โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 755

ดัชนี พ.ศ. 755

ทธศักราช 755 ใกล้เคียงกั.

7 ความสัมพันธ์: ม้าเท้งลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊กสามก๊กข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊กซุนฮกเตียวเหียน212 (แก้ความกำกวม)

ม้าเท้ง

ม้าเท้ง (Ma Teng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่มีตัวตนจริงตามประวัติศาสตร์ เป็นขุนศึก ในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และสามก๊กของจีน ปกครองเมืองเสเหลียง(มลฑลเหลียงโจว) ด้วยกันกับหันซุย น้องร่วมสาบานของเขาม้าเท้งและหันซุย ใช้ความมุมานะพยายามเป็นแรมปี เพื่อที่จะแยกตัวเป็นอิสระจากแผ่นดินส่วนกลาง ม้าเท้งเป็นบิดาของม้าเฉียวและเป็นอาของม้าต้าย ผู้ที่รับใช้ต่อจ๊กก๊กในภายหลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 755และม้าเท้ง · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก แสดงลำดับเหตุการณ์ในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊ก โดยเรียงลำดับตามเหตุการณ์ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) และระบุปีที่เกิดเหตุการณ์เป็นพุทธศักราช (พ.ศ.) เหตุการณ์บางเหตุการณ์อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แต่มีระบุไว้ในวรรรณกรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 755และลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: พ.ศ. 755และสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก

วาดจากหนังสือสามก๊กในยุคราชวงศ์หมิง ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก แสดงรายการเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้นในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก เรียงตามลำดับเหตุการณ์ พร้อมอธิบายความแตกต่างระหว่างเนื้อเรื่องในวรรณกรรมและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเรื่องสามก๊กมีเนื้อหาที่อิงมาจากประวัติศาสตร์ปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกต่อยุคสามก๊ก ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จึงทำให้ผู้อ่านหลายคนเข้าใจผิดว่าเนื้อเรื่องที่ปรากฏในวรรณกรรมเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในยุคสามก๊ก แหล่งข้อมูลของประวัติศาสตร์ยุคสามก๊กที่เชื่อถือได้มากที่สุดคือจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อหรือสามก๊กจี่) ที่เขียนโดยตันซิ่ว และเพิ่มอรรถาธิบายโดยเผยซงจือ แหล่งข้อมูลอื่นๆที่ครอบคลุมประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊กได้แก่ โฮ่วฮั่นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง) ของฟ่านเย่ และ จิ้นซู (จดหมายเหตุราชวงศ์จิ้น) ของฝางเสฺวียนหลิ่ง ด้วยความที่วรรณกรรมเรื่องสามก๊กเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ เนื้อเรื่องหลายส่วนจึงเป็นเนื้อเรื่องที่แต่งเสริมขึ้น หรือนำมาจากนิทานพื้นบ้าน หรืออิงมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคอื่นๆของประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 755และข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ในสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ซุนฮก

ซุนฮก (Xun Yu; 荀彧) เป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของโจโฉ เดิมอยู่รับใช้อ้วนเสี้ยว แต่ซุนฮกเห็นว่าอ้วนเสี้ยวใช้คนไม่เป็น จึงมาอยู่รับใช้โจโฉ คอยช่วยเหลือโจโฉตั้งแต่โจโฉยังเริ่มตั้งตัวในภาคตะวันออก จนได้เป็นมหาอุปราชแห่งองค์ฮ่องเต้ ซุนฮกคอยวางแผนในการรบให้โจโฉ จนโจโฉสามารถรวบรวมส่วนหนึ่งของจีนได้สำเร็จ ต่อมา โจโฉคิดตั้งตนเป็นวุยก๋ง แต่ซุนฮกไม่เห็นด้วย เพราะซุนฮกสำนึกว่าตนต้องจงรักภักดีต่อราชวงศ์ฮั่น จึงคัดค้านโจโฉ ทำให้โจโฉไม่พอใจ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 755และซุนฮก · ดูเพิ่มเติม »

เตียวเหียน

เตียวเหียน (Zhang Hong) เป็นที่ปรึกษาของซุนเซ็ก รับราชการพร้อมกับ เตียวเจียว เตียวเจียวและเตียวเหียนเป็น 2 ปราชญ์แซ่เตียวที่ทรงปัญญาในกังตั๋ง เป็นชาวเมืองกองเหล็ง (กฺวั่งหลิง) มณฑลเจียงซู มีชื่อรองว่า จื่อกาง เป็นคนดี มีความรู้ความสามารถมาก ไม่เห็นแก่ลาภยศ ประพันธ์บทกวี่ไว้สิบกว่าบท เขียนอรรถาธิบายคัมภีร์อี้จิง คำประพันธ์ยุคฮั่น หลี่จี้ จ่อซื้อ ชุนซิว มีชื่อเสียงโด่งดังจิวยี่เป็นผู้แนะนำซุนเซ็กให้เชิญเตียวเหียนกับเตียวเจียวมาเป็นที่ปรึกษา ตอนแรกซุนเซ็กส่งของกำนัลและจดหมายไปเชิญ บุคคลทั้งสองไม่ยอมมา ซุนเซ็กต้องไปเชิญเองจึงยอมรับ เตียวเหียนได้รับแต่งตั้งให้เป็นชันเหมาเจิ้งหยี่ (เสนาธิการทหาร) ถ้าเตียวเหียนออกศึก เตียวเจียวจะควบคุมการบริหารอยู่ในเมือง ถ้าเตียวเจียวออกศึก เตียวเหียนก็จะอยู่ในเมือง เป็นเช่นนี้ตลอดเวลา เมื่อซุนเซ็กเป็นใหญ่ขึ้นในกังตั๋ง ได้ให้เตียวเหียน ไปทูลพระเจ้าเหี้ยนเต้ที่ราชธานีฮูโต๋ โจโฉเห็นเตียวเหียนเป็นหัวแรงสำคัญของซุนเซ็ก ก็กักตัวไว้ ไม่ยอมให้กลับ พอซุนเซ็กตายแล้ว โจโฉยอมให้เตียวเหียนกลับมาช่วยซุนกวน โดยเชื่อว่าจะภักดีต่อโจโฉ เตียวเหียนรับราชการอยู่กับซุนกวน จนกระทั้งป่วยมาก จนต้องกลับไปรักษาตัวที่บ้าน ก่อนจะตายได้มีหนังสือแนะนำให้ซุนกวนย้ายเมืองหลวงของกังตั๋งจากลำซี มาตั้งที่เบาะเหลง (นานกิง) ซึ่งซุนกวนก็ได้ปฏิบัติตาม หมวดหมู่:ง่อก๊ก หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 755และเตียวเหียน · ดูเพิ่มเติม »

212 (แก้ความกำกวม)

212 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 755และ212 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 212

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »