โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

ดัชนี พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.

80 ความสัมพันธ์: ชวลิต ยงใจยุทธฟ้าใส ใจชื่นบานพ.ศ. 2485พ.ศ. 2508พ.ศ. 2512พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพลร่มพินิจ จารุสมบัติพีระศักดิ์ หินเมืองเก่าพโยม จุลานนท์กบฏสันติภาพกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบทางภาคใต้กองทัพไทยการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยการุณ ใสงามการตรวจพิจารณาในประเทศไทยการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งภูพานปฏิวัติรัชฎาภรณ์ แก้วสนิทรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดีรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ลุงบุญมีระลึกชาติลูกเสือชาวบ้านวิสา คัญทัพศุภชัย โพธิ์สุสมาน ศรีงามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสังข์ พัธโนทัยสุรชัย จันทิมาธรสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์สุรยุทธ์ จุลานนท์สุวิทย์ วัดหนูสุธาชัย ยิ้มประเสริฐสีเผือก คนด่านเกวียนสถานีเสียงประชาชนแห่งประเทศไทยหมู่บ้านสันติคีรีหน่วยรบพิเศษอัศนี พลจันทรอำเภอวิภาวดีอำเภอจุฬาภรณ์อดิศร เพียงเกษองค์การนักศึกษาในประเทศไทยจรัล ดิษฐาอภิชัยจังหวัดน่าน...จิระนันท์ พิตรปรีชาธิดา ถาวรเศรษฐธง แจ่มศรีถั่งโถมโหมแรงไฟทหารพรานทองปานคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523ประพันธ์ คูณมีประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2508ประเทศไทยใน พ.ศ. 2512นวน เจียแองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีนแผนฟินแลนด์แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลไพศาล พืชมงคลเพลงเพื่อชีวิตเกรียงไกร อัตตะนันทน์เกษียร เตชะพีระเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเสถียร จันทิมาธรเหตุการณ์ 6 ตุลาเปรม ติณสูลานนท์1 มกราคม1 ธันวาคม14 ตุลา สงครามประชาชน7 สิงหาคม ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าใส ใจชื่นบาน

ฟ้าใส ใจชื่นบาน เป็นภาพยนตร์รัก-ตลก ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและฟ้าใส ใจชื่นบาน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

รรคพลังประชาชน (อักษรย่อ: พปช. People Power Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ช่วงก่อนการเข้าร่วมของกลุ่มไทยรักไทย เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 นางสาวสุภาพร เทียนแก้ว เป็นหัวหน้าพรรค, นางสาวปิยะรัตน์ เทียนแก้ว เป็นเลขาธิการพรรค และ พันตำรวจโทกานต์ เทียนแก้ว เป็นประธานกรรมการบริหารพรรค ก่อนการยุบพรรค นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นรักษาการหัวหน้าพรรค นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี เป็นเลขาธิการพรรค มี นายยงยุทธ ติยะไพรัช เป็นรองหัวหน้าพรรคคนที่ 1 และมี นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ ต่อมาเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เพื่อพิจารณากรณี พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย ได้ลงมติ 4 ต่อ 1 เห็นชอบตามที่นายอภิชาติ สุขัคคานนท์ ประธาน กกต.ในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมืองเสนอให้ส่งเรื่องถึงอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาเสนอต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยยุบพรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย โดยมติเสียงข้างน้อย 1 เสียง คือ นายสมชัย จึงประเสริฐ กกต.ฝ่ายกิจการสอบสวนสอบสวน ในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย และตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารของแต่ละพรรคเป็นเวลา 5 ปี อันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งของนายยงยุทธ ติยะไพรั.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พลร่ม

ลร่มขณะกระโดดร่มชูชีพ พลร่ม (Paratrooper) เป็นหน่วยทหารที่ได้รับการฝึกการกระโดดร่มเป็นพิเศษ มีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกา ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติประมาณ 2 ปี พลร่มมีบทความในสงครามโลกครั้งที่ 2 มีส่วนสำคัญในการนำชัยชนะมาสู่ฝ่ายพันธมิตร โดยพลร่มถูกฝึกให้เป็นแนวหน้าในการออกรบ ไม่ว่าจะเป็นที่นอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส แองโทเฟิน ประเทศเนเธอร์แลนด์ หรือ บาสตง ประเทศเบลเยียม พลร่ม ถูกฝึกมาด้วย ตำราชื่อ currahee ซึ่งเป็นชื่อภูเขา ที่พลร่มใช้วิ่งขึ้น-ลง มีคำกล่าวว่า ขึ้น 3 ไมล์ ลง 3 ไมล์ หมายถึง วิ่งขึ้นลง currahee นั่นเอง.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพลร่ม · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยใช้ชื่อจัดตั้งว่า สหายพนัส ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มวังพญานาค พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพินิจ จารุสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า

นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า · ดูเพิ่มเติม »

พโยม จุลานนท์

ม จุลานนท์ ในปี พ.ศ. 2491 พันโท พโยม จุลานนท์ เป็นทหาร, นักการเมือง, หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย สมรสกับสมโภช ท่าราบ มีบุตร 3 คน คือ นางอัมพร ทีขะระ, พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนภาวดี ศิริภักดี พโยมเป็นบุตรของพระยาวิเศษสิงหนาถ (ยิ่ง จุลานนท์) แห่งเมืองเพชรบุรี ต้นตระกูลจุลานนท์ ซึ่งเป็นบุตรเขยของพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) พโยมกลายเป็นพันธมิตรของจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ในคราวรัฐประหารพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์และปรีดี พนมยงค์ ในปี 2490 หลังจากนั้นพโยมก็ไม่เห็นด้วยกับหัวหน้าคณะรัฐประหารและเริ่มปฎิวัติล้มเหลว พโยมจึงต้องลี้ภัยไปยังประเทศจีน ผ่านทางอำเภอแม่สาย และประเทศพม่า พโยมกลับมาประเทศไทยอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและพโยม จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏสันติภาพ

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ขณะเดินทางมาฟังการพิจารณาคดีกบฏทั้งในและนอกราชอาณาจักร กบฏสันติภาพ ชื่อเรียกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้จับกุมประชาชนจำนวนมาก โดยอาศัยอำนาจตามความในกฎหมายลักษณะอาญา ร..127 มาตรา 102, 104, 177, 181 แล.ร..แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะอาญา (ฉบับที่ 7)..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและกบฏสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบทางภาคใต้

กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบทางภาคใต้ เป็นกลุ่มบุคคลหรือขบวนการต่างๆที่ดำเนินการต่อต้านอำนาจรัฐในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบมีหลายกลุ่มได้แก.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบทางภาคใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพไทย

กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยเป็นสงครามกองโจรที่กินเวลาตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2526 สู้รบกันระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และรัฐบาลไทยเป็นหลัก สงครามเสื่อมลงในปี 2523 หลังรัฐบาลประกาศนิรโทษกรรม และในปี 2526 พคท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจพิจารณาในประเทศไทย

การตรวจพิจารณาในประเทศไทยมีประวัติอย่างยาวนาน การก่อกวน การชักใยและการควบคุมข่าวการเมืองอย่างเข้มงวดเป็นเรื่องปกติในรัฐบาลทุกสมัย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกันเสรีภาพในการพูด และการประกันเสรีภาพดังกล่าวดำเนินต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กลไกในการตรวจพิจารณารวมถึงกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวด การควบคุมโดยตรงของรัฐบาลหรือทหารต่อสื่อแพร่สัญญาณ และการใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจและการเมือง การวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ถูกห้ามตามรัฐธรรมนูญ แม้คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยส่วนใหญ่มุ่งไปยังคนต่างด้าว หรือคู่แข่งของผู้นำการเมือง สังคมและพาณิชย์ที่เป็นชาวไทย ในการสำรวจดัชนีเสรีภาพสื่อทั่วโลก จัดโดยผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 59 จาก 167 ประเทศในปี 2547 แล้วร่วงลงเป็นอันดับที่ 107 ในปี 2548 และไปอยู่อันดับที่ 153 จาก 178 ประเทศในปี 2554 แล้วค่อยขึ้นมาอยู่อันดับที่ 137 จาก 179 ประเทศในปี 2555.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและการตรวจพิจารณาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภูพานปฏิวัติ

ูพานปฏิวัติ เป็นเพลงที่จิตร ภูมิศักดิ์แต่งขึ้นขณะร่วมอยู่กับกองทัพปลดแอกประชาชนแห่งประเทศไทยอยู่ทางภาคอีสาน แถบเทือกเขาภูพาน ในเขตจังหวัดสกลนคร ติดต่อกับชายแดนลาว โดยใช้ชื่อจัดตั้งขณะนั้นว่า "สหายปรีชา" จิตร ภูมิศักดิ์แต่งคำร้องและทำนองเพลงนี้เสร็จสมบูรณ์ระหว่างเดินเท้ากลับจากงานลำเลียง บนยอดเขาแห่งหนึ่งชื่อ ภูผาลม (อยู่ในเขตดงพระเจ้า อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร) เมื่อ พ.ศ. 2508 ต่อมาเพลงนี้กลายเป็นเพลงสำคัญเพลงหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและภูพานปฏิวัติ · ดูเพิ่มเติม »

รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท (5 เมษายน พ.ศ. 2495-) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตนักศึกษาหลบหนีเข้าป่าจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 "สหายศรัทธา" เป็นชื่อจัดตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.).

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี

กิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเขื่อนข้าง ตำบลหนองยาว อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี โดยมีชื่อเดิมว่า หรือ และต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อและนามสกุลใหม่ เป็น จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส กรุงเทพฯ จากนั้นได้เข้าสู่ขบวนการนักศึกษา จากการขอสมัครเป็นเป็นผู้ปฏิบัติงานของศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่ตึกสันทนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือเป็นหนึ่งในคนเดือนตุลา ที่มีบทบาทสำคัญ โดยก่อนหน้านั้นเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนักเรียนในปี พ.ศ. 2519 และนำนักเรียนขาสั้นเข้าร่วมเหตุการณ์ 6 ตุลา จากนั้นถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมเป็นเวลา 3 วัน ก่อนที่จะหนีเข้าป่า เฉกเช่นนักศึกษาคนเดือนตุลาอื่นๆ ในยุคนั้น โดยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) เขตงานสุราษฎร์ธานี โดยมีเพื่อนร่วมเขตงานเดียวกันคือ สุวิทย์ วัดหนู หลังจากนั้นเมื่อเกิดวิกฤตป่าแตก จึงกลับเข้าหาครอบครัวทำมาหากิน เหมือนนักศึกษาคนอื่น ๆ ที่ออกจากป่าในช่วงนั้น ในช่วงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ได้เข้าร่วมกับ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ขับไล่ พล.อ. สุจินดา คราประยูร และต่อมาเข้ารับตำแหน่งเลขาธิการเครือข่ายเดือนตุลา ปี พ.ศ. 2540 - 2542.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหาร 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476

หตุการณ์ 1 เมษายน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรายชื่อพรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลุงบุญมีระลึกชาติ

ลุงบุญมีระลึกชาติ (Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives, Oncle Boonmee, celui qui se souvient de ses vies antérieures) เป็นภาพยนตร์ไทยนอกกระแส ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและลุงบุญมีระลึกชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกเสือชาวบ้าน

ลูกเสือชาวบ้าน เป็นกลุ่มของชาวบ้านที่มาทำประโยชน์ให้แก่สังคมผ่านการลูกเสือ โดยที่มีการทำงานหรือการเข้าค่ายต่าง ๆ คล้ายกับลูกเสือที่มีการเรียนการสอนตามโรงเรียน เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2512 โดยตำรวจตระเวนชายแดน ได้ฝึกสอนให้ชาวบ้านรู้จักดูแลความปลอดภัยในหมู่บ้าน การป้องกันตนเอง ตลอดจนการสอดแนมรักษาความปลอดภัยตามแนวชายแดนเป็นอันดับต้น (เพื่อป้องกันการคุกคามของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย) โดยการฝึกได้นำเอาหลักในการฝึกวิชาลูกเสือมาเป็นแนวทางปฏิบัติ ภายหลังได้รับการขยายไปสู่ทั่วทุกภูมิภาคและทุกจังหวัดของพื้นที่ประเทศไทย เนื่องจากเป็นองค์กรที่สามารถเสริมสร้างให้ประชาชนได้มีความผูกพัน เสริมสร้างความรักความสามัคคีในหมู่คณะได้เป็นอย่างดี จึงเป็นเหตุให้มีผู้ใช้ชื่อของลูกเลือชาวบ้านเข้าไปร่วมในการเคลื่อนไหวทางสังคมด้วย เช่น เหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 เป็นต้น ปัจจุบันแม้ว่ากิจการลูกเสือชาวบ้านจะได้ลดบทบาทและความสำคัญลงไป แต่ก็ยังมีการจัดฝึกอบรมบ้างตามจังหวัดต่าง ๆ อยู่พอสมควร.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและลูกเสือชาวบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

วิสา คัญทัพ

วิสา คัญทัพ อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงแรงงาน นักคิดนักเขียน กวี ศิลปินเพลงเพื่อชีวิต อิสระ อดีตเคยเป็น 1 ใน 9 นักศึกษาที่ต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพจนถูกลบชื่อออกจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เกิดการเดินขบวนครั้งใหญ่ในวันที่ 21-22 มิถุนายน พ.ศ. 2516 อันเป็นชนวนนำไปสู่การเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากจอมพลถนอม กิตติขจรและจอมพลประภาส จารุเสถียรจนถูกจับเป็น 1 ใน 13 กบฏรัฐธรรมนูญ ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและวิสา คัญทัพ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย โพธิ์สุ

นายศุภชัย โพธิ์สุ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม แกนนำกลุ่มเพื่อนเนวิน พรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและศุภชัย โพธิ์สุ · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ศรีงาม

มาน ศรีงาม นายสมาน ศรีงาม เป็นนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการพรรคอธิปไตยปวงชนชาวไทย และเลขาธิการทั่วไปขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ และจัดรายการวิทยุทางคลื่น F.M. 92.25.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสมาน ศรีงาม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ พัธโนทัย

ังข์ พัธโนทัย (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2529) อดีตที่ปรึกษาคนสนิท ของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้บุกเบิกสัมพันธไมตรีไทย-สาธารณรัฐประชาชนจีน ผู้เขียนสามก๊กฉบับพิชัยสงครามอดีตหัวหน้ากองหนังสือพิมพ์กรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) อดีตผู้จัดรายการวิทยุ "นายมั่น นายคง" สมัยยุคสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสังข์ พัธโนทัย · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย จันทิมาธร

รชัย จันทิมาธร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หงา คาราวาน เป็นนักร้องนำและหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงคาราวาน สุรชัยเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของวงการเพลงไทย ผู้คนในวงการเพลงเพื่อชีวิตมักเรียกเขาอย่างนับถือว่า น้าหงา หรือ พี่หงา และได้รับการยกย่องให้เป็น อาจารย์ใหญ่แห่งวงการเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสุรชัย จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์

รชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ มีชื่อเดิมว่า สุรชัย แซ่ด่าน เป็นนักเคลื่อนไหว และอดีตนักโทษการเมืองคดีคอมมิวนิสต์คนสุดท้ายของประเทศไทย เป็นอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มแดง.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ วัดหนู

วิทย์ วัดหนู (20 ธันวาคม พ.ศ. 2495 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2550) เป็นนักพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย สลัม และคนจนเมือง เคยเป็นเลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.), ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน, ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัม 4 ภาค เลขาธิการเครือข่ายคนเดือนตุลา มีบทบาทขับไล่เผด็จการในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 และเข้าร่วมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสุวิทย์ วัดหนู · ดูเพิ่มเติม »

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (28 เมษายน พ.ศ. 2499 – 27 กันยายน พ.ศ. 2560) คือ นักวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ อดีตรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สีเผือก คนด่านเกวียน

ีเผือก คนด่านเกวียน นักร้องนำของวงคนด่านเกวียน วงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งของไทย มีชื่อจริงว่า อิศรา อนันตทัศน์ (ชื่อเดิม: สำรอง อนันตทัศน์) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนองคาย) ต่อมาเมื่อเข้าเรียนประถมศึกษาได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาสามารถสอบเข้าเรียนวิชาช่างกลเกษตร ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานได้ แต่ทว่าเนื่องจากสถานการณ์การเมืองในเวลานั้นเป็นยุคของเผด็จการทหาร จึงได้มีโอกาสพบปะและร่วมกิจกรรมกับศิลปินหรือนักศึกษาศิลปะคนอื่น ๆ เช่น มงคล อุทก, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร และได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ 14 ตุลา ด้วย หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา สีเผือกสอบบรรจุครูได้ ด้วยความที่พ่อเป็นครู จึงอยากให้ลูกชายเป็นครูตามด้วย แต่ติดที่พ่อเป็นข้าราชการ ขณะที่สีเผือกมีแนวความคิดต่อต้านระบบราชการอยู่ จึงเข้าทำงานเป็นครูอยู่ตามแถบชายป่า จากนั้นจึงเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในนาม "สหายครู" มีหน้าที่รับส่งเอกสาร, ส่งเสบียง, รับผิดชอบสมาชิกพรรคที่เข้าไปในเมือง พร้อมกับทำหน้าที่สอนหนังสือไปด้วย จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2526 ได้ออกอัลบั้มชุดแรกในชื่อชุด "เด็กปั๊ม" กับวงคนด่านเกวียน ประสบความสำเร็จ จนถึงปัจจุบันนี้มีผลงานอัลบั้มออกมามากกว่า 20 อัลบั้ม มีเพลงที่ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จัก อาทิ เด็กปั๊ม, ชาวนาอาลัย, ตาผุยชุมแพ, กุหลาบปากซัน รวมถึง เดือนเพ็ญ ที่เป็นบทกวีของอัศนี พลจันทร์ มาร้องใหม่ด้ว..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสีเผือก คนด่านเกวียน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย

นีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย เป็นสถานีวิทยุซึ่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ใช้เป็นกระบอกเสียงในการเผยแพร่ข่าวสารและแนวคิดอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ สถานีนี้ใช้ความถื่คลื่นสั้น (short wave)ในการส่งออกอากาศ รับฟังได้ชัดเจนทั่วประเทศไทย เริ่มส่งกระจายเสียงประมาณปี พ.ศ. 2508 ระยะแรกส่งสัญญาณจากกรุงฮานอย ประเทศเวียดนามเหนือ (ประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) ก่อนจะย้ายไปส่งสัญญาณที่เมืองคุนหมิง ประเทศจีน ในปี พ.ศ. 2508 จนกระทั่งวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 มีการเจรจาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับจีน พรรคคอมมิวนิสต์จีน ได้ขอให้สถานีดังกล่าวหยุดส่งกระจายเสียงเพื่อแลกกับการหยุดสนับสนุนก๊กมินตั๋ง ของรัฐบาลไทย ทำให้พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ต้องจัดตั้งสถานีวิทยุขี้นมา และส่งกระจายเสียงโดยใช้สถานีส่งต่างๆ เช่น ผาจิ จังหวัดพะเยา ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ ส่งได้ไม่กี่เดือน ก็ถูกทหารไทยบุกยึดเครื่องส่ง เป็นการยุติบทบาทของสถานีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและสถานีเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านสันติคีรี

ที่ตั้งของสันติคีรี ตำแหน่งอยู่บริเวณชายแดนไทย-พม่า หมู่บ้านสันติคีรี เดิมชื่อ หมู่บ้านแม่สลอง เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนดอยแม่สลอง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย พื้นที่ดังกล่าวมีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศเป็นแบบอัลไพน์ และเป็นที่รู้จักกันจากชาวบ้านที่เป็นเผ่าชนภูเขา ไร่ชา และดอกซากุระ ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของหมู่บ้านสันติคีรีมีศูนย์กลางอยู่ที่การค้าฝิ่นในแถบสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งมีประชากรจากกองพล 93 "กองทัพสาบสูญ" ของสาธารณรัฐจีน มีส่วนพัวพันอยู่ด้วย ภายหลังสงครามกลางเมืองจีนสิ้นสุดลงใน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและหมู่บ้านสันติคีรี · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยรบพิเศษ

หน่วยรบพิเศษ หน่วยปฏิบัติการพิเศษ หรือ กองกำลังพิเศษ เป็นทหารที่ได้รับการฝึกมาอย่างดีโดยกองทัพซึ่งพวกเขาเหล่านั้นสามารถปฏิบัติภารกิจพิเศษอย่างเช่น การลาดตระเวนพิเศษ สงครามนอกแบบ และการต่อต้านการก่อการร้.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและหน่วยรบพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

อัศนี พลจันทร

อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและอัศนี พลจันทร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวิภาวดี

อำเภอวิภาวดี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขา เส้นทางคมนาคมบางส่วนทุรกันดาร และมีประชากรเบาบาง เคยเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์สำคัญในสมัยหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและอำเภอวิภาวดี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจุฬาภรณ์

ฬาภรณ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งขึ้นเป็นกรณีพิเศษ เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระชนมายุครบ 3 รอบ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและอำเภอจุฬาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและอดิศร เพียงเกษ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนักศึกษาในประเทศไทย

ในประเทศไทย องค์การนักศึกษา หรือ สโมสรนักศึกษา เป็นกลุ่มนักศึกษาในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในแต่ละสถาบัน โดยภาพรวมแล้วองค์การนักศึกษาถือเป็นศูนย์กลางของนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย องค์การนักศึกษาที่เรียกว่า สโมสรนักศึกษา เช่น สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ยกเว้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยทักษิณ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและองค์การนักศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จรัล ดิษฐาอภิชัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรัล ดิษฐาอภิชัย (เกิด 6 กรกฎาคม 2490 ที่จังหวัดพัทลุง) ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติโดยเป็นหนึ่งใน 11 คน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติชุดแรกของประเทศไทย ซึ่งตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและจรัล ดิษฐาอภิชัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

จิระนันท์ พิตรปรีชา

ระนันท์ ประเสริฐกุล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อสกุลเดิมว่า จิระนันท์ พิตรปรีชา (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปัจจุบันเป็นนักเขียน และผู้จัดทำบทบรรยายภาพยนตร์ ได้รับรางวัลซีไรต..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและจิระนันท์ พิตรปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

ธิดา ถาวรเศรษฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ธิดา ถาวรเศรษฐ หรือ ธิดา โตจิราการ เป็นนักวิชาการชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาทรักษาการประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) สืบจากวีระ มุสิกพงศ์ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและธิดา ถาวรเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

ธง แจ่มศรี

ง แจ่มศรี หรือ สหายประชา ธัญญไพบูลย์ เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งได้รับตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2525 แม้ว่าในปัจจุบันพรรคคอมมิวนิสต์ฯ จะยุติการดำเนินการไปแล้ว แต่นายธง ยังคงมีความเคลื่อนไหวในการออกแถลงการณ์ของพรรคฯ เมื่อปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและธง แจ่มศรี · ดูเพิ่มเติม »

ถั่งโถมโหมแรงไฟ

ั่งโถมโหมแรงไฟ เป็นบทเพลงปฏิวัติที่เขียนและขับร้องโดย วงดนตรีคาราวาน ซึ่งเขียนขึ้นเมื่อสมาชิกของวงทุกคนเดินทางเข้าป่า หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา เพื่อเข้าร่วมการต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เนื่องจากความกดดันทางการเมืองยุคนั้น คำร้องโดย สุรชัย จันทิมาธร ทำนองโดย สุรชัย จันทิมาธร และทองกราน ทาน.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและถั่งโถมโหมแรงไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทหารพราน

อชเค 33 เอ 2 ทหารพราน เป็นกำลังทหารราบเบากึ่งทหารซึ่งลาดตระเวนตามแนวชายแดนไทยและเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพไทย ทหารพรานทำงานร่วมกับตำรวจตระเวนชายแดน แต่ถูกฝึกและติดอาวุธให้ทำการรบ ขณะที่ตำรวจตระเวนชายแดนเป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายมากกว.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและทหารพราน · ดูเพิ่มเติม »

ทองปาน

ทองปาน เป็นภาพยนตร์ไทยกึ่งสารคดี ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2519 เรื่องราวเกี่ยวกับชาวนาอีสานที่ได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างเขื่อนผามอง เพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง โครงการนี้เป็นโครงการของสหรัฐอเมริกาโดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก เป็นเขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเมื่อสร้างเสร็จแล้วจะทำให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเลย หนองคาย หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ จมอยู่ใต้น้ำ ฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์ลอนดอน (London Film Festival) และได้รับรางวัลเกียรติยศ Outstanding Film of Southeast Asia เข้ามาฉายในประเทศไทยครั้งแรกช่วงปลายปี..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและทองปาน · ดูเพิ่มเติม »

คอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

ประเทศสยามเริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 7 โดยแก้ไขกฎหมายลักษณะอาญาให้ "การสั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจเพื่อให้บังเกิดความเกลียดชังดูหมิ่นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชั้น" เป็นความผิด ปัญหาภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ค่อยรุนแรงขึ้นเป็นลำดับและหมดไปแล้วในปัจจุบัน หลังการยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ใน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523

ำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 หรือคำสั่งที่ 66/2523 หรือคำสั่งที่ 66/23 เป็นคำสั่งรัฐบาลไทยที่กำหนดนโยบายสำคัญในการต่อสู้กับการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ช่วงปลายสงครามเย็น คำสั่งดังกล่าวออกเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2523 และลงนามโดยนายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ คำสั่งนี้ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายจากท่าทีทหารสายแข็งที่ดำเนินมาแต่รัฐบาลฝ่ายขวาธานินทร์ กรัยวิเชียร (ครองอำนาจ 2519 ถึง 2520) มาสู่สายกลางมากขึ้นซึ่งให้ความสำคัญมาตรการทางการเมืองเหนือการปฏิบัติทางทหารอย่างเป็นทางการ คำสั่งนี้กำหนดให้มีการจัดการความอยุติธรรมทางสังคม และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองและกระบวนการประชาธิปไตย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมสอดคล้องกับคำสั่งอนุญาตให้ผู้แปรพักตร์ผละขบวนการก่อการกำเริบ ซึ่งเมื่อประกอบกับการเสื่อมลงของการสนับสนุนจากต่างชาติ นำไปสู่การเสื่อมลงของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและประพันธ์ คูณมี · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร

นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ในเวลาต่อมาได้เป็นวิทยากรให้กับวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายซึ่งนำมาซึ่งคำสั่งที่ 66/2523 เรื่องนโยบายต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและประเสริฐ ทรัพย์สุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2508

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2508 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2512

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2512 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

นวน เจีย

นวน เจีย (2011) นวน เจีย (នួន ជា นวน ชา; เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1926) อาจรู้จักในชื่อ ลอง บุญรอด หรือ ฬง บุนรวต (ឡុង រិទ្ធិ ฬง ริทฺธิ; Long Bunruot) และมีชื่อภาษาไทยว่า รุ่งเลิศ เหล่าดี เป็นนักการเมืองสายคอมมิวนิสต์ของกัมพูชา เป็นผู้นำอันดับสองของเขมรแดงรองจากพล พต จนถูกเรียกกันว่า "พี่ชายหมายเลขสอง" หรือ "พี่รอง" เขาเป็นที่ต้องการตัวจากสหประชาชาติ เพื่อนำตัวไปดำเนินคดีข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา พร้อมกับเอียง ซารี, เขียว สัมพัน และเอียง ธิริธ (เขียว ธิริธ) ภริยาของนายเอียง ซารี โดยวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและนวน เจีย · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีน

ลงแองเตอร์นาซิอองนาล ในภาษาจีนมีชื่อว่า "กั๋วจี้เกอ" แปลตามตัวว่า เพลงสากล บทร้องฉบับแปลภาษาจีนมีฉบับแปลอยู่หลายฉบั.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและแองเตอร์นาซิอองนาลฉบับภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

แผนฟินแลนด์

แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและแผนฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์

ำแถลงนโยบายคอมมิวนิสต์ แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ (Manifesto of the Communist Party หรือ The Communist Manifesto) หรือ คำแถลงนโยบายของพรรคคอมมิวนิสต์ (Manifest der Kommunistischen Partei) เป็นหนังสือการเมืองเล่มหนึ่งที่มีอิทธิพลสูงต่อประวัติศาสตร์โลก เขียนโดย คาร์ล มาร์กซ และ ฟรีดริช เองเงิลส์ ตามที่ได้รับมอบหมายจากสหพันธ์คอมมิวนิสต์ จัดพิมพ์ครั้งแรกในวันที่ 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและแถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

รงเรียนอุดรพิทยานุกูล (อังกฤษ: Udon Pittayanukoon School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดอุดรธานี ประเภทสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนศรีสุข ตรงข้ามสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุดรธานี บนถนนเส้นเดียวกับโรงเรียนอนุบาลอุดรธานี โรงเรียนสตรีราชินูทิศ และโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ด้านหลังติดกับถนนศรีชมชื่น ในปัจจุบันโรงเรียนอุดรพิทยานุกูลนั้นเป็นโรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ และเป็นโรงเรียนชั้นนำแห่งหนึ่งของภาคอีสานและของประเทศไทย โดยมีชื่อเรียกอย่างย่อว่า อุดรพิท.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

ไพศาล พืชมงคล

ล พืชมงคล ไพศาล พืชมงคล (9 ตุลาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นกรรมการผู้ช่วยรองนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) อุปนายกและเลขาธิการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ) นักกฎหมายชาวไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภาและอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและไพศาล พืชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อัตตะนันทน์

อมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ อดีตผู้บังคับกองพันทหารอาสาสมัครของไทยชุดแรกในสงครามเกาหลี อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ท่านเป็นนายทหารที่ได้รับพระราชทานยศจอมพลเป็นคนสุดท้ายของกองทัพไทย ก่อนที่จะมีการระงับการพระราชทานยศชั้นดังกล่าวในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเกรียงไกร อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษียร เตชะพีระ

ตราจารย์ เกษียร เตชะพีระ (เกิด 23 ธันวาคม 2500) เดิมชื่อ โต๊ะฮง แซ่แต้ บิดามารดา เป็นคนจีนแต้จิ๋ว เกิดและเติบโตย่านเยาวราชและเจริญกรุง เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเกษียร เตชะพีระ · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ. 2518 - 2523 เสกสรรค์มีความเห็นขัดแย้งหลายประการกับกรรมการกลางของพรรคฯ และต่อมาได้แยกตัวออกจากพรรค ฯ และได้รับนิรโทษกรรมในเวลาต่อมาจากคำสั่งที่ 66/2523 ในขณะที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสถียร จันทิมาธร

นายเสถียร จันทิมาธร สื่อมวลชนอิสระ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตบรรณาธิการอำนวยการ หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเสถียร จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลา สงครามประชาชน

14 ตุลา สงครามประชาชน (The Moonhunter) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและ14 ตุลา สงครามประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กองทัพปลดแอกประชาชนแห่งประเทศไทยมิตร สมานันท์ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »