตตนาถ ลิ้มทองกุล ''(ภาพจากสนุกดอตคอม)'' นายจิตตนาถ ลิ้มทองกุล เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของนายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ และ ผ.จันทน์ทิพย์ ลิ้มทองกุล อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จบการศึกษาระดับมัธยมจาก Whitsunday Anglican School (WAS) ประเทศออสเตรเลีย ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยควีนแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ปริญญาโทคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เริ่มทำงานครั้งแรกด้วยการเป็นนักข่าวในเครือผู้จัดการ ต่อมาได้ก่อตั้งสำนักพิมพ์บุรพัฒน์ จัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือการ์ตูนในแนวกำลังภายในหลายเรื่อง เช่น ฟงอวิ๋น ขี่พายุทะลุฟ้า หรือ ขี่พายุดาบเทวดา เป็นต้น จากนั้นในต้นปี พ.ศ. 2547 ได้ขึ้นเป็นผู้บริหาร (ซีอีโอ) คนหนึ่งในเครือผู้จัดการ เป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ผู้จัดการให้น่าสนใจ น่าติดตามเช่นดังปัจจุบัน ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อคืนวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ที่นายสนธิเป็นผู้นำการชุมนุมเป็นครั้งแรกนั้น นายจิตตนาถมีบทบาทเป็นผู้นำฎีการ้องเรียนเรื่องทุกข์ของแผ่นดินทูลเกล้าแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผ่านทางสำนักพระราชวัง โดยนายจิตตนาถได้เดินทางไปยื่นฎีกานี้พร้อมกับ น..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจิตตนาถ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

จุมพฏ บุญใหญ่

นายจุมพฏ บุญใหญ่ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดสกลนคร จบการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต สาขากฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคำแหง และเนติบัณฑิต สาขากฎหมาย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เมื่อจบแล้วได้ประกอบอาชีพเป็นทนายความและครู.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจุมพฏ บุญใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์

นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (15 มีนาคม 2499 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 6 สมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขานโยบายสาธารณะและการวางแผน จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) นายจุรินทร์ เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยรัฐบาลชวน 1 และ ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลชวน 2 นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล และ ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมฝ่ายค้าน (2 สมัย) ด้านการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร นายจุรินทร์ เคยได้รับการโหวตจาก สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ให้เป็นคณะกรรมาธิการดีเด่น จากบทบาทใน คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สภาผู้แทนราษฎร กรณีดำเนินการทวงคืน ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ จากสหรัฐอเมริกา จนเป็นผลสำเร็จ ตั้งแต่การเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายจุรินทร์ได้ย้ายไปลงสมัครในระบบบัญชีรายชื่อ โดยให้ นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์ น้องชายลงสมัคร..เขต แทน ล่าสุดในการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฎ์

นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์ (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2515) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์

นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย เป็นบุตรชายของนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุติ ไกรฤกษ์

ติ ไกรฤกษ์ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลกหลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจุติ ไกรฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์

ณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2515 มีชื่อเล่นว่า แบม หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า น้องแบม โฆษกพรรค และรองเลขาธิการพรรคชาติไทย และ รองโฆษกรัฐบาล พิธีการรายการโทรทัศน์ที่เคยรับงานพิธีกรรายการตีสิบ โดยภายหลังจึงลาออกมาทำงานการเมือง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ

รรมวิชญ์ โพธิพิพิธ (ชื่อเดิม พินิจ โพธิพิพิธ) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการสมาคมกำนันผู้ใหญ่บ้าน จังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญ ฤทธิมณี

รองศาสตราจารย์ ธรรมนูญ ฤทธิมณี เป็นอดีตอธิการบดีคนแรกของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ดำรงตำแหน่งในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงฐานะจากวิทยาลัย เป็นสถาบัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธรรมนูญ ฤทธิมณี · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญ เทียนเงิน

นายธรรมนูญ เทียนเงิน (28 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2532) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นคนแรก อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ อดีตผู้อำนวยการลูกเสือชาวบ้านพระนคร มีศักดิ์เป็นอา ของ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธรรมนูญ เทียนเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ธวัช วิชัยดิษฐ

รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัช วิชัยดิษฐ (12 พฤศจิกายน 2483 - 11 ธันวาคม 2541) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายชวน หลีกภัย) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ ธวัช วิชัยดิษฐ เสียชีวิตในเหตุการณ์เครื่องบินสายการบินไทยตก ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อปี พ.ศ. 2541 เป็นเหตุการณ์เดียวกันกับที่นายเรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์ รอดชีวิต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธวัช วิชัยดิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัช สุรินทร์คำ

นายธวัช สุรินทร์คำ (เกิด 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธวัช สุรินทร์คำ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชชัย อนามพงษ์

นายธวัชชัย อนามพงษ์ (เกิด 17 กุมภาพันธ์ 2488) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานคณะกรรมาธิการส่งเสริมราคาผลผลิตเกษตรกรรม ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธวัชชัย อนามพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่

วัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (120px) หรือ เจ้าหนุ่ย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 5 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ธวัชวงศ์ สืบทอดเชื้อสายราชตระกูล ณ เชียงใหม่ (เจ้าเจ็ดตน) สายของพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา ซึ่งเป็นสายเดียวกันกับนางยินดี ชินวัตร มารดาของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญา โสภณ

ัญญา โสภณ (เกิด 17 มีนาคม พ.ศ. 2504) นักแสดงหญิงชาวไทย เป็นภรรยาของพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง นักร้องและนักแสดง ปัจจุบันผันตัวไปอยู่เบื้องหลังเป็นผู้จัดละครโทรทัศน์ ธัญญา โสภณ เป็นชื่อที่ใช้ในวงการบันเทิง ซึ่งเดิมชื่อ เนตรพนิต โพธารากุล เกิดที่ตำบลท่ามะกา อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรของ นายประกอบ และนางมาเรียม โพธารากุล เป็นน้องสาวของนายปารเมศ โพธารากุล อดีต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธัญญา โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

ธารินทร์ นิมมานเหมินท์

รินทร์ นิมมานเหมินท์ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธารินทร์ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธารทอง ทองสวัสดิ์

ร.ธารทอง ทองสวัสดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 2 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำปาง และอดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธารทอง ทองสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ ใจสมุทร

นายธานินทร์ ใจสมุทร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสตูล สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา เป็นอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธานินทร์ ใจสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ธานี เทือกสุบรรณ

นายธานี เทือกสุบรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธานี เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ธำรงค์ ไทยมงคล

นายธำรงค์ ไทยมงคล เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 ซึ่งมีนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธำรงค์ ไทยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ธีรภัทร พริ้งศุลกะ

ีรภัทร พริ้งศุลกะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธีรภัทร พริ้งศุลกะ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์

ร.ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ (ชื่อเล่น:อิ่ม;เกิด 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 20 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สลักเพชร

นายธีระ สลักเพชร (9 พฤศจิกายน 2500 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธีระ สลักเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ธนา ชีรวินิจ

นายธนา ชีรวินิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธนา ชีรวินิจ · ดูเพิ่มเติม »

ธนิตพล ไชยนันทน์

นายธนิตพล ไชยนันทน์ (ชื่อเล่น: เดี๊ยบ) กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก เกิดวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรของ นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และกรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นหลานของนายเทียม ไชยนันทน์ อดีต..จังหวัดตาก หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ชีวิตครอบครัว คู่สมรส นาง วรกันยา ณ ระนอง ไชยนันทน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธนิตพล ไชยนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธเนศ เครือรัตน์

นายธเนศ เครือรัตน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคเพื่อไทย และประธานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และธเนศ เครือรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ฤกษ์หร่าย

นายถวิล ฤกษ์หร่าย (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2482) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 และครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถวิล ฤกษ์หร่าย · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ไพรสณฑ์

วิล ไพรสณฑ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถวิล ไพรสณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถัด พรหมมาณพ

นายถัด พรหมมาณพ (พ.ศ. 2443 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2502) อดีตรัฐมนตรีไม่ประจำกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถัด พรหมมาณพ · ดูเพิ่มเติม »

ถาวร เสนเนียม

วร เสนเนียม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2490 ที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถาวร เสนเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม อ่อนเกตุพล

นายถนอม อ่อนเกตุพล อดีตที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร และโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษาและโฆษก สมัยผู้ว่าฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีต ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกรุงเทพมหานคร อดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายองอาจ คล้ามไพบูล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถนอม อ่อนเกตุพล · ดูเพิ่มเติม »

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถนัด คอมันตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถ้วน หลีกภัย

้วน หลีกภัย (นามเดิม: กิมถ้วน จูห้อง; เกิด: พ.ศ. 2458 — ตาย: 2 มีนาคม พ.ศ. 2554) หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันดีในชื่อ แม่ถ้วน เป็นมารดาของชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของประเทศไทย และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และถ้วน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ทรงชัย วงศ์สวัสดิ์

นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน เคยได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน เพียงคนเดียวของภาคเหนือที่ไม่ได้สังกัดพรรคไทยรักไทย ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวี สุระบาล

นายทวี สุระบาล (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทวี สุระบาล · ดูเพิ่มเติม »

ทวี ไกรคุปต์

ทวี ไกรคุปต์ (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 7 สมัย และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคประชาไทย (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นพรรครวมไทย และพรรคเอกภาพ).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทวี ไกรคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร เทพบุตร

ทศพร เทพบุตร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นสามีของนางอัญชลี วานิช เทพบุตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทศพร เทพบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ทหาร ขำหิรัญ

ลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ อดีตนายทหารนาวิกโยธินชาวไทย อดีตนักการเมือง และหนึ่งในคณะราษฎรสายทหารเรือ ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 พล.ร.ต.ทหาร เดิมมีชื่อว่า ทองหล่อ ขำหิรัญ เป็นนายทหารเรือพรรคนาวิกโยธิน ในเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อเช้าตรู่วันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทหาร ขำหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

ทองดี อิสราชีวิน

นายทองดี อิสราชีวิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 6 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทองดี อิสราชีวิน · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทิวา เงินยวง

รองศาสตราจารย์ ทิวา เงินยวง (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2553) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ เป็นมือกฎหมายฝีมือดีคนหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และทิวา เงินยวง · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก

"ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" เป็นชื่อคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่งตั้งขึ้นตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 84/2531 และเนื่องจากได้ใช้ "บ้านพิษณุโลก" ที่ปกติเป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย มาปรับเปลี่ยนเป็นสำนักงานของคณะที่ปรึกษา โดยคณะทำงานส่วนใหญ่ ใช้ห้องชั้นล่างด้านซ้ายเป็นห้องทำงาน และใช้พื้นที่ด้านขวาเป็นห้องรับแขก และประชุมร่วมกับ พล.อ.ชาติชาย ส่วนชั้นบนของบ้านใช้เป็นห้องทำงานของ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ทำให้เป็นที่มาของชื่อ "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" หรือเรียกย่อๆ ว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษฯ".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ขยัน วิพรหมชัย

ัน วิพรหมชัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ โดยเป็น 1 ใน 2 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 ในเขตภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด (อีกคนหนึ่งคือ นายสมบัติ ยะสินธุ์ ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน) ซึ่งเป็นฐานเสียงสำคัญของกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และขยัน วิพรหมชัย · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญชัย สาราคำ

วัญชัย สาราคำ หรือที่รู้จักกันในนาม ขวัญชัย ไพรพนา เป็นประธานชมรมคนรักอุดร และหนึ่งในแนวร่วมคนสำคัญของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือคนเสื้อแดง มีบทบาทปกป้องรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และรัฐบาลอื่น ๆ ที่มีแนวทางเดียวกันมากม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และขวัญชัย สาราคำ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนพันธรักษ์ราชเดช (บุตร พันธรักษ์)

ลตำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช พลตำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช (บุตร พันธรักษ์) (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 — 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) อดีตนายตำรวจชื่อดังของวงการตำรวจไทย ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นอันมากในการปราบโจรร้ายในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย ในภาคกลางเช่น เสือฝ้าย เสือย่อง เสือผ่อน เสือครึ้ม เสือปลั่ง เสือใบ เสืออ้วน เสือไหว เสือมเหศวร ที่พัทลุง ปราบ เสือสังหรือเสือพุ่ม ที่นราธิวาส ปราบผู้ร้ายทางการเมือง ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และขุนพันธรักษ์ราชเดช (บุตร พันธรักษ์) · ดูเพิ่มเติม »

ขุนทอง ภูผิวเดือน

นายขุนทอง ภูผิวเดือน (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2538) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และขุนทอง ภูผิวเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย

นายณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย (ชื่อรอง หนานโฮ๊ะ) หรือที่รู้จักกันในนาม "หนานโฮ๊ะ" อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ หลายสมัย นักจัดรายการวิทยุ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นที่นำเสนอข่าวในรูปแบบที่ถูกใจชาวบ้าน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย · ดูเพิ่มเติม »

ณหทัย ทิวไผ่งาม

ร.ณหทัย ทิวไผ่งาม อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2544 และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณหทัย ทิวไผ่งาม · ดูเพิ่มเติม »

ณัฎฐ์ บรรทัดฐาน

นายณัฏฐ์ บรรทัดฐาน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของนายบัญญัติ บรรทัดฐาน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณัฎฐ์ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ

นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ อดีตผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ และ ประธานสโมสรทีมฟุตบอลบางกอกเอฟซี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณัฏฐพล ทีปสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร (ส.ส.พระนคร) และกรุงเทพมหานคร (ส.ส.กรุงเทพมหานคร) พรรคประชาธิปัตย์ และนักเขียนสารคดีแนวประวัติศาสตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ณิรัฐกานต์ ศรีลาภ

นางสาวณิรัฐกานต์ ศรีลาภ (ชื่อเล่น: บ็อบบี้) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยโสธร พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในห้..ประชาธิปัตย์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และณิรัฐกานต์ ศรีลาภ · ดูเพิ่มเติม »

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และดำรง ลัทธพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คมคาย พลบุตร

นางคมคาย พลบุตร หรือชื่อเดิม คมคาย เฟื่องประยูร (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2510) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคมคาย พลบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ครรชิต ทับสุวรรณ

รรชิต ทับสุวรรณ (เกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เขาต้องโทษในคดีฆ่านายอุดร ไกรวัตนุสรณ์ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร เมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และครรชิต ทับสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

คล้าย ละอองมณี

ล้าย ละอองมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคล้าย ละอองมณี · ดูเพิ่มเติม »

ความจริงวันนี้

วามจริงวันนี้ (Truth Today หรือ Today Fact) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทความเห็นทางการเมืองของประเทศไทย ที่ออกอากาศในระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม-10 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.15-23.00 น. และวันอาทิตย์ เวลา 22.00-23.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ผลิตรายการโดย บริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด มีนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ ร่วมด้วย นายจตุพร พรหมพันธุ์ และ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เป็นผู้ร่วมรายการ ต่อมารายการได้กลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาธิปไตย (ดี-สเตชัน) โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552 ซึ่งในช่วงนี้ ได้มีพิธีกรเสริมทดแทน กรณีที่พิธีกรชุดเดิมคนใดคนหนึ่ง ไม่สามารถมาดำเนินรายการได้ อีก 3 คน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง, นายสมหวัง อัสราษี และนางสาวนารีรัตน์ นานเนิ้น แต่เนื่องจาก ดี-สเตชัน ถูกสั่งระงับออกอากาศ รายการจึงจำเป็นต้องยุติไปอีกครั้ง แต่ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กล่าวบนเวทีปราศรัยของกลุ่มคนเสื้อแดงในงานแดงทั้งแผ่นดินสัญจรว่ารายการจะกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาชน (พีเพิลแชแนล) ฉายอีกครั้งวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และความจริงวันนี้ · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552

วามไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คำรณ ณ ลำพูน

นายคำรณ ณ ลำพูน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคำรณ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก สัญลักษณ์ประจำคณะ คือ พังงา ซึ่งเป็นรูปพวงมาลัยที่ใช้บังคับทิศทางการเดินเรือพานิชย์ โดยสื่อความหมายถึง การนำทางให้ไปสู่จุดมุ่งหมายที่หวังไว้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17

ลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 17 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 17 ของไทย (23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนสมาชิกฝ่ายรัฐบาล สีแดงคือจำนวนสมาชิกฝ่ายค้านรัฐบาล การจัดตั้งรัฐบาล คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนฝ่ายรัฐบาล และ สีแดงคือจำนวนฝ่ายค้านในสภา คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2518) คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 รัฐบาลของ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช จัดตั้งหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 ของไทย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ชวน หลีกภัย เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายมารุต บุนนาค ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)

ณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์) · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับการสถาปนาเป็นคณะที่ 7 ของมหาวิทยาลัย โดยเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี้ ยังเปิดสอนหลักสูตรเตรียมแพทย์ ให้กับวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า อีกด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550

นทีรักมีนาคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เป็นคณะลำดับที่ 6 ของมหาวิทยาลัยสยาม โดยมี อาจารย์ประธาน รังสิมาภรณ์ เป็นคณบดี เปิดสอนทั้งสิ้น 6 สาขาวิชา ได้แก่ หนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์, การประชาสัมพันธ์, การโฆษณา, สื่อดิจิทัล, วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และศิลปะการแสดง โดยนักศึกษาต้องผ่านการเรียน ซึ่งประกอบด้วยวิชาหลักต่าง ๆ จำนวน 141 หน่วยกิต และวิชาเลือกเสรีจำนวน 3 หน่วยกิต และต้องผ่านการฝึกงานติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 200 ชั่วโมง จึงจะสำเร็จหลักสูตร ใช้เวลาเรียน 4 ปี ต่อมา มี ร.ดร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สามของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังเป็นเป็นโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย สถานที่ตั้งปัจจุบันคือ เลขที่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 276 ไร่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดประตูสวนดอก คณบดีคนปัจจุบันของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549

ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

คดีระหว่างนายทะเบียนพรรคการเมือง กับพรรคประชาธิปัตย์ (2553)

"คดีระหว่างนายทะเบียนพรรคการเมือง กับพรรคประชาธิปัตย์ (2553)" เป็นคดีรัฐธรรมนูญในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2553 ซึ่ง อภิชาต สุขัคคานนท์ นายทะเบียนพรรคการเมือง ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ กล่าวหาว่า พรรคประชาธิปัตย์ใช้จ่ายไปโดยผิดวัตถุประสงค์ของกฎหมายซึ่งเงินจำนวนยี่สิบเก้าล้านบาทที่คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดสรรให้จากกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ขัดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 มาตรา 66 อนุมาตรา (2) และ (3) จึงขอให้ศาลมีคำสั่งยุบพรรคประชาธิปัตย์ และตัดสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าและกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ ตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 มาตรา 98ไทยรัฐ, 6 พฤษภาคม 2553: ออนไลน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคดีระหว่างนายทะเบียนพรรคการเมือง กับพรรคประชาธิปัตย์ (2553) · ดูเพิ่มเติม »

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และคนเดือนตุลา · ดูเพิ่มเติม »

งามพรรณ เวชชาชีวะ

งามพรรณ เวชชาชีวะ (ชื่อเล่น: เจน) นักเขียน นักแปลผู้มีชื่อเสียง และนักธุรกิจเกี่ยวกับลิขสิทธิ์วรรณกรรม เจ้าของ รางวัลซีไรต์ ประจำปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และงามพรรณ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ตรี ด่านไพบูลย์

นายมนตรี ด่านไพบูลย์ หรือ นายตรี ด่านไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของนายศักดิ์ - นางทองพูน ด่านไพบูลย์ ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และตรี ด่านไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของ พันตำรวจเอกวิจิตร และนางเกื้อกูล อภัยวงศ์ จบการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และต่อในระดับปริญญาที่ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบได้รับการทาบทามให้เป็นอาจารย์ประจำที่คณะ หนึ่งปีต่อมาไปศึกษาเพิ่มเติมทางด้านศิลปะการละคร (MA in Theatre Practice) ในระดับมหาบัณฑิต ที่ มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นนักเรียนชาวเอเชีย เพียงคนเดียวที่ได้รับการตอบรับให้เข้าเรียนในสาขานี้ ซึ่งเปิดสอนนักศึกษาเพียงแค่ 5 คนในปีนั้น จากนั้นกลับมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำ ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นอาจารย์พิเศษในปัจจุบัน ตรีดาวเคยเป็นพิธีกรในรายการ "เรียงร้อย ถ้อยไทย" ซึ่งเป็นรายการเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ซึ่งเป็นรายการสั้น ๆ ช่วงหัวค่ำวันธรรมดา ทางช่อง 3 อยู่พักหนึ่ง ชีวิตครอบครัว สมรสกับ พงษ์ สุขุม บุตรชายคนโตของ ปราโมทย์ สุขุม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์กับคุณหญิงกัญญา หงส์ลดารมภ์ ไปเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม · ดูเพิ่มเติม »

ฉลอง เรี่ยวแรง

นายฉลอง เรี่ยวแรง (เกิด 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคประชากรไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฉลอง เรี่ยวแรง · ดูเพิ่มเติม »

ฉลาด วรฉัตร

รืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดและกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นักเคลื่อนไหวทางการเมือง ผู้ได้รับฉายาว่า "จอมอด".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฉลาด วรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ฉลาด ขามช่วง

ฉลาด ขามช่วง ประธานกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฉลาด ขามช่วง · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย พะลัง

นายฉัตรชัย พะลัง อดีตรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร เป็นน้องชายของ นายสุวโรช พะลัง กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต.พรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย สมรสกับ นางนวรัตน์ พะลัง นายฉัตรชัยลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกว.ชุมพร เมื่อ ปี พ.ศ. 2549 ได้คะแนนเป็นอันดับหนึ่ง ชนะ พล.อ.ไพโรจน์ นาคฉัตรีย์ น้องชายของ นายปริญญา นาคฉัตรีย์ กรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) แต่ไม่ได้รับการประกาศรับรองผลการเลือกตั้งจาก กกต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฉัตรชัย พะลัง · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร

นายฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร (สกุลเดิม: กระต่าย) ได้รับประทานนามสกุลจากสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายกเป็นเดชกิจสุนทร ปัจจุบันดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดกาญจนบุรี พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ประชา บูรณธนิต

ลตำรวจโท ประชา บูรณธนิต อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตหัวหน้าพรรคอธิปัตย์ เจ้าของฉายา "นายพลหนังเหนียว".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประชา บูรณธนิต · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปัตย์

ประชาธิปัตย์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (Office of the Council of State of Thailand.) เป็นชื่อเรียกระบอบการปกครองในประเทศไทย ที่รวมเอาทั้งรูปแบบการปกครอง (form of government) ประเภทประชาธิปไตยโดยมีรัฐสภา (parliamentary democracy) กับรูปแบบรัฐ (form of state) ประเภทการปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) ไว้ในคำเดียวกัน สำหรับที่มานั้น วลีที่ว่า "ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข" เพิ่งจะมีขึ้นในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ประพร เอกอุรุ

นายประพร เอกอุรุ (1 มิถุนายน พ.ศ. 2510 - 4 กันยายน พ.ศ. 2560) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประพร เอกอุรุ · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประพันธ์ คูณมี · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ รัตนพันธ์

นายประกอบ รัตนพันธ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นประธานคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 และเป็นอดีตข้าราชการครู สังกัดกรมอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประกอบ รัตนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ สังข์โต

นายประกอบ สังข์โต เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ครม.53) และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี สังกัดพรรคประชากรไทย (กลุ่มงูเห่า).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประกอบ สังข์โต · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ จิรกิติ

ร.ประกอบ จิรกิติ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายประสิทธิ จิรกิติ และนางอิงอร จิรกิติ สมรสกับ นางวรรณา จิรกิติ (สกุลเดิม เบญจรงคกุล) น้องสาวของ นายบุญชัย เบญจรงคกุล อดีตผู้บริหารกลุ่มยูคอมและดีแทค และเป็นพี่สาวนายสมชาย เบญจรงคกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ดร.ประกอบ จิรกิติ เคยทำงานด้านวิชาการเป็นอาจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มีผลงานจนได้ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ก่อนจะเข้าเป็นผู้บริหารบริษัทหลายแห่งในเครือยูคอม ที่เป็นหนึ่งในธุรกิจสื่อสารยักษ์ใหญ่ของไทย กระทั่งได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ยูไนเต็ด คอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ ยูคอม และต่อมาเป็น กรรมการผู้จัดการบริษัท เลิร์นทูเกเธอร์ จำกัด ธุรกิจการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (e-Learning) ในเครือยูคอม ซึ่งเท่ากับได้ทำงานในสายงานการศึกษาอีกครั้ง ดร.ประกอบ จิรกิติ เคยเข้าสู่วงการเมือง โดยลงสมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 10 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประกอบ จิรกิติ · ดูเพิ่มเติม »

ประภัสร์ จงสงวน

ประภัสร์ จงสงวน อดีตผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 อดีตผู้ว่าการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) 3 วาระ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2551).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประภัสร์ จงสงวน · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล พงศ์ถาวราเดช

นายประมวล พงศ์ถาวราเดช (เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประมวล พงศ์ถาวราเดช · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล รุจนเสรี

นายประมวล รุจนเสรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตหัวหน้าพรรคประชามติ เจ้าของผลงานหนังสือ พระราชอำน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประมวล รุจนเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร อภัยวงศ์

นายประยูร อภัยวงศ์ (31 มีนาคม พ.ศ. 2460 - 23 มกราคม พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิบูลสงคราม พรรคประชาธิปัตย์ 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประยูร อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัฒน์ อุตโมท

ร.ประวัฒน์ อุตโมท หรือ ดร.ประวัฒน์ อุตตะโมต บุคคลล้มละลาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประวัฒน์ อุตโมท · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวิทย์ รุจิรวงศ์

ประวิทย์ รุจิรวงศ์ นักธุรกิจชาวไทย และอดีตนักการเมืองท้องถิ่น ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นายประวิทย์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2484 เป็นบุตรชายของ พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และคุณหญิงน้อย รุจิรวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล, โรงเรียนโยธินบูรณะและสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน จากนั้นได้เดินทางไปฝึกงานต่อยังประเทศอังกฤษเป็นระยะเวลา 3 ปี เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) และดำรงตำแหน่งประธานสภากรุงเทพมหานคร เป็นคนที่ 7 ด้วย ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 ถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 จากนั้นได้ลงเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2533 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยได้คะแนนมาเป็นลำดับที่สาม ได้ทั้งหมด 60,947 คะแนน นายประวิทย์ถึงแก่กรรมเมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประวิทย์ รุจิรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประสาร ไตรรัตน์วรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ วุฒินันชัย

นายประสิทธิ์ วุฒินันชัย (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2500) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประสิทธิ์ วุฒินันชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ไชยสาส์น

นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประจวบ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประไพพรรณ พศบูรณินทร์

ประไพพรรณ พศบูรณินทร์ (นามสกุลเดิม: เส็งประเสริฐ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย คือ ได้รับเลือกตั้งขณะมีอายุ 25 ปี 9 วัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประไพพรรณ พศบูรณินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ

ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ มงคลศิริ

นายแพทย์ประเสริฐ มงคลศิริ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2502) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเสริฐ มงคลศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2485

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2485 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2489

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2489 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2535

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2535 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2543 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2547

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2547 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2550 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ สุขุม

ปราโมทย์ สุขุม (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายาว่า “สุภาพบุรุษนักการเมือง” จากสื่อมวลชน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปราโมทย์ สุขุม · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา ฤกษ์หร่าย

นายปริญญา ฤกษ์หร่าย (ชื่อเล่น:บอย;เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2518) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปริญญา ฤกษ์หร่าย · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา นาคฉัตรีย์

นายปริญญา นาคฉัตรีย์ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายบริหารการเลือกตั้ง เป็นหนึ่งในกรรมการการเลือกตั้งที่ถูกศาลอาญา พิพากษาให้จำคุก 4 ปี จากการปฏิบัติหน้าที.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปริญญา นาคฉัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา บุญมี

ปรีชา บุญมี (เกิด 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปรีชา บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา มุสิกุล

นายแพทย์ปรีชา มุสิกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปรีชา มุสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ผ่องเจริญกุล

นายปรีชา ผ่องเจริญกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคสามัคคีธรรม และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (อลงกรณ์ พลบุตร) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอดีตนักกิจกรรมสมัย 14 ตุลา เป็นบุคคล ควบคุมรถบัญชาการ ฝ่ายนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปรีชา ผ่องเจริญกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญวัฒน์ บุญมี

ปัญญวัฒน์ บุญมี (ชื่อเดิม: ประสานต์ บุญมี) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม (ส.ส.นครปฐม) ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปัญญวัฒน์ บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา จีนาคำ

นายปัญญา จีนาคำ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปัญญา จีนาคำ · ดูเพิ่มเติม »

ปารเมศ โพธารากุล

นายปารเมศ โพธารากุล (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปารเมศ โพธารากุล · ดูเพิ่มเติม »

ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ

นายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ (ชื่อเล่น:โอเล่, เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2515) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์

นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (เกิด 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ 8 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

นพพล เหลืองทองนารา

นายนพพล เหลืองทองนารา (เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2515) เป็นนักการเมืองชาวจังหวัดพิษณุโลก เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนพพล เหลืองทองนารา · ดูเพิ่มเติม »

นพดล ปัทมะ

นพดล ปัทมะ (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504 ที่อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา) ทนายความประจำตระกูลชินวัตร เป็นผู้แทนทางกฎหมายในประเทศไทยของ.ต.ท.ดร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนพดล ปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

นรพล ตันติมนตรี

นรพล ต้นติมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน โดยเป็น..เพียงคนเดียวของพรรคเพื่อแผ่นดินที่ชนะการเลือกตั้งในจังหวัดเชียงใหม่ จากการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนรพล ตันติมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

นราพัฒน์ แก้วทอง

นายนราพัฒน์ แก้วทอง รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนราพัฒน์ แก้วทอง · ดูเพิ่มเติม »

นริศ ขำนุรักษ์

นายนริศ ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นประธานคณะกรรมาธิการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนริศ ขำนุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นฤชาติ บุญสุวรรณ

นฤชาติ บุญสุวรรณ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนฤชาติ บุญสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

นวลพรรณ ล่ำซำ

นวลพรรณ ล่ำซำ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐลิทัวเนีย อดีตที่ปรึกษาประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นอดีตผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (อภิรักษ์ โกษะโยธิน) และกรรมการผู้จัดการบริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) รวมถึงเป็นผู้จัดการฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย นอกจากเป็นผู้บริหารระดับสูงในธุรกิจประกันภัยของตระกูล นวลพรรณยังเปิดกิจการของตัวเอง นำเข้าสินค้าแฟชั่นแบรนด์เนมหลายแบรนด์ ผ่านทางบริษัท วรรณมานี จำกัด และบริษัท ซังออนอเร่ (กรุงเทพ) จำกัด เริ่มจากแบรนด์แรก คือ แอร์เมส (Hermes) จนมีมากมายหลายแบรนด์ในปัจจุบัน เช่น เอ็มโพริโอ อาร์มานี (Emporio Armani), ทอดส์ (Tod's), Rodo, โคลเอ้ (Chole), Christofle และบลูมารีน (Blumarine) นอกจากนี้เมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนวลพรรณ ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

นันทนา สงฆ์ประชา

นางนันทนา สงฆ์ประชา (เกิด 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชัยนาท เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนันทนา สงฆ์ประชา · ดูเพิ่มเติม »

นาม ยิ้มแย้ม

นาม ยิ้มแย้ม นายนาม ยิ้มแย้ม เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2479 ที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จบการศึกษาจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ เนติบัณฑิตไทย เป็นประธานคณะธรรมาภิบาล พรรคพลังธรรมใหม่ อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เป็นประธาน "คณะอนุกรรมการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมสรุปกรณี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวหามีกระบวนการว่าจ้างพรรคการเมืองให้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2549" ซึ่งคณะอนุกรรมการนี้ดำเนินการสืบสวนตามมติของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนาม ยิ้มแย้ม · ดูเพิ่มเติม »

นาราชา สุวิทย์

นายนาราชา สุวิทย์ (7 มกราคม พ.ศ. 2512 – 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนาราชา สุวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนาถยา แดงบุหงา · ดูเพิ่มเติม »

นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ

นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคใต้ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย เกิดวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ บุญญามณี

นายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา อดีตรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 5 สมัย เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 ที่จังหวัดสงขลา ก่อนเข้าสู่วงการเมืองประกอบอาชีพเป็นทนายความ ด้านครอบครัว สมรสกับนางกัลยา บุญญามณี(ปลัดเทศบาลนครสงขลา) มีบุตรธิดา 3 คน ได้แก่ นางสาวนิธิยา บุญญามณี นายสรรเพชญ บุญญามณี และนายนิธิกร บุญญามณี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิพนธ์ บุญญามณี · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ แล.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์

นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ ศรีธเรศ

นายนิพนธ์ ศรีธเรศ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิพนธ์ ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

นิภา พริ้งศุลกะ

นางนิภา พริ้งศุลกะ (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 7 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิภา พริ้งศุลกะ · ดูเพิ่มเติม »

นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ (พ.ศ. 2463 - พ.ศ. 2536) อดีตเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วย ในรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ ช่วง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิคม จันทรวิทุร

180px ศาสตราจารย์นิคม จันทรวิทุร (6 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544) นักรณรงค์เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของแรงงานและคนยากจนด้อยโอกาส และนักวิชาการด้านแรงงานคนสำคัญคนหนึ่งของไทย เกิดที่บ้านท่าล้อ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ในครอบครัวไทย-จีน บิดาชื่อจันทร์ หรือ “พ่อเลี้ยงจันทร์” อพยพมาจากเมืองจีนตั้งแต่เล็ก ส่วนมารดาเป็นไทยชื่อ บัวจีน ศาสตราจารย์นิคม จันทรวิทุรเป็นบุตรคนที่ 9 จากพี่น้อง 11 คน บิดามีอาชีพทำนาและทำไม้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิคม จันทรวิทุร · ดูเพิ่มเติม »

นิคม เชาว์กิตติโสภณ

นายนิคม เชาว์กิตติโสภณ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำปาง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิคม เชาว์กิตติโสภณ · ดูเพิ่มเติม »

นิติรัฐ สุนทรวร

นายนิติรัฐ สุนทรวร (เกิด 11 มีนาคม พ.ศ. 2507) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมุทรสาคร เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนิติรัฐ สุนทรวร · ดูเพิ่มเติม »

นินนาท ชลิตานนท์

นินนาท ชลิตานนท์ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตปลัดกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนินนาท ชลิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

นุรักษ์ มาประณีต

นุรักษ์ มาประณีต ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานคณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาอบรมของวิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนุรักษ์ มาประณีต · ดูเพิ่มเติม »

นุสบา ปุณณกันต์

นุสบา ปุณณกันต์ (ชื่อเล่น นุส) นามสกุลเดิม วานิชอังกูร เป็นนักแสดง นางแบบ และนักธุรกิจชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโทในสาขา​การบริหารจัด​การทางวัฒนธรรม ภาคภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านชีวิตส่วนตัวสมรสกับ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ มีลูกชายชื่อปุณณ์ และมีบุตรอีกหนึ่งคนชื่อ กันต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และนุสบา ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งออฟโฟร์ (ประเทศไทย)

แก๊งออฟโฟร์ เป็นที่สมาชิกพรรคพลังประชาชนใช้สื่อถึงบุคคลสี่คนในพรรค ซึ่งอ้างว่าพยายามจะยึดอำนาจภายในพรรค หลังจากพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตรออกนอกประเทศ ได้แก.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และแก๊งออฟโฟร์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

แยกราชประสงค์

ี่แยกราชประสงค์ (Ratchaprasong Intersection) เป็นสี่แยกใจกลางกรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนเพลินจิตและถนนราชดำริ เป็นย่านศูนย์การค้าที่สำคัญซึ่งเป็นสถานที่ประดิษฐานศาลเทพเจ้าต่างๆทั้งสิ้น 6 ศาลจนบางคนถึงกับเรียกสี่แยกนี้ว่า "แยก 6 เทพ" ซึ่งเทพทั้งหกองค์นั้นเป็นเทพเจ้าในศาสนาฮินดูทั้งสิ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งท้าวมหาพรหมเอราวัณ จากคำขวัญของเขตปทุมวันที่ว่า "บูชาท้าวมหาพรหม ชื่นชมวังสมเด็จย่า ศูนย์การค้ามากมี ลุมพินีสวนสาธารณะ ศิลปะมวยไทย สถานีรถไฟหัวลำโพง เชื่อมโยงรถไฟฟ้า สถานศึกษาเลื่องชื่อ นามระบือจุฬาลงกรณ์" ล้วนแล้วแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแยกราชประสงค์นี้อย่างมาก รวมไปถึงการมีจุดเชื่อมโยงรถไฟฟ้าที่สถานีสยาม เพราะสี่แยกราชประสงค์ อยู่ในบริเวณของสามสถานี ตั้งแต่สถานีราชดำริ สถานีสยาม และสถานีชิดลม นอกจากนี้ สี่แยกราชประสงค์ ยังมีสำนักงานราชการที่สำคัญ ตั้งอยู่จำนวนมาก เช่น สำนักงานตำรวจแห่งชาติ การไฟฟ้านครหลวง ราชกรีฑาสโมสร และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ ฯลฯ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และแยกราชประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกอุรุพงษ์

แยกอุรุพงษ์ (Uruphong Intersection) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนพระรามที่ 6 กับถนนเพชรบุรี โดยชื่อ "อุรุพงษ์" ที่ทางแยกรวมถึงถนนอุรุพงษ์ที่อยู่ใกล้เคียง เป็นชื่อที่มีที่มาจากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช พระราชบุตรลำดับรองสุดท้ายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นพระราชบุตรที่ทรงโปรดมาก ซึ่งสิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังเยาว์วัยและตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และแยกอุรุพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

แผน สิริเวชชะพันธ์

นายแผน สิริเวชชะพันธ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2457 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ทั้งยังเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และแผน สิริเวชชะพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

แผนฟินแลนด์

แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และแผนฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนคุณ จิตต์อิสระ

แทนคุณ จิตต์อิสระ มีชื่อเดิมคือ เอกชัย บูรณผานิต (แซ่ผ่าง) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เป็นอาจารย์สอนภาษาจีน เป็นสุดยอดแฟนพันธุ์แท้เรื่องความสัมพันธ์ไทย-จีน ในปี2005 และได้รับเชิญให้เป็นพิธีกรในรายการเดียวกันนี้ ในปี 2007-2008 ภายหลังได้จัดตั้ง "สถาบันฮั่นอี้ หรือ โรงเรียนนวัตกรรมภาษาและปัญญามนุษย์" ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และแทนคุณ จิตต์อิสระ · ดูเพิ่มเติม »

ใหญ่ ศวิตชาติ

นายใหญ่ ศวิตชาติ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2450 – 12 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และใหญ่ ศวิตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โชคสมาน สีลาวงษ์

นายโชคสมาน สีลาวงษ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 1 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโชคสมาน สีลาวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

โชติ คุ้มพันธ์

ร.โชติ คุ้มพันธ์ ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา เข้าสมัครเป็นเสมียนกรมศุลกากร ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อาสาสมัครเข้าเป็นพลทหาร ตำแหน่งพลขับ เมื่อกลับมาแล้วรับจ้างเป็นกะลาสีในเรือ แล้วจึงไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี สถานที่เคยอาสาไปรบ จนกระทั่งเรียนจนได้ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อกลับมาแล้วเข้าทำงานธนาคาร โดยเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่มตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้น ในทางการเมือง ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรประเภทที่ 1 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของไทย และเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตย โดยมีสมาชิกคนสำคัญเช่น นายสอ เสถบุตร, ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์ เป็นต้น เคยถูกจับกุมในข้อหากบฏคิดล้มล้างรัฐบาลในกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช ได้ถูกพิพากษาให้จำคุกตลอดชีวิต หลังจากนั้นไม่กี่ปีก็ถูกเนรเทศไปจำที่ทัณฑนิคมเกาะเต่า สุราษฎร์ธานี พร้อมกับหม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน นักโทษการเมืองคดีเดียวกันอีกคนที่หนึ่งด้วย เมื่อพ้นโทษออกมา ได้กลับมาสู่เส้นทางทางการเมืองใหม่ ได้รับฉายาว่า "ผู้แทนคนยาก" เนื่องจากเป็นผู้ที่ริเริ่มการหาเสียงด้วยโทรโข่ง ไปพบปะกับชาวบ้านด้วยการเดินหาเสียงตามบ้านเรือน ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489 เนื่องจากไม่มีทุนรอนในการหาเสียง จึงใช้วิธีตะโกนพูดผ่านโทรโข่งบนอานรถสามล้อถีบ พูดท่ามกลางชุมชนตามตลาดบ้าง ตามลานวัดเก่า ๆ บ้าง มีคนถีบสามล้อเป็นขบวนนำ หยุดพูดที่ไหนก็ให้ ดร.โชติ ยืนสองเท้าเหยียบบนอานรถสองคันตะโกนใส่ลำโพง โดยหาเสียงไปพร้อมกับ นายควง อภัยวงศ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ซึ่งต่างก็ใช้วิธีด้วยเช่นกัน ต่อมา เมื่อมีการก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้น ดร.โชติ คุ้มพันธ์ ได้เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย โดยยุบพรรคประชาธิปไตยของตนเข้าร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนจะเกิดเหตุการณ์รัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดให้มีงานการกุศลที่สวนอัมพร ดร.โชติ ได้เป็นผู้ถีบรถสามล้อ โดยมี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นั่ง เพื่อเก็บเงินเพื่อการกุศลด้วย หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน นายควง อภัยวงศ์ สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์หลายคนได้ลาออกจากพรรคไป ดร.โชติ เป็นหนึ่งในสมาชิกพรรคที่ลาออกไปด้วย และถึงแก่กรรมลงอย่างเงียบ ๆ ในปี 2514.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโชติ คุ้มพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โพธิพงษ์ ล่ำซำ

นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ นักธุรกิจอดีตผู้บริหารกิจการกลุ่มประกันชีวิต-ประกันภัยของตระกูลล่ำซำ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโพธิพงษ์ ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิทย์ ธารณา

นายโกวิทย์ ธารณา หรือชื่อที่รู้จักดีในฉายา วิทย์ บางแค แคร์ทุกคน แต่คนบางแค แคร์บางคน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโกวิทย์ ธารณา · ดูเพิ่มเติม »

โมฮามัดยาสรี ยูซง

ว่าที่ร้อยตรีโมฮามัดยาสรี ยูซง (เกิด 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโมฮามัดยาสรี ยูซง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพนัสพิทยาคาร

รงเรียนพนัสพิทยาคาร (Phanatpittayakarn School, ย่อ: พ.พ., PP) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ถนนสุขประยูร ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี โดยมีชื่อที่เรียกกันทั่วไปของชาวพนัสนิคมว่า “โรงเรียนหลวงใหญ่” โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สหวิทยาเขตชลบุรี 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ อำเภอพนัสนิคม ก่อตั้งขึ้นในปี 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479 (อย่างเป็นทางการ) โดยปัจจุบันโรงเรียนพนัสพิทยาคารมีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนพนัสพิทยาคารได้เป็นโรงเรียนเครือข่ายห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนพนัสพิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยใช้ชื่อพระราชทานจากพระองค์ ว่า โรงเรียนมัธยมพิเศษสุทธิวราราม ปัจจุบันโรงเรียนวัดสุทธิวรารามมีอายุ ปี เปิดทำการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เป็นโรงเรียนชายและเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร มีอาคารเรียนทั้งหมด 6 หลัง ห้องเรียน 72 ห้อง แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนดังนี้ 12-12-12-12-12-12.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีวิกรม์

รงเรียนศรีวิกรม์ (Srivikorn School) ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย จัดเป็นโรงเรียนเอกชนขนาดกลาง ประเภทสามัญศึกษ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย จากเว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีหนังสืออนุสรณ์ 24 ปี สวนกุหลาบนนท์ 2521-2545 30 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซุ้มประตูทางเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ประดับประดาด้วยไฟสวยงาม เนื่องในงาน “ราตรีกุหลาบนนท์”) ด้านหลังซุ้มประตูคือ อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2501 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายประถม และ ฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนทวีธาภิเศก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ. 2428 ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันโรงเรียนเทพศิรินทร์มีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนเทพศิรินทร์ยังประกอบด้วย โรงเรียนเครือข่ายที่มีคำนำหน้าว่า "เทพศิรินทร์" อีก 10 แห่ง โรงเรียนเทพศิรินทร์เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในประเทศไทย ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเข้ารับการศึกษา คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนเก่าที่ดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองมากมาย อาทิ นายกรัฐมนตรีไทย 4 คน รวมถึง นายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนเทพศิรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรตารีสากล

รตารีสากล (Rotary International) เป็นองค์กรของนักธุรกิจและผู้นำด้านวิชาชีพจากทั่วโลก ผู้ซึ่งให้บริการเพื่อมนุษยชาติ สนับสนุนมาตรฐานจริยธรรมในทุกวิชาชีพ และช่วยส่งเสริมไมตรีจิตและสันติภาพในโลก โรตารี เป็นสโมสรบริการแห่งแรกของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 1905 ขึ้นที่นครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบัน มีสมาชิกทั่วโลกกว่า 1,211,723 คน มีสโมสรกว่า 31,603 สโมสร มี 529 ภาค ครอบคลุม 166 ประเทศทั่วโลก โรแทเรียน มีการประชุมทุกสัปดาห์ เพื่อมิตรภาพและโปรแกรมที่น่าสนใจที่ให้ความรู้ในหัวข้อเกี่ยวกับท้องถิ่นและของโลก สมาชิกภาพสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นตัวแทนของกลุ่มชนทุก ๆ กลุ่มในชุมชน โรตารี ซึ่งแต่ละปีจะจัดสรรเงินประมาณ 90 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเป็นทุนการศึกษาระหว่างประเทศ ทุนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและโครงการเพื่อมนุษยชาติทั้งน้อยใหญ่ เพื่อเป็นการปรับคุณภาพชีวิตของผู้มีโอกาสน้อยนับล้าน ๆ คนทั่วโลก ให้ดียิ่งขึ้น โรตารีเป็นที่ยอมรับกันกว้างขวางว่า เป็นองค์กรเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ให้ทุนการศึกษาระหว่างประเทศ โรตารี คือ โปลิโอพลัสที่โรตารีสากลได้ให้คำมั่นสัญญาที่จะดำเนินงานร่วมกับนานาชาติ และองค์การอนามัยโลก โดยตั้งเป้าที่จะกำจัดโรคโปลิโอให้สิ้นไปจากโลก โดยตั้งเป้าที..2005 ซึ่งเป็นปีโรตารีมีอายุครบ 100 ปี เด็ก ๆ มากกว่าหนึ่งพันล้านในประเทศที่กำลังพัฒนาได้รับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอผ่านทางสนับสนุนโปลิโอพลัสของโรตารีสากล.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโรตารีสากล · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ เพชรสว่าง

ณ เพชรสว่าง อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1 อดีตเลขาธิการพรรคมวลชน ปัจจุบันสังกัดพรรคพลังพลเมืองไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโสภณ เพชรสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส รองเงิน

อภาส รองเงิน (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 3 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโอภาส รองเงิน · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส อรุณินท์

อภาส อรุณินท์ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร) อดีตอัยการสูงสุด อดีตประธานคณะกรรมการอัยการ อดีตประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีชื่อเสียงมากในช่วงที่พิจารณาบัญชีทรัพย์สินของนักการเมือง โดยเฉพาะกรณีที่ ป.ป..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และโอภาส อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยยศ จิรเมธากร

นายไชยยศ จิรเมธากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ครม.อภิสิทธิ์ 5) และอดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไชยยศ จิรเมธากร · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์

นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตผู้ร่วมก่อตั้งพรรคพลังธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นเลขาธิการสมัชชาประชาชนแห่งประเทศไทย เป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ ปี พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์

วัฒน์ ไตรยสุนันท์ (เกิด 4 มิถุนายน พ.ศ. 2483) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 2 สมัย และอดีตผู้อำนวยการองค์การคลังสินค้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา พรหมา

นายไชยา พรหมา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู เป็นประธานคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไชยา พรหมา · ดูเพิ่มเติม »

ไพร พัฒโน

นายไพร พัฒโน (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2507) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมัย ปัจจุบันเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลนครหาดใหญ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไพร พัฒโน · ดูเพิ่มเติม »

ไพฑูรย์ แก้วทอง

นายไพฑูรย์ แก้วทอง (18 สิงหาคม 2479 -) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไพฑูรย์ แก้วทอง · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์

รจน์ เฉลียวศักดิ์ (เกิด 21 เมษายน พ.ศ. 2498) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศรี จาติกวณิช

นายไกรศรี จาติกวณิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากร และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมสรรพากร เกิดวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 6 ในบุตรธิดา 8 คนของ พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช หรือ ซอเทียนหลุย) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และ องคมนตรี ในสมัยรัชกาลที่ 7 นายไกรศรี สมรสกับ นางรัมภา จาติกวณิช มีบุตรที่เข้าสู่วงการเมืองคือ นายกรณ์ จาติกวณิช รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายไกรศรีมีพี่ชายคนที่ 3 คือ นายเกษม จาติกวณิช หรือ "ซูเปอร์เค" อดีตผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) นายไกรศรีเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนอัสสัมชัญ มัธยมศึกษาตอนต้นที่ วชิราวุธวิทยาลัย และสำเร็จมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน โดยเป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี และ ดร.อำนวย วีรวรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาล พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ นายไกรศรี สำเร็จปริญญาโท ด้านการตลาด จาก มหาวิทยาลัยลองไอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา ต่อมาได้รับการทาบทามจาก ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ให้มาช่วยราชการที่กระทรวงการคลัง มีผลงานชิ้นแรก คือ การจัดตั้ง สำนักเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ซึ่งนายไกรสีห์ได้หวนกลับมาเป็น ผู้อำนวยการ ในเวลาต่อมา ระหว่างการรับราชการนายไกรศรีมีผลงานที่สำคัญ คือการเป็นประธานยกร่าง พระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จนผ่านมาเป็นกฎหมายในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไกรศรี จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร ตันติพงศ์

กรสร ตันติพงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของเชียงใหม่ คือ 7 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไกรสร ตันติพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร นันทมานพ

กรสร นันทมานพ อดีตนักการเมืองที่มีชื่อเสียงของจังหวัดฉะเชิงเทรา และอดีตกำนันในพื้นที่ เป็นที่รู้จักกันดีของผู้คนในท้องถิ่นในชื่อ กำนันไกรสร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไกรสร นันทมานพ · ดูเพิ่มเติม »

ไม่มีโทษถ้าไม่มีกฎหมายกำหนด

"ไม่มีโทษถ้าไม่มีกฎหมายกำหนด" (nulla poena sine lege, นุลลาโพนาซีเนเลเก) เป็นภาษิตภาษาละตินทางกฎหมายและหลักกฎหมายซึ่งเป็นที่ยอมรับและถือปฏิบัติเป็นหลักการสากลว่า จะมีโทษสำหรับผู้กระทำการอันไม่ต้องห้ามตามกฎหมายมิได้ ภาษิตนี้มีฝาแฝดคือภาษิต "ไม่มีความผิดถ้าไม่มีกฎหมายกำหนด" (nullum crimen sine lege) ทั้งสองมาจากภาษิตเต็มว่า "ไม่มีความผิดและไม่มีโทษถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้ก่อน" (nullum crimen, nulla poena sine praevia lege poenali) อันเป็นหลักที่ถือปฏิบัติกันเคร่งครัดว่า ในทางอาญากฎหมายจะมีผลย้อนหลังไม่ได้ เว้นแต่ย้อนหลังไปเป็นคุณแก่ผู้ต้องโทษ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไม่มีโทษถ้าไม่มีกฎหมายกำหนด · ดูเพิ่มเติม »

ไรน่าน อรุณรังษี

รน่าน อรุณรังษี อดีตนักการเมืองและนักเขียน, นักแปลชาวไทย นายไรน่านเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2485 ที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นชาวไทยมุสลิม จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอาลีการ์มุสลิม ประเทศอินเดีย, ปริญญาเอก สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น นายไรน่าน เข้าสู่แวดวงการเมืองในช่วงของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขณะที่จบการศึกษาปริญญาโท เมื่อได้เดินทางกลับมาสู่ประเทศไทย และร่วมกับเพื่อน ๆ จัดตั้งหนังสือพิมพ์ธงไทย, เพชรไทย และมหาราษฎร์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์แนวซ้าย เรียกร้องรัฐธรรมนูญ และขับไล่รัฐบาลในสมัยนั้น ภายหลังเหตุการณ์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่วมร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2517 จากนั้นได้ร่วมกับ ดร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไรน่าน อรุณรังษี · ดูเพิ่มเติม »

ไสว พัฒโน

ว พัฒโน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไสว พัฒโน · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ ลิกค์

นายไผ่ ลิกค์ (เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2521) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไผ่ ลิกค์ · ดูเพิ่มเติม »

ไถง สุวรรณทัต

ง สุวรรณทัต อดีตนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และอดีตนักการเมืองชาวไทยที่มีชื่อเสียง อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร (พ.ศ. 2517).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไถง สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

ไทกร พลสุวรรณ

นายไทกร พลสุวรรณ นักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวอีสาน นายไทกร พลสุวรรณเคยเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์และพรรคชาติไทยมาก่อน แต่ต่อมาได้ลาออกและได้จัดตั้งพรรคการเมืองของตนเองขึ้น ชื่อ "พรรคประชาชนไทย" แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จากนั้นจึงก่อตั้งขบวนการประชาชนขึ้นมา ชื่อว่า ขบวนการอีสานกู้ชาติ เพื่อทำการต่อต้านระบอบทักษิณโดยเฉพาะ นายไทกรเป็นที่รู้จักขึ้นมา จากการเป็นผู้เปิดโปงการทุจริตและประพฤติมิชอบต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในคดียุบพรรคประชาธิปัตย์และไทยรักไทย นายไทกรเป็นผู้มีบทบาทอย่างมากในการสืบหาหลักฐานที่พรรคไทยรักไทยจ้างวานพรรคเล็กเพื่อให้ลงเลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แต่ทางพรรคไทยรักไทยโต้กลับมาว่า นายไทกรใส่ความพรรคไทยรักไทยและสนิทสนมกับทางนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งคำพิพากษาของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชี้ว่าการกระทำของนายไทกรเป็นการกระทำส่วนตัวไม่เกี่ยวข้องกับพรรคประชาธิปัตย์แต่อย่างใด ปัจจุบัน นายไทกรยังคงดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอยู่ในลักษณะการเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมกับนายอธิวัฒน์ บุญชาติ แกนนำกลุ่มอีสานกู้ชาติ (อดีตโฆษกสหพันธ์นักศึกษาแห่งชาติ ม.รามฯ) ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไทกร พลสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และไตรรงค์ สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เชียรช่วง กัลยาณมิตร

ร.เชียรช่วง กัลยาณมิตร อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช อดีตคณะทำงานด้านการประชาสัมพันธ์ของพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเชียรช่วง กัลยาณมิตร · ดูเพิ่มเติม »

เชน เทือกสุบรรณ

น เทือกสุบรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี พรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานคณะกรรมาธิการกิจการองค์กรตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเชน เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

ันเอก เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เป็นบุตรชายของ พลเอก เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา และ หม่อมราชวงศ์หญิงวิมลโพยม (สวัสดิวัตน์) มีชื่อเล่นว่า "แซม" สืบตระกูลโดยเป็นหลานชายของพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านพิษณุโลก น้องชายของเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านนรสิงห์ โดยที่ตระกูลอนิรุทธเทวารับราชการทหารมาตั้งแต่รัชสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

เพชร ซีพีเฟรชมาร์ท

ร ซีพีเฟรชมาร์ท หรือ เพชร.จิตรพัฒนา (เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ที่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเพชร ซีพีเฟรชมาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

เกรียง กัลป์ตินันท์

นายเกรียง กัลป์ตินันท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี อดีตสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกรียง กัลป์ตินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงยศ สุดลาภา

นายเกรียงยศ สุดลาภา อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ถาวร เสนเนียม) และอดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกรียงยศ สุดลาภา · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Dr.Dan's 60th Birthday: 60 ปี คนดีมีพลัง ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2498, ชื่อเล่น: แดน) หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.แดน กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์สาธารณรัฐซิมบับเวประจำประเทศไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ อดีตอาจารย์หลายมหาวิทยาลัย เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2551 ในหมายเลข 2 มีผลงานด้านการเขียนหนังสือมากมาย ในหลากหลายสาขา เช่น เศรษฐกิจ นโยบายการศึกษา การต่างประเทศ สังคม การเมือง การศึกษา ความสำเร็จ การดำเนินชีวิต โดยมีหนังสือมากกว่า 200 เล่ม และมีผลงานบทความตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นประจำมากกว่า 500 เรื่อง และแสดงทัศนะต่างๆมากกว่า 4000 เรื่อง.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม บุญศรี

กษม บุญศรี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2531) อดีตแม่กองธรรมสนามหลวง ราชบัณฑิตภาคีสมาชิก อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 1 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกษม บุญศรี · ดูเพิ่มเติม »

เกษม รุ่งธนเกียรติ

กษม รุ่งธนเกียรติ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 —) เป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ เขาเป็นที่รู้จักสำหรับวงการมวยไทย ในฐานะผู้จัดการส่วนตัวของนักมวยไทยที่มีชื่อว่า อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกษม รุ่งธนเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ สิทธีอมร

นายเกียรติ สิทธีอมร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร หอการค้านานาชาติแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทด้านการต่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยทัฟส์ และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการบริหาร จาก Harvard Business School ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จากสถาบันพระปกเกล้.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกียรติ สิทธีอมร · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ ส่องแสง

กียรติศักดิ์ ส่องแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปทุมธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเกียรติศักดิ์ ส่องแสง · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เมธี ชาติมนตรี

.ต.ท.เมธี ชาติมนตรี ขณะชุมนุมร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พันตำรวจโท เมธี ชาติมนตรี หรือรู้จักในชื่อ สารวัตรจ๊าบ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2512 — 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551) เป็นอดีตตำรวจที่จังหวัดบุรีรัมย์ และอดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในจังหวัดบุรีรัมย์ เสียชีวิตระหว่างการสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภา 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเมธี ชาติมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เยาวภา วงศ์สวัสดิ์

วภา วงศ์สวัสดิ์ (ชื่อเล่น: แดง) อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ประธาน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต สิรินุกุล

นายเรวัต สิรินุกุล (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 9 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเรวัต สิรินุกุล · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต อารีรอบ

นายเรวัต อารีรอบ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับการเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเรวัต อารีรอบ · ดูเพิ่มเติม »

เรืองวิทย์ ลิกค์

นายกองเอก เรืองวิทย์ ลิกค์ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกำแพงเพชร 9 สมัย ชาวกำแพงเพชรรู้จักกันในนามผู้แทนฯ "ใจถึง พึ่งได้ พบง่าย ใช้คล่อง".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเรืองวิทย์ ลิกค์ · ดูเพิ่มเติม »

เลื่อน พงษ์โสภณ

นาวาอากาศเอก เลื่อน พงษ์โสภณ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนช่างกลแห่งแรกในประเทศไทย ปรมาจารย์มอเตอร์ไซค์ไต่ถัง นักบิน ผู้ประดิษฐ์รถสามล้อ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมคนแรกของประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเลื่อน พงษ์โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

เลียง ไชยกาล

นาย เลียง ไชยกาล นักการเมืองไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยและอดีตหัวหน้าพรรคประชาชน เป็นผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี นายเลียง เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเลียง ไชยกาล · ดูเพิ่มเติม »

เลขา อภัยวงศ์

ณหญิงเลขา อภัยวงศ์ (นามเดิม: เจน เล็ก คุณะดิลก; 10 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2526) เป็นนักการเมือง และนักธุรกิจชาวไทย เป็นภริยาของควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเลขา อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เสริมศักดิ์ การุญ

นายเสริมศักดิ์ การุญ (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 7 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเสริมศักดิ์ การุญ · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ พึ่งเจียม

นายเสนาะ พึ่งเจียม (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2475) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร 5 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเสนาะ พึ่งเจียม · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอกพจน์ วงศ์นาค

อกพจน์ วงศ์นาค นักร้องลูกทุ่ง มีชื่อจริงว่า เอกพจน์ ปานแย้ม เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ที่จังหวัดปทุมธานี จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก็ออกเดินสายร้องเพลงลูกทุ่งไปตามที่ต่าง ๆ พร้อมกับเรียนการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ไปด้วย โดยเพลงที่ได้รับความนิยมและสร้างชื่อให้แก่เอกพจน์ คือ เพลง ทหารเกณฑ์คนจน สังกัดค่ายชัวร์ออดิโอ ด้วยการชักชวนของเด๋อ ดอกสะเดา และมีชื่อเสียงเคียงคู่กับสุนารี ราชสีม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเอกพจน์ วงศ์นาค · ดูเพิ่มเติม »

เอกยุทธ อัญชันบุตร

อกยุทธ อัญชันบุตร (24 มิถุนายน พ.ศ. 2497—7 มิถุนายน พ.ศ. 2556) หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า จอร์จ ตัน (George Tan) เป็นนักธุรกิจการเงินและอสังหาริมทรัพย์ มีชื่อจากการเป็นเจ้าของเว็บไซต์ ไทยอินไซเดอร์ซึ่งต่อต้านรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เคยต้องคดีแชร์ชาร์เตอร์และกบฏ 9 กันยาเมื่อ..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเอกยุทธ อัญชันบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เอกนัฏ พร้อมพันธุ์

นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตโฆษก กปปส., อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์, เลขานุการส่วนตัวของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอี่ยม ทองใจสด

นายเอี่ยม ทองใจสด (เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2484) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเอี่ยม ทองใจสด · ดูเพิ่มเติม »

เอนก ทับสุวรรณ

นายเอนก ทับสุวรรณ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเอนก ทับสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจริญ คันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญทอง เกียรติบ้านช่อง

ริญทอง เกียรติบ้านช่อง อดีตนักมวยไทยชื่อดัง มีชื่อจริงว่า เจริญ ชูมณี มีชื่อเล่นว่า "เป็ด" เกิดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นลูกคนที่ 7 ในครอบครัวที่มีพี่น้องทั้งหมด 9 คน ซึ่งพี่ ๆ น้อง ๆ ที่เป็นผู้ชายหลายคนก็เป็นนักมวยไทยเช่นกัน ได้แก่ ฉลามทอง เกียรติบ้านช่อง (พี่ชาย), เจริญทรัพย์ เกียรติบ้านช่องไม่ได้เป็นญาต และสำราญทอง เกียรติบ้านช่อง (น้องชาย) เจริญทอง ชกมวยไทยครั้งแรกเมื่ออายุ 12 ขวบ ได้เงินค่าตัวครั้งแรกมา 100 บาท ต่อมาเมื่อมาเรียนต่อในกรุงเทพมหานคร ก็ยังคงชกมวยอยู่ จนกระทั่ง ใหม่ เมืองคอน (สมคิด ชูแก้วร่วง-ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) มาพบเข้า จึงได้รับการฝากฝังให้เข้าสังกัด หลังจากนั้นก็ชกสั่งสมชื่อเสียงมาเรื่อย ๆ จนคว้าแชมป์ได้ 3 รุ่น ได้แก่ จูเนียร์แบนตั้มเวท (115 ปอนด์), เฟเธอร์เวท (126 ปอนด์), ไลท์เวท (135 ปอนด์) ซึ่งทั้งหมดเป็นแชมป์ของสนามมวยเวทีลุมพินี ในปี พ.ศ. 2531 เจริญทองถือว่าเป็นนักมวยไทยที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงอย่างมาก และเมื่อ สามารถ พยัคฆ์อรุณ เสียแชมป์โลกในแบบมวยสากลไปแล้ว และกลับมาชกมวยไทยอีกครั้ง ได้ถูกประกบคู่กับเจริญทอง เพื่อพิสูจน์ว่าใครจะเป็นยอดมวยไทยตัวจริง ปรากฏว่า เจริญทองเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปเพียงแค่ยกแรกเท่านั้น แต่ว่าการชกในไฟท์นี้ เป็นไฟท์ที่เจริญทองภาคภูมิใจที่สุด เจริญทองเคยได้รับค่าตัวสูงสุดคือ 2.5 แสนบาท ในการชกกับ แสนเชิง ปิ่นแสงชัย นอกจากนี้แล้วยังเคยชกมวยสากลสมัครเล่นจนติดทีมชาติในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ในรายการคิงส์คัพ และชกในกีฬาเอเชียนเกมส์ พ.ศ. 2533 ที่ประเทศจีนด้วย หลังแขวนนวมแล้ว เจริญทองเคยตกเป็นข่าวฮือฮาครั้งหนึ่ง เมื่อตัดสินใจถ่ายรูปในแบบนู้ด ด้วยความที่เป็นชายหนุ่มหน้าตาดี และได้ศึกษาจนจบพลศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ต่อมา เจริญทองได้เปิดโรงเรียนสอนมวยไทยขึ้นที่เขตวังทองหลาง และในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ตกเป็นข่าวว่าจะเป็นผู้สมัคร ส.ส. สังกัดพรรคพลังคนกีฬา ของนายวนัสธนา สัจจกุล (ธวัชชัย สัจจกุล) แต่ทว่าท้ายที่สุดก็ได้สังกัดกับทางพรรคชาติไทยพัฒนา โดยทำการเปิดตัวพร้อมกับเพื่อนนักมวยอีก 3 คน คือ เขาทราย แกแล็คซี่, มนัส บุญจำนงค์ และสมรักษ์ คำสิงห์ โดยจะลงเลือกตั้งในพื้นที่บ้านเกิด ซึ่งจะต้องพบกับคู่แข่งคนสำคัญจากพรรคประชาธิปัตย์ คือ นายเทพไท เสนพงศ์ แต่ทว่าเมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าไม่มีสิทธิลงรับเลือกตั้ง เพราะไม่ได้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งท้องถิ่น จึงให้หลานชายลงสมัครแทน ปัจจุบัน ในกลางปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจริญทอง เกียรติบ้านช่อง · ดูเพิ่มเติม »

เจะอามิง โตะตาหยง

อามิง โตะตาหยง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของ นายหะยีเจ๊ะดาราแม และนางหะยีวาเย๊าะ โตะตาหยง นายเจะอามิง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา อดีตนักข่าวและเป็นเจ้าของ ธุรกิจการค้ายางพารา โรงเลื่อยไม้ยางพารา และ รับเหมาก่อสร้าง ก่อนเข้าสู่วงการเมืองระดับประเทศ เคยทำงานการเมืองระดับท้องถิ่นมาก่อน จนกระทั่งได้รับตำแหน่งเป็น ประธานสภาจังหวัดนราธิวาส นายเจะอามิง เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสาธารณะ เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างสม่ำเสมอ ทั้งการให้สัมภาษณ์ และเขียนบทความลงใน หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน โดยได้รับมอบหมายจากพรรคให้ดูแล นโยบายการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจะอามิง โตะตาหยง · ดูเพิ่มเติม »

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ

นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจิมมาศ จึงเลิศศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เจือ ราชสีห์

นายเจือ ราชสีห์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นประธานกรรมาธิการคมนาคม ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจือ ราชสีห์ · ดูเพิ่มเติม »

เจี่ย ก๊กผล

นายเจี่ย ก๊กผล (31 กรกฎาคม พ.ศ. 2479-24 ธันวาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจี่ย ก๊กผล · ดูเพิ่มเติม »

เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง

ันตำรวจโทเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง (เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญมี ตุงคนาคร

้าบุญมี ตุงคนาคร หรือ เจ้าหนานบุญมี ตุงคนาคร เป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์ทิพย์จักรหรือ เชื้อเจ็ดตน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูนคนแรก และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจ้าบุญมี ตุงคนาคร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน

้าวรทัศน์ ณ ลำพูน (12 มิถุนายน พ.ศ. 2454 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) อดีตรัฐมนตรีในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เทพ โชตินุชิต

นายเทพ โชตินุชิต เป็นอดีตนักการเมือง นักกฎหมาย และทนายความชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีที่ไม่ประจำกระทรวง และเป็นหัวหน้าพรรคการเมือง 2 พรรค คือ พรรคเศรษฐกร (พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2501) และพรรคแนวร่วม-เศรษฐกร (พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2514).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเทพ โชตินุชิต · ดูเพิ่มเติม »

เทพไท เสนพงศ์

นายเทพไท เสนพงศ์ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตโฆษกประจำตัว นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส.ส.จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ รองผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ เลขานุการคณะกรรมาธิการติดตามมติสภาผู้แทนราษฎร และ เลขานุการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย การศึกษา ประกาศนียบัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(กฎหมายมหาชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(FUTURE OF LEADER) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นายเทพไท เสนพงศ์ เริ่มต้นชีวิตในวงการเมือง ตั้งแต่ยังเรียนหนังสืออยู่ด้วยการเป็นนักกิจกรรม ได้เป็นนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง สายล่อฟ้า, รายการ ทางบลูสกายแชนแนล: ศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 และได้รับการมอบหมายให้เป็นเลขานุการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2535-พ.ศ. 2537 และในปี พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2543 ได้รับเลือกให้เป็นเลขานุการรัฐมนตรีช่วยอีกครั้ง นายเทพไท เสนพงศ์ ลงสมัครเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและได้รับการเลือกตั้งเป็นต้นมา และมีบทบาทเป็นโฆษกของพรรคประชาธิปัตย์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า และ รายการวิเคราะห์คอลัมนิสต์ ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้วย ชีวิตส่วนตัว นายเทพไทเป็นบุตรคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด และมีเชื้อสายตูนิเซีย สมรสกับ นางสาวพอเพ็ญ เริงประเสริฐวิทย์ บุตรีของ.อ.(พิเศษ) พล เริงประเสริฐวิทย์ อดีต..จังหวัดอุทัยธานี 6 สมัย อดีตหัวหน้าพรรคสยามประชาธิปไตย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจพันล้านในสมัยนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเทพไท เสนพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครหาดใหญ่

นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเทศบาลนครหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เทอดพงษ์ ไชยนันทน์

ทอดพงษ์ ไชยนันทน์ (25 มีนาคม 2487 -) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นบุตรของ นายเทียม ไชยนันทน์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เทียม ไชยนันทน์

นายเทียม ไชยนันทน์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2450 - 21 เมษายน พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก 7 สมัย และเป็นบิดาของนายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ ที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเทียม ไชยนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เดชา สุขารมณ์

นาวาโท นายแพทย์ เดชา สุขารมณ์ ร.น. (21 กันยายน พ.ศ. 2478 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี นายแพทย์เดชา สุขารมณ์ สมรสกับ ทิพย์สุดา สุขารมณ์ มีบุตรชายเป็นนักร้องในสังกัดเครือแกรมมี่ คือ นายแพทย์พรเดชา สุขารมณ.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเดชา สุขารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่

ร.อ.หญิง ดร.เดือนเต็มดวง (ที่ 4 จากขวา) ในโปสเตอร์หาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2550 ร้อยเอก(หญิง) เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ และคณะทำงานของพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรสาวของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ และเป็นหลานสาวของเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เด่น โต๊ะมีนา

น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเด่น โต๊ะมีนา · ดูเพิ่มเติม »

เดโช สวนานนท์

วนานนท์ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2476-) นักวิชาการทางกฎหมายและรัฐศาสตร์และอดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาชน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเดโช สวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย

รือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (ตัวย่อ: คปท.) เป็นขบวนการทางการเมืองภาคประชาชน มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 คปท.ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เตือนใจ นุอุปละ

นางเตือนใจ นุอุปละ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเตือนใจ นุอุปละ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชัย ศรีอ่อน

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ แล..ประจวบคีรีขันธ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เคยดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ รับผิดชอบดูแลพื้นที่ภาคกลาง และได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมพรรคเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเฉลิมชัย ศรีอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชัย เอียสกุล

นายเฉลิมชัย เอียสกุล (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2500) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย 4 สมั.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเฉลิมชัย เอียสกุล · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์

นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ (เกิด 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต 2 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบสัดส่วน.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว อยู่สีมารักษ์

ฉลียว อยู่สีมารักษ์ อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นายเฉลียว อยู่สีมารักษ์ จบการศึกษาปริญญาตรี คุรุศาสตรบัณฑิต (คบ.) วิทยาลัยครูนครราชสีมา, ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) มหาวิทยาลัยบูรพา (มศว.บางแสน), ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (นม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ ๒๕๔๗ นายเฉลียว อยู่สีมารักษ์ ได้ดำรงตำแหน่งทางราชการต่าง ๆ อาทิ ผู้อำนวยการกองตรวจสอบและทะเบียนประวัติ สำนักงาน ก..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเฉลียว อยู่สีมารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรียว อวอร์ด

ปรียว อวอร์ด (Priew Awards) เป็นรางวัลที่นิตยสารเปรียว มอบให้แก่ 10 บุคคลคุณภาพแห่งปี ที่ประสบความสำเร็จสมควรได้รับยกย่อง เป็นแบบอย่างของสังคม โดยมีเกณฑ์พิจารณาต่างๆ เช่น เป็นผู้มีบุคลิกดี และมีความสามารถ มีจิตใจดี ภาพพจน์ในสังคมดี มนุษยสัมพันธ์ดี มีส่วนช่วยเหลือสังคม และประสบความสำเร็จอย่างโดดเด่นในแต่ละสาขาวิชาชีพ โดยเริ่มต้นมอบรางวัลครั้งแรกใน ปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเปรียว อวอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และเนวิน ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

11 มกราคม

วันที่ 11 มกราคม เป็นวันที่ 11 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 354 วันในปีนั้น (355 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ11 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ11 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤษภาคม

วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ30 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคประชาธิปัตย์และ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายนามหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์รายนามเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ปชปปชป.เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »