เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พจน์ สารสิน

ดัชนี พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

สารบัญ

  1. 61 ความสัมพันธ์: ชาวอเมริกันเชื้อสายไทยบุญชู จันทรุเบกษาบุญชนะ อัตถากรพ.ศ. 2500พรรคสหภูมิพรรคสหประชาไทยพระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพุทธชยันตีพงส์ สารสินกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยาการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500ภาพยนตร์ไทยมหาวิทยาลัยขอนแก่นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514รายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายพระนามและรายนามผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่นรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2สฤษดิ์ ธนะรัชต์สะพานสารสินสุกิจ นิมมานเหมินท์อาสา สารสินองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถนอม กิตติขจรทวี แรงขำคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 21คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 27คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 31คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นประภาส จารุเสถียรประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประสาท สุขุม... ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

ชาวอเมริกันเชื้อสายไทย

วอเมริกันเชื้อสายไทย หมายถึง พลเมืองสหรัฐอเมริกาที่มีเชื้อสายมาจากประเทศไท.

ดู พจน์ สารสินและชาวอเมริกันเชื้อสายไทย

บุญชู จันทรุเบกษา

ลอากาศเอก บุญชู จันทรุเบกษา (11 พฤศจิกายน 2456-28 มกราคม 2519) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ คนที่ 6 และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายพจน์ สารสิน และรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ดู พจน์ สารสินและบุญชู จันทรุเบกษา

บุญชนะ อัตถากร

ญชนะ อัตถากร (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2453-17 เมษายน พ.ศ. 2547) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ บญชนะ สมรสกับท่านผู้หญิงแส อัตถากร มีบุตรสาว คือ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ทักษิณา สวนานนท.

ดู พจน์ สารสินและบุญชนะ อัตถากร

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พจน์ สารสินและพ.ศ. 2500

พรรคสหภูมิ

รรคสหภูมิ พรรคการเมืองพรรคหนึ่งของประเทศไทยในอดีต.

ดู พจน์ สารสินและพรรคสหภูมิ

พรรคสหประชาไทย

รรคสหประชาไทย (ตัวย่อ: ส.ป.ท.) พรรคการเมืองในอดีตของประเทศไทยที่เคยเป็นพรรคที่ชนะการเลือกตั้งและเป็นพรรคที่เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลก่อตั้งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม..

ดู พจน์ สารสินและพรรคสหประชาไทย

พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)

อำมาตย์ตรี พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) (? - พ.ศ. 2521) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาต.

ดู พจน์ สารสินและพระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ดู พจน์ สารสินและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู พจน์ สารสินและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

พุทธชยันตี

ีฉลองสัมพุทธชยันตี 2600 ปีแห่งการตรัสรู้ ของชาวศรีลังกา ณ พระมูลคันธกุฎี วัดพระเชตวันมหาวิหาร สาวัตถี รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย พุทธชยันตี หรือ สัมพุทธชยันตี (Sambuddha jayanthi) เป็น เทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชา คำว่า พุทธชยันตี มาจากศัพท์ พุทธ+ชยันตี (जयंती) ที่แปลว่า วันครบรอบ (Anniversary) ในภาษาสันสกฤต พุทธชยันตีจึงแปลว่า การครบรอบวันเกิดของพระพุทธศาสนา หรือวันครบรอบชัยชนะของพระพุทธเจ้าก็ได้ โดยคำนี้ใช้เรียกการจัดกิจกรรมในปีที่ครบรอบวาระสำคัญของพระพุทธเจ้า เช่น ครบรอบ 2500 ปี แห่งปรินิพพาน หรือ 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ โดยอาจใช้ชื่อต่างกันไปบ้างในแต่ละประเทศ เช่น ศรีสัมพุทธชันตี สัมพุทธชยันตี แต่ทั้งหมดก็คือการจัดกิจกรรมพุทธชยันตี เพื่อมุ่งหมายการถวายเป็นพุทธบูชาในปีที่ครบรอบวาระสำคัญของพระพุทธเจ้านั่นเอง พุทธชยันตี เป็นคำที่ใช้ทั่วไปในประเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า และผู้นับถือพระพุทธศาสนาในประเทศอื่น ๆ บางประเทศ โดยใช้คำนี้ในการจัดกิจกรรมวิสาขบูชา โดยวัตถุประสงค์ของพุทธชยันตีในประเทศต่าง ๆ มุ่งการจัดกิจกรรมเป็นวาระพิเศษตลอดทั้งปีนั้น เช่น การจัดกิจกรรมพุทธบูชา การปฏิบัติธรรม และการจัดกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชานั่นเอง.

ดู พจน์ สารสินและพุทธชยันตี

พงส์ สารสิน

นายพงส์ สารสิน (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม.

ดู พจน์ สารสินและพงส์ สารสิน

กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.

ดู พจน์ สารสินและกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ดู พจน์ สารสินและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม..

ดู พจน์ สารสินและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและภาพยนตร์ไทย

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู พจน์ สารสินและมหาวิทยาลัยขอนแก่น

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู พจน์ สารสินและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติของประเทศไทย รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาต.

ดู พจน์ สารสินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ดู พจน์ สารสินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ดู พจน์ สารสินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ดู พจน์ สารสินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

หตุการณ์ขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ นำคณะนักศึกษาเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยายน..

ดู พจน์ สารสินและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ดู พจน์ สารสินและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู พจน์ สารสินและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ดู พจน์ สารสินและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ดู พจน์ สารสินและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ดู พจน์ สารสินและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น

รายพระนามและรายนาม ผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2511 - ปัจจุบัน.

ดู พจน์ สารสินและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ดู พจน์ สารสินและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.

ดู พจน์ สารสินและรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู พจน์ สารสินและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ดู พจน์ สารสินและลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ดู พจน์ สารสินและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ดู พจน์ สารสินและสฤษดิ์ ธนะรัชต์

สะพานสารสิน

รือประมงและสะพานสารสิน เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 สะพานสารสิน เป็นสะพานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดพังงากับจังหวัดภูเก็ต เป็นสะพานแรกที่มีการสร้างเพื่อข้ามจากจังหวัดพังงาไปภูเก็ต เชื่อมต่อระหว่างบ้านท่าฉัตรไชยและบ้านท่านุ่นของจังหวัดพังงา โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 มีความยาวทั้งหมด 660 เมตร เปิดใช้เมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและสะพานสารสิน

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ดู พจน์ สารสินและสุกิจ นิมมานเหมินท์

อาสา สารสิน

นายอาสา สารสิน (26 พฤษภาคม 2479 -) อดีตราชเลขาธิการในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู พจน์ สารสินและอาสา สารสิน

องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้) (Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและถนอม กิตติขจร

ทวี แรงขำ

ตราจารย์ ทวี แรงขำ เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ครม.27, 28, 30, 31) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ดู พจน์ สารสินและทวี แรงขำ

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและคณะรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 21

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 21 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 21 ของไทย (8 เมษายน พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 21

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 22 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 22 ของไทย (25 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 27

นายพจน์ สารสิน นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 27 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 27 ของไทย (21 กันยายน พ.ศ. 2500 - 26 ธันวาคม พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 27

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30

ลเอกถนอม กิตติขจร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 10 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 30 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 30 ของไทย (9 ธันวาคม พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 30

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 31

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 31 ของไทย (9 มีนาคม พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) จอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 31

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Engineering, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 04.

ดู พจน์ สารสินและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู พจน์ สารสินและประภาส จารุเสถียร

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ดู พจน์ สารสินและประวัติพรรคประชาธิปัตย์

ประสาท สุขุม

thumb ประสาท สุขุม เป็นบุตรของ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร) มีพี่น้องดังรายนามคือ.

ดู พจน์ สารสินและประสาท สุขุม

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2500

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2500 ในประเทศไท.

ดู พจน์ สารสินและประเทศไทยใน พ.ศ. 2500

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

ันเอก นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) อดีตประธานวุฒิสภา, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ดู พจน์ สารสินและนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและแปลก พิบูลสงคราม

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

รงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (Bangkok Christian College ย่อ: ก.ท, BCC) เรียกอย่างย่อว่า กรุงเทพคริสเตียน หรือ คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ ได้รับการสถาปนาขึ้นโดยคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน เมื่อปี พ.ศ.

ดู พจน์ สารสินและโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

เภา สารสิน

ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..

ดู พจน์ สารสินและเภา สารสิน

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ดู พจน์ สารสินและเสริม วินิจฉัยกุล

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ดู พจน์ สารสินและเอื้อ สุนทรสนาน

เจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ

นายเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 5 สมั.

ดู พจน์ สารสินและเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ดู พจน์ สารสินและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

เฉลิม พรมมาส

ตราจารย์อุปการคุณ นายแพทย์ เฉลิม พรมมาส หรือ หลวงเฉลิมคัมภีรเวชช์ (เฉลิม พรมมาส) แพทย์ชาวไทย อดีตผู้บัญชาการมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.

ดู พจน์ สารสินและเฉลิม พรมมาส

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ดู พจน์ สารสินและ16 กันยายน

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2500นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)แปลก พิบูลสงครามโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยเภา สารสินเสริม วินิจฉัยกุลเอื้อ สุนทรสนานเจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เฉลิม พรมมาส16 กันยายน