โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2495

ดัชนี พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

664 ความสัมพันธ์: บลูริบบันด์บอลเชวิกชาญชัย ชัยรุ่งเรืองบานเย็น รากแก่นบิลาดี บิลาดี บิลาดีชิน โสภณพนิชชิเงะรุ มิยะโมะโตะบุญชัย บำรุงพงศ์บุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บี-52 สตราโตฟอร์เทรสช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านมนังคศิลาบ๋าว นิญฟรานซิส คริกฟัฎลุลลอหฺฟุจิโกะ ฟุจิโอะฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกียฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออกพ.ศ. 2462พ.ศ. 2524พ.ศ. 2541พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรรคเพื่อไทยพรศักดิ์ เจริญประเสริฐพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี)พระราชบัญญัติว่าด้วยการขึ้นทะเบียนแห่งชาติพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์...พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรพระสุนทรโวหาร (ภู่)พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)พระที่นั่งคูหาคฤหาสน์พระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร)พระนาย สุวรรณรัฐพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียพระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร)พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พฤณท์ สุวรรณทัตพันธ์เลิศ ใบหยกพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยาพิพิธภัณฑ์ของกองทัพอากาศพิราวรรณ ประสพศาสตร์พุทธมณฑลพุฒ ล้อเหล็กพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัยพจน์ สารสินพนัส หันนาคินทร์กบฏสันติภาพกบฏแมนฮัตตันกรมการค้าภายในกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กรมอนามัยกรมประชาสัมพันธ์กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กฤษณา ไกรสินธุ์กัส แวน แซงต์กันตธีร์ ศุภมงคลการุณ ใสงามการ์ตูนไทยการเลือกตั้งในประเทศไทยกิตติ สีหนนทน์กุหลาบ สายประดิษฐ์กุเทพ ใสกระจ่างกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยาภิญโญ สุวรรณคีรีมวยสากลมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกริกมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟมองตากูต์มอเตอร์ครอสมารุต มัสยวาณิชมาร์กาเรต แทตเชอร์มาร์ติน โอนีลล์มาลา คำจันทร์มาสเตอส์ทัวร์นาเมนต์มาเรียแห่งเท็คมิกกีย์ รูร์กมิ่งขวัญ แสงสุวรรณมุกดา พงษ์สมบัติยรรยง พวงราชยอดเขาเอเวอเรสต์ยัสเซอร์ อาราฟัตยุทธนา มุกดาสนิทยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ยงค์วิมล เลณบุรีรัชฎาภรณ์ แก้วสนิทรัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495รัฐเวียดนามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952รังสี ทัศนพยัคฆ์ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรกรีซรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530รายชื่อธงในประเทศอาร์มีเนียรายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจานรายชื่อธงในประเทศปากีสถานรายชื่อธงในประเทศแคนาดารายชื่อธงในประเทศเวเนซุเอลารายชื่อธงในเปอร์โตริโกรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์ภูฏานรายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดนรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีรายพระนามและรายนามปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทยรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามอธิบดีกรมธนารักษ์รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสรายนามประมุขแห่งรัฐโปแลนด์รายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามประธานาธิบดีพม่ารายนามปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีราตรี ศรีวิไลราเกซ สักเสนารถจักรดีเซลไฟฟ้าในประเทศไทยรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงินลอสแอนเจลิสเลเกอส์ลา โบริงเกญาลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรล้อต๊อกวรรณทิพย์ ว่องไววรวิทย์ บารูวรัญชัย โชคชนะวอลต์ดิสนีย์อิเมจจิเนียร์ริงวัฒนธรรมวัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี)วัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)วัดหนองกระธาตุวัดหนองมงคลวัดหนองตาโชติวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)วัดท่ากระดานวัดป่าวิเวกธรรมวัดป่าสุนทรารามวัดโพธิ์ตากวังสวนผักกาดวารินทร์ ลิ้มศักดากุลวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์วิลาศ จันทร์พิทักษ์วิสวาวา ซิมบอร์สกาวิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯวิทิต มันตาภรณ์วง อ.ส. วันศุกร์ศักดิ์สยาม เพชรชมภูศิลา โคมฉายศิลป์ พีระศรีส. ธรรมยศสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7สภาโอลิมปิกแห่งเอเชียสมบัด สมพอนสมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์สมคิด บาลไธสงสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุกสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุกสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดนสรรพสิริ วิรยศิริสวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติสวัสดิ์ จำปาศรีสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาวสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหภาพโซเวียตในโอลิมปิกสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1952สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยวสัณฐาน ชยนนท์สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์สันติ พร้อมพัฒน์สามเหลี่ยมจิตรลดาสายเบเคอร์ลูสาวเครือฟ้าสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรสุชาติ ธาดาธำรงเวชสุชน ชาลีเครือสุริยา ชินพันธุ์สุรเชษฐ์ แวอาแซสุลักษณ์ ศิวรักษ์สุวิทย์ วัดหนูสุสานชุคบาตาร์สี่สหายผจญภัยสีเผือก คนด่านเกวียนสถาบันสถาปนาและจักรวรรดิสถานการณ์ฉุกเฉินสถานีวิทยุ อ.ส.สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศโปแลนด์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์สงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศสนามกีฬาโอลิมปิกสนามกีฬาโอลิมปิกมหาวิทยาลัยสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิตหม่อมหลวงยิ่งศักดิ์ อิศรเสนาหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากรหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล)หลิน เจิ้งอิงหง จินเป่าอภิรดี ยิ่งเจริญอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์อสมทออร์ฮัน ปามุกอะสึโกะ อิเกะดะอัญชลี วิวัธนชัยอัลฟาโรเมโออัศวัชร์ อภัยวงศ์อัศนี พลจันทรอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณอารีย์ ลีวีระอาร์ชดยุกออทโท ฟรันซ์แห่งออสเตรียอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550)อาร์ชดยุกเฟลิกซ์แห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสโยลันเดอแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรียอาเลกซิส อาร์กูเอโยอำเภอบางละมุงอำเภอสันป่าตองอำเภอหนองหงส์อิศอม ชะร็อฟอิซาเบลลา รอสเซลลินีอินฟันเตมิเกล ดยุกแห่งวีเซวอู่กรุงเทพอู๋ เมิ่งต๋าอีดี อามินอีนิด ไบลตันอนันต์ ผลอำนวยอนุสรณ์ วงศ์วรรณฮอลลีวูดฮัม แท-ย็องฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ผัน บุญชิตผิน ชุณหะวัณผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข?ผจญภัยโพ้นทะเลฌ็อง-ดอมีนิก โบบีจอร์จ สเตรตจอห์น ดูอีจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดเชียงใหม่จิกมี ทินเลย์จินดา ศิริมานนท์จดหมายเหตุธวัชชัย สมุทรสาครธงชาติลาวธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์เซอร์ไบจานธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจานธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซธงชาติอาเซอร์ไบจานธงชาติอุรุกวัยธงชาติอียิปต์ธงชาติปวยร์โตรีโกธงชาติเอริเทรียธนาคารกรุงเทพถัด พรหมมาณพถัง กั๋วเฉียงถาวร เกียรติไชยากรทบิลีซีทรีฟ ลีทรง องค์ชัยวัฒนะทรนง ศรีเชื้อทฤษฎีระบบควบคุมทอง ตรีธาราทาริกา ธิดาทิตย์ทางรถไฟสายแม่กลองทาเกสเชาทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิกท่าอากาศยานฟุกุโอะกะท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพขวัญชัย เพชรร้อยเอ็ดขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ดยุกแห่งเอดินบะระดัสแอร์สเทอดาฮิร์ ริยาเล คาฮินดิเรก ชัยนามดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกาคริสโตเฟอร์ วอลเคนคริสโตเฟอร์ ดอยล์คะเนะโกะ อิเกะดะคันจิคำนิยมเพชรพระอุมาคำไต สีพันดอนคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคณะมนตรีนอร์ดิกคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะองคมนตรีไทยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณิต สาพิทักษ์คนุท ฮัมซุนงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษงานประกาศผลรางวัลออสการ์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 24ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีตรี ด่านไพบูลย์ตำบลช้างเผือก (อำเภอเมืองเชียงใหม่)ตูโปเลฟ ตู-16ตีจี อูโนซัลบาโด ดาลีซีกฟริด เอดสเตริมซีลอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ซีเกมส์ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ประพนธ์ สุนทรจามรประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศบาฮามาสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฟินแลนด์ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1952ประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1952ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1952ประเทศกานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1952ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศภูฏานใน พ.ศ. 2495ประเทศมาเลเซียใน ค.ศ. 1952ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1952ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสวีเดนใน ค.ศ. 1952ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1952ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศคอโมโรสใน ค.ศ. 1952ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศไทยใน พ.ศ. 2495ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 1952ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเวียดนามในโอลิมปิกประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ปรากฏการณ์โลกร้อนปรีชา ผ่องเจริญกุลปลาไข่อองปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ปาล พนมยงค์ปาโอโล ปาโอเลตตีป๋วย อึ๊งภากรณ์นักฟุตบอลแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอลนักกีฬาโอลิมปิกอิสระในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)นาราดา ไมเคิล วอลเดนนารีมาน ศอดิกนางงามจักรวาลนิพนธ์ พร้อมพันธุ์น้อม อุปรมัยแบร์ต ฟัน มาร์ไวก์แพทริก สเวซีแมงมุมเพื่อนรักแม่ชีเทเรซาแม่นากพระโขนงแรมง ดอแมแน็กแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560แถบอักษรข่าววิ่งแถมสุข นุ่มนนท์แคลส์ โอลเดนเบิร์กแคล้ว นรปติแคว้นซาร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952แคนาด อินส์ สเตเดียมแปลก พิบูลสงครามโฟล์กสวาเกน บีเทิลโภคิน พลกุลโมฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟโยะชิโอะ ชิระอิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชโรงพยาบาลสิงห์บุรีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โรงพยาบาลตำรวจโรงเรียนบูรณะรำลึกโรงเรียนพิบูลประชาสรรค์โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัยโรงเรียนวอนนภาศัพท์โรงเรียนวัดนาวงโรงเรียนวิสุทธรังษีโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯโรงเรียนสมถวิลโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตรโรงเรียนสุรนารีวิทยาโรงเรียนสตรีวิทยาโรงเรียนสตรีเลยโรงเรียนอุตรดิตถ์โรงเรียนอนุบาลสมุทรสงครามโรงเรียนผดุงกิจวิทยาโรงเรียนทุ่งสงโรงเรียนนายร้อยตำรวจโรงเรียนนายเรือโรงเรียนเมืองพัทยา 7 (บ้านหนองพังแค)โรงเรียนเลยพิทยาคมโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียวโรเจอร์ มิลลาโอลิมปิกฤดูร้อน 1952โฮนีอาราโทรทัศน์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2495โทรทัศน์ประเทศเยอรมนีใน ค.ศ. 1952โทรทัศน์ในประเทศไทยไชยา สะสมทรัพย์ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้วไทยรัฐไคเซิร์สเลาเทิร์นเบญจมินทร์เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เบนนี เออร์คิวเดซเพลิงโอลิมปิกเพนแท็กซ์เพ็ญศรี พุ่มชูศรีเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญเกรียง กัลป์ตินันท์เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเมลามีนเมธ รัตนประสิทธิ์เยาวเรศ ชินวัตรเรอูนียงเล เลือง มิญเลขาธิการสหประชาชาติเลโอนิด เบรจเนฟเสริม วินิจฉัยกุลเสาวนีย์ อัศวโรจน์เสือดาวหิมะเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์เหรียญรัตนาภรณ์เอฟบีที (บริษัท)เอส-2 แทรคเคอร์เอสตาจีอูดูโมรุงบีเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์มิดเดิลเวท แชมเปียนชิปเอเวอรี บรันดิจเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรีเจฟฟ์ โกลด์บลุมเจมส์ บอนด์เจมส์ ดี. วัตสันเจสส์ แม็กแมนเจป็อปเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอนเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์เจ้าหญิงเต่งกะด๊ะเจ้าหนูปรมาณูเจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5เทร์รี โอควินน์เทศบาลนครอุดรธานีเทศบาลเมืองสะเดาเขมรแดงเขื่อนเจ้าพระยาเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐมเดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ทเครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรียเคเอฟซีเตรียม ชาชุมพรเตียง ศิริขันธ์เฉิน ข่ายเกอเซียร์เกย์ จูคอฟเปรีโก เฟร์นันเดซเนลสัน แมนเดลาเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 19521 ธันวาคม10 มีนาคม10 ตุลาคม11 กรกฎาคม11 มีนาคม12 พฤษภาคม13 สิงหาคม14 มิถุนายน14 ธันวาคม15 พฤศจิกายน15 กันยายน15 มิถุนายน16 กันยายน16 มกราคม16 เมษายน18 มกราคม18 สิงหาคม19 พฤษภาคม2 กุมภาพันธ์2 มกราคม20 พฤษภาคม20 มิถุนายน20 ตุลาคม21 กุมภาพันธ์22 กันยายน22 ตุลาคม23 กรกฎาคม23 สิงหาคม23 ตุลาคม24 มกราคม24 ตุลาคม25 กรกฎาคม25 กันยายน25 มกราคม26 กรกฎาคม26 กุมภาพันธ์26 มกราคม27 ธันวาคม28 กรกฎาคม28 มกราคม28 เมษายน3 กุมภาพันธ์3 สมุนจอมป่วน5 ธันวาคม52 (แก้ความกำกวม)6 กุมภาพันธ์7 พฤษภาคม7 มกราคม7 มิถุนายน7 สิงหาคม7 ตุลาคม8 พฤศจิกายน9 สิงหาคม ขยายดัชนี (614 มากกว่า) »

บลูริบบันด์

้วยรางวัลของเฮลส์ บลูริบบันด์ (Blue Riband) เป็นชื่อรางวัลที่มอบให้กับเรือที่เป็นเจ้าของสถิติเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเวลาน้อยที่สุด โดยยึดถือจากความเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทาง บลูริบบันด์มีที่มาจากการแข่งขันของบริษัทเดินเรือทะเลข้ามมหาสมุทรแอนแลนติก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1860 เพื่อใช้ประกาศต่อสาธารณชน และแสดงภาพพจน์ของบริษัท โดยแบ่งออกเป็นสองรางวัล มอบให้เรือที่ครองสถิติการเดินทางขาไปทางทิศตะวันออก (eastbound) จากทวีปอเมริกาไปทวีปยุโรป และขาไปทางทิศตะวันตก (westbound) จากทวีปยุโรปไปทวีปอเมริกา ต่อมาในปี ค.ศ. 1935 เซอร์แฮโรลด์ เฮลส์ นักการเมืองและเจ้าของบริษัทเดินเรือทะเลชาวอังกฤษ ได้ริเริ่มมอบถ้วยรางวัล ชื่อว่า "เฮลส์ โทรฟี" (Hales Trophy) สร้างด้วยเงิน มีความสูง 1.2 เมตร น้ำหนักประมาณ 46 กิโลกรัม สลักชื่อเรือที่ครองสถิติ มอบให้กับเรือที่ได้รางวัลบลูริบบันด์นี้ ปัจจุบัน ถ้วยรางวัลของเฮลส์อยู่ในการครอบครองของเรือ เอสเอส ยูไนเต็ดสเตตส์ สัญชาติอเมริกัน ที่ทำลายสถิติของเรือ อาร์เอ็มเอส ควีนแมรี สัญชาติอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1952 ทั้งขาตะวันออกด้วยสถิติ 3 วัน 20 ชั่วโมง 42 นาที (เฉลี่ย 35.59 นอต) และขาตะวันตกด้วยสถิติ 3 วัน 12 ชั่วโมง 12 นาที (เฉลี่ย 34.51 นอต) และยังเป็นเจ้าของสถิติขาตะวันตกอยู่จนถึงทุกวันนี้ ถ้วยรางวัลเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ของท่าเรือคิงสพอยน์ นิวยอร์ก สันนิษฐานว่าคำว่า Blue Riband นี้มีรากศัพท์มาจากคำว่า "Cordon Bleu" ซึ่งเป็นแถบแพรที่ใช้กับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Order of the Holy Spirit ของฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบลูริบบันด์ · ดูเพิ่มเติม »

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง

นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชาญชัย ชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

บานเย็น รากแก่น

นเย็น รากแก่น (14 ตุลาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน-หมอลำ) ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบานเย็น รากแก่น · ดูเพิ่มเติม »

บิลาดี บิลาดี บิลาดี

ลาดี บิลาดี บิลาดี (بلادي بــلادي بلادي) เป็นเพลงชาติของประเทศอียิปต์ ที่ใช้ขับร้องในปัจจุบัน บทร้องประพันธ์โดย มูฮัมมัด ยูนุส อัลกอดี (محمد يونس القاضي) และ เรียบเรียงทำนองโดย ซัยยิด ดัรวีช (سيد درويش) ซึ่งความจริงนั้นคือ บทร้องของเพลงนี้มาจากสุนทรพจน์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของ มุสตาฟา คาเมล ประกาศใช้อย่างเป็ทางการเมื่อ พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบิลาดี บิลาดี บิลาดี · ดูเพิ่มเติม »

ชิน โสภณพนิช

นายชิน โสภณพนิช (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 4 มกราคม พ.ศ. 2531) นักธุรกิจ, นักการเงิน-การธนาคารชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีชื่อเสียง เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชิน โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ

มิยะโมะโตะ ในงานนิทรรศการเกม e3 ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ผู้บริหารของนินเทนโด เป็นผู้คิดค้นเกม มาริโอ ดองกีคอง ตำนานแห่งเซลดา และเกมอื่นของนินเทนโด และเป็นผู้ควบคุมการผลิตเกมหลายเกม รวมถึงล่าสุดนินเทนโด วี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชิเงะรุ มิยะโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชัย บำรุงพงศ์

ลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 12 กันยายน พ.ศ. 2538) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหารบก ลำดับที่ 20 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 - 30 กันยายน 2519 เป็นบุตรนายยัง และนางแพ บำรุงพงศ์ สมรสกับคุณหญิงจรัสลักษณ์ บำรุงพงศ์ บุญชัยสำเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุญชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์

นายบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2495) หรือ บุณยวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ หรือชื่อเดิม บุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บี-52 สตราโตฟอร์เทรส

ี-52 สตราโตฟอร์เทรส (B-52 Stratofortress) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์พลังไอพ่นพิสัยไกลที่ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 สร้างโดยบริษัทโบอิง แอร์เพลน คัมปะนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบี-52 สตราโตฟอร์เทรส · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ้านมนังคศิลา

้านมนังคศิลา บ้านมนังคศิลา ตั้งอยู่เลขที่ 514 ถนนหลานหลวง แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบ้านที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) อดีตอธิบดีกรมชาวที่ ผู้มีหน้าที่ดูแลพระราชฐานที่ประทับทั้งหมด และพระราชทานชื่อบ้านนี้ว่า "มนังคศิลา" อันหมายถึงที่ประทั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบ้านมนังคศิลา · ดูเพิ่มเติม »

บ๋าว นิญ

๋าว นิญ (Bảo Ninh) นักเขียนชาวเวียดนาม เกิดที่ ฮานอยเมื่อ พ.ศ. 2495 ช่วงสงครามเวียดนาม เขาเป็นทหารสังกัดกองพลน้อยยุวชนที่ 27 ที่เข้ารบในสมรภูมิเวียดนามใต้ และเป็นหนึ่งในทหารสังกัดกองพลนี้ไม่กี่คนที่รอดชีวิตกลับมา เขาเริ่มเขียนนวนิยายเมื่อ พ.ศ. 2512 ขณะอายุ 17 ปี นวนิยายเรื่องแรกของเขาคือ "ปวดร้าวแห่งสงคราม" ตีพิมพ์ในเวียดนามเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบ๋าว นิญ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส คริก

ฟรานซิส คริก ฟรานซิส คริก (Francis Harry Compton Crick OM FRS (8 มิถุนายน พ.ศ. 2459 – 28 กรกฎาคม 2547) นักอณูชีววิทยาชาวอังกฤษ นักฟิสิกส์และนักประสาทวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของ “กรดดีออกซีไรโบนิวคลิอิก” หรือ “ดีเอ็นเอ” เมื่อ พ.ศ. 2496 ฟรานซิส คริก กับ เจมส์ ดี. วัตสัน ผู้ร่วมค้นพบ ได้ร่วมรับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา หรือ การแพทย์ “สำหรับการค้นพบที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลิอิกและความสำคัญของมันในการถ่ายทอดข้อมูลสำคัญในสิ่งมีชีวิต” งานของฟรานซิส คริกในช่วงหลังจนถึงปี พ.ศ. 2520 ที่หอทดลองอณูชีววิทยา “เอ็มอาร์ซี” หรือ “สภาวิจัยทางการแพทย์” (MRC-Medical Research Council) ไม่ได้รับการยอมรับเป็นทางการมากนัก ในช่วงท้ายในชีวิตงาน คริกได้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เมธีวิจัย “เจ ดับบลิว คีกเคเฟอร์” ที่ “สถาบันซอล์คชีววิทยาศึกษา” ที่เมืองลาโฮลา รัฐแคลิฟอร์เนีย และได้ดำรงตำแหน่งนี้จนสิ้นชีวิตเมื่ออายุได้ 88 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฟรานซิส คริก · ดูเพิ่มเติม »

ฟัฎลุลลอหฺ

ฟัฎลุลลอหฺ อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ (محمد حسين فضل الله‎; 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) ในเมืองนะญัฟ ประเทศอิรัก ตระกูลของท่านสืบเชื้อสายมาจากนบีมุฮัมมัด บิดาของท่านได้อพยพไปอาศัยอยู่ในเมืองนี้ เพื่อศึกษาหาความรู้ศาสนา ในสถาบันการศึกษาต่างๆ จนได้กลายเป็นผู้รู้ท่านหนึ่ง อันเป็นที่ยอมรับกันในสมัยนั้น อายะตุลลอหฺ ฟัฎลุลลอหฺ จึงได้รับการเลี้ยงดูจากบิดาอย่างดีและเติบโตในครอบครัวที่มีเกียรติ มีนิสัยใจคอเป็นที่รักมักใคร่ของคนข้างเคียง ตั้งแต่ยังเยาว์วัย มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ได้ศึกษาหาความรู้ ความอัจฉริยะของท่านได้ปรากฏขึ้นตั้งแต่ท่านได้เริ่มอ่านตำราไวยากรณ์ อัลอัจญ์รูมียะห์ และตำราไวยากรณ์กอฏรุ อันนะดา ตั้งแต่ยังอายุเก้าขวบ ถึงแม้ท่านจะมุ่งหน้าศึกษาทางวิชาการศาสนาในสำนักการศึกษาแบบเฮาซะห์ แต่หนังสือที่ท่านชอบอ่านก็คือหนังสือวารสารทั่วไป โดยเฉพาะที่พิมพ์ในอิยิปต์ และชอบติดตามข่าวและเหตุการณ์โลก แต่สิ่งที่ท่านทำเป็นประจำตั้งแต่อายุสิบขวบก็คือการแต่งบทกวี อาจารย์ท่านแรกของท่านก็คือบิดาที่รักของท่านเอง คือท่านซัยยิด อับดุลร่ออูฟ ฟัฎลุลลอหฺ ท่านได้ศึกษาวิทยาการศาสนาตั้งแต่ต้น จนถึงอุดมศึกษาที่เรียกว่า สุฏูฮฺ ต่อมาก็ศึกษาวิชาไวยากรณ์ภาษาอาหรับ ภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์ รากฐานนิติศาสตร์ และนิติศาสตร์อิสลาม ต่อมาได้ไปศึกษากับอาจารย์ชาวอิหร่านชื่อ เชค มุจญ์ตะบา อัลนักรอนี หลังจากนั้นจึงศึกษาศาสนาระดับอุดมศึกษาชั้นสูง ซึ่งเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่เรียกว่า บะฮัษ อัลคอริจญ์ ซึ่งมีเหล่าอายะตุลลอหฺ และบรรดามุจตะฮิจ เป็นอาจารย์ หนึ่งในอาจารย์ของท่านก็คือ อายะตุลลอหฺ อัลคูอีย์ ผู้ลือนาม อายะตุลลอหฺ มุฮฺซิน อัลฮะกีม อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด อัชชะหัรวัรดีย์ อายะตุลลอหฺฮุเซน อัลฮิลลีย์ นอกจากนี้ ท่านยังได้ศึกษาวิชาปรัชญา จากตำรา อัลอัซฟาร อัลอัรบะอะหฺ ของท่านมุลลา ศอดรอ อัชชีรอซีย์ โดยมีท่านศอดรอ อัลบาดิกูบีย์ เป็นอาจารย์ ในช่วงที่ท่านยังศึกษาอยู่นั้น ท่านได้มีส่วนร่วมในการจัดการตีพิมพ์วารสาร อัลอัฎวาอ์ ที่ตีพิมพ์ในนะญัฟ หลังจากที่ท่านจบการศึกษาในปี พ.ศ. 2495 ท่านได้กลับไปเยี่ยมประเทศเลบานอน หนังสือพิมพ์เลบานอนได้เริ่มรู้จักท่าน เมื่อท่านได้กล่าวบทกวีไว้อาลัยที่แหวกแนวในพิธีอัรบะอีน รำลึกสี่สิบวันหลังการเสียชีวิตของอายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด มุฮฺซิน อัลอะมีน ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ท่านได้รับเชิญให้เดินทางกลับไปอาศัยอยู่ในเลบานอน เพื่อเป็นอาจารย์สอนประชาชนในเบรูตตะวันออก ตั้งแต่นั้นมา ท่านก็ได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำทางจิตใจของชาวเลบานอน และประชาชนประเทศใกล้เคียง ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อฟื้นฟูสังคม โดยเน้นเรื่องการศึกษาเป็นหลัก ตั้งแต่นั้นมา ท่านก็ได้เปิดโรงเรียนและสถาบันการศึกษา 22 ที่ ในท้องถิ่นต่างๆ และยังมีสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่ศาสนาอีกด้วย นอกจากนี้ ท่านยังได้ใช้เวลาที่เหลือประพันธ์หนังสือรวมแล้วประมาณ 50 เล่ม หนึ่งในจำนวนนั้นเป็นหนังสืออรรถาธิบายอัลกุรอานซึ่งมีความหนาถึง 24 เล่ม ท่านเป็นหนึ่งในผู้นำไม่กี่คนที่เน้นการศึกษาแบบทันสมัย สนับสนุนความสามัคคีระหว่างมุสลิมทุกมัซฮับ จึงไม่น่าแปลกใจ หากเราได้เห็นผู้ที่เข้ามาศึกษากับท่านนั้น ไม่ได้นับถือมัซฮับของท่าน ท่านเป็นผู้ก่อตั้งขบวนการอิสลามในอิรัก พร้อมกับอายะตุลลอหฺ บากิร อัศศอดัร ในช่วงต้นของคริสต์ทศวรรษ 1970 ท่านได้ร่วมในการปฏิวัติอิหร่าน ท่านได้เป็นหนึ่งในผู้นำการขบวนการอิสลามในเลบานอน เพื่อต่อต้านการรุกรานของอิสราเอล ผลที่ตามมาก็คือ ขบวนการซีไอเอได้พยายามลอบสังหาร (ยอมรับโดยวิลเลี่ยม เคซีย์ ประธาน ซีไอเอ) โดยการบรรจุระเบิดในรถ แล้วนำมาจอดใกล้บ้านท่าน ทำให้มีผู้คนเสียชีวิต 80 คน และบาดเจ็บสาหัสอีกประมาณ 200 คน แต่ท่านรอดพ้นจากระเบิดนี้อย่างหวุดหวิด เพราะท่านกลับมาถึงบ้านช้าเพียงไม่กี่นาที นอกจากนี้ท่านยังถูกหน่วยจารกรรมของประเทศอาหรับลอบทำร้ายอีก 3 ครั้ง แต่ท่านก็รอดพ้นไปทุกครั้ง ครั้งที่สามนั้นเป็นขีปนาวุธที่ตกลงมาในห้องนอนของท่านก่อนละหมาดซุบฮิ ส่วนหน่วยจารกรรมอิสราเอลก็ได้เข้าทำร้ายท่านในมัสยิดบิรุลอับดิ แต่ท่านก็รอดไปได้อย่างเหลือเชื่อ และอีกหลายครั้งที่อิสราเอลส่งขีปนาวุธลงมาบนบ้านของท่าน จนกระทั่งบุตรของท่านคนหนึ่งในบ้านถูกขีปนาวุธนี้ อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ผู้อาจหาญเสี่ยงภัย เดินทางไปมาระหว่างซีเรียและเลบานอน ทุก ๆ สัปดาห์ ท่านได้เดินทางไปประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส อินเดีย อิหร่าน อัลจีเรีย และอื่น ๆ เพื่อพบปะและเผยแผ่ศาสนาอิสลาม ท่านมีประสบการณ์กว้างขวาง ทุกคำพูดและทุกวาจาของท่านมีค่า ใครที่ได้เข้าไปพบเห็นท่านจะรู้สึกรักและชอบท่านทันที นั้นก็เพราะความสุภาพอ่อนโยนของท่าน ผู้คนที่เข้ามาเรียนกับท่าน มาพบปะท่าน มาถามปัญหาศาสนา ต่าง ๆ นานา วันละ 14 - 15 ชั่วโมง ทำให้ท่านไม่ค่อยมีเวลาสำหรับส่วนตัวเลย ผู้คนต่างสงสัยว่าท่านยังมีเวลาที่ไหนไปอ่านหนังสือพิมพ์จนทันกับเหตุการณ์โลก ดวงตาที่อ่อนเพลียทำให้เรารู้ได้ว่า บุคคลคนนี้นอนน้อย แต่ท่านก็เป็นอย่างนี้มานานแล้ว อายะตุลลอหฺ มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ เป็นมัรญิอฺที่มีชื่อท่านหนึ่ง รองจาก ท่านอายะตุลลอหฺ ซีซตานีย์ อายะตุลลอหฺ อัชชีรอซีย์ และ อายะตุลลอหฺ คอเมเนอี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฟัฎลุลลอหฺ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ

รชิ ฟุจิโมโตะ ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ (ญี่ปุ่น: 藤子 不二雄, ฮิรางานะ: ふじこ ふじお, Fujiko Fujio) (1 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 23 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นนามปากกา ของคู่นักวาดการ์ตูนมีผลงานมากมาย โดยมีเรื่องที่โด่งดังคือ โดราเอมอน ของ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฟุจิโกะ ฟุจิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย

ฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากเชโกสโลวาเกียในช่วงปี พ.ศ. 2465-พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1922-1993) ภายหลังประเทศนี้ได้แยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ทีมชาติจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นทีมชาติเช็กเกียและทีมชาติสโลวาเกีย ปัจจุบันทีมชาติเช็กเกียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติเชโกสโลวาเกียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า ทีมชาติเชโกสโลวาเกียนี้ได้อันดับรองชนะเลิศในฟุตบอลโลก 2 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1934 และฟุตบอลโลก 1962 ชนะเลิศฟุตบอลยูโร ในฟุตบอลยูโร 1976 และยังคงได้เหรียญทองฟุตบอลโอลิมปิก 1980 ที่มอสโก และเหรียญเงินโอลิมปิก 1964 ที่ โตเกียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฟุตบอลทีมชาติเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออก

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออก เป็นฟุตบอลทีมชาติจากเยอรมนีตะวันออก ในช่วงปี ค.ศ. 1952-ค.ศ. 1990 ภายหลังเยอรมนีตะวันตกและตะวันออกได้รวมประเทศเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทีมชาติเยอรมนีตะวันตกและตะวันออกจึงได้รวมกันเป็นฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี ในฟุตบอลโลก เยอรมนีตะวันออกได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายครั้งแรกและครั้งเดียวในฟุตบอลโลก 1974 และในรอบแรก เยอรมนีตะวันออกชนะเยอรมนีตะวันตกไปได้ 1-0 จากการยิงประตูของเจอร์เกน สปาร์วัสเซอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ

นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์

ระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ ตั้งอยู่ที่ ตำบลดอนเจดีย์ อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระคชาธารออกศึก และองค์เจดีย์ยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสร้างเจดีย์ขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะในสงครามยุทธหัตถีที่ทรงมีต่อพระมหาอุปราชาแห่งพม่า เมื่อเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2135 และในปี พ.ศ. 2495 กองทัพบกได้บูรณปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ขึ้นใหม่ โดยสร้างเป็นเจดีย์แบบลังกาทรงกลมใหญ่ สูง 66 เมตร ฐานกว้างด้านละ 36 เมตร ครอบเจดีย์องค์เดิมไว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จไปประกอบพิธีบวงสรวงและเปิดพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2502 ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดให้วันที่ 25 มกราคม ของทุกปี เป็นวันถวายราชสักการะพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ พร้อมกันนั้นทางจังหวัดได้จัดให้มีงานเฉลิมฉลองพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ทุกปี เลยจากเจดีย์ไปประมาณ 100 เมตร เป็นที่ตั้งของ พระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายในมีรูปปั้นของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุพรรณกัลยา มีผู้นิยมไปสักการบูชาอยู่เสมอ วันกองทัพไทย รัฐบาลได้กำหนดวันกองทัพไทยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดศรีสะเกษ‎ ค หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (ธรรมยุติกนิกาย).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี)

อำมาตย์เอก พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตประธานศาลฎีกา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษษฎีกา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติว่าด้วยการขึ้นทะเบียนแห่งชาติ

ระราชบัญญัติว่าด้วยการขึ้นทะเบียนแห่งชาติ เป็นพระราชบัญญัติแห่งรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งผ่านเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1939 เพื่อใช้เป็นมาตรการฉุกเฉินระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พระราชบัญญัติดังกล่าวมีผลให้เกิดการก่อตั้งสำนักขึ้นทะเบียนแห่งชาติ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน 1939 เป็นต้นไป รวมไปถึงการใช้บัตรประชาชน และเอกสารที่จำเป็นไปรายงานตัวต่อตำรวจภายใน 48 ชั่วโมง กฎหมายฉบับดังกล่าวถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชบัญญัติว่าด้วยการขึ้นทะเบียนแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์สถานที่ประกอบพระราชพิธีราชาภิเษก พระราชพิธีราชาภิเษกพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร เป็นพระราชพิธีซึ่งพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ ตลอดจนรัฐในเครือจักรภพ รวมทั้งคู่อภิเษกสมรสของพระองค์ จะทรงประกอบเพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจสูงสุดเหนือประเทศเหล่านั้น พระราชพิธีราชาภิเษกนี้มีจัดขึ้นในทุกประเทศที่ปกครองโดยมีระบบกษัตริย์เป็นประมุข แม้แต่พระสันตะปาปาแห่งนครรัฐวาติกันก็ทรงประกอบพิธีนี้เช่นกัน พระราชพิธีนี้โดยมากมักจะจัดขึ้นหลังจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนเสด็จสวรรคตไปแล้วพอสมควร เพื่อที่จะได้มีเวลาพอสำหรับพระราชพิธีพระบรมศพสำหรับกษัตริย์พระองค์ก่อน และมีการเตรียมความพร้อมสำหรับกษัตริย์พระองค์ใหม่ด้วย ดังเช่นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 แต่ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2496, พระราชพิธีนี้มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธาน ในฐานะศาสนาจารย์อาวุโสสูงสุดของคริสตจักรแห่งอังกฤษ พระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีของทุกประเทศจะเข้าร่วมในพระราชพิธีนี้ รวมทั้งอาจมีแขกของรัฐบาลอีกเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่

ระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ เป็นพระราชพิธีที่ยึดถือปฏิบัติตามประเพณีไทยแต่โบราณ ซึ่งเป็นประเพณีรับขวัญ ให้กับพระราชโอรส พระโอรส, พระราชธิดา พระธิดา ที่ประสูติใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

ระราชสุทธิโสภณ พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) (นามเดิม:ประทวน เส็งจีน) เจ้าคณะจังหวัดชัยนาท และเจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่ารูปปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 ณ บ้านเลขที่ 49 หมู่ 1 ตำบลหนองบัว อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท บิดาชื่อ ช่วง เส็งจีน มารดาชื่อ พยุง เส็งจีน ท่านบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 ณ วัดบำรุงธรรม ตำบลหนองบัว อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท โดยมีพระปลัดเจริญ วัดพาณิชวนาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2495 ณ วัดบำรุงธรรม ตำบลหนองบัว อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท โดยมีพระปลัดเจริญ วัดพาณิชวนาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาสำราญ กาญจนาโภ (พระมงคลชัยสิทธิ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่า, อดีตเจ้าคณะอำเภอวัดสิงห์) วัดใหม่บำรุงธรรม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระบำเรอ กิตฺติญาโณ วัดใหม่บำรุงธรรม เป็นพระอนุสาวนาจาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ เป็นพระธิดาใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช ที่ประสูติแต่หม่อมชุ่ม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้า เมื่อพระชันษาได้ 3 ชันษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระนาม ว่า “มนัศสวาสดิ์” พ.ศ. 2430 เมื่อพระชนมายุครบเกณฑ์เกศากันต์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จเข้าในพระราชพิธีโสกันต์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงภัทรายุวดี มีขบวนแห่รอบใน และได้ทรงสวมพระชฎาพระราชทานเป็นเกียรติยศในวันสมโภช เมื่อเกศากันต์แล้ว ได้เข้ารับราชการในพระราชสำนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2436 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายใน โดยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถทรงดำรงตำแหน่งมหาสวามินีแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าว จึงโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์เข้าเป็นพนักงานสำหรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ด้วยพระองค์หนึ่ง พ.ศ. 2443 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการเป็นพระอภิบาล ใน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ฯ โดยได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวจนสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอฯ ทรงเจริญวัย สำเร็จการศึกษากลับจากต่างประเทศ ดำรงพระอิสริยยศ เป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เสด็จออกวังประทับนอกพระบรมมหาราชวัง หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์ก็ตามเสด็จไปประทับอยู่ด้วย เพื่อถวายงานดูแลกิจการในวัง แม้เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมนเทียรเป็น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้ว หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์ก็ยังทรงอยู่ถวายงานมิได้ขาด โดยเฉพาะการควบคุมห้องเครื่องต้น ซึ่งเป็นหน้าที่ที่ทรงทำตลอดรัชกาล พ.ศ. 2472 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ที่จะทรงทดแทนคุณูปการซึ่งได้มีมาแต่พระองค์ในหนหลัง กับทั้งให้เป็นที่เชิดชูพระเกียรติยศแด่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระบรมราชโองการฯ ดำรัสสั่งให้สถาปนาหม่อมเจ้ามนัศสวาสดิ์ ศุขสวัสดิ ขึ้นเป็นพระองค์เจ้า มีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎ ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ วรรคอุตสาห ทรงศักดินา 3,000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นั้น โดยที่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ มีพระหฤทัยมั่นคงที่จะปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณโดยมิได้คลาดคลาย มุ่งหมายเพื่อให้ทรงพระเกษมสุขสถาพรเป็นที่ตั้ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระเมตตารับอุปการะโดยประการต่าง ๆ อาทิ ให้สร้างวังพระราชทานบนที่ดินของกรมพระคลังข้างที่ ที่ถนนพระอาทิตย์ ซึ่งปัจจุบันคือ ที่ทำการของ พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ทรงให้จ่ายเงินพระคลังข้างที่สมทบบัญชีเงินพระราชานุเคราะห์ เพื่อจ่ายผลประโยชน์พระราชทานเป็นรายเดือนให้จนตลอดพระชนมายุ และอื่น ๆ เป็นต้น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ ประชวรด้วยพระโรคชรา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 สิริพระชนมายุได้ 76 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทานในสัตตมวารแรก และมีพิธีออกเมรุพระศพเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พระสุนทรโวหาร (ภู่)

ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระสุนทรโวหาร (ภู่) · ดูเพิ่มเติม »

พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)

ระอุดมญาณโมลี นามเดิม จันทร์ศรี แสนมงคล ฉายา จนฺททีโป หรือ หลวงปู่ใหญ่ (10 ตุลาคม 2454-14 ธันวาคม 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)

ระธรรมวงศาจรย์ (สุข สุขโณ) หรือ หลวงปู่สุข (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554)พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระธรรมวงศาจารย์ สุวิธาน ปริยัติกิจ อนุสิฐธรรมสุนทร ปสาทกร ภาวนาวิสิฐ มหาคณิสรร บวรสังฆาราม คามวาสี อดีตเจ้าอาวาสวัดกลาง จังหวัดกาฬสินธุ์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)

ระธรรมปัญญาบดี นามเดิม ถาวร เจริญพานิช ฉายา ติสฺสานุกโร (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

ระธรรมโสภณ หรือ หลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร (30 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวัดสุทธจินดา,เจ้าสำนักเรียนวัดสุทธจินดา, ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทธจินดา, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ดูแลคณะสงฆ์ 6 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำภูและ บึงกาฬ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งคูหาคฤหาสน์

ระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ ภายในถ้ำพระยานคร พระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ ตั้งอยู่ ณ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ปัจจุบันไม่เปิดให้คนเข้าชม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร)

ระครูรัตนสราธิคุณ หรือ หลวงพ่อทอง รัตนสาโร (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2523) อดีตเจ้าคณะอำเภอสระแก้ว พระอาจารย์ผู้บุกเบิกวัดสระแก้วด้วยความลำบากตรากตรำอย่างยิ่ง ท่านได้บูรณะซ่อมแซมปฏิสังขรณ์วัดเมื่อครั้งสมัยสงครามอินโดจีนติดต่อกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงเวลาที่ข้าวยากหมากแพง ชาวบ้านยากจน มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ท่านได้ให้พระภิกษุในวัดถางไร่เพื่อปลูกข้าวและปลูกพืช จนได้ข้าวปลาอาหารเลี้ยงพระภิกษุสามเณรในวัด เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของชาวบ้าน ปัจจุบันท่านได้เกณฑ์พระภิกษุ สามเณร เด็กวัด และ ชาวบ้านร่วมกันปลูกอ้อย ปลูกข้าวโพด และพืชยืนต้นต่าง ๆ ในสวนที่นายเว่าและนางตื้อถวายแก่วัด เพื่อนำผลประโยชน์มาบำรุงวัดต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระนาย สุวรรณรัฐ

ระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารชายแดนใต้ (ผอ.ศอ.บต.) พื้นเพเป็นคนกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ เคยตามบิดาซึ่งเป็นข้าหลวงไปปราบโจรสลัดทะเลสาบ เดินทางไปเติบโตที่จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2495 หลังจากนั้นจึงได้ย้ายมาศึกษาที่กรุงเทพฯ อีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระนาย สุวรรณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย

มเด็จพระเจ้าซ็อกที่ 1 สคันเดอร์เบ็กที่ 3 แห่งแอลเบเนีย (Zog I, Skanderbeg III) พระนามเดิม อาเหม็ด มุห์ตา เบย์ โซโกลลี ภายหลังเปลี่ยนเป็น อาเหม็ด โซกู (8 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 9 เมษายน พ.ศ. 2504) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2482 ก่อนหน้านั้นพระองค์ทรงเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2465 - 2467) และประธานาธิบดีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2468 - 2471).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร)

ระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร) (นามเดิม: สีนวล เรืองอำพันธ์) (29 มิถุนายน 2482 - ปัจจุบัน) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 15.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเทพวีราภรณ์ (สีนวล ปญฺญาวชิโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พฤณท์ สุวรรณทัต

ลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชุดที่ 3 อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพฤณท์ สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

พันธ์เลิศ ใบหยก

ันธ์เลิศ ใบหยก ประธานกรรมการเครือโรงแรมใบหยก เจ้าของตึกใบหยก 2 และอดีตรองเลขาธิการพรรคไทยรักไทยคนแรก (ชุดจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพันธ์เลิศ ใบหยก · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา

ัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ตั้งอยู่บริเวณวัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร ทางทิศตะวันออก ถนนรักษ์นรกิจ ตำบลเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยพระครูโสภณเจตสิการาม(เอี่ยม) เป็นผู้เริ่มก่อตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2478 ต่อมาปี พ.ศ. 2493 พระครูอินทปัญญาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) เป็นผู้เริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ถาวรแห่งแรกให้แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2495 ต่อมากรมศิลปากรได้งบประมาณสร้างอาคารหลังที่ 2 ในปี พ.ศ. 2499 ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2500 หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2524 ได้ปรับปรุงขยายต่อเติมอาคารหลังแรก จัดทำครุภัณฑ์ปรับปรุงการจัดแสดงใหม่ให้ได้มาตรฐานสากล และทำพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา เป็นทางการครั้งแรกเมื่อ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ของกองทัพอากาศ

thumb พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบินแห่งชาติ เริ่มมีการจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2495 ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2495 ให้กระทรวงกลาโหมจัดตั้งพิพิธภัณฑ์การทหารของทั้ง 3 กองทัพขึ้น เพื่อจัดเป็นประวัติศาสตร์และแสดงวิวัฒนาการในทางการทหารของประเทศไทยในอดีตและปัจจุบัน จึงได้ออกคำสั่งกระทรวงกลาโหม (พิเศษ) ที่ 50/19491ลงวันที่ 26 กันยายน 2495 ตั้งคณะกรรมการพิจารณาจัดตั้งพิพิธภัณฑ์การทหาร เพื่อดำเนินการในเรื่องนี้ให้เป็นผลสมความมุ่งหมาย คณะกรรมการตามคำสั่ง กห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพิพิธภัณฑ์ของกองทัพอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

พิราวรรณ ประสพศาสตร์

ราวรรณ ประสพศาสตร์ (ชื่อเล่น: ต้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของดาราอาวุโส เฉลา ประสพศาสตร์ และ เดิมรับราชการเป็นพยาบาลกองทัพบก และเข้าทำงานเป็นพยาบาลของโรงพยาบาลเปาโล ก่อนที่จะเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยภาพยนตร์เรื่อง อยู่กับก๋ง ในบทนางเอก 1 ใน 2 คนเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพิราวรรณ ประสพศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธมณฑล

ทธมณฑล (อังกฤษ: Buddha Monthon)เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา อยู่ใน ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 2,500 ไร่ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระกึ่งพุทธกาล เมื่อ พ.ศ. 2500 มีพระพุทธรูปปางลีลาประจำพุทธมณฑล เรียกว่า พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี พระพุทธรูปนี้มีความโดดเด่นทางผ้าจีวรที่พลิ้วเหมือนจริง พระพุทธรูปนี้สร้างเสร็จและฉลอง เมื่อ พ.ศ. 2525 คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี พุทธมณฑลในปัจจุบันนอกจากจะเป็นศูนย์รวมการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาและจัดประเพณีกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว ยังเป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าไปพักผ่อนได้อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพุทธมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พุฒ ล้อเหล็ก

ล้อเหล็ก หรือชื่อจริง ทวี พิพัฒกุล เป็นนักมวยไทยระดับแถวหน้า โดยเป็นแชมป์ของสนามมวยเวทีลุมพินี และเวทีราชดำเนิน ฉายา ไอ้หนูเมืองตรัง มีชื่อเสียงระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพุฒ ล้อเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย

นายพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพจน์ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

พนัส หันนาคินทร์

ตราจารย์ ดร.พนัส หันนาคินทร์ ศาสตราจารย์ ดร.พนัส หันนาคินทร์ (19 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 มกราคม พ.ศ. 2549) อดีตอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนมัธยมสาธิตวิทยาลัยวิชาการศึกษาคนแรก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร) อดีตรองอธิการ วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก และอดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลกคนแรก เป็นผู้บุกเบิก และก่อตั้งวิทยาลัยวิชาการพิษณุโลก จนกระทั่งเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก และมหาวิทยาลัยนเรศวร ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพนัส หันนาคินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏสันติภาพ

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ขณะเดินทางมาฟังการพิจารณาคดีกบฏทั้งในและนอกราชอาณาจักร กบฏสันติภาพ ชื่อเรียกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้จับกุมประชาชนจำนวนมาก โดยอาศัยอำนาจตามความในกฎหมายลักษณะอาญา ร..127 มาตรา 102, 104, 177, 181 แล.ร..แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะอาญา (ฉบับที่ 7)..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกบฏสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏแมนฮัตตัน

กบฏแมนฮัตตัน หรือ กรณีแมนฮัตตัน ชื่อเรียกเหตุการณ์การกบฏในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เมื่อทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะกู้ชาติ" นำโดย น.ต.มนัส จารุภา ร.น.ผู้บังคับการเรือหลวงรัตนโกสินทร์ พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ นายทหารนอกราชการ อดีตผู้บังคับการกรมนาวิกโยธิน นาวาเอก อานนท์ ปุณฑริกาภา ผู้บังคับการกองสำรองเรือรบ นาวาตรี ประกาย พุทธารี สังกัดกรมนาวิกโยธิน และ นาวาตรี สุภัทร ตันตยาภรณ์ สังกัดกรมนาวิกโยธิน ทำการกบฏจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอนสัญชาติอเมริกัน ชื่อ "แมนฮัตตัน" ที่ท่าราชวรดิฐ โดยนำไปกักขังไว้ในเรือรบหลวงชื่อ "ศรีอยุธยา" ที่จอดรออยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งก่อนหน้านี้ คณะผู้ก่อการคิดจะก่อการในลักษณะเช่นนี้มาหลายครั้งแล้ว แต่ยังไม่สบจังหวะที่เหมาะสม จึงได้แต่เลื่อนออกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวลาลงมือจริง หลายฝ่ายที่ถูกชักชวนให้ลงมือก็คาดว่าจะต้องมีการเลื่อนอีกแน่นอน จึงมิได้ปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เหตุที่เลือกเอาวันนี้เป็นวันลงมือ เพราะก่อนหน้านั้นเพียงหนึ่งวัน มีการปล่อยกำลังทหารกองหนุนกลับสู่ภูมิภาค ทำให้จำนวนทหารในพระนครเหลือน้อย เรียกกลับมาประจำการไม่ทัน อีกทั้งพื้นที่บริเวณนี้ก็เป็นเขตของทหารเรือด้วย จึงลงมือได้ง่ายกว่า ในเหตุการณ์กบฏ หัวหน้าคณะก่อการ คือ น.อ.อานนท์ ปุณฑริกกาภา ร.น. สั่งการให้ทหารเรือกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการมุ่งหน้าและตรึงกำลังไว้ที่พระนคร และประกาศตั้ง พระยาสารสาสน์ประพันธ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม กระจายเสียงในฐานะนายกรัฐมนตรีจากในเรือ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลไม่ยอม ได้กระจายเสียงตอบโต้ไปโดยใช้วิทยุของกรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) โดยได้ให้นายวรการบัญชา ประธานสภาผู้แทนราษฎร รักษาการนายกรัฐมนตรีแทน และตั้งกองบัญชาการขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาล (ในขณะนั้นคือ พระที่นั่งอนันตสมาคม) จึงเกิดการต่อสู้ยิงกันอย่างหนักระหว่างทหารฝ่ายรัฐบาลและทหารฝ่ายก่อการ ซึ่งตามแผนการของผู้ก่อการแล้ว ฝ่ายก่อการต้องยึดโรงไฟฟ้าและสถานีโทรศัพท์กลาง ที่หน้าวัดราชบุรณะ (วัดเลียบ) ให้ได้ โดยเรือรบหลวงศรีอยุธยาจะต้องแล่นผ่านสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งเปิดรอ เพื่อไปตั้งกองบัญชาการที่ฝั่งพระนคร และมีกำลังทหารจากต่างจังหวัดยกเข้ามาสมทบทั้งทหารเรือและทหารบก แต่เมื่อลงมือจริง ๆ แล้วกลับไม่เป็นไปตามนั้น สะพานพระพุทธยอดฟ้าก็ไม่เปิด และในที่สุดเครื่องยนต์เรือก็เสียจากการถูกโจมตีหนัก โดยในวันที่ 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกบฏแมนฮัตตัน · ดูเพิ่มเติม »

กรมการค้าภายใน

กรมการค้าภายใน (Department of Internal Trade of Thailand) ก่อตั้งวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 ซึ่งในขณะนั้นประเทศอยู่ระหว่างสงครามประเทศไทยไม่อาจหลีกเลี่ยงผลภัยจากสงครามได้ จึงมีความจำเป็นต้องพร้อมเตรียมรับปัญหาทุกด้าน และงานเศรษฐกิจสำคัญ เช่น การพาณิชย์ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ ยังรวมอยู่ในการดูแลของกระทรวงเดียว จึงได้ยกฐานะกรมพาณิชย์ขึ้นเป็นกระทรวงพาณิชย์ และตั้งกรมการค้าภายในขึ้นในสังกัด ทำหน้าที่ดูแลงานการค้าภายในประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกรมการค้าภายใน · ดูเพิ่มเติม »

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงศึกษาวิจัยและพัฒนาทางห้องปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาด้านการสาธารณสุขและเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งตรวจวิเคราะห์เพื่อประเมินความเสี่ยงและเตือนภัยทางสุขภาพ เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมอนามัย

กรมอนามัย (Department of Health) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ระดับกรม สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งอยู่ที่ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกรมอนามัย · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกฤษณา ไกรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กัส แวน แซงต์

กัส กรีน แวน แซงต์ จูเนียร์ (Gus Green Van Sant, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน นักเขียนบท ช่างถ่ายภาพ นักดนตรีและนักเขียน เขาเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงประสบความสำเร็จด้านการกำกับสำหรับภาพยนตร์ในปี 1997 เรื่อง Good Will Hunting และผลงานในปี 2008 เรื่อง Milk และได้รับรางวัลปาล์มดอร์ ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ปี 2003 ในภาพยนตร์เรื่อง Elephant ผลงานภาพยนตร์ในด้านการเขียนและกำกับของเชาอย่างเช่น ภาพยนตร์ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของทอม ร็อบบินส์ เรื่อง Even Cowgirls Get the Blues และ My Own Private Idaho นำแสดงโดยเคียนู รีฟส์และริเวอร์ ฟีนิกซ์ (เดิมทีแวน แซงต์ วางแผนว่าจะกำกับภาพยนตร์ชีวประวัติเกี่ยวกับแอนดี้ วอร์ฮอล แสดงโดยฟีนิกซ์ แต่ก็ยกเลิกไปหลังจากที่ฟีนิกซ์เสียชีวิต) เขาเขียนบทในภาพยนตร์แรก ๆ ของเขาเอง และยังประพันธ์เรื่อง Pink นอกจากนี้ยังมีหนังสือภาพถ่ายของเขาในชื่อ 108 Portraits.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกัส แวน แซงต์ · ดูเพิ่มเติม »

กันตธีร์ ศุภมงคล

ร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกันตธีร์ ศุภมงคล · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนไทย

การ์ตูนไทย ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท โดยมีนักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น จุก เบี้ยวสกุล ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ การ์ตูน 3 ช่องจบ ออกมาเพิ่ม เช่น เบบี้ หนูจ๋า ขายหัวเราะ และ มหาสนุก ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะมังงะอย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ ไทคอมมิค (Thai Comic) ของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และ เอ-คอมมิค (a-comic) และ cartoon thai studio ของ สยามอินเตอร์คอมม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และการ์ตูนไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งในประเทศไทย

การเลือกตั้งของประเทศไทย เป็นกระบวนการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งบุคคลเข้าไปทำหน้าที่ในการปกครองประเทศไทย อาทิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย, วุฒิสภาไทย, ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, ผู้ว่าเมืองพัทยา และผู้บริหารท้องถิ่นอื่น ๆ ด้วยการให้ประชาชนออกเสียงเลือกบุคคลที่เห็นสมควร ประเทศไทยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปมาแล้ว 27 ครั้ง นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และการเลือกตั้งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบ สายประดิษฐ์

กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกุหลาบ สายประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กุเทพ ใสกระจ่าง

ร้อยโท ดร.กุเทพ ใสกระจ่าง (15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 - 18 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศรีสะเกษ เขต 2 เป็นอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชน และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกุเทพ ใสกระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร

กิรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือที่รู้จักกันในชื่อ เขียว คาราบาว เป็นนักร้องและมือกีตาร์ อดีตสมาชิกวงคาราบาว และเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร มีผลงานเพลงที่โด่งดังคือเพลง สัญญาหน้าฝน และ เพลง ไม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา

ลตำรวจเอก ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง)รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง อดีตที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตว่าที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค5 อดีตกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ. 10) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2495จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล สำเร็จปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์จากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ (นรต.) รุ่นที่ 28 ร่วมรุ่นกับ พล.ต.อ.ปานศิริ ประภาวัต และ พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พล.ต.อ.ภาณูพงศ์ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบคนหนึ่ง โดยเมื่อครั้งติดยศ ร้อยตำรวจโท (ร.ต.ท.) ที่ สน.เตาปูน เคยเป็นหัวหน้าสายสืบที่ร่วมปราบจอมโจรชื่อดังแห่งยุค คือ ตี๋ใหญ่ มาแล้ว จากนั้นจึงได้เลื่อนยศและพื้นที่นครบาลเหนือ และโยกย้ายไปสู่ตำแหน่งต่าง ๆ ซึ่งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 เมื่อครั้งที่ติดยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้กำกับการตำรวจภูธรภาค 7 ได้เป็นหัวหน้าชุดตำรวจที่วิสามัญฆาตกรรมนักโทษชาวพม่าที่แหกเรือนจำมหาชัยเสียชีวิตทั้งหมด 9 คนมาแล้ว โดยในเหตุการณ์ครั้งนี้ได้เป็นที่กล่าวขานเนื่องจาก ช่อง 9 ได้ทำการถ่ายทอดรายงานข่าวที่เกิดขึ้นอย่างสด ๆ ในปี พ.ศ. 2547 เป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 มีผลงานเด่นคือ การกวาดล้างยาเสพย์ติดและอาชญากรรม ในพื้นที่ภาคเหนือ จนได้รับรางวัลจาก สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นองค์กรยอดเยี่ยมป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ประจำปี พ.ศ. 2548 แต่จากผลงานด้านนี้ ทำให้ถูกบางส่วนมองว่าเป็นไปเพื่อรับใช้.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ซึ่งมีนโยบายทำสงครามกับยาเสพย์ติด ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้เลื่อนขึ้นเป็น ผู้ช่วย ผ.ตร.รับผิดชอบฝ่ายปราบปราม มีผลงานคดีสำคัญระดับชาติต่าง ๆ จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2553 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษ.10 ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ารอง ผ.ตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ สุวรรณคีรี

รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี (10 มีนาคม 2480 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรมไทย นักการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยประเพณี ศิลปินแห่งชาติและราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ เป็นบุตรของ นายซ้อน – นางรื่น สุวรรณคีรี สมรสกับ นางลาวัณย์ สุวรรณคีรี มีธิดา ๓ คน ได้แก่ นางสาวดลฤดี สุวรรณคีรี, นางสาวปิยนุช สุวรรณคีรี และนางสาวพุทธชาติ สุวรรณคีรี รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี เกิดเมื่อ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และภิญโญ สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

มวยสากล

การแข่งขันมวยสากลระดับโลกระหว่าง รีการ์โด โดมิงเกวซ (ซ้าย) ฮุกซ้ายใส่ ออเรออน'ส ราฟาเอล ออร์ตีซ ที่แคลิฟอร์เนีย พ.ศ. 2548 มวยสากล (Boxing) เป็นศิลปะการต่อสู้ชนิดหนึ่งที่สู้กันด้วยหมัดทั้ง 2 ข้าง มีการแข่งขันตั้งแต่สมัยกีฬาโอลิมปิกยุคโบราณ และเป็นที่นิยมมาจนถึงปัจจุบัน มวยสากล จะกำหนดการให้คะแนน ถ้าไม่มีฝ่ายไหนแพ้ชนะน็อต จะตัดสินจากคะแนนรวมยกที่ 20 คือยกสุดท้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมวยสากล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกริก

มหาวิทยาลัยเกริก เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา ตั้งอยู่ที่ หลักสี่ ถนนรามอินทรา กม.1 กรุงเทพ เปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2495 จัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษาเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมหาวิทยาลัยเกริก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Case Western Reserve University หรือ CASE หรือ CWRU หรือ CASE WESTERN) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เน้นทางด้านการวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 จากการรวมกันของสองสถาบันการศึกษาอันได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีเคส (Case Institute of Technology) ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2423 โดยนาย ลีโอนาร์ท เคส จูเนียร์ (Leonard Case Jr) กับ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Western Reserve University) ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2369 มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีนักศึกษาประมาณ 10,000 คน แบ่งเป็น นักศึกษาปริญญาบัณฑิต 4,386 คน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 5,640 คน และอาจารย์ประจำ 3,055 คน และเจ้าหน้าที่ 3,402 คน สำหรับปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของมหาวิทยาลัยประจำปีคือ 968 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้รับเงินบริจาคประจำปีคือ 138.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินบริจาคมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นทางด้านการวิจัยเป็นอย่างมาก โดยตามรายงานประจำปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

มองตากูต์

มองตากูต์ (Montagut) คือ บริษัทผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ตั้งอยู่ในเมือง Saint-Sauveur-de-Montagut ในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมองตากูต์ · ดูเพิ่มเติม »

มอเตอร์ครอส

กีฬาโมโตครอส โมโตครอส (Motocross) หรือมักจะเรียกว่า MX หรือ MotoX เป็นกีฬาที่ใช้มอเตอร์ไซค์ หรือ All-Terrain Vehicle (ATV) กีฬาประเภทนี้มีที่มาจากประเทศฝรั่งเศส และได้รับความนิยมในประเทศอังกฤษตั้งแต่ พ.ศ. 2467 และเริ่มมีการแข่งขันในระดับนานาชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2495 โดยใช้รถจักรยานยนต์ขนาด 500 ซีซี คำว่าโมโตครอส มาจากคำว่า "Motorcycle" และ "Cross Country" ในการแข่งขันในประเภทนี้ผู้แข่งขันจะบิดมอเตอร์ไซค์ และแสดงผาดโผนบนมอเตอร์ไซด์ 250 ซีซี โดยเรียกการแข่งขันประเภทนี้ว่า "ฟรีสไตล์โมโตครอส"-FMX ซึ่งจัดการแข่งขันเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 ในการแข่งขันกีฬาเอกซ์เกมส์ และหลังจากนั้นก็เป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมอเตอร์ครอส · ดูเพิ่มเติม »

มารุต มัสยวาณิช

นายแพทย์มารุต มัสยวาณิช อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตกรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมารุต มัสยวาณิช · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเรต แทตเชอร์

มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ. 24688 เมษายน พ.ศ. 2556) นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2533 และเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึงปี พ.ศ. 2533 โดยเป็นผู้หญิงคนแรก ที่ดำรงทั้งสองตำแหน่งพร้อมกันในประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร บารอนเนสแทตเชอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรเป็นเวลายาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดซอลส์เบอรี และอยู่ในตำแหน่งติดต่อกันยาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดลิเวอร์พูล นายกรัฐมนตรีในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นสตรีคนแรกที่นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากของสหราชอาณาจักร และเป็นสตรีคนแรกของเพียงสามคนที่ได้ดำรงหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญของประเทศ หลังจากการเกษียณตัวเองจากการเมืองในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาร์กาเรต แทตเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน โอนีลล์

มาร์ติน ฮิว ไมเคิล โอนีลล์ (Martin Hugh Michael O'Neill) เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1952 ในเมืองคิลเร ไอร์แลนด์เหนือ โอนีลล์เป็นผู้จัดการทีมคนหนึ่งของสกอตแลนด์ที่เคยประสบความสำเร็จมาแล้วหลายครั้ง โดยเขาเคยนำเลสเตอร์ซิตีได้แชมป์ลีกคัพถึง 2 สมัย และโด่งดังมาก ๆ สมัยที่คุมเซลติก โดยในช่วงปี ค.ศ. 2001 โอนีลล์นำเซลติกคว้าแชมป์ 3 แชมป์ใน 1 ฤดูกาล ปัจจุบันโอนีลล์เป็นผู้จัดการทีมของสโมสรฟุตบอลซันเดอร์แลนด์ โอนีลล์เป็นผู้จัดการทีมคนเดียวของซันเดอร์แลนด์ในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2011-12 ที่พาทีมของเขาขึ้นชั้นจากทีมท้ายกลางตาราง (อันดับที่ 15) ขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 8 ในช่วงเวลาแค่ 1 เดือน ซึ่งผลนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2011.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาร์ติน โอนีลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มาลา คำจันทร์

มาลา คำจันทร์ เป็นนามปากกาของ เจริญ มาลาโรจน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาลา คำจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาสเตอส์ทัวร์นาเมนต์

มาสเตอร์สทัวร์นาเมนต์ (Masters Tournament; มาสเตอร์ส (Masters) หรือ ยูเอสมาสเตอร์ส (US Masters) ก็เรียก) เป็นหนึ่งในสี่การแข่งขันชิงแชมป์กอล์ฟอาชีพรายการหลัก รายการนี้จัดตารางการแข่งขันเต็มสัปดาห์แรกของเดือนเมษายน และเป็นรายการแข่งขันกอล์ฟอาชีพรายการแรกในแต่ละปี มาสเตอร์สจะแตกต่างจากการแข่งขันชิงแชมป์ที่สำคัญอื่น ๆ เนื่องจากจัดขึ้นในสถานที่เดียวกันทุกปี คือที่ออกัสตาเนชันแนลกอล์ฟคลับ สนามกอล์ฟส่วนบุคคลในกรุงออกัสตา รัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา การแข่งขันมาสเตอร์ริเริ่มโดยคลิปฟอร์ด โรเบิร์ต และบ๊อบบี้ โจนส์ โดยโจนส์เป็นผู้ออกแบบสนามร่วมกับสถาปนิกชื่ออลิสเตอร์ แม็กเคนซี การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันที่มีการจ่ายเงินรางวัลให้กับผู้ชนะอย่างเป็นทางการ เช่นเดียวกับพีจีเอทัวร์, ยูโรเปียนทัวร์ และเจแปนกอล์ฟทัวร์ แต่มีจำนวนผู้เข้าแข่งขันน้อยกว่ารายการชิงแชมป์ที่สำคัญอื่น ๆ เพราะเป็นการแข่งขันที่จัดขึ้นและเชิญโดยออกัสตาเนชั่นแนลกอล์ฟคลับ การแข่งขันมาสเตอร์สมีประเพณีบางประการ โดยตั้งแต่การแข่งขันประจำปี ค.ศ. 1949 ผู้ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจะได้ใส่เสื้อแจ็คเก็ตสีเขียว ซึ่งจะต้องนำเสื้อกลับมายังสโมสรหนึ่งปีหลังจากได้แชมป์ของปีนั้น โดยส่วนมากแล้วผู้สวมใส่เสื้อแจ็คเก็ตสีเขียวนี่ออกจากสนามจะเป็นผู้ชนะ ครั้งแรง โดยนักกอล์ฟที่ชนะการแข่งขันหลายครั้งจะใช้แจ็คเก็ตสีเขียวตัวเดียวกับที่ ตัวที่ได้รับเมื่อชนะครั้งแรก เว้นเสียแต่ต้องการที่จะตัดแจ็คเก็ตสีเขียวใหม่ ดินเนอร์ผู้ชนะ (Champions Dinner) ซึ่งริเริ่มโดยเบน โฮแกนในการแข่งขันประจำปี ค.ศ. 1952 จะจัดขึ้นในวันอังคารก่อนการแข่งขัน เฉพาะอดีตแชมป์และสมาชิกในคณะกรรมการของออกัสตาเนชั่นแนลกอล์ฟคลับเท่านั้น ที่จะมีสิทธิเข้าร่วมงานนี้ ตั้งแต่การแข่งขันประจำปี ค.ศ. 1963 เป็นต้นไป นักกอล์ฟกิตติมศักดิ์ในตำนานที่เป็นแชมป์ในอดีตจะมาตีเปิดสนามในตอนเช้าของรอบแรกที่จะเริ่มการแข่งขัน เป็นต้นว่า เฟร็ด แม็คลอยด์, จอค ฮัทชินสัน, ยีน ซาราเซน, แซม สนีด, ไบรอน เนลสัน, อาร์โนลด์ พาล์มเมอร์, แจ็ค นิคลอส และแกรี เพลเยอร์ และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 จะมีการแข่งขันออกรอบเชิงสังคมที่หลุมพาร์ 3 ในวันพุธก่อนการแข่งขันรอบแรก แจ็ค นิคลอสเป็นแชมป์มากที่สุด 6 สมัยระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาสเตอส์ทัวร์นาเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิกกีย์ รูร์ก

มิกกีย์ รูร์ก (Mickey Rourke) เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1952 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานโดยมากในภาพยนตร์แอ็กชัน, ดราม่า และทริลเลอร์ ในการทำงานของเขาช่วงแรก เขาเริ่มจากการเป็นนักมวย โดยเป็นนักมวยอาชีพในช่วงสั้น ๆ ในทศวรรษ 1990 เขาได้รับรางวัลลูกโลกทองคำและรางวัลบาฟต้า ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมิกกีย์ รูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

มุกดา พงษ์สมบัติ

นางมุกดา พงษ์สมบัติ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคกิจสังคม ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมุกดา พงษ์สมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

ยรรยง พวงราช

นายยรรยง พวงราช (14 เมษายนพ.ศ. 2495-) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ อดีตอธิบดีกรมการค้าภายใน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยรรยง พวงราช · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเอเวอเรสต์

อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยอดเขาเอเวอเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัสเซอร์ อาราฟัต

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยัสเซอร์ อาราฟัต · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา มุกดาสนิท

ทธนา มุกดาสนิท (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยุทธนา มุกดาสนิท · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ยงค์วิมล เลณบุรี

ตราจารย์ ยงค์วิมล เลณบุรี (23 สิงหาคม 2495 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาคณิตศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการยกย่องให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2541 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2550 สาขาคณิตศาสตร์ และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยงค์วิมล เลณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท (5 เมษายน พ.ศ. 2495-) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตนักศึกษาหลบหนีเข้าป่าจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 "สหายศรัทธา" เป็นชื่อจัดตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รัฐอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 6 ที่ได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2495 สืบเนื่องจากภายหลังการ รัฐประหารตัวเอง ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในชื่อ คณะบริหารประเทศชั่วคราว เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ได้มีการประกาศยกเลิก รัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อข้าราชการประจำทางคณะบริหารประเทศชั่วคราวจึงนำรัฐธรรมนูญ ปี 2475 แก้ไขเพิ่มเติม ปี 2483 มาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมโดยกำหนดให้ข้าราชการประจำสามารถเป็นนักการเมืองและรัฐมนตรีได้นอกจากนี้ยังให้มี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวียดนามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รัฐเวียดนาม หรือต่อมาคือสาธารณรัฐเวียดนาม หรือเวียดนามใต้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15 (พ.ศ. 2495) ในชื่อ เวียดนาม ณ เมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ระหว่างวันที่ 19 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นการแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรกของเวียดนาม นักกีฬาที่เข้าแข่งขันเป็นนักกีฬาชายทั้งหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐเวียดนามในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

รังสี ทัศนพยัคฆ์

รังสี ทัศนพยัคฆ์ เป็นผู้สร้างและผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์ ความสำเร็จจากภาพยนตร์อมตะ เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" ที่ทำรายได้ประมาณ 6 ล้านกว่าบาทเมื่อปี 2513 ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำสถิติอมตะ คือการยืนโรงฉาย ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซี่ยมนานถึง 6 เดือน ท่านถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เนื่องจากความดันโลหิตต่ำ เส้นเลือดหัวใจตีบ เส้นโลหิตแตก โลหิตไหลลงกระเพาะอาหาร เสียชีวิตทันที สิริรวมอายุได้ 77 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรังสี ทัศนพยัคฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1832 ในการประชุมกรุงลอนดอน โดยกลุ่มประเทศมหาอำนาจซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซีย จนได้รับการรับรองจากนานาประเทศในโลกอันเป็นผลมาจากสนธิสัญญาคอนสแตนติโนเปิล ทำให้ราชอาณาจักรกรีซมีเอกราชเป็นของตนเองอย่างสมบูรณ์และมั่นคง ซึ่งไม่ต้องอยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิออตโตมันอีกต่อไป โดยเอกราชของกรีซนี้เป็นผลสำเร็จมาจากการเรียกร้องเอกราชโดยรัฐบาลพลัดถิ่นแห่งกรีซ และมาจากสงครามเรียกร้องเอกราชของกรีซ (โดยมีสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซียคอยให้การช่วยเหลือและสนับสนุน) ซึ่งในการปกครองของราชอาณาจักรนั่นมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขของประเทศมาตั้งแต่สถาปนาเอกราช จนในปี ค.ศ. 1924 พระราชวงศ์และสถาบันพระมหากษัตริย์ก็ถูกล้มล้าง จนได้สถาปนา สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2 ขึ้นมา แต่ในภายหลังก็ได้มีการฟื้นฟูพระราชวงศ์ขึ้นมาและได้สถาปนาสถาบันพระมหากษัตริย์กลับมาเป็นพระประมุขของประเทศดังเดิมอีกครั้ง จนในท้ายที่สุดในปี ค.ศ. 1974 พระราชวงศ์ก็ถูกล้มล้างอีกครั้งอันเป็นผลมาจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร ภายใต้การนำโดยพรรคการเมืองทหารของกรีซ และได้ก่อตั้งสาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3 มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราชอาณาจักรกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530

้านล่างนี้คือรายชื่อผู้นำของประเทศต่างๆในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอาร์มีเนีย

ตารางต่อไปนี้แสดงภาพธงชาติและธงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของประเทศอาร์มีเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อธงในประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศปากีสถาน

นื้อหาในหน้านี้แสดงภาพธงประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อธงในประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแคนาดา

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงต่างๆ ที่มีการใช้ในประเทศแคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อธงในประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเวเนซุเอลา

ื้องล่างนี้แสดงข้อมูลธงต่างๆ ที่ใช้ในเวเนซุเอลา สำหรับเนื้อหาเกี่ยวกับธงชาติสามารถศึกษาได้จากบทความธงชาติเวเนซุเอล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อธงในประเทศเวเนซุเอลา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในเปอร์โตริโก

นื้อหาในหน้านี้แสดงภาพธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในเครือรัฐเปอร์โตริโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อธงในเปอร์โตริโก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ภูฏาน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายพระนามพระมหากษัตริย์ภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดน

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดน นับตั้งแต่การสถาปนาราชวงศ์ฮัชไมต์ในปี ค.ศ. 1949 ตั้งแต่พระบรมราชินีในรัชกาลสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 1 แห่งจอร์แดน จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ในตำแหน่งพระบรมราชินีของจอร์แดนนั้นเป็นเพียงพระบรมราชินีพระราชชายา แต่ยังไม่ปรากฏว่ามีพระบรมราชินีนาถผู้สำเร็จราชการ จอร์แดน *.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี

รายพระนามพระคู่ครองในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี เป็นพระยศของคู่สมรสของกษัตริย์แห่งอียิปต์ในช่วงราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี ซึ่งตำแหน่งนี้ได้เริ่มการใช้ในรัชสมัยของพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ (ครองราชย์ 1917-1936) ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงพระยศของพระองค์เองจากสุลต่านแห่งอียิปต์เป็นกษัตริย์แห่งอียิปต์พร้อมกับตำแหน่งพระคู่สมรสด้วย โดยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งพระยศสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์พระองค์แรกคือ สมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ (1919-1936) ส่วนพระราชินีองค์สุดท้ายคือสมเด็จพระราชินีฟาดิลาแห่งอียิปต์ (1976-1999) แม้ว่าจะเสกสมรสภายหลังจากที่พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ สละราชบัลลังก์แล้วก็ตาม แต่พระองค์ก็ยังถือเป็นผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งอียิปต์ ภายหลังฟาดิลาก็ได้หย่าขาดจากพระราชสวามี ปัจจุบันจึงดำรงพระยศเป็นเจ้าหญิงนอกราชบัลลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย

ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง (นักบริหารระดับ 11 เดิม) เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงของกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายพระนามและรายนามปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมธนารักษ์

้านล่างนี้คือรายนามอธิบดีกรมพระคลัง อธิบดีกรมคลัง และอธิบดีกรมธนารักษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามอธิบดีกรมธนารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

้านล่างนี้เป็นรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส ('épouse du président de la République française) คือผู้ที่เป็นภรรยาประมุขแห่งรัฐ (ประธานาธิบดี) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศสจำนวนทั้งสิ้น 25 คน ทั้งนี้ฝรั่งเศสไม่มีตำแหน่งสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแต่อย่างใด สุภาพสตรีคนล่าสุดคือบรีฌิต มาครง ภริยาแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดี เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามคู่สมรสและคู่ครองประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐโปแลนด์

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศโปแลนด์ แต่ตั้ง พ.ศ. 2461 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามประมุขแห่งรัฐโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีพม่า

ต่อไปนี้คือ รายนามประธานาธิบดีพม่า หลังพม่าได้รับเอกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามประธานาธิบดีพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รายนามปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง (นักบริหารระดับ 11 เดิม) เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงของกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ราตรี ศรีวิไล

ราตรี ศรีวิไล หรือ ดร.ราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร (2 มกราคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงสไตล์อีสาน แนวหมอลำประยุกต์ ได้รับสมญานามว่า "ราชินีหมอลำซิ่ง" มีชื่อเสียงโด่งดังทั้งในและต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราตรี ศรีวิไล · ดูเพิ่มเติม »

ราเกซ สักเสนา

นายราเกซ สักเสนา ราเกซ สักเสนา (Rakesh Saxena) (13 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักการเงินการธนาคาร ชาวอินเดีย อดีตที่ปรึกษานายเกริกเกียรติ ชาลีจันทร์ อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการ (บีบีซี) เจ้าของฉายา "พ่อมดการเงิน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราเกซ สักเสนา · ดูเพิ่มเติม »

รถจักรดีเซลไฟฟ้าในประเทศไทย

รถจักรดีเซลไฟฟ้า เป็นรถจักรที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลเป็นต้นกำลัง โดยใช้กำลังจากเครื่องดีเซลไปหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าประธาน แล้วนำกระแสไฟฟ้าที่ได้มาไปหมุนมอเตอร์ขับเคลื่อนรถจักรต่อไป ปัจจุบันการรถไฟไทยมีรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่ใช้งานอยู่ 7 รุ่น รถจักรดีเซลไฟฟ้า คือรถจักรที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีต้นกำลังจากเครื่องยนต์ดีเซล โดยที่เครื่องยนต์ดีเซลจะหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าไปจ่ายให้มอเตอร์ไฟฟ้าเพื่อทำขับเคลื่อนเพลาให้รถเคลื่อนที่ต่อไป ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่นำรถจักรดีเซลไฟฟ้ามาใช้ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรถจักรดีเซลไฟฟ้าในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงิน

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงิน เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินของการคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ วิ่งจากสถานีวันเดอร์แลนด์ ไปยังสถานีบาวโดอิน และเป็นเส้นทางเดียวที่เชื่อมต่อกับ ท่าอากาศยานนานาชาติโลแกน นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายอื่น ๆ เช่น สายสีส้ม กับสายสีเขียว และรถโดยสารประจำทางบอสตัน สายสีเงิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ลอสแอนเจลิสเลเกอส์

ลอสแอนเจลิส เลเกอร์ส เป็นทีมบาสเกตบอลในลีกเอ็นบีเอ ในเมืองลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ตามสถิติเมื่อสิ้นสุดฤดูกาล 2004-05 เป็นทีมที่ชนะมากที่สุด (คือ 2,621 เกม) มีเปอร์เซนต์ชนะสูงสุด (61.9%) เล่นในรอบชิงชนะเลิศมากที่สุด (30 ครั้ง) และชนะเลิศในลึกมากเป็นอันดับสอง คือ 16 ครั้ง เป็นรองเพียงทีมบอสตัน เซลติกส์ ซึ่งชนะ 17 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีสถิติชนะติดต่อกันมากที่สุดในฤดูกาลคือ 33 เกม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และลอสแอนเจลิสเลเกอส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลา โบริงเกญา

ลา โบริงเกญา (La Borinqueña) เป็นเพลงชาติของเปอร์โตริโก ในฐานะเครือรัฐในพิทักษ์ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และลา โบริงเกญา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91)

ลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91) ครอบคลุมความเป็นช่างประดิษฐ์และความก้าวหน้าทางนวัตกรรมของประเทศสหรัฐอเมริกาภายในบริบททางประวัติศาสตร์, ย้อนไปตั้งแต่ยุคร่วมสมัยถึงยุคปัจจุบัน, ซึ่งได้บรรลุความสำเร็จโดยนักประดิษฐ์ทั้งหลาย ผู้เป็นทั้งประชากรโดยกำเนิดหรือได้รับเป็นพลเมืองของประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และลำดับสิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ (ค.ศ. 1946–91) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ล้อต๊อก

ใบปิดภาพยนตร์ ตลกร้องไห้ (2522) ใบปิดภาพยนตร์ แดร๊กคูล่าต๊อก (2522) ใบปิดภาพยนตร์ หลวงตา (2523) ล้อต๊อก มีชื่อจริงว่า สวง ทรัพย์สำรวย (สะ-หฺวง) (1 เมษายน พ.ศ. 2457 — 30 เมษายน พ.ศ. 2545) เป็นนักแสดงตลกและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง พื้นเพเป็นคนบ้านสวน คลองเสาหิน ตำบลท่าพระ อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุ่ม-นางขม มีอาชีพทำสวนผลไม้ หมากพลู มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ล้อต๊อกเป็นคนที่ 3 ชื่อ ล้อต๊อก มาจากการแสดงภาพยนตร์ ใกล้เกลือกินเกลือ รับบทเป็น เสี่ยล้อต๊อก คนจนที่ร่ำรวยขึ้นมาแล้วลืมกำพืดตัวเอง เมื่อ พ.ศ. 2495 ต่อด้วยงานกำกับของ ดอกดิน กัญญามาลย์ แนวตลกชุดสามเกลอ (ล้อต๊อก - สมพงษ์ พงษ์มิตร - ดอกดิน) สามเกลอถ่ายหนัง ปีเดียวกัน และ สามเกลอเจอจานผี ปีถัดมา สมรสครั้งแรกกับ สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย นางเอกละครคณะจันทรโอภาส และเป็นดาราภาพยนตร์ชื่อดัง เมื่อสมจิตต์เสียชีวิตจึงสมรสใหม่อีกหลายครั้ง หลังสุดแต่งงานกับ ชุลีพร ระมาด มีบุตร 1 คนชื่อ "อุ้มบุญ" หรือมงคลชัย ทรัพย์สำรวย ใช้ชีวิตอยู่บ้านที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ก่อนจะเสียชีวิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และล้อต๊อก · ดูเพิ่มเติม »

วรรณทิพย์ ว่องไว

ลเอกวรรณทิพย์ ว่องไวอดีตแม่ทัพภาคที่ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวรรณทิพย์ ว่องไว · ดูเพิ่มเติม »

วรวิทย์ บารู

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ บารู (1 มกราคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวรวิทย์ บารู · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วอลต์ดิสนีย์อิเมจจิเนียร์ริง

นตวิศวกรรรมของดิสนีย์ หรือ วอลต์ดิสนีย์อิเมจจิเนียร์ริง (Walt Disney Imagineering หรือ WDI) ตั้งอยู่ที่รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นผู้ออกแบบสร้างสรรค์ทุก ๆ อย่างภายในสวนสนุกเครือดิสนีย์ ทั้ง 11 แห่งทั่วโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวอลต์ดิสนีย์อิเมจจิเนียร์ริง · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี)

วัดราษฎร์บูรณะ เดิมชื่อ วัดช้างให้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ตามพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 74 ตอน 15 หน้า 451 - 252 เขตวิสุงคามสีมา ยาว 80 เมตร กว้าง 40 เมตร เนื้อที่จำนวน 12 ไร่ ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันเสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดราษฎร์บูรณะ (จังหวัดปัตตานี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)

ระอจนะ วัดศรีชุม เป็นที่เลื่องลือว่ามีเอกลักษณ์และมนต์เสนห์เฉพาะตัว วัดศรีชุม เป็นโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ตัววัดเป็นโบราณสถานตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ นอกกำแพงเมืองวัดนี้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ซึ่งมีนามว่า "พระอจนะ" องค์พระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ในมณฑป พระพุทธอจนะ เป็นที่เลื่องลือถึงความศักดิ์สิทธิ์และมีมนต์เสน่ห์และเอกลักษณ์ชวนให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชมและสักการะอย่างไม่ขาดสาย ในปัจจุบันทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ไม่ห่างจากตัวโบราณสถานนัก มีวัดสร้างใหม่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษา ใช้ชื่อว่าวัดศรีชุมเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย) · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองกระธาตุ

1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดหนองกระธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองมงคล

วัดหนองมงคล ตั้งอยู่เลขที่ 96 หมู่ที่ 7 ตำบลธงชัย อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายเถรวาท ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา มีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมสายหลักคือถนนบางสะพาน – ท่าหล่อ หนองระแวง ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรม-ประมง เป็นส่วนใหญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดหนองมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองตาโชติ

วัดหนองตาโชติ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 173 หมู่ 5 ตำบลวังทองแดง อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดชนิดวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ในอดีตเป็นวัดที่พระครูประโชติสันติธรรม (หลวงพ่อประเสริฐ) ที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดหนองตาโชติ · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี)

วัดหนองโพธิ์ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 65 บ้านหนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 ถนนสุวรรณศร ตำบลหนองสรวง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน 72 ตารงวากองพุทธสถาน, สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดหนองโพธิ์ (จังหวัดสระบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดท่ากระดาน

วัดท่ากระดาน ตั้งอยู่ใน ตำบลท่ากระดาน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบัน เป็นวัดร้าง เป็นสถานที่อยู่บริเวณหน้าถ้ำทางตอนเหนือของเมืองท่ากระดานเก่าขึ้นไปตามลำน้ำ ซึ่งเดิมเป็นวัดเก่าแก่ เนื่องจากมีศาสนวัตถุที่ปรักหักพังและพระเจดีย์เป็นจำนวนมาก และจากวัตถุโบราณที่พบ เช่น บาตรขนาดเขื่อง เตาดินเก่าๆหลายเตา ที่สำคัญ คือ ปรากฏมีสนิมแดงตกอยู่เรี่ยราดบริเวณเตาและพบพระท่ากระดานทุกๆพิมพ์อีกด้วย เป็นแหล่งสร้างพระท่ากระดาน เมืองท่ากระดานมีวัดสำคัญ 3 วัดคือ วัดเหนือ (วัดบน) วัดกลาง (ปัจจุบันชื่อ วัดท่ากระดาน) และวัดล่าง "วัดท่ากระดาน หรือ วัดกลาง" อันเป็นวัดสำคัญ 1 ใน 3 วัดของ "เมืองท่ากระดาน" เมืองเก่าแก่เมืองเดียวริมแม่น้ำแควใหญ่ที่มีความสำคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยาเคียงคู่กับเมืองกาญจนบุรีเก่า และเมืองไทรโยค คือเป็นเมืองที่มีเจ้าปกครอง อีกทั้งเป็นเมืองหน้าด่านที่ต้องสู้รบกับกองทัพพม่าที่ยกทัพเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ในทุกคราว แต่ปัจจุบันลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์ จึงถูกยุบเป็นกิ่งอำเภอเมื่อ พ.ศ. 2438 และลดฐานะเป็นหมู่บ้านชื่อ "บ้านท่ากระดาน" ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนท่ากระดาน และตำบล อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2495 ได้มีการขุดค้นหาโบราณวัตถุกันเป็นการใหญ่และได้พบพระพิมพ์เนื้อตะกั่วสนิมแดงที่วัดทั้งสามเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะที่วัดกลาง ซึ่งเรียกชื่อเต็มว่า "วัดท่ากระดาน" นั้น ได้ปรากฏพระพิมพ์เนื้อตะกั่วสนิมแดงที่สนิมแดงงามจัดและปิดทองมาแต่ในกรุทุกองค์ กอปรกับวัดนี้ตั้งอยู่ในส่วนกลางของเมืองท่ากระดานเก่าพอดี ชาวบ้านจึงเห็นเหมาะสมที่จะเรียกพระพิมพ์นี้ตามชื่อวัดว่า "พระท่ากระดาน" พระท่ากระดาน มีพุทธลักษณะเค้าพระพักตร์เคร่งขรึมน่าเกรงขาม แข้งเป็นสัน และพระหนุแหลมยื่นออกมา ลักษณะเหมือน "พระอู่ทองหน้าแก่ อันเป็นพุทธศิลปะสมัยลพบุรี และด้วยอายุการสร้างเกินกว่า 500 ปี พระท่ากระดานส่วนมากจึงเกิด สนิมไข และสนิมแดง ขึ้นคลุมอย่างหนาแน่นและส่วนใหญ่จะลงรักปิดทองมาแต่เดิม ดังนั้นข้อพิจารณาเบื้องต้นในการศึกษา "พระท่ากระดาน" ก็คือ สภาพสนิมไข สนิมแดง และรักเก่า ทองเก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดท่ากระดาน · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าวิเวกธรรม

วัดป่าวิเวกธรรม หรือ วัดเหล่างา เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยคณะพระกรรมฐานลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต นำโดย หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาสายวิปัสสนากรรมฐาน และตั้งสำนักสงฆ์อบรมปฎิบัติกรรมฐานขึ้น ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาฝ่ายอรัญวาสีของภาคอีสานตอนกลางในขณะนั้น ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดป่าวิเวกธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าสุนทราราม

วัดป่าสุนทราราม หรือ วัดบ้านกุดแห่ เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยพระอาจารย์ดี ฉนฺโน ลูกศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยมี พระอธิการอินทร์ สุนฺทโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดป่าสุนทราราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธิ์ตาก

วัดโพธิ์ตาก หรือ วัดโพธิ์ สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยมี พระอาจารย์อินทร์ อินฺทสาโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และมีพระเถระที่มีชื่อเสียงคือ พระครูญาณวิสุทธิคุณ (กอง) หรือ พระอุปัชฌาย์กอง อดีตเจ้าอาวาส ซึ่ง วัดโพธิ์ตาก ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากตัวอำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวัดโพธิ์ตาก · ดูเพิ่มเติม »

วังสวนผักกาด

วังสวนผักกาด หอเขียนลายรดน้ำ วังสวนผักกาด เดิมเป็นสวนผักกาด เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต และ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร (เทวกุล) ตั้งอยู่บนพื้นที่ 6 ไร่ บนถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยสร้างเพื่อประทับในช่วงสุดสัปดาห์ และเปิดให้บุคคลภายนอกเข้าชมศิลปะและโบราณวัตถุ โดยที่เจ้าของบ้านยังใช้เป็นที่พำนักอยู่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2495 ภายหลังจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2502 พระชายา คือ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ได้มอบให้วังสวนผักกาดอยู่ในความดูแลของ มูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ และเปิดเป็น พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดตั้งแต่นั้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวังสวนผักกาด · ดูเพิ่มเติม »

วารินทร์ ลิ้มศักดากุล

นายวารินทร์ ลิ้มศักดากุล (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2495) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมัย และเป็นนักธุรกิจชาวเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวารินทร์ ลิ้มศักดากุล · ดูเพิ่มเติม »

วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

ตราจารย์ วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นกรรมการในหน่วยงานต่างๆ อีกหลายหน่วยงาน ท่านเป็นผู้พิการทางสายตา ที่มีบทบาทในการเป็นแกนนำรณรงค์เพื่อประโยชน์ของผู้พิการในหลายด้าน และได้รับรางวัลและการยกย่องจากหลายๆ หน่วยงาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิลาศ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสวาวา ซิมบอร์สกา

วิสวาวา ซิมบอร์สกา (Wisława Szymborska) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1923 — 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012) วิสวาวา ซิมบอร์สกาเป็นกวี, นักเขียนบทความ และ นักแปลคนสำคัญชาวโปแลนด์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1996 ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาใช้วิธีการเขียนที่ผสานการแฝงนัย, ปฏิทรรศน์, การโต้แย้ง (contradiction) และการกล่าวน้อยกว่าความจริง (understatement) ในการขยายความของปรัชญาในข้อเขียน งานกวีนิพนธ์ที่กะทัดรัดแต่มักจะแฝงปริศนาของของอัตถิภาวนิยมอันสำคัญ ที่พาดพิงไปถึงหัวข้อเช่นจริยธรรม และสะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้งของผู้คนทั้งบุคคลแต่ละคนและกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิกของสังคม ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาเป็นการเขียนที่กะทัดรัดที่เต็มไปด้วยการใคร่ครวญและปฏิภาณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิสวาวา ซิมบอร์สกา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯ

วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพฯ หรือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ เป็นวิทยาลัยเทคนิคเปิดสอนการเรียนการสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เป็นแห่งแรกในประเทศไทย สังกัดกองวิทยาลัยเทคนิค กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและ การจัดการศึกษาภายในกรมอาชีวศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการหลายครั้ง กระทั่งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯ · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิทิต มันตาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วง อ.ส. วันศุกร์

วงดนตรี อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวง อ.ส. วันศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สยาม เพชรชมภู

ักดิ์สยาม เพชรชมภู มีชื่อจริงว่า บุญชื่น เสนาราช เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย จากจังหวัดมหาสารคาม มีชื่อเสียงจากเพลง "ทุ่งกุลาร้องไห้" ซึ่งได้รับรางวัลจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานกึ่งศตวรรษลูกทุ่งไทยจากเพลงทุ่งกุลาร้องไห้ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และศักดิ์สยาม เพชรชมภู · ดูเพิ่มเติม »

ศิลา โคมฉาย

วินัย บุญช่วย นามปากกา ศิลา โคมฉาย วันเกิดวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ที่อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช การศึกษาจบมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ก่อนจะมาเรียนต่อที่เรียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเป็นช่วงเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ด้วยความเป็นหนอนหนังสือ ประกอบกับมีโอกาสได้คลุกคลีอยู่ในแวดวงของนักอ่านนักเขียน ทำให้เขาเริ่มมีงานเขียนตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมด้วยเรื่องสั้น ก่อนจะมีผลงานทั้ง นวนิยาย ความเรียง สารคดี รายงาน และบทความ เริ่มต้นเขียนหนังสือโดยใช้ชื่อสกุลจริง "วินัย บุญช่วย" แต่พอหลัง 6 ตุลา กลับมาจากป่า ก็เขียนเรื่องสั้นมาจำนวนหนึ่ง 6-7 เรื่อง เอาไปทิ้งไว้ที่มติชน เอาไปฝากเสถียร จันทิมาธร บรรณาธิการเครือมติชนในขณะนั้น แล้วเรื่องสั้นก็ได้ลงหนังสือ "เฟื่องนคร" ขณะนั้นไม่มีนามปากกา บรรณาธิการเสถียรก็ใส่ชื่อ "ศิลา โคมฉาย" นักเขียนที่เขาชอบมีหลายคน แต่ส่วนใหญ่ชอบงานทางเยอรมนีและฝรั่งเศส เขาไม่ค่อยชอบงานด้านฝั่งสหรัฐอเมริกาสักเท่าไหร่ นักเขียนที่ชอบก็มีอาลแบร์ กามูว์, หลู่ ซฺวิ่น, เลโอ ตอลสตอย, ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน ส่วนนักเขียนไทยชอบอ่านงานของลาว คำหอม, ศรีบูรพา, นิคม รายยวา ศิลา โคมฉาย เคยอยู่ในวงการสื่อมวลชน ทำให้เขาเขียนหนังสือได้หลากหลาย ตั้งแต่งานวิจารณ์กีฬา วิจารณ์เพลง วิจารณ์หนัง ซึ่งก็จะใช้นามปากกาอื่น ๆ ไปตามสาระของคอลัมน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และศิลา โคมฉาย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ส. ธรรมยศ

. ธรรมยศ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) ครู นักเขียน นักปรัชญาและนักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ นามจริง แสน ธรรมยศ เกิดที่ตำบลปงพระเนตช้าง ลำปาง ในตระกูล ณ ลำปาง มีพี่สาวชื่อจันทร์สม เริ่มต้นการศึกษาที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เมืองลำปาง ต่อมาย้ายมาอยู่ที่เทพศิรินทร์ และสอบชิงทุนไปเรียนปรัชญาที่ประเทศเวียดนาม แต่ถูกปฏิเสธเพราะมีการกำหนดตัวผู้สอบได้แล้ว พระสารสานส์พลขันธ์ และอาจารย์ฝรั่งคนหนึ่งสละเงินส่วนตัวส่งไปเรียนหนึ่งปี จากนั้นต้องใช้เงินส่วนตัวและญาติ ๆ ช่วยอุดหนุนกันไป เนื่องจากเป็นคนเก่งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จึงเป็นล่ามตั้งแต่อายุ 14 ปี ไปเมืองญวนก็ไปสอนภาษาอังกฤษให้นักเรียนที่นั่นด้วย เมื่อเรียนจบทำงานเป็นบรรณาธิการผู้ช่วยหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส La Lute (การต่อสู้) นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ ประชาธิปไตย จากประเทศไทย กลับมาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ. 2478 เคยบวชพระแต่ไม่ได้แต่งงาน หลังกลับมาอยู่เมืองไทย เริ่มต้นอาชีพครูที่โรงเรียนสตรีจุลนาคของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี.ธรรมยศ เริ่มต่อสู้เพื่อให้เปิดการสอนวิชาปรัชญาขึ้นในประเทศไทยด้วยถือว่าเป็นมารดาของวิชาทั้งปวง จนเกิดเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ เขาได้เขียนบทความและหนังสือวิชาปรัชญามากมายตลอดจนปาฐกถาในสาขาวิชานี้ เคยเป็นบรรณาธิการนิตยสารโยนก ของสมาคมชาวเหนือ เขียนเรื่องสั้นไว้ประมาณ 40 เล่ม สารคดี และวิชาปรัชญาอีกหลายเล่ม เขียน บทนำแห่งปรัชญาศาสตร์ หนา 289 หน้า เมื่ออายุได้ 26 ปี เขียน พระเจ้ากรุงสยาม หนาร่วม 800 หน้า ขณะที่ป่วย นอนอยู่ในโรงพยาบาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และส. ธรรมยศ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

อลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชียในปัจจุบัน สืบต่อจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อวันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดยมี เชค อะห์หมัด อัล-ฟาฮัด อัล-อะห์เหม็ด อัล-ซาบะห์ (Sheikh Ahmad Al-Fahad Al-Ahmed Al-Sabah) เป็นประธาน และสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงคูเวตซิตีของรัฐคูเวต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมบัด สมพอน

มบัด สมพอน (ສົມບັດ ສົມພອນ) เป็นนักพัฒนาสังคมชาวลาวและเจ้าของรางวัลแมกไซไซ ซึ่งได้หายตัวไปเนื่องจากการลักพาตัว ที่กรุงเวียงจันทน์ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2555 แม้ว่ารัฐบาลลาวปฏิเสธการเชื่อมโยงและอ้างว่าไม่มีส่วนรู้เห็น แต่เชื่อว่ามีทฤษฎีสมคบคิดมากพอที่ทำให้เชื่อว่ารัฐบาลลาววางแผนการลักพาตัว เนื่องจากว่าไม่เคยยอมเปิดเผยการลักพาตัวเลยแม้แต่น้อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมบัด สมพอน · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Thammasat Association; ชื่อย่อ: สมธ.) เป็นองค์กรที่เป็นศูนย์กลางของนักศึกษาปัจจุบัน ศิษย์เก่า และประชาคมทั้งปวงจากทุกคณะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการรับรู้ข่าวสารและมีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยสมาคมฯ มีภารกิจหลักที่การสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทางด้านการศึกษาและพัฒนาสังคม ทั้งนี้ยังเป็นองค์กรที่มีเกียรติและมีชื่อเสียง ในฐานะของสมาคมศิษย์เก่าของสถาบันชั้นนำของประเทศไทย และยังเป็นหน่วยงานสำคัญในการดำเนินการจัดงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะกรรมการดำเนินการจัด และผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด บาลไธสง

นายสมคิด บาลไธสง อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมคิด บาลไธสง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)

มเด็จพระพุทธชินวงศ์ นามเดิม สุวรรณ เขื่อนเพ็ชร ฉายา สุวณฺณโชโต อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน ทรง อภิเษกสมรสกับพระมเหสี 4 พระองค์คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุก พระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก พระราชสมภพเมื่อ วันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2443 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2545) เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีฎอลาลแห่งจอร์แดน ประสูติเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สรรพสิริ วิรยศิริ

รรพสิริ วิรยศิริ (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ปัจจุบันคือ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)) อดีตผู้อำนวยการ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 (ปัจจุบันคือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี) และอดีตผู้อำนวยการ สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. (ปัจจุบันคือ สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ) อดีตผู้สื่อข่าวสงคราม เป็นบุคคลผู้บุกเบิกวงการโทรทัศน์ ข่าวโทรทัศน์ และโฆษณาโทรทัศน์ของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสรรพสิริ วิรยศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ

ลโท สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ จำปาศรี

.ต.อ.สวัสดิ์ จำปาศรี พันตำรวจเอกสวัสดิ์ จำปาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรของพ่อซึ่งเป็นกำนัน ชื่อ นายทองคำ และแม่คือ นางกองศรี จำปาศรี.ต.อ.สวัสดิ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เริ่มรับราชการตำรวจ โดยเริ่มตั้งแต่เป็นลูกแถวและผู้บังคับหมู่ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน และเป็นสารวัตรประจำแผนกสืบสวนสอบสวนในสถานีตำรวจแถบฝั่งธนบุรีหลายท้องที่นานถึง 25 ปี เช่น หนองค้างพลู, บางขุนเทียน เป็นต้น จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2548 ในยศ พันตำรวจเอก (พ.ต.อ.) เพื่อออกมาเล่นการเมือง โดยในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548.ต.อ.สวัสดิ์ ได้ลงรับสมัคร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสวัสดิ์ จำปาศรี · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว

หพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว (Lao Football Federation) หรือ สะหะพันบานเตะแห่งชาดลาว (ສະຫະພັນບານເຕະແຫ່ງຊາດລາວ) เป็นองค์กรกำกับดูแลฟุตบอลในประเทศลาว ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบสำหรับฟุตบอลทีมชาติลาว ตลอดจนการแข่งขันระดับชาติ เช่น ลาวลีก และถ้วยนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ ผู้ดำรงตำแหน่งประธานคนปัจจุบันของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว คือ วีเพ็ด สีหาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

หพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียตในโอลิมปิก

หภาพโซเวียต เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหภาพโซเวียตในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

หภาพโซเวียต เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว

ริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัด The Syndicate of Thai Hotels and Tourists Enterprises Limited เป็นรัฐวิสาหกิจ กลุ่มพาณิชย์และบริการ สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งเป็นบริษัทเมื่อปี พ.ศ. 2496 เพื่อดำเนินการก่อสร้างโรงแรมขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร โดยมีชื่อว่า "โรงแรมเอราวัณ" ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว · ดูเพิ่มเติม »

สัณฐาน ชยนนท์

ลตำรวจโท ดร.สัณฐาน ชยนนท์ อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบ.ชน.) เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดสงขลา เดิมมีนามสกุลว่า "คงกำเนิด" จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนสามัคคีวิทยา จังหวัดยะลา, มัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนโยธินบูรณะ, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 (ตท.12-รุ่นเดียวกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และ พล.ร.อ.พะจุณณ์ ตามประทีป), โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 28 (นรต.28-รุ่นเดียวกับ พล.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี, พล.ต.อ.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา, พล.ต.อ.ปานศิริ ประภาวัต), ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และหลักสูตรบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 17..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสัณฐาน ชยนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์

รูปสเก็ตสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ เทียบกับมนุษย์ สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ หรือ สัตว์ประหลาดบรอกตันเคาน์ตี หรือ ปีศาจแฟลทวูดส์ (อังกฤษ: Flatwoods Monster, Braxton County Monster, Phantom of Flatwoods) เป็นสิ่งมีชีวิตประหลาดที่มีรายงานการพบที่เมืองแฟลทวูดส์ ในบรอกตันเคาน์ตี รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ในคืนวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ พร้อมพัฒน์

ันติ พร้อมพัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทยแบบบัญชีรายชื่อ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสันติ พร้อมพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สามเหลี่ยมจิตรลดา

แผนที่สามเหลี่ยมจิตรลดา ภาพถ่ายทางอากาศ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2495 บริเวณสามเหลี่ยมจิตรลดา โดยกรมแผนที่ทหาร โค้งจิตรลดาด้านเหนือ โค้งรถไฟทั้ง 2 จะมาขนานกัน ทำให้ดูเหมือนเป็นทางคู่ สามเหลี่ยมจิตรลดา เป็นสามเหลี่ยมกลับรถจักรเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่ยังมีการใช้งาน ตั้งอยู่ในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ - สถานีรถไฟจิตรล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสามเหลี่ยมจิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

สายเบเคอร์ลู

อร์ลู เป็นสายหนึ่งของรถไฟใต้ดินลอนดอน มีสีน้ำตาลบนแผนที่รถไฟใต้ดิน รถไฟที่วิ่งอยู่บนสายนี้มีทั้งขึ้นบกและอยู่ใต้ดิน โดยมี 10 สถานีอยู่ใต้ดิน และ 15 สถานีอยู่ใต้ดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสายเบเคอร์ลู · ดูเพิ่มเติม »

สาวเครือฟ้า

วเครือฟ้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาวเครือฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐกัวเตมาลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐกัวเตมาลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐสหกรณ์กายอานา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐสิงคโปร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐอิสลามอิหร่าน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐประชาชนจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาผู้แทนราษฎร แต่ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ธาดาธำรงเวช

ตราจารย์ สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาธิการ อดีตอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2495 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ รุ่นที่ 77 เลขประจำตัว 8293 จบการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ The London School of Economics and Political Science สหราชอาณาจักร ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ ประเทศแคนาดา ประกาศนียบัตรเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย(University of East Anglia) สหราชอาณาจักร ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช สมรสกับนางวัชรี ธาดาธำรงเวช (สกุลเดิม พิพัฒน์ประทานพร) นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มีบุตร 2 คน คือ นายกรกฎ จัสติน ธาดาธำรงเวช และนางสาวอรณิชา ธาดาธำรงเว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุชาติ ธาดาธำรงเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุชน ชาลีเครือ

นายสุชน ชาลีเครือ (12 มีนาคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานวุฒิสภา อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ เป็นสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งสมัยแรก (พ.ศ. 2543-2549) เป็นประธานวุฒิสภาคนที่สามของวุฒิสภาชุดนี้ สืบต่อจาก นายสนิท วรปัญญา และพลโทมนูญกฤต รูปขจร ก่อนหน้าจะดำรงตำแหน่งประฐานวุฒิสภา นายสุชนดำรงตำแหน่งรองประธานวุฒิสภาคนที่ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุชน ชาลีเครือ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา ชินพันธุ์

ริยา ชินพันธุ์ มีชื่อจริงคือ ธนยศ ชินพันธุ์ (ชื่อเดิม: ประมูล ชินพันธุ์) มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" หรือ "เอ" เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เป็นลูกชายคนที่ 3 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 6 คนซึ่งเป็นชาย 4 หญิง 2 ในบรรดาลูก ๆ ของนายวิบูลย์และนางจิตรา ชินพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุริยา ชินพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเชษฐ์ แวอาแซ

นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 5 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุรเชษฐ์ แวอาแซ · ดูเพิ่มเติม »

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุลักษณ์ ศิวรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ วัดหนู

วิทย์ วัดหนู (20 ธันวาคม พ.ศ. 2495 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2550) เป็นนักพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย สลัม และคนจนเมือง เคยเป็นเลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.), ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน, ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัม 4 ภาค เลขาธิการเครือข่ายคนเดือนตุลา มีบทบาทขับไล่เผด็จการในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 และเข้าร่วมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุวิทย์ วัดหนู · ดูเพิ่มเติม »

สุสานชุคบาตาร์

ทำเนียบรัฐบาล ค.ศ. 2005 สุสานชุคบาตาร์ เป็นสถานที่ฝังศพของแดมดิน ชุคบาตาร์ ผู้นำการปฎิวัติมองโกลเลีย ค.ศ. 1921, และ คอร์ลูจีน ชอยบาลซาน, หัวหน้ารัฐบาลคอมมิวนิสต์ช่วงทศวรรษ 1930 เสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1952 ที่กรุงอูลานบาตอร์, ทิศเหนือติดกับจตุรัสชุคบาตาร์ ด้านหน้าทำเนียบรัฐบาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุสานชุคบาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สี่สหายผจญภัย

ี่สหายผจญภัย เป็นวรรณกรรมแปล ที่เขียนโดย อีนิด ไบลตัน ซึ่งเรื่องนี้พิมพ์ขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2487 และพิมพ์ครั้งแรกเสร็จ (นับเล่มสุดท้ายในชุด) เมื่อปี พ.ศ. 2498 เรื่องสี่สหายผจญภัยได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาไทยเมื่อพ.ศ. 2550 โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ยังรีดดิ้ง และยังถูกนำไปทำรายการโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสี่สหายผจญภัย · ดูเพิ่มเติม »

สีเผือก คนด่านเกวียน

ีเผือก คนด่านเกวียน นักร้องนำของวงคนด่านเกวียน วงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งของไทย มีชื่อจริงว่า อิศรา อนันตทัศน์ (ชื่อเดิม: สำรอง อนันตทัศน์) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนองคาย) ต่อมาเมื่อเข้าเรียนประถมศึกษาได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาสามารถสอบเข้าเรียนวิชาช่างกลเกษตร ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานได้ แต่ทว่าเนื่องจากสถานการณ์การเมืองในเวลานั้นเป็นยุคของเผด็จการทหาร จึงได้มีโอกาสพบปะและร่วมกิจกรรมกับศิลปินหรือนักศึกษาศิลปะคนอื่น ๆ เช่น มงคล อุทก, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร และได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ 14 ตุลา ด้วย หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา สีเผือกสอบบรรจุครูได้ ด้วยความที่พ่อเป็นครู จึงอยากให้ลูกชายเป็นครูตามด้วย แต่ติดที่พ่อเป็นข้าราชการ ขณะที่สีเผือกมีแนวความคิดต่อต้านระบบราชการอยู่ จึงเข้าทำงานเป็นครูอยู่ตามแถบชายป่า จากนั้นจึงเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในนาม "สหายครู" มีหน้าที่รับส่งเอกสาร, ส่งเสบียง, รับผิดชอบสมาชิกพรรคที่เข้าไปในเมือง พร้อมกับทำหน้าที่สอนหนังสือไปด้วย จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2526 ได้ออกอัลบั้มชุดแรกในชื่อชุด "เด็กปั๊ม" กับวงคนด่านเกวียน ประสบความสำเร็จ จนถึงปัจจุบันนี้มีผลงานอัลบั้มออกมามากกว่า 20 อัลบั้ม มีเพลงที่ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จัก อาทิ เด็กปั๊ม, ชาวนาอาลัย, ตาผุยชุมแพ, กุหลาบปากซัน รวมถึง เดือนเพ็ญ ที่เป็นบทกวีของอัศนี พลจันทร์ มาร้องใหม่ด้ว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสีเผือก คนด่านเกวียน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ

หน้าปกสถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ ฉบับพิมพ์ครั้งล่าสุดของโปรวิชั่น สถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ (Foundation and Empire) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์แต่งโดยไอแซค อสิมอฟ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1952 โดยเป็นหนังสือเล่มที่สองในนิยายชุดสถาบันสถาปนา ต่อจากสถาบันสถาปนา และตามด้วยสถาบันสถาปนาแห่งที่สอง เนื้อหาในเรื่องแบ่งเป็นสองส่วน คือ The General (ท่านนายพล) จับความเกี่ยวกับขุนศึกเบล ริโอเซ่ ของจักรวรรดิสากลจักรวาลเก่าที่เข้ามาคุกคามสถาบันสถาปนา ส่วนครึ่งหลังคือเรื่อง The Mule (มโนมัย) เกิดขึ้นหลังครึ่งแรกประมาณหนึ่งร้อยปี โดยสถาบันสถาปนาถูกคุกคามอีกครั้งจากมโนมัย บุคคลลึกลับที่มีพลังจิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสถาบันสถาปนาและจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุ อ.ส.

ัญลักษณ์ของสถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต สถานีวิทยุ อ.. เป็นสถานีวิทยุที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรทรงตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2495 เมื่อเสด็จพระราชดำเนินกลับมา ประทับอยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวร ที่พระราชวังดุสิต ชื่อสถานีวิทยุทรงนำมาจากอักษรย่อของพระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งเป็นสถานที่ที่ใช้ออกอากาศครั้งแรก ต่อมาจึงย้ายเข้าไปตั้งในบริเวณพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสถานีวิทยุ อ.ส. · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศโปแลนด์

ตึกใหม่ พ.ศ. 2552 สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศโปแลนด์ หรือ ทีวีพี (Telewizja Polska แตแลวิซยา ปอลสกา) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งของโปแลนด์ โดยรัฐบาลของประเทศดังกล่าว โดยมีลักษณะเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งชาติและแบบสาธารณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์

นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ นายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 18 มกราคม พ.ศ. 2551) เป็นนายแพทย์ที่มีผลงานดีเด่นในการบุกเบิกและผลักดันโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า รัฐบาลที่รับเอานโยบายนี้ไปปฏิบัติจริงคือรัฐบาลพรรคไทยรักไทย ใช้ชื่อว่า "30 บาทรักษาทุกโรค" นายแพทย์สงวนเป็นเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คนแรกและดำรงตำแหน่ง 2 สมัยติดกัน จนกระทั่งเสียชีวิต และเป็นประธานชมรมแพทย์ชนบท รุ่นที่ 8 (พ.ศ. 2528-2529) กลุ่มแพทย์ชนบทและผู้เคยร่วมงานกับน.สงวน เช่น น.เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ ประธานชมรมแพทย์ชนบทรุ่นที่ 22 และ น.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้อำนวยการสำนักงานวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.) ยกย่องน.สงวนว่าเป็น "รัฐบุรุษแห่งวงการสาธารณสุขไทย".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสงวน นิตยารัมภ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ

งคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ (The Pianist) เป็นภาพยนตร์ร่วมระหว่างประเทศฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ และโปแลนด์ ผลงานการกำกับโดย โรมัน โปลันสกี้ นำแสดงโดย เอเดรียน โบรดี ออกฉายครั้งแรก ในวันที่ 24 พฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก

นามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) เป็นชื่อที่มักจะตั้งให้กับสนามกีฬากลางขนาดใหญ่ สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติ เป็นสนามซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด รวมถึงการแข่งขันประเภทลู่และลาน ซึ่งส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “สนามกีฬาโอลิมปิก” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสนามแข่งขันเหล่านี้ อนึ่ง สนามกีฬากลางของโอลิมปิกฤดูหนาวไม่ใช้ชื่อนี้ อย่างไรก็ตาม อาคารกีฬาบางแห่งอาจใช้ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งมักจะใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด โดยสนามกีฬาโอลิมปิกแต่ละแห่ง ใช้รองรับการแข่งขันเพียงครั้งเดียว ดังนั้นจึงมีสนามกีฬาโอลิมปิกมากกว่าหนึ่งแห่ง ในเมืองซึ่งเป็นเจ้าภาพมาแล้วสองครั้งขึ้นไป ขณะที่มีเพียง โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส (Los Angeles Memorial Coliseum) แห่งเดียวที่เป็นสนามกีฬาหลักถึงสองครั้ง สำหรับพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขันครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ไม่ได้จัดขึ้นที่สนามกีฬาเวมบลีย์ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ ที่เคยเป็นสนามกีฬาหลักในครั้งที่ 14 เมื่อปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แต่เป็นที่สนามกีฬาแห่งใหม่ในแขวงสแตรตเฟิร์ด อย่างไรก็ตาม เวมบลีย์คงเป็นสนามแข่งขันฟุตบอลบางนัด และกลายเป็นสนามกีฬาแห่งที่สอง ซึ่งใช้แข่งขันในโอลิมปิกสองครั้ง แต่เป็นศูนย์กลางเพียงครั้งเดียว ต่อจากสนามคริกเก็ตเมลเบิร์น ซึ่งใช้เป็นสนามแข่งขันกรีฑา ฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ กับฮอกกีในครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และเป็นสนามเหย้านัดแรก ของการแข่งขันฟุตบอลในครั้งที่ 27 เมื่อปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสนามกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิกมหาวิทยาลัย

นามกีฬาโอลิมปิกมหาวิทยาลัย (University Olympic Stadium,Estadio Olímpico Universitario) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เอสตาจีอูโอลิมปิกโกยูนิเวอร์ซิทาริโอ ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยกิยูดัด เมืองเม็กซิโกซิตี้ ประเทศเม็กซิโก เป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของเม็กซิโก รองจากเอสตาจีอูอัซเตกา เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสนามกีฬาโอลิมปิกมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด (Newcastle United Football Club; ตัวย่อ: NUFC) เป็นทีมฟุตบอลอาชีพทีมหนึ่งในฟุตบอลลีกอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองนิวคาสเซิลอะพอนไทน์ มีชื่อเล่นของทีมว่า "แม็กพายส์" ("สาลิกาดง" หรือ "กางเขนเหล็ก" ในภาษาไทย) แฟนของทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด จะมีชื่อเรียกว่า "ทูนอาร์มี" ซึ่งคำว่า "ทูน" นั้นเป็นภาษาแซกซัน คือคำว่า "ทาวน์" ที่แปลว่า "เมือง" นิวคาสเซิลยูไนเต็ดถือว่ามีคู่แข่งในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยกัน คือ ซันเดอร์แลนด์ และ มิดเดิลส์เบรอ ในฤดูกาล 2015–16 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดต้องตกชั้นลงไปเล่นในเดอะแชมเปียนชิป หลังจากจบการเล่นนัดที่ 37 ของฤดูกาล เนื่องจากมีเพียง 34 คะแนน และอยู่ในอันดับ 18 ของตารางคะแนน ซึ่งไม่สามารถไล่ตามทันทีมที่อยู่ในอันดับ 17 คือ ซันเดอร์แลนด์ ที่มี 38 คะแนน ได้ทันแล้ว เนื่องจากเหลือการแข่งขันอีกเพียงนัดเดียว แต่เพียงฤดูกาลเดียว นิวคาสเซิลยูไนเต็ดก็ได้เลื่อนชั้นกลับขึ้นไปเล่นในพรีเมียร์ลีก โดยหลังจากชนะเปรสตันนอร์ทเอนด์ไป 4–1 และมีคะแนนทิ้งห่างจากทีมอันดับ 3 คือ เรดิงถึง 9 คะแนน และตามหลังไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน 1 คะแนน และเมื่อจบฤดูกาล นิวคาสเซิลยูไนเต็ดได้แชมป์ โดยมี 94 คะแนน มากกว่าไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียนที่ได้เลื่อนชั้นไปก่อนแล้ว 1 คะแนน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ หรือ สเวน โอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต

หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นธิดาคนเล็กของหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร กับ หม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต พระธิดาใน พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ และหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ วรวรรณ เป็นพระปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ในรัชกาลที่ 5 และยังเป็นปนัดดาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยมเล็ก และเป็นอดีตคู่สมรสของพระโอรสในมหาราชาแห่งแคว้นชัยปุระ ประเทศอินเดีย อีกด้วย ม.ร.ว.ปรียนันทนา เป็นสมาชิกว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงยิ่งศักดิ์ อิศรเสนา

หม่อมหลวงยิ่งศักดิ์ อิศรเสนา อดีตนักมวยสากลชาวไทยและอดีตข้าราชการพลเรือนประจำกระทรวงเกษตร (ปัจจุบันคือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ม.ล.ยิ่งศักดิ์ ในวัยเยาว์เป็นผู้ที่นิยมชมชอบในการเล่นกีฬาชนิดต่าง ๆ อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกีฬาประเภทศิลปะการป้องกันตัว เมื่อเป็นวัยรุ่นเคยหัดกระบี่กระบองกับครูที่มีชื่อเสียงหลายคน มีฝีมือดีสามารถคว้ารางวัลผ้าขาวม้ามาครองตามงานประเพณีต่าง ๆ มาได้หลายผืน ต่อมาได้ไปศึกษาต่อด้านการเกษตรที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ฝึกชกมวยสากล และได้ขึ้นชกในแบบมวยสากลสมัครเล่นระดับนักเรียนได้แชมป์เป็นถ้วยรางวัลเกียรติยศหลายใบ ต่อมาจึงได้ขึ้นชกมวยสากลอาชีพที่นั่น โดยขึ้นชกในพิกัดน้ำหนักระหว่าง 135-140 ปอนด์ (รุ่นไลท์เวท-รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท) มีสถิติการชกอยู่ทั้งหมด 42 ไฟท์ เป็นการชนะคะแนน 7 ไฟท์ ชนะที.เค.โอ. 8 ไฟท์ ชนะน็อก 17 ไฟท์ ชนะฟาล์ว 2 ไฟท์ แพ้คะแนน 4 ไฟท์ แพ้น็อก 1 ไฟท์ และเสมอทั้งหมด 3 ไฟท์ โดยมีฉายาที่ได้รับจากชาวอังกฤษว่า "Siamese flash" (สายฟ้าสยาม) เมื่อสำเร็จการศึกษามาแล้ว ม.ล.ยิ่งศักดิ์ นับได้ว่าเป็นชาวไทยที่มีคุณวุฒิเกี่ยวกับวิชามวยสากลอย่างเต็มเปี่ยมชนิดหาตัวจับยาก แต่ต่อมาได้เข้ารับราชการในกระทรวงเกษตร จึงไม่อาจทำให้ได้ใกล้ชิดกับวงการมวยเหมือนเช่นอดีต จนกระทั่ง เวทีราชดำเนินเปิดดำเนินการขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ม.ล.ยิ่งศักดิ์ได้เข้าไปดูมวยในเวทีบ่อยขึ้น และได้เริ่มเขียนคอลัมน์วิจารณ์มวยในหนังสือพิมพ์และนิตยสารมวยฉบับต่าง ๆ จนเป็นที่ชื่นชอบและรู้จักเป็นอย่างยิ่งของแฟนมวยและแฟนกีฬาในระหว่างปี พ.ศ. 2493-พ.ศ. 2496 โดยแฟนมวยมักนิยมเรียกชื่อของ ม.ล.ยิ่งศักดิ์อย่างคุ้นเคยว่า หม่อมยิ่ง นอกจากนี้แล้ว ม.ล.ยิ่งศักดิ์ ยังได้เป็นเทรนเนอร์ให้กับนักมวยสากลชาวไทยที่มีชื่อเสียงที่จะทำการขึ้นชิงแชมป์ อาทิ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ในไฟท์ที่ขึ้นชิงแชมป์สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิค หรือ OPBF ในรุ่นไลท์เวท เมื่อปี พ.ศ. 2495 และได้เป็นแชมป์มวยสากลในระดับภูมิภาคเป็นคนแรกของไทย และ สมเดช ยนตรกิจ ที่ขึ้นชิงแชมป์ในสถาบันเดียวกันในรุ่นเวลเตอร์เวทเมื่อปี พ.ศ. 2496 เป็นต้น ด้านชีวิตครอบครัว ม.ล.ยิ่งศักดิ์สมรสกับนางศรีอุทัย อิศรเสนา และมีบุตรสาวกับนางบุญชู สว่างนวล ซึ่งเป็นภริยาที่มิได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย หนึ่งคน คือ มยุรี อิศรเสนา ณ อยุธยา ปัจจุบันเป็นนักร้องเพลงลูกกรุงที่มีชื่อเสียงและเป็นนักแสดงสมทบ ม.ล.ยิ่งศักดิ์ถึงแก่กรรมเมื่อเวลาสี่ทุ่มเศษของวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2496 ด้วยอาการเส้นโลหิตในสมองแตก สิริอายุได้เพียง 50 กว่า ๆ เท่านั้น ที่บ้านพักของตัวเองในซอยวรพงษ์ ถนนวิสุทธิกษัตริย์ เนื่องจากโรคประจำตัวคือ ความดันโลหิตสูงเพราะติดสุรามา ขณะที่ถึงแก่กรรมนั้น ม.ล.ยิ่งศักดิ์เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญชั้นเอก ประจำกรมกสิกรรม กระทรวงเกษตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหม่อมหลวงยิ่งศักดิ์ อิศรเสนา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร

ลโท หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร (29 เมษายน พ.ศ. 2429 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์กับหม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)

ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล)

หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล) ท่านเป็นผู้ที่มีความสำคัญต่อวงการศึกษาของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล) · ดูเพิ่มเติม »

หลิน เจิ้งอิง

หลิน เจิ้งอิง (林正英, พินอิน: Lín zhèngyīng, Lam Ching-ying) อดีตนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ ชาวฮ่องกงผู้ล่วงลับ มีชื่อจริงแต่แรกเกิดว่า หลิน เกิ้นเป่า (林根寶) เกิดเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1952 ที่เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน เริ่มต้นอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นเด็กฝึกหัดงิ้วในโรงเรียนสอนอุปรากรณ์จีน ที่ฮ่องกง ด้วยรูปร่างที่เล็ก ผอมบาง ทำให้มักได้รับบทประจำเป็นตัวนาง ซึ่งความถนัดดังกล่าวนี้ได้สืบทอดต่อเนื่องมาเมื่อได้ก้าวสู่วงการภาพยนตร์ ทำให้มักจะได้รับหน้าที่เป็นสแตนด์อินให้กับนักแสดงหญิง ต่อมา หง จินเป่าชักชวนให้เข้าร่วมทีมสตั้นแมน และตัวประกอบในภาพยนตร์กังฟูและกำลังภายใน ซึ่งก็ได้รับบทเด่นและบทรองมาเรื่อย เช่น A Touch of Zen ในปี ค.ศ. 1971 และ Fist of Fury ในปี ค.ศ. 1972 จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1985 โด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง Mr. Vampire ในบทของ อาจิ่ว นักพรต ลัทธิเหมาซาน ผู้ชำนาญการปราบผี ซึ่งกลายเป็นบทเด่นประจำตัว ซึ่งได้รับบทเดิมนี้และบทที่ใกล้เคียงซ้ำต่อมาอีกหลายเรื่องด้วยกัน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ประจำตัวไป ในบั้นปลายชีวิตการแสดง หลิน เจิ้งอิง ได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ต้นทุนต่ำรวมทั้งซีรีส์หรือละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทของอาจารย์ปราบผีอีก โดยมีผลงานเรื่องสุดท้ายคือ Vampire Expert หลิน เจิ้งอิง เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 ที่โรงพยาบาลเซนต์เทเรซ่า ที่ฮ่องกง ด้วยโรคมะเร็งตับ อายุได้ 44 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหลิน เจิ้งอิง · ดูเพิ่มเติม »

หง จินเป่า

หง จินเป่า (อักษรจีนตัวเต็ม: 洪金寶, อักษรจีนตัวย่อ: 洪金宝, พินอิน: Hóng Jīnbǎo) เป็นนักแสดงและผู้กำกับ, ผู้ออกแบบฉากแอ็คชั่นชาวฮ่องกงร่างอ้วนที่มีชื่อเสียงร่วมกับ เฉินหลง และ หยวนเปียว หง จินเป่า เกิดเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1952 ที่เมืองหนิงโป มณฑลเจ้อเจียง ในครอบครัวที่มีกิจการผลิตภาพยนตร์อยู่แล้ว จึงทำให้หง จินเป่า อยากจะเป็นนักแสดงตั้งแต่อายุ 8 ขวบ หง จินเป่าขอให้ทางครอบครัวส่งไปเรียนการแสดงที่สถาบัน China Drama Academy ในฮ่องกง ซึ่งสอนศิลปะการต่อสู้ รวมทั้งงิ้วแบบงิ้วปักกิ่ง ด้วย ตอนแรกอาจารย์ไม่แน่ใจความสามารถของเขานัก เนื่องจากเห็นร่างที่อ้วนและความช่างกิน แต่ในไม่ช้าอาจารย์ก็เปลี่ยนใจหันมายอมรับในความสามารถ ภายหลังหง จินเป่าและคนอื่น ๆ ในสถาบันล้วนแต่กลายมาเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงทั้งสิ้น เช่น เฉินหลง และ หยวนเปียว ในทศวรรษที่ 70 หง จินเป่าเป็นสตั๊นต์แมนที่มีชื่อของฮ่องกงจนได้เซ็นสัญญากับบริษัทโกลเดนฮาร์เวสต์ เขาพยายามที่จะเริ่มมีบทบาทในการแสดงให้มากขึ้นโดยยอมแม้กระทั่งรับบทที่ถ่อยเถื่อน หยาบคาย ใบหน้ามีรอยแผลเป็นเหวอะ ซึ่งในปี ค.ศ. 1978 นับได้ว่าหง จินเป่าและทีมได้รับการยอมรับว่าเป็นสตั๊นต์แมนที่ดีที่สุดของฮ่องกง ปี ค.ศ. 1983 หง จินเป่า ได้ร่วมกับเฉินหลงและหยวนเปียว เพื่อนรักอีก 2 คน สร้างภาพยนตร์แอ๊คชั่นคอมาดี้ เรื่อง Winners and Sinners ทำให้วงการภาพยนตร์แอ๊คชั่นฮ่องกงกลับมาคึกคักอีกครั้งหลังซบเซาไปนานจากการเสียชีวิตของ บรูซ ลี จน 3 คนได้รับฉายาว่า "3 พี่น้องร่วมสาบาน" ซึ่งหง จินเป่า ได้รับฉายาว่า "พี่ใหญ่" (Big Brother) เนื่องจากมีอายุมากที่สุด และได้แสดงภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จร่วมกันอีก อาทิ เอไกหว่า ในปี ค.ศ. 1984, Wheels On Meals, Heart of The Dragon ในปีเดียวกัน และ Dragon Forever ในปี ค.ศ. 1988 เป็นต้น อย่างไรก็ตามหลังร่วมแสดงเรื่อง Dragon Forever แล้ว มีข่าวในทำนองที่ว่า หง จินเป่า และ เฉินหลงเริ่มแตกคอกัน มีบางกระแสกล่าวว่าหง จินเป่าอิจฉาเฉินหลงที่ประสบความสำเร็จสูงสุดจากเรื่อง วิ่งสู้ฟัด ในปี ค.ศ. 1985 แต่เฉินหลงสัมภาษณ์ว่าตัวเองมีส่วนทำให้ 3 พี่น้องร่วมสาบานผิดใจกัน และแม้มีกระแสข่าวทางลบ แต่หง จินเป่าก็ไม่สะทกสะท้าน เขายังทำงานต่อไปโดยมีทั้งงานแสดงและกำกับภาพยนตร์ ยุคกลางของทศวรรษที่ 90 ความกระทบกระทั่งกันระหว่างเฉินหลงและหง จินเป่าค่อย ๆ ซาลง หง จินเป่ารับ งานกำกับคิวแอ๊คชั่นให้เฉินหลง ในเรื่อง Thunderbolt ในปี ค.ศ. 1995 และ Mr. Nice Guy ในปี ค.ศ. 1997 นอกจากนี้ หง จินเป่ายังมีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหงพิชิตตะวันตก ภาพยนตร์ภาคสุดท้ายของหวง เฟยหง ที่นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย หรือ เจ็ทลี ในปี ค.ศ. 1997 ต่อจาก ฉีเคอะ แล้ว ซึ่งก็สามารถทำรายได้สูงสุดในฮ่องกง ในปี ค.ศ. 1998 หง จินเป่าย้ายไปสหรัฐอเมริกาและรับแสดงซีรีส์ชุด Law of Honour โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า ซัมโม หง (Summo Hung) แต่ทว่าผลตอบรับกลับมาออกมาไม่ดีนัก จึงย้ายกลับมาฮ่องกงและร่วมงานกับเฉินหลงอีกครั้ง ผลงานในระยะหลังของหง จินเป่า มักเป็นผู้กำกับฉากแอ๊คชั่นหรือผู้กำกับคิวบู๊ และอาจรับเป็นนักแสดงประกอบบ้างในบางเรื่อง ซึ่งผลงานในระยะหลัง ๆ ได้แก่ การเป็นผู้ออกแบบคิวบู๊ในเรื่อง ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา ในปี ค.ศ. 2008, ออกแบบคิวบู๊และร่วมแสดงใน ยิปมัน อาจารย์บรู๊ซ ลี ในปี ค.ศ. 2010 ร่วมแสดงเป็นตัวประกอบใน 8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร และรับบทเป็น เฉินหว่านซุน อาจารย์ของยิปมัน ในเรื่อง The Legend is Born – Ip Man ซึ่งร่วมแสดงกับหยวนเปียว ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหง จินเป่า · ดูเพิ่มเติม »

อภิรดี ยิ่งเจริญ

ลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 -) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระบรมวงศานุวงศ์ ท่านผู้หญิงอภิรดีเคยเป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เคยเป็นคุณข้าหลวงผู้ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และนายทหารราชองครักษ์พิเศษ มียศเป็นพลเอกหญิง ในประเทศไทยมีสามัญชนเพียงสองคนที่ดำรงตำแหน่ง "พลเอกหญิง" คือ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ และ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอภิรดี ยิ่งเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์

นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ (เกิด 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคเพื่อไทย จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอสมท · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ฮัน ปามุก

ฟอริต ออร์ฮัน ปามุก (Ferit Orhan Pamuk) เป็นนักเขียนแนวโพสต์โมเดิร์นชาวตุรกีคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ปามุกเกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1952 ณ นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี จบการศึกษาทางด้านวารสารศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอิสตันบูล เขาแต่งงานในปีค.ศ. 1982 แต่ก็หย่าในปีค.ศ. 2001 เขาเริ่มสร้างงานเขียนในปีค.ศ. 1974 โดยผลงานชิ้นแรกมีชื่อว่า Karanlık ve Işık (ความมืดและแสงสว่าง) และมีผลงานชิ้นอื่น ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ปามุกได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม โดยเป็นนักเขียนคนแรกจากประเทศตุรกี และเป็นนักเขียนคนที่สองจากประเทศมุสลิมที่ได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และออร์ฮัน ปามุก · ดูเพิ่มเติม »

อะสึโกะ อิเกะดะ

อะสึโกะ อิเกะดะ (ประสูติ 7 มีนาคม พ.ศ. 2474) หรือ อดีตเจ้าหญิงโยริ เป็นภริยาของทะกมะซะ อิเกะดะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง ทั้งยังเป็นหนึ่งในพระภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะที่ยังมีพระชนม์ชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอะสึโกะ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

อัญชลี วิวัธนชัย

อัญชลี วิวัธนชัย หรือที่รู้จักกันในนามปากกา อัญชัน (26 กันยายน พ.ศ. 2495 -) เกิดที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ อัญชลี สุธรรมพิทักษ์ สมรสกับ อนุสรณ์ วิวัธนชัย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัญชลี วิวัธนชัย · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟาโรเมโอ

อัลฟาโรเมโอ (Alfa Romeo) ในนามบริษัท Alfa Romeo Automobiles S.p.A. บางครั้งก็นิยมเรียกชื่อสั้นๆเข้าใจง่ายว่า "อัลฟา" เป็นผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอิตาลี แห่งเมืองมิลาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 สร้างชื่อเสียงมาจากการผลิตรถสปอร์ตราคาแพง และการแข่งขันกีฬามอเตอร์สปอร์ต ปัจจุบันอยู่ภายใต้การครอบครองของ FCA Italy S.p.A. ในเครือบริษัท Fiat Chrysler Automobiles, NV.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัลฟาโรเมโอ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวัชร์ อภัยวงศ์

นายอัศวัชร์ อภัยวงศ์ นักธุรกิจและนักการเมืองไทย อดีตเลขาธิการพรรคถิ่นไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรครวมใจไทยชาติพัฒน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัศวัชร์ อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศนี พลจันทร

อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัศนี พลจันทร · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (ชื่อเล่น: จิ๊) ซึ่งเป็นที่รู้จัก และเรียกกันติดปากว่า ป้าจิ๊ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลจากผลงานการแสดง ครบทั้ง 4 รางวัลหลักคือ รางวัลพระสุรัสวดี, รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลเมขลา มีน้องชายหนึ่งคน (ชื่อเล่น: โจ้)อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ, รักแม่ สุดหัวใจ, ลิปส์ พับลิชชิง,..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ ลีวีระ

อารีย์ ลีวีระ (พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้อำนวยการบริษัทไทยพาณิชย์ เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ "สยามนิกร" และ "พิมพ์ไทย" อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 2 สมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอารีย์ ลีวีระ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกออทโท ฟรันซ์แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกอ๊อตโต้ ฟรานซ์แห่งออสเตรีย อาร์ชดยุกอ๊อตโต้ ฟรานซ์แห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม:อาร์ชดยุกอ๊อตโต้ ฟรานซ์ โจเซฟ คาร์ล ลุดวิก มาเรีย) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรียและพระชายาพระองค์ที่ 2 ของพระองค์ เจ้าหญิงมาเรีย แอนนันซิเอต้าแห่งทู ซิชิลีส์ ประสูติเมื่อวันที่ 21 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาร์ชดยุกออทโท ฟรันซ์แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550)

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: คาร์ล ลุดวิก มาเรีย ฟรานซ์ โจเซฟ ไมเคิล กาเบรียล แอนโตนิอุส โรเบิร์ต สเตฟาน พิอุส เกรเกอร์ อิกเนเชียส, Carl Ludwig Maria Franz Joseph Michael Gabriel Antonius Robert Stephan Pius Gregor Ignatius von Habsburg-Lorraine) ประสูติเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2461 ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 4 และพระราชบุตรองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้อีกด้วย หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งหลังจากการล้มล้างระบอบกษัตริย์แล้ว พระองค์และพระราชวงศ์ซึ่งนำโดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ล พระราชบิดา ๆด้เสด็จลี้ภัยไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์เป็นที่แรก จากนั้นจึงทรงอพยพไปยังที่เกาะมาไดรา ประเทศโปรตุเกส ซึ่งเป็นที่ที่พระราชบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคาทอลิกลอยแวน ซึ่งเป็นที่ที่สมเด็จพระจักรพรรดิออตโต พระเชษฐาของพระองค์ก็ทรงสำเร็จการศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้เช่นกัน ต่อมาปีพ.ศ. 2483 พระราชวงศ์อิมพีเรียลได้อพยพไปที่ประเทศแคนาดา พระองค์จึงทรงสำเร็จการศึกษาในสาขาคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยลาวัล เมืองควีเบค ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ทรงช่วยเหลือผู้ยากไร้ชาวยิวซึ่งอพยพจากประเทศเยอรมนี ซึ่งขณะนั้นจอมเผด็จการอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ปกครองเยอรมนีอยู่ ต่อมาปีพ.ศ. 2486 พระองค์ทรงเข้าร่วมกับกองทัพนาวีสหรัฐ โดยตามคำเชิญของแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ปีต่อมา พระองค์จึงได้ทรงร่วมรบกับนายทหารคนอื่นๆ โดยได้ทรงร่วมรบในสงครามนอร์มองดี ประเทศฝรั่งเศส พระองค์ทรงเข้าร่วมกองทัพสหรัฐฯ จนถึงปีพ.ศ. 2490 เมื่อปี พ.ศ. 2501 พระองค์ได้พาครอบครัวของพระองค์มาพำนักที่ประเทศเบลเยียม พระองค์รวมทั้งอาร์ชดัชเชสมารี แอสตริด พระชายา ได้ทรงงานเพื่อสังคม โดยช่วยเหลือผู้รากไร้และคนตกงานจำนวนมาก พระองค์ทรงประทับอยู่ในประเทศเบลเยียมจนกระทั่งสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกเฟลิกซ์แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกเฟลิกซ์แห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: เฟลิกซ์ เฟรเดอริค ออกัส มาเรีย วอม เซียจ ฟรานซ์ โจเซฟ ปีเตอร์ คาร์ล แอนตัน โรเบิร์ต อ๊อตโต้ พิอุส ไมเคิล เบเนดิกต์ เซบัสเตียน อิกเนเชียส, ภาษาอังกฤษ: Felix Friedrich August Maria vom Siege Franz Joseph Peter Karl Anton Robert Otto Pius Michael Benedikt Sebastian Ignatius von Habsburg-Lorraine) ประสูติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 ณ พระราชวังเชินบรุนน์ ประเทศออสเตรีย เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 และพระราชบุตรองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ '''แอนนา-ยูจีนี่''' พอลลีน กาเบรียล โรเบิร์ตไทน์ มารี เดอ เมอร์ซีเดส-เมลชอร์ เจ้าหญิงแห่งอาเรนเบิร์ก ซึ่งเป็นพระธิดาองค์สุดท้องใน เจ้าชายโรเบิร์ต-พรอสเพอร์แห่งอาเรนเบิร์ก และเจ้าหญิงกาเบรียลแห่งเวรด เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ณ วิหารโบลิแยร์ ประเทศฝรั่งเศส ทั้งสองพระองค์มีพระธิดา 4 พระองค์และพระโอรส 3 พระองค์ รวมทั้งสิ้น 7 พระองค์ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาร์ชดยุกเฟลิกซ์แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสโยลันเดอแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสโยลันเดแห่งออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาร์ชดัชเชสโยลันเดอแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Elisabeth Marie of Austria, de.: Erzherzogin Elisabeth Marie von Österreich) (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ มารี เฮ็นเรียต สเตฟานี่ กิเซล่า, Elisabeth Marie Henriette Stephani Gisela von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซิส อาร์กูเอโย

อาเลกซิส อาร์กูเอโย (Alexis Argüello) เกิดวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1952 ที่เมืองมานากัว ประเทศนิการากัว อาร์กูเอโยเริ่มชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1968 เมื่ออายุได้เพียง 16 ปี และใช้เวลาถึง 6 ปี จึงได้เป็นแชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นเฟเทอร์เวตของสมาคมมวยโลก (WBA) เมื่อชนะน็อก รูเบน โอลิวาเลส ยก 13 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974 ซึ่งก่อนหน้านี้อาร์กูเอโยเคยชกชิงแชมป์ในรุ่นเดียวกันนี้มาแล้วครั้งนึงกับ เอร์เนสโต มาร์เซล เจ้าของตำแหน่งชาวปานามา แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน หลังได้เป็นแชมป์โลกเฟเทอร์เวตแล้ว อาร์กูเอโยก็ชกป้องกันตำแหน่งไว้ได้ 4 ครั้ง ก่อนที่จะสละเพื่อขึ้นไปชกในรุ่นที่เหนือกว่า อาร์กูเอโยขึ้นแชมป์โลกในรุ่นที่สอง ในรุ่นซูเปอร์เฟเทอร์เวตของสภามวยโลก (WBC) เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1978 ที่เมืองบายามอน เปอร์โตริโก และเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 13 ต่อ อัลเฟรโด เอสดาเลรา เจ้าของตำแหน่งเดิมซึ่งเป็นนักมวยเจ้าถิ่นด้วย จากนั้นจึงป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ถึง 8 ครั้ง ก่อนที่จะสละตำแหน่งในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1980 เนื่องจากควบคุมน้ำหนักไม่ไหว 20 มิถุนายน ค.ศ. 1981 ขึ้นชิงแชมป์โลกในรุ่นไลต์เวตของสภามวยโลก กับ จิม วัตต์ เจ้าของตำแหน่งชาวสก็อต ที่สนามเวมบลีย์ ในมหานครลอนดอน สหราชอาณาจักร และเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไปได้อย่างขาวสะอาดเมื่อชกกันครบ 15 ยก อาเลกซิส อาร์กูเอโย กลายเป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาทันทีจากการเป็นแชมป์โลกถึง 3 รุ่น ในรุ่นไลต์เวตนี้เขาสามารถป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ 4 ครั้ง และการชกที่น่าประทับใจก็คือการป้องกันตำแหน่งกับ เรย์ "บูม บูม" มานชินี่ นักมวยจอมตะลุยผิวขาวชาวอเมริกัน ที่กำลังมีฟอร์มการชกร้อนแรงและเป็นขวัญใจชาวอเมริกัน แต่อาร์กูเอโยได้แสดงให้เห็นว่าเขามีการชกที่เหนือชั้นกว่า เมื่อเป็นฝ่ายชนะที.เค.โอ.มานชินี่ ไปได้ในยกที่ 14 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1981 อาร์กูเอโยป้องกันตำแหน่งครั้งสุดท้ายในรุ่นไลต์เวต เมื่อชนะน็อกยก 5 ต่อ แอนดี้ กานิแกน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1982 และข้ามขึ้นไปชิงแชมป์โลกรุ่นที่ 4 ในรุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวต สมาคมมวยโลก กับ อารอน ไพรเออร์ นักมวยอันตรายชาวอเมริกัน ผู้ยังไม่เคยแพ้ใครในขณะนั้น ผลการชกไพรเออร์แข็งแกร่งกว่า และสามารถเอาชนะน็อกอาร์กูเอโยไปในยกที่ 14 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982 แต่ต่อมาทั้งคู่ได้มีโอกาสล้างตากันอีก ผลการชกก็ออกมาในรูปแบบเดิม คือ อาร์กูเอโยเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 10 ชวดตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นที่ 4 อาร์กูเอโยวางนวมไปนาน จนหลายฝ่ายคาดว่าเขาคงแขวนนวมไปแล้ว แต่แล้วอาร์กูเอโยก็หวนคืนมาชกมวยอีกครั้ง และชกครั้งสุดท้ายชนะน็อก บิล คอสเตลโล่ อดีตแชมป์โลกซูเปอร์ไลต์เวต ของสภามวยโลก ไปในยกที่ 4 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 ก่อนที่จะหยุดชกไป เมื่อถูกตรวจพบว่าเป็นโรคหัวใจ อาร์กูเอโยหยุดไปรักษาตัวนานเกือบ 10 ปี ก่อนที่จะกลับมาชกอีกครั้ง แต่ก็มีสถิติลุ่ม ๆ ดอน ๆ เนื่องจากสภาพชีวิตย่ำแย่ และในครั้งสุดท้ายก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนอย่างหมดรูปต่อนักมวยโนเนมอย่าง สก็อต วอล์กเกอร์ ในปี ค.ศ. 1995 ก่อนที่จะอำลาชีวิตการชกไปอย่างเป็นทางการในที่สุด หลังแขวนนวม อาร์กูเอโยได้หันไปเล่นการเมือง และได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกเทศมนตรีกรุงมานากัวด้วย เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 แต่ก็มีปัญหารุมเร้าหลายประการ จนในที่สุดอาร์กูเอโยได้ทำอัตวินิบาตกรรมด้วยการยิงเข้าที่ขั้วหัวใจตนเองเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 รวมอายุได้ 57 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาเลกซิส อาร์กูเอโย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางละมุง

อำเภอบางละมุง คืออำเภอหนึ่งในจังหวัดชลบุรี มีพื้นที่รวมประมาณ 727 ตารางกิโลเมตร หรือ 469,021 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 ตำบล 60 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จะมีศาสนาอื่นบ้างเป็นกลุ่มย่อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอำเภอบางละมุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสันป่าตอง

ันป่าตอง (50px) เป็นอำเภอเล็ก ๆ อำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ 22 กิโลเมตร มีความเจริญเติบโตทางด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ส่งผลให้มีความพร้อมในตัวเองทั้งด้านคุณภาพทางการศึกษา การแพทย์ การกีฬา การเกษตร และบุคลากรที่มีคุณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอำเภอสันป่าตอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองหงส์

หนองหงส์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอำเภอหนองหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

อิศอม ชะร็อฟ

อิศอม ชะร็อฟ อิศอม อับเดลอะซีซ ชะร็อฟ (عصام عبد العزيز شرف; Essam Abdel-Aziz Sharaf; เกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2495) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศอียิปต์ระหว่างวันที่ 3 มีนาคม-7 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยก่อนหน้าเขาดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอิศอม ชะร็อฟ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลา รอสเซลลินี

อิซาเบลลา รอสเซลลินี (18 มิถุนายน ค.ศ. 1952 -) เป็นนักแสดง นางแบบ นักเขียนชาวอิตาลี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการเป็นนางแบบโฆษณาเครื่องสำอางลังโคม เป็นเวลาถึง 14 ปีติดต่อกัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1982 ถึง ค.ศ. 1996 และมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง Blue Velvet และ Death Becomes Her อิซาเบลลา รอสเซลลินี เกิดที่กรุงโรม เป็นบุตรสาวของอิงกริด เบิร์กแมน นักแสดงหญิงชาวสวีเดน กับโรแบร์โต รอสเซลลินี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี เธอมีฝาแฝด ชื่อ อิซอตตา อิงกริด รอสเซลลินี ซึ่งไม่ได้เป็นนักแสดง แต่เป็นศาสตราจารย์ด้านวรรณคดีอิตาลี ด้านชีวิตส่วนตัว เธอสมรสกับมาร์ติน สกอร์เซซี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอิซาเบลลา รอสเซลลินี · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันเตมิเกล ดยุกแห่งวีเซว

อินฟันเตมิเกล ดยุกแห่งวีเซว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอินฟันเตมิเกล ดยุกแห่งวีเซว · ดูเพิ่มเติม »

อู่กรุงเทพ

ริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด (The Bangkok Dock Company (1957) Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจในประเทศไทย สังกัดกระทรวงกลาโหม ประกอบกิจการอู่เรือ สร้าง ซ่อมเครื่องจักร เครื่องกลเรือ และอุตสาหกรรมพาณิชย์นาวีของกองทัพไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอู่กรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ เมิ่งต๋า

อู๋ เมิ่งต๋า (คนไทยนิยมเรียก อู๋ม่งต้ะ)() (2 มกราคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักแสดงชาวฮ่องกง ที่มีชื่อเสียงจากบทตลก เป็นลูกคู่ของตัวเอก ในภาพยนตร์ของโจว ซิงฉือเป็นจำนวนมาก อู๋ เมิ่งต๋า เป็นชาวมณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มแสดงภาพยนตร์ครั้งแรกตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอู๋ เมิ่งต๋า · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

อีนิด ไบลตัน

อีนิด แมรี ไบลตัน (Enid Mary Blyton) เป็นหนึ่งในนักเขียนที่มีคนอ่านและแปลผลงานมากที่สุดในโลก ผลงานของเธอมีผู้นิยมอ่านตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงเด็กโตและผู้ใหญ่ หนังสือที่เธอแต่งได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือกว่า 700 เล่มและเรื่องสั้นกว่า 10000 เรื่อง ได้รับการแปลไปแล้วเกือบ 90 ภาษา ในกว่า 30 ประเทศทั่วโลก เรื่องที่เธอแต่งนั้น โด่งดังมาทั่วโลกกว่าครึ่งศตวรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอีนิด ไบลตัน · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ผลอำนวย

นายอนันต์ ผลอำนวย (เกิด 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 3 อดีตสมาชิกวุฒิสภา ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอนันต์ ผลอำนวย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน พรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอนุสรณ์ วงศ์วรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอลลีวูด

ป้ายฮอลลีวูด ฮอลลีวูด (Hollywood) เป็นชื่อเขตในนครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เหมือนกับเป็นถนนหรือเขตหนึ่งเท่านั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกถึงตะวันตกเฉียงเหนือของศูนย์กลางนครลอสแอนเจลิส เนื่องจากว่าฮอลลิวูดนั้นมีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นศูนย์กลางแห่งประวัติศาสตร์ของโรงถ่ายทำภาพยนตร์ และดาราภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ชื่อของฮอลลีวูดจึงมักจะถูกเรียกเป็นชื่อแทนของโรงภาพยนตร์แห่งสหรัฐอเมริกาอีกด้วย ทุกวันนี้มีอุตสาหกรรมภาพยนตร์จำนวนมากที่ได้แพร่กระจายไปรอบๆพื้นที่ของแคลิฟอร์เนียและทางตะวันตกของนครลอสแอนเจลิส แต่อุตสาหรรมภาพยนตร์หลักๆที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อ การใส่เทคนิคพิเศษ ผู้สนับสนุน การผลิตขั้นสุดท้าย และบริษัททางด้านแสงประกอบ ยังคงอยู่ในฮอลลีวูด โรงละครสำคัญๆทางประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูดหลายแห่งถูกใช้เป็นสถานที่ชุมนุมและเวทีคอนเสิร์ตในงานเปิดตัวสำคัญๆระดับยักษ์ใหญ่ของโลกและยังเป็นเจ้าภาพในการประกาศรางวัลออสการ์หรือที่เรียกกันติดปากว่ารางวัลออสการ์นั่นเอง ฮอลลีวูดเป็นสถานที่ที่คนทั่วโลกต้องการมาเยือนทั้งนักผจญราตรีและนักท่องเที่ยวทั้งหลาย และยังเป็นที่ตั้งของถนน ฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม (Hollywood Walk of Fame) ที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ฮอลลีวูด ค.ศ. 1885 โรงแรมฮอลลีวูด ค.ศ. 1905 ใน ค.ศ. 1853 กระท่อมอิฐหลังเล็กๆหลังหนึ่งได้กลายมาเป็นฮอลลีวูดในทุกวันนี้ ในราวปี ค.ศ. 1870 ชุมชนเกษตรกรรมได้เจริญขึ้นมาในพื้นที่แห่งนี้พร้อมๆกับผลผลิตที่เจริญงอกงามมากในช่วงนั้น ที่มาของชื่อฮอลลีวูด ที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดนั้นน่าจะมาจากชื่อของต้น Tyon ท้องถิ่นหรือเรียกกันว่า "แคลิฟอร์เนียฮอลลี่" ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์ปกคลุมเนินเขาในสมัยนั้นและยังออกผลเบอร์รี่สีแดงกระจายอยู่ทั่วไปในช่วงหน้าหนาวของทุกปีอีกด้วย จากนั้นความเชื่อนี้และความเชื่อในเรื่องของที่มาของคำว่าฮอลลี่นี้ก็มีคนเชื่อถือมากขึ้นเรื่อยๆแต่ยังไม่ได้รับการยืนยันว่าเป็นความจริงแต่อย่างใด บ้างก็ว่าชื่อของฮอลลีวูดนี้เป็นชื่อที่ตั้งโดย เอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ บิดาแห่งฮอลลีวูด ซึ่งทั้งเขาและกีกี้ ภรรยาของเขาได้ตั้งชื่อนี้ขึ้นขณะที่มาฮันนีมูนกัน ตามบันทึกของมากาเร็ต เวอร์จิเนีย ไวท์ลี่ย์ บ้างก็ว่ามาจาก ฮาร์วี่ย์ วิลคอกซ์ ที่ได้มาซื้อที่ดินในบริเวณนี้และก็พัฒนาเป็นชุมชุนขึ้นมา โดยดาเออิดา ภรรยาของเขาได้พบกับผู้หญิงคนหนึ่งบนรถไฟที่บอกว่าเธอได้ตั้งชื่อบ้านพักฤดูร้อนที่รัฐโอไฮโอว่า ฮอลลีวูด ดาเออิดาชอบชื่อนี้และก็เอามาตั้งเป็นชื่อของชุมชนที่ตั้งขึ้นมาใหม่นี้ คำว่าฮอลลีวูดนี้ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกในแผนที่ของวิลคอกซ์สำหรับการแบ่งสรรพื้นที่และปรากฏในเอกสารของบันทึกเขตปกครองของวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1887 ตามคำพูดของจอร์แดน แมกซ์เวลล์นั้น ชื่อของฮอลลีวูดนั้นอ้างอิงมาจากไม้กายสิทธิ์ Druidic ซึ่งทั้งไม้กายสิทธิ์และอุตสาหกรรมภาพยนตร์ฮอลลีวูดนั้นเป็นเครื่องมือในการจัดการกับคน ราวปี ค.ศ. 1900 คณะบุคคลที่เรียกตัวเองว่า Cahuenga ได้จัดตั้งที่ทำการไปรษณีย์ หนังสือพิมพ์ โรงแรม และตลาดสองแห่งด้วยจำนวนประชากรเพียง 500 คน ซึ่งในขณะนั้น ลอสแอนเจลิสมีประชากรประมาณ 100,000 คนและมีเมืองที่ทอดผ่านสวนผลไม้รถส้มเป็นระยะทางกว่า 7 ไมล์ มีชื่อเส้นทางเดินรถเพียงชื่อเดียวจากใจกลางของ Prospent Avenue ที่พาดผ่านแต่มีการให้บริการไม่บ่อยนักและต้องใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง แต่บ้านสำหรับการบรรจุหีบห่อผลไม้รสส้มในสมัยก่อนนั้นอาจจะกลายเป็นจุดสำคัญที่นำความเจริญและการคมนาคมที่สะดวกสบายขึ้นมาสู่ผู้อยู่อาศัยในย่านฮอลลีวูด โรงแรมฮอลลีวูดอันเป็นโรงแรมใหญ่โรงแรมแรกของฮอลลีวูดที่มีชื่อเสียงนั้น เปิดบริการในปี ค.ศ. 1902 โดยเอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ เพื่อขายเป็นที่พักอาศัยเป็นจำนวนมากท่ามกลางฟาร์มปศุสัตว์ ตั้งอยู่หน้า Prospect Avenue และด้านข้างฝั่งตะวันตกของ Highland Avenue ปี ค.ศ. 1903 ฮอลลีวูดรวมเป็นเทศบาลแห่งหนึ่ง และในปี ค.ศ. 1904 รถบรรทุกวิ่งจากลอสแอนเจลิสมายังฮอลลีวูดคันใหม่ก็เปิดให้ใช้บริการ ระบบนี้เรียกว่า Hollywood Boulevard ซึ่งช่วยร่นระยะเวลาการเดินทางไป-กลับลอสแอนเจลิสได้อย่างมาก ปี ค.ศ. 1910 มีการพยายามจะรักษาระดับการขายน้ำอย่างพอเพียง ชาวเมืองจึงโหวตให้ฮอลลีวูดผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนครลอสแอนเจลิส จึงทำให้ระบบชลประทานเพื่อการพัฒนาเมืองนั้นถูกเปิดเป็น Los Angeles Aqueduct และต่อน้ำทางท่อจากแม่น้ำโอเว่นในหุบเขาโอเว่น นอกจากนั้น การโหวตครั้งนี้ก็ยังมีเหตุผลมาจากกาารต้องการให้ฮอลลิวูดกลายเป็นทางระบายน้ำเสียของนครลอสแอนเจลิสอีกด้วย หลังจากรวมกับนครลอสแอนเจลิสแล้ว ชื่อ Prospect Avenue ก็เปลี่ยนมาเป็น Hollywood Boulevard รวมทั้งหมายเลขถนนในพื้นที่แห่งนี้ เช่น จาก 100 Prospect Avenue ที่ Vermont Avenue กลายเป็น 6400 Hollywood Boulevard และ 100 Cahuenga Boulevard ที่ Hollywood Bouvelard เป็น 1700 Cahuenga Boulevard เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฮอลลีวูด · ดูเพิ่มเติม »

ฮัม แท-ย็อง

ัม แท-ย็อง (Ham Tae-young; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1872 — 24 ตุลาคม ค.ศ. 1964) เป็นนักการเมืองชาวเกาหลีใต้ และเป็นบาทหลวง, ผู้นำของคริสตจักรเพรสไบทีเรียนแห่งเกาหลี เขาชนะ คิม ซ็อง-ซู ในฐานะเป็นรองประธานาธิบดีเกาหลีใต้ลำดับที่ 3 โดยดำรงตำแหน่งดังกล่าวในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฮัม แท-ย็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ตบริหารพิเศษฮ่องกง เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฮ่องกงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ผัน บุญชิต

นายผัน บุญชิต (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 6 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และผัน บุญชิต · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข?

หน้าปกหนังสือ ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข? ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4 ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข? เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ที่แต่งโดย สุภา ศิริมานนท์ ใช้นามปากกา ษี บ้านกุ่ม เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และผู้อยู่เหนือเงื่อนไข? · ดูเพิ่มเติม »

ผจญภัยโพ้นทะเล

ผจญภัยโพ้นทะเล (The Voyage of the Dawn Treader) เป็นนิยายแฟนตาซีเยาวชนในชุดตำนานแห่งนาร์เนีย เขียนโดยซี.เอส. ลิวอิส ใน ค.ศ. 1952 นับเป็นลำดับที่สามตามที่ตีพิมพ์ และลำดับที่ห้าถ้านับตามเหตุการณ์ในเรื่อง ฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ แปลโดยสุมนา บุณยะรัตเวช พิมพ์ครั้งแรก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และผจญภัยโพ้นทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ดอมีนิก โบบี

็อง-ดอมีนิก โบบี (Jean-Dominique Bauby, 30 เมษายน พ.ศ. 2495 – 9 มีนาคม พ.ศ. 2540) เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักเขียน และบรรณาธิการของนิตยสาร ELLE เมื่อวันที่วันที่ 8 ธันวาคม 1995 ขณะเขามีวัยได้ 43 ปี เกิดอาการเส้นเลือดสมองแตก ทำให้ก้านสมองเสียหาย เขาสลบไป 20 วัน และเมื่อฟื้นขึ้นมาเขาพบว่าตัวเองไม่สามารถพูดได้ และเป็นอัมพาตเกือบทั้งตัว โบบีสามารถเคลื่อนไหวศีรษะได้เพียงเล็กน้อย ส่งเสียงอืออา และกะพริบตาซ้ายได้ เขาอยู่ที่สภาพที่ทางการแพทย์เรียกว่า Locked-in Syndrome แต่ในระหว่างที่เขาตกอยู่ในสภาพเช่นนั้น เขาเขียนหนังสือที่ชื่อว่า Le Scaphandre et Le Papillon (แปลเป็นภาษาไทยโดยวัลยา วิวัฒน์ศร ในชื่อ ชุดประดาน้ำและผีเสื้อ พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ผีเสื้อ) โดยให้คนท่องชุดตัวอักษรที่เรียงตามความถี่ในการใช้ในภาษาฝรั่งเศส และโบบีจะกะพริบตาเมื่อถึงตัวอักษรที่เขาต้องการ โบบีแต่งและเรียบเรียงเรื่องราวทั้งหมดในสมอง และให้คนเขียนตามคำบอกทีละตัวอักษร หนังสือของเขาวางขายในฝรั่งเศสในวันที่ 6 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฌ็อง-ดอมีนิก โบบี · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ สเตรต

อร์จ สเตรตบนตราคันทรีมิวสิกฮอลล์ออฟเฟม จอร์จ ฮาร์วีย์ สเตรต (เกิด: 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1952) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดง และโปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกันจากโพทีต, รัฐเทกซัส, สหรัฐอเมริกา สเตรตได้รับการขนานนามอย่างกว้างขวางให้เป็น "ราชาเพลงคันทรี" (King of Country) และเป็นหนึ่งในผู้ที่มีอิทธิพลต่อวงการคันทรีและยังเป็นศิลปินคันทรีที่อยู่ในกระแสนิยมมากที่สุดคนหนึ่งตลอดกาล สเตรตเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำแนวคันทรีแนวนีโอมาปรับใช้เข้ากับดนตรีของเขา การแต่งตัวในชุดคาวบอย นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในศิลปินคันทรีแรก ๆ ที่ผลักดันแนว คันทรีแท้ ให้กลับมานิยมอีกครั้งหนึ่ง ในช่วงยุค 80 สเตรตประสบความสำเร็จในซิงเกิลแรกของเขาคือ "Unwound" ซึ่งได้กลายเป็นซิงเกิลฮิตในปี 1981 และนับจากนั้นเป็นต้นมาตลอดช่วงยุค 80 ด้วยความเป็นที่นิยมอย่างสูงทำให้สตูดิโออัลบั้มทั้ง 7 อัลบั้มของสเตรตสามารถติดชาร์ตอันดับ 1 บนคันทรีชาร์ตทั้งหมด ในปี 2000 สเตรตก็ได้รับการบรรจุให้เป็นศิลปินคันทรีแห่งทศวรรษจาก อะแคเดมีออฟคันทรีมิวสิก (Academy of Country Music) ได้รับเลือกเข้าสู่คันทรีมิวสิกฮอลล์ออฟเฟม และได้รับรางวัลแกรมมีครั้งแรกจากอัลบั้ม Troubadour สเตรตได้รับการยกย่องให้เป็นเอนเตอร์เทนเนอร์แห่งปี 1989, 1990 และ 2013 จากสมาคมดนตรีคันทรี (CMA) และจากอะแคเดมีออฟคันทรีมิวสิก (ACM) ในปี 1990 และ 2014 เขายังได้รับการเสนอรับรางวัลทางดนตรีอีกมากมายและก็ได้รับรางวัลอีกหลายครั้งเช่นกัน ในปี 2009 สเตรตก็ได้ล้มสถิติซิงเกิลอันดับ 1 บนคันทรีชาร์ตมากที่สุดจาก คอนเวย์ ทวิตตี (Conway Twitty) ซึ่งทำไว้ที่ 40 ซิงเกิล แทนที่ด้วยสถิติใหม่ถึง 44 ซิงเกิล แต่ถ้านับในทุกชาร์ตสเตรตจะมีซิงเกิลที่ไต่อันดับ 1 มากถึง 60 ซิงเกิล ทำให้สเตรตกลายเป็นศิลปินที่สามารถครองซิงเกิลอันดับ 1 ไว้มากที่สุดในทุกแนวเพลงอีกด้วย สเตรตยังเป็นที่รู้จักในทัวร์คอนเสิร์ตมากมายทั้ง 360- ดีกรี (360- degree) ซึ่งในเวลาเพียง 3 ปีเขาก็สามารถทำกำไรได้สูงถึง 90 ล้านดอลลาร์ จึงกล่าวได้ว่าจอร์จ สเตรต เป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อวงการคันทรีมากที่สุดคนหนึ่งและยังคงมีซิงเกิลอีกเป็นจำนวนมากที่ได้รับความนิยมจวบจนถึงปัจจุบันนี้ ตลอดช่วงเวลาในวงการเพลงของสเตรตสามารถทำยอดขายรวมมากกว่า 160 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้เขาเป็นหนึ่งในศิลปินที่ทำยอดขายได้สูงสุดตลอดกาล ได้รับการยืนยันยอดจำหน่ายสมาคมอุตสาหกรรมบันทึกเสียงของสหรัฐ (RIAA) ระดับ 13 มัลติแพลทินัม, 33 ทองคำขาว และ 38 ทอง โดยมีอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จในแง่ยอดขายมากที่สุดคือ Pure Country (1992) ซึ่งจำหน่ายได้ถึง 6 ล้านชุด (6× ทองคำขาว) ส่วนอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จในแง่การยืนยันยอดมากที่สุดคือ Strait Out of the Box (1995) ด้วยยอดจำหน่าย 2 ล้านชุด (8× ทองคำขาว) และอ้างจากอาร์ไอเอเอ จอร์จ สเตรตสามารถจำหน่ายอัลบั้มได้สูงที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ในบรรดาศิลปินสัญชาติอเมริกันทั้งหมด ด้วยยอดจำหน่ายกว่า 70 ล้านชุด นอกจากนี้สเตรตยังเป็นรองแค่เอลวิส เพรสลีย์และเดอะบีเทิลส์ ในฐานะศิลปินที่มียอดยืนยันระดับทองคำขาว-ทอง มากที่สุดอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจอร์จ สเตรต · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ดูอี

แสตมป์ของสหรัฐอเมริการูปจอห์น ดูอี จอห์น ดูอี (John Dewey) (20 ตุลาคม ค.ศ. 1859 – 1 มิถุนายน ค.ศ. 1952) เป็นนักปรัชญา นักจิตวิทยา และนักปฏิรูปการศึกษาชาวอเมริกัน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยเวอร์มอนต์ ในปี ค.ศ. 1879 หลังจากนั้นใช้เวลาว่างช่วงสั้นๆ เป็นอาจารย์สอนพิเศษที่โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ในปี ค.ศ. 1884 ดูอีเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิชาปรัชญา จิตวิทยา และการสอน ของมหาวิทยาลัยชิคาโก เขามีบทบาทสำคัญในการบุกเบิกแนวคิดและวิธีการสอนแบบใหม่ๆ ทั้งยังได้สร้างโรงเรียนสาธิตขึ้นเพื่อใช้สำหรับทดสอบพัฒนาและวิเคราะห์ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอนและที่สำคัญ ยังถือได้ว่าเขาเป็นนักปรัชญาทางการศึกษาแนวหน้าของโลก โดยมีปรัชญามากมายซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาที่แตกแขนงออกไปอย่างมากมาย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2402 หมวดหมู่:ทฤษฎีการศึกษา หมวดหมู่:ปรัชญาการศึกษา หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักจิตวิทยา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจอห์น ดูอี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จิกมี ทินเลย์

ลียนโป จิกมี โยวเซอ ทินเลย์ (Lyonpo Jigmi Yoeser Thinley; ค.ศ. 1952 —) อดีตนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของภูฏาน ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคสหภูฏาน (Druk Phuensum Tshogpa - DPP, Bhutan United Party) ซึ่งชนะการเลือกตั้ง ได้เสียงข้างมากในสภา 44 ที่นั่ง จากทั้งหมด 47 ที่นั่ง ในการเลือกตั้งครั้งแรกของภูฏาน จิกมี ทินเลย์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจิกมี ทินเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

จินดา ศิริมานนท์

นดา ศิริมานนท์ (6 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 26 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนชาวไทย เป็นภริยาและเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการทำงานของ สุภา ศิริมานนท์ นักหนังสือพิมพ์แนวหน้าของไทย จินดา ศิริมานนท์ มีนามเดิมว่า จินดา สุนทรโรหิต เป็นบุตรสาวของหลวงสุภาเทพ (โต สุนทรโรหิต) ยกระบัตร์ศาลอุทธรณ์ จบการศึกษาด้านการพยาบาล พบกับสุภา ศิริมานนท์ และแต่งงานกันเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2486 จินดา ช่วยงานการทำหนังสือของสุภามาโดยตลอด ช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจินดา ศิริมานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุ

หอจดหมายเหตุ (archive) หมายถึงบันทึก หรือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยผู้บันทึกอาจเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลทั่วไปก็ได้ เพื่อบันทึกไว้สำหรับใช้อ้างอิงในอนาคต ตั้งแต่ครั้งอดีต พระมหากษัตริย์ไทย โปรดเกล้าฯให้มีธรรมเนียมการจดบันทึกเหตุการณ์สำคัญของบ้านเมือง วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จดบันทึกดังกล่าวเรียกว่าอาลักษณ์ จดหมายเหตุนี้จะถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในหอจดหมายเหตุหรือหอหลวง เพื่อให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาต่อคนรุ่นหลัง จดหมายเหตุในราชวงศ์นี้ บางทีก็เรียกพระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า และพระราชพงศาวดารเหนือในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จดหมายเหตุที่บันทึกโดยบุคคลในอดีตก็มีความสำคัญไม่น้อย มีทั้งการบันทึกเหตุการณ์ทั่วไป การบันทึกเรื่องราวของตนเองอย่างลักษณะไดอารี่ ฯลฯ บางฉบับมีคุณค่าต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างมาก เช่น จดหมายเหตุบางกอก (อังกฤษ: Bangkok Recorder) ของหมอบรัดเลย์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Du Royaume de Siam) เขียนโดยมองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จดหมายเหตุเสด็จประพาสยุโรป ร.ศ.116 ของพระยาศรีสหเทพ (เส็ง) จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี จดหมายเหตุจีนว่าด้วยกรุงสยาม เป็นต้น จดหมายเหตุในอดีตพบว่ามีการบันทึก โดยการเขียน การพิมพ์ ลงบนวัสดุต่างๆตามยุคสมัย เช่น แผ่นหิน ใบลาน กระดาษ เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจดหมายเหตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชชัย สมุทรสาคร

ลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร กรรมการในคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่ายตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 336/2558 สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เป็นอดีตแม่ทัพภาคที่ 2 เป็นคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการ และการบริหารงานของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และเป็นประธานบริหารบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธวัชชัย สมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลาว

งชาติลาว แบบปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ซึ่งเป็นวันสถาปนาประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีลักษณะตามที่กำหนดไว้ใน รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 10 มาตราที่ 91 ดังนี้ ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาลาวว่า ธงดวงเดือน ได้รับการออกแบบขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย มหาสิลา วีระวงส์ นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ของชาวลาว ธงนี้เป็นหนึ่งในธงของประเทศที่ปกครองด้วยรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ที่ไม่มีสัญลักษณ์รูปค้อนเคียวของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ซึ่งมีอยู่น้อยมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแดง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวสีทองและดาวแดงขอบทองตามอย่างธงชาติสหภาพโซเวียต ที่กลางธงมีแถบสีเขียวพาดยาวตามแนวนอน กว้างเป็น 2 ใน 8 ของความกว้างธง ธงนี้รัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียกำหนดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2495 ภายหลังสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียแยกตัวเป็นเอกราชจากสหภาพโซเวียต และสถาปนาประเทศใหม่ในชื่อประเทศมอลโดวา ในปี พ.ศ. 2534 แล้ว ดินแดนทรานส์นีสเตรียบางส่วนไม่ยอมรับอำนาจอธิปไตยของมอลโดวา จึงยังคงใช้ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียเป็นสัญลักษณ์ของตนเองต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย. ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่17 ธันวาคม, พ.ศ. 2495.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์เซอร์ไบจาน

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแดง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวสีทองและดาวแดงขอบทองตามอย่างธงชาติสหภาพโซเวียต ที่ด้านล่างธงมีแถบสีน้ำเงินพาดยาวตามแนวนอน กว้างเป็น 2 ใน 8 ของความกว้างธง ธงนี้รัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์เซอร์ไบจานกำหนดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2495.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์เซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย. ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่17 ธันวาคม, พ.ศ. 2495.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก เป็นธงชาติของอุซเบกิสถานในสมัยที่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ประกาศใช้อย่างเป็นทางการโดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (Uzbek Soviet Socialist Republic) เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีฟ้าขอบสีขาวพาดผ่าน ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ความหมายของสัญลักษณ์ในธง คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ สีฟ้า หมายถึงผืนฟ้าในอุซเบกโซเวียต สีขาว หมายถึงฝ้าย อันเป็นทรัพยากรหลักของประเทศ ค้อนเคียว หมายถึงการร่วมมือกันระหว่างกรรมกรกับชาวนา ดาวแดง หมายถึง ชั้นกรรมาชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ

งชาติของคีร์กีเซีย ซึ่งได้ใช้สืบมาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 ประกาศใช้โดยรัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2495 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีแถบสีน้ำเงินพาดผ่านตามแนวนอน ซึ่งตอนกลางแถบดังกล่าวนั้น มีแถบสีขาวพาดทับอีกทีหนึ่ง ที่มุมบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวไขว้และดาวแดงห้าแฉกขอบสีทอง อันเป็นสัญลักษณ์ของขบวนการคอมมิวนิสต์สากล ก่อนหน้าที่จะใช้ธงดังกล่าว ธงชาติคีร์กีซโชเวียตมีลักษณะเป็นธงแดง มีอักษรซีริลลิกแบบไเชิงสีทองที่มุมบนด้านคันธง เป็นอักษรย่อนามประเทศว่า КЫРГЫЗ ССР (Kirghiz SSR) ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็น КИРГИЗСКАЯ ССР (Kyrgyzskaja SSR) ตามลำดั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอาเซอร์ไบจาน

งชาติอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan bayrağı) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็นสามแถบ แต่ละแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันมีสีฟ้า สีแดง และสีเขียว ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีแดงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวแปดแฉกสีขาว ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอุรุกวัย

งชาติอุรุกวัย (Pabellón Nacional de Uruguay) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นริ้วแนวนอนขนาดเท่ากัน 9 ริ้วสีขาวสลับน้ำเงิน (ริ้วสีขาว 5 ริ้ว สีน้ำเงิน 4 ริ้ว) ในพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาวที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปดวงอาทิตย์แห่งเดือนพฤษภาคมเปล่งรัศมี 16 แฉก แฉกรัศมีแต่ละแฉกเรียงสลับกันระหว่างแฉกรูปสามเหลี่ยมและแฉกรูประลอกคลื่น เมื่อแรกกำหนดใช้ธงดังกล่าวนั้นในวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1828 แถบริ้วในธงมีทั้งหมด 17 ริ้ว ต่อมาในวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 จึงได้มีการตรากฎหมายธงชาติขึ้นใหม่โดยลดแถบริ้วในธงชาติเหลือเพียง 9 ริ้ว ซึ่งแถบริ้วทั้ง 9 นี้ หมายถึงเขตการปกครองทั้ง 9 เขตของอุรุกวัยเมื่อแรกตั้งประเทศ ผู้ออกแบบธงชาติอุรุกวัยคือ ฮัวกิน ซัวเรซ (Joaquín Suárez).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติอุรุกวัย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอียิปต์

งชาติอียิปต์ (علم مصر) เป็นธงสามสีซึ่งประกอบด้วยแถบสีแนวนอนขนาดเท่ากันสามแถบ เรียงลำดับเป็นสีแดง สีขาว และสีดำ จากบนลงล่าง สีทั้งสามนี้เป็นสีที่มาจากธงขบวนการปลดแอกอาหรับ ซึ่งมีประวัติความเป็นมาย้อนหลังไปถึงเหตุการณ์การปฏิวัติในอียิปต์เมื่อปี ค.ศ. 1952 ในธงดังกล่าวได้บรรจุรูปสัญลักษณ์นกอินทรีแห่งซาลาดิน อันเป็นรูปตราแผ่นดินของอียิปต์ ไว้ที่กลางแถบสีขาว ลักษณะของธงที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1984.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปวยร์โตรีโก

งประจำตำแหน่งของผู้ว่าการแห่งปวยร์โตรีโก, ธงชาติปวยร์โตรีโก เป็นธงประจำเครือรัฐในพิทักษ์ของสหรัฐอเมริกา และใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ อันสื่อถึงชาวปวยร์โตรีโก เช่น กิจกรรมการเมือง การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ ซึ่งธงนี้มีความแตกต่างในการสลับตำแหน่งแถบสีบนธงชาติ นั่นคือ ธงชาติปวยร์โตรีโก จะเป็นแถบสีแดง สามเหลี่ยมสีน้ำเงิน และ ธงชาติคิวบา จะเป็นแถบสีน้ำเงิน สามเหลี่ยมสีแดง ธงที่ใช้ในปัจจุบัน ประกาศใช้ครั้งล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1952 ซึ่งมีต้นกำเนิดจาก "ธงขบวนการปฏิวัติราเลซ" เป็นธงชาติผืนแรกที่ประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1868, โดยใช้ในขบวนการปฏิวัติ ระหว่างการเรียกร้องเอกราชจากสเปน ที่รู้จักกันในชื่อว่า "El Grito de Lares".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติปวยร์โตรีโก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเอริเทรีย

23px ธงชาติเอริเทรีย สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติเอริเทรีย ในปัจจุบัน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านค้นธงมีรูปสามเหลี่ยมสีแดง ฐานกว้างเท่ากับความกว้างธง และความยาวของรูปนั้นยาวเท่ากับความยาวธงพอดี ภายในรูปนั้นมีพวงมาลัยล้อมต้นมะกอกสีเหลืองซึ่งมีใบ 14 ใบ พื้นที่ส่วนที่เหลือซึ่งถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยรูปสามเหลี่ยมแดง ประกอบด้วยส่วนบนเป็นพื้นสีเขียว และส่วนล่างเป็นพื้นสีฟ้า เริ่มใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 แบบของธงนี้มาจากธงของกลุ่มแนวร่วมปลดปล่อยประชาชนเอริเทรีย (Eritrean People's Liberation Front) ซึ่งมีลักษณะที่เหมือนกันกับธงชาติเอริเทรียเกือบทุกประการ ผิดกันแต่ว่าในรูปสามเหลี่ยมสีแดงนั้นเป็นรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง อนึ่ง สัญลักษณ์พวงมาลัยมีต้นมะกอกนี้เริ่มปรากฏในธงชาติเอริเทรียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495 โดยลักษณะธงในขณะนั้นแตกต่างจากที่ใช้ในปัจจุบันมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธงชาติเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงเทพ

นาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED) จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน" รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธนาคารกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ถัด พรหมมาณพ

นายถัด พรหมมาณพ (พ.ศ. 2443 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2502) อดีตรัฐมนตรีไม่ประจำกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 4 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และถัด พรหมมาณพ · ดูเพิ่มเติม »

ถัง กั๋วเฉียง

กบท ขงเบ้ง ถัง กั๋วเฉียง (Tang Guoqiang, จีน: 唐国强, พินอิน: Táng Guóqiáng) นักแสดงชาวจีน ผู้รู้จักบทบาทดีจากการรับบท ขงเบ้ง ในสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของ CCTV เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 ในครอบครัวที่เป็นแพทย์ ที่เมืองชิงเต่า มณฑลซานตง เริ่มต้นอาชีพนักแสดงในปี ค.ศ. 1970 หลังสำเร็จการศึกษาระดับมัธยม ถัง กั๋วเฉียง มีบทบาทที่รู้จักดีจากการรับบทเป็น ขงเบ้ง จากสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของ CCTV และจากการรับทเป็น จักรพรรดิหย่งเจิ้น, จักรพรรดิหลี่ซื่อหมิน และ รับบท เหมาเจ๋อตุง หลายต่อหลายครั้ง เช่น The Founding Of A Republic ในปี ค.ศ. 2009 เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว เคยผ่านการสมรสมาแล้ว 2 ครั้ง โดยมีลูกสาวเกิดกับภรรยาคนแรก และลูกชายกับภรรยาคนที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และถัง กั๋วเฉียง · ดูเพิ่มเติม »

ถาวร เกียรติไชยากร

ร.ถาวร เกียรติไชยากร นายกสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยครู-มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ อดีตสมาชิกวุฒิสภา เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดเชียงใหม่ น้องชายของสุรพล เกียรติไชยากร..จังหวัดเชียงใหม่ ดร.ถาวร เป็นนักการเมืองที่ให้ความสำคัญกับงานด้านการศึกษา โดยการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่ (จอมทอง) และการพัฒนาสร้างชุมชนการเรียนรู้ของวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และถาวร เกียรติไชยากร · ดูเพิ่มเติม »

ทบิลีซี

ทบิลีซี (თბილისი) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศจอร์เจีย และก็ยังเป็นศูนย์กลางการปกครองและย่านเศรษฐกิจของประเทศจอร์เจีย ทบิลีซีมีประชากรประมาณ 1,473,551 คน ประกอบกับมีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เพราะมีแหล่งน้ำมากมายพร้อมกับมีทำเลที่ดีในการปกครองทำให้เมืองแห่งนี้กลายเป็นเมืองหลวงในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทบิลีซี · ดูเพิ่มเติม »

ทรีฟ ลี

ทรีฟ ลี (Trygve Lie; 16 กรกฎาคม 1896 – 30 ธันวาคม 1968) เป็นนักการเมือง ผู้นำกรรมกร เจ้าหน้าที่รัฐและผู้ประพันธ์ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นรัฐมนตรีต่างประเทศนอร์เวย์ระหว่างปีวิกฤตของรัฐบาลนอร์เวย์พลัดถิ่นในกรุงลอนดอนตั้งแต่ปี 1940 ถึง 1945 ตั้งแต่ปี 1946 ถึง 1952 เขาเป็นเลขาธิการสหประชาชาติคนแรก ลีมีชื่อเสียงเป็นนักการเมืองที่เน้นการปฏิบัติและเด็ดเดี่ยว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทรีฟ ลี · ดูเพิ่มเติม »

ทรง องค์ชัยวัฒนะ

กำนันทรง หรือ นายทรง องค์ชัยวัฒนะ ผู้ก่อตั้งตลาดกลางค้าข้าวแห่งแรกในประเทศไทย ที่อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ หรือที่รู้จักในนาม "ท่าข้าวกำนันทรง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทรง องค์ชัยวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

ทรนง ศรีเชื้อ

ทรนง ศรีเชื้อ (เกิด: 20 มิถุนายน พ.ศ. 2495; ชื่อเดิม: สุวัฒน์ ศรีเชื้อ) ผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้สร้าง และผู้เขียนบทชาวไทย ทรนง ศรีเชื้อ เกิดในครอบครัวที่มีพ่อเป็นนายทหาร และพี่น้องที่เป็นผู้ชายล้วนแต่เป็นทหาร เริ่มต้นงานในวงการบันเทิงด้วยการเป็นช่างภาพให้กับนิตยสารเครื่องเสียงและรถยนต์ รวมถึงในเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นผู้จัดทำและผู้เขียนหนังสือของวงคาราวาน มีผลงานกำกับภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2523 จากเรื่อง สัตว์สงคราม ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และหลังจากนั้นก็ได้มีผลงานมากมายทั้งภาพยนตร์แอ๊คชั่น และภาพยนตร์อีโรติก ซึ่งสำหรับภาพยนตร์อีโรติกนั้น ถือว่า เป็นภาพยนตร์แนวที่สร้างชื่อให้กับเจ้าตัวอย่างมาก เช่น กลกามแห่งความรัก 1..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทรนง ศรีเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทฤษฎีระบบควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

ทอง ตรีธารา

อาจารย์ทอง ตรีธารา เกิดวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทยและเป็นอดีตนักมวยไทย เป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในผู้ฝึกสอนมวยไทยรุ่นแรกในอเมริกา ผู้ก่อตั้งสถาบันมวยไทยในสปริงฟิลด์ รัฐมิสซูรี ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทอง ตรีธารา · ดูเพิ่มเติม »

ทาริกา ธิดาทิตย์

ทาริกา ธิดาทิตย์ เกิดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดเชียงใหม่ มีพี่น้อง 5 คนและเธอเป็นคนที่ 3 จบการศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนสัตย์สงวนวิทยา มัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย และประกาศนียบัตรวิชาชีพด้านธุรกิจโรงแรม ระยะแรกได้ฝึกฝนการร้องเพลงจากการแนะนำของคุณเพ็ญแข กัลย์จารึก แล้วมาเป็นนักร้องที่มูแลงรูจไนต์คลับ ต่อมาได้มีโอกาสเดินแฟชั่นให้สถานเสริมสวยต่างๆ จากนั้นคุณพิมพรรณ บูรณะพิมพ์ ได้ชักนำเธอให้มาเป็นนางเอกภาพยนตร์โทรทัศน์ของรัชฟิล์มของคุณพยุง พึ่งศิลป์ เรื่อง สามสาววัยสวาท และ หุ่นไล่กา ทางช่อง 5 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทาริกา ธิดาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายแม่กลอง

ทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นทางรถไฟที่เดินรถจากฝั่งธนบุรี ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร สิ้นสุดที่จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งแต่ พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 เป็นระยะทาง 66.9 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยเส้นทาง 2 ช่วงจาก สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ถึงสถานีรถไฟมหาชัย ระยะทาง 31.2 กิโลเมตร และจากสถานีรถไฟบ้านแหลม ถึงสถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33.57 กิโลเมตร โดยระหว่างสถานีมหาชัยกับสถานีบ้านแหลม จะไม่มีเส้นทางเชื่อมถึงกัน ผู้โดยสารจะต้องลงจากขบวนรถ และเดินเท้าไปขึ้นเรือข้ามฟากข้ามแม่น้ำท่าจีน เพื่อไปต่อรถไฟอีกขบวนหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยเสด็จพระราชดำเนินประทับรถไฟพระที่นั่ง ผ่านทางรถไฟสายนี้เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) เพื่อทรงทำพิธีเปิดถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร ในอดีตทางรถไฟสายแม่กลอง จะสิ้นสุดที่สถานีรถไฟปากคลองสานริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันกลายเป็นตลาดท่าน้ำรถไฟคลองสาน) แต่ได้ถูกยกเลิกทางรถไฟช่วงนี้ไปในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงทำให้ทางรถไฟสายนี้สิ้นสุดที่สถานีวงเวียนใหญ่ดังเช่นปัจจุบัน ส่วนทางที่ยกเลิกไปได้ถมเป็นถนนและตั้งชื่อว่าถนนเจริญรัถ โดยเป็นถนน 3 ช่องทาง ซึ่งช่องทางกลางในอดีตคือรางรถไฟ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทางรถไฟสายแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

ทาเกสเชา

ทาเกสเชา (Tagesschau) เป็นรายการข่าวของสถานีโทรทัศน์แห่งเยอรมนี (ARD) ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1952 เวลา 20.00 น. ตามเวลาในประเทศเยอรมนี ตรงกับเวลา 01.00 น. ตามเวลาในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทาเกสเชา · ดูเพิ่มเติม »

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก (Unified Team at the Olympics) เป็นทีมเฉพาะกิจซึ่งรวมประเทศในกลุ่มเดียวกัน หรือเคยร่วมกลุ่มเดียวกันมาก่อน สำหรับเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ทั้งนี้ในประวัติศาสตร์โอลิมปิกสมัยใหม่ เคยปรากฏทีมรวมลักษณะนี้มาแล้วสองครั้งคือ ทีมรวมเยอรมนี (2499-2507) และ ทีมรวมเครือรัฐเอกราช (2535) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ

อะแกรมของท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ชื่อเดิมคือ ฐานทัพอากาศอิตะซุเกะ เป็นท่าอากาศยานในเมืองฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟฮะกะตะ 3 กิโลเมตรทางทิศตะวันออก จัดเป็นท่าอากาศยานระดับสองในญี่ปุ่น ปัจจุบันรองรับเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีการใช้งานเต็มอัตราการรองรับของท่าอากาศยานและไม่สามารถขยายได้แล้ว ปิดการขึ้นลงของเที่ยวบินเวลา 22.00 น. ทุกวันเพื่อลดเสียงรบกวนต่อผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงในเวลากลางคืน และจะเปิดให้เที่ยวบินขึ้นลงอีกครั้งเวลา 7.00 น. ท่าอากาศยานตั้งอยู่ที่เขตฮะกะตะ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของศูนย์กลางของเมือง เชื่อมต่อกับส่วนอื่นของเมืองด้วยรถไฟใต้ดินและถนน รถไฟใต้ดินวิ่งจากท่าอากาศยานไปยังย่านธุรกิจใช้เวลาไม่ถึง 10 นาที ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารคับคั่งเป็นอันดับสีของญี่ปุ่น ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพ

ท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพ (김포국제공항) หรือรู้จักกันในชื่อ ท่าอากาศยานคิมโพ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของโซล ห่างจากย่านใจกลางประมาณ 15 กิโลเมตร เคยเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ ก่อนถูกแทนที่ด้วยท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนในปี ค.ศ. 2001 สถิติปี ค.ศ. 2014 มีผู้โดยสาร 21,566,946 คน นับว่ามากเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ รองจากอินช็อนและเชจู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และท่าอากาศยานนานาชาติคิมโพ · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญชัย เพชรร้อยเอ็ด

วัญชัย เพชรร้อยเอ็ด เป็นนักร้องลูกทุ่งชื่อดังในอดีต โดยเป็นเจ้าของเพลงดังทั่วฟ้าเมืองไทยอย่าง "จดหมายเป็นหมัน" ปัจจุบันได้เสียชีวิตไปแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และขวัญชัย เพชรร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ. 2475 และเป็นผู้แต่งหนังสือต่างๆ หลายเรื่อง เช่น หลักไทย ภูมิศาสตร์สุนทรภู่ เป็นต้น นับได้ว่าเป็นนักคิด นักค้นคว้า และนักเขียนสำคัญคนหนึ่งของ ยุครัตนโกสินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งเอดินบะระ

กแห่งเอดินบะระ (Duke of Edinburgh) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุกในบรรดาศักดิ์แห่งสหราชอาณาจักร (ตั้งตามชื่อเมืองเอดินบะระของสกอตแลนด์) โดยได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งสิ้น 4 สมัย โดยในสมัยปัจจุบันผู้ดำรงตำแหน่งนี้คือเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในอนาคตบรรดาศักดิ์นี้จะเป็นของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ถ้าเจ้าชายชาลส์ยังไม่ได้สืบทอดราชบัลลังก์ ถ้าทรงสืบราชบัลลังก์เรียบร้อยแล้ว ตำแหน่งจะเป็นของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และดยุกแห่งเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

ดัสแอร์สเทอ

ัสแอร์สเทอ (Das Erste, "ช่องที่ 1") หรือ แอร์สเทิสดอยท์เชิสแฟร์นเซเอิน (Erstes Deutsches Fernsehen, "โทรทัศน์เยอรมันช่องที่ 1"') เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะของประเทศเยอรมนี ผลิตร่วมกับการแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะในภูมิภาคเยอรมนี และประสานงานโดยสมาคมอาแอร์เด (ARD).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และดัสแอร์สเทอ · ดูเพิ่มเติม »

ดาฮิร์ ริยาเล คาฮิน

ร์ ริยาเล คาฮิน (Dahir Rayale Kahin, ضاهر ريالي كاهن) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย ผู้เคยได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์ สาธารณรัฐที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโซมาเลียตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และดาฮิร์ ริยาเล คาฮิน · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และดิเรก ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

ดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา

ีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา (Die Stem van Suid-Afrika, เสียงเพรียกแห่งแอฟริกาใต้) เป็นเพลงชาติของประเทศแอฟริกาใต้ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ วอลเคน

ริสโตเฟอร์ วอลเคน (อังกฤษ: Christopher Walken) เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1943 ที่ควีนส์ ในมหานครนิวยอร์ก โดยมีชื่อแต่กำเนิดว่า โรนัลด์ วอลเคน (Ronald Walken) โดยมารดามีเชื้อสายสกอต และบิดามีเชื้อสายเยอรมัน เข้าสู่วงการการแสดง โดยการเป็นนักเต้นด้วยอายุเพียง 10 ขวบ ชนิดที่เจ้าตัวไม่คิดมาก่อนว่าจะได้กลายเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมาวอคลเคนได้แสดงละครเวทีจากบทตลกเบาสมองและบทชีวิตหนักหน่วง ในปี ค.ศ. 1971 ได้มีโอกาสแสดงภาพยนตร์ใหญ่ครั้งแรกในเรื่อง The Anderson Tapes ของซิดนีย์ ลูเมท ต่อมาจึงได้แสดงในเรื่อง Annie Hall ของวูดดี อัลเลน ในปี ค.ศ. 1977 ซึ่งในเรื่องนี้วอลเคนเป็นเพียงตัวประกอบปรากฏตัวสั้น ๆ แต่มีความหมาย จึงทำให้ได้รับการจับตามองในฐานะนักแสดงดาวรุ่ง ก่อนที่จะมาประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดเมื่อได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับทหารผ่านสงครามเวียดนาม เรื่อง The Deer Hunter ในปี ค.ศ. 1978 ที่ถ่ายทำในประเทศไทย โดยแสดงคู่กับนักแสดงที่มีชื่อเสียงอย่าง โรเบิร์ต เดอ นีโร และจอห์น คาซาล ซึ่งในเรื่องนี้การแสดงของวอลเคนเป็นที่โดดเด่นมากในเรื่อง โดยเฉพาะกับการเอาปืนจ่อศีรษะตัวเองแบบรัสเซียน รูเลทท์ ซึ่งภาพนี้ได้กลายมาเป็นภาพโปสเตอร์ของเรื่องด้วย หลังจากนั้น คริสโตเฟอร์ วอลเคน ก็ได้กลายเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงเทียบเท่านักแสดงคนอื่น ๆ ผลงานหลังจากนั้นก็ได้แก่ The Dead Zone ในปี ค.ศ. 1983 ของเดวิด โครเนนเบิร์ก True Romance ในปี ค.ศ. 1993 ของโทนี สกอต และ Pulp fiction ในปี ค.ศ. 1994 ของเควนติน แทแรนติโน เป็นต้น รวมทั้งการรับเป็น แม็กซ์ ซอริน ตัวร้ายในภาพยนตร์ชุดเจมส์ บอนด์ ในตอน A View to a Kill ในปี ค.ศ. 1985 ที่มี โรเจอร์ มัวร์ รับบทเจมส์ บอนด์ เป็นครั้งสุดท้ายอีกด้วย บทบาทการแสดงของคริสโตเฟอร์ วอลเคน ในครั้งหนึ่งมักจะรับบทร้ายหรือปีศาจ อันเนื่องจากหน้าตาที่ให้ เช่น ในเรื่อง Sleepy Hollow ในปี ค.ศ. 1999 ของทิม เบอร์ตัน, Nick of Time ในปี ค.ศ. 1995 หรือ The Prophecy ในปี ค.ศ. 1995 ที่รับบทเป็น เทวทูตกาเบรียล ซึ่งเป็นตัวร้ายของเรื่อง สำหรับการเต้น วอลเคนเคยแสดงนำในมิวสิกวีดีโอเพลง Weapon Of Choice ของแฟตบอย สลิม ด้วยการเต้นคนเดียวทั้งเพลงด้วย ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ การรับบทเป็นพ่อของลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ ใน Catch Me If You Can ในปี ค.ศ. 2002 จากการกำกับของสตีเวน สปีลเบิร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคริสโตเฟอร์ วอลเคน · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ ดอยล์

ริสโตเฟอร์ ดอยล์ (Christopher Doyle) (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ช่างภาพ และผู้กำกับภาพชาวออสเตรเลีย ผู้มีผลงานกำกับภาพให้กับ ผู้กำกับภาพยนตร์ระดับโลกหลายคน โดยมักจะมีผลงานร่วมกับผู้กำกับภาพยนตร์ชาวเอเชีย เช่น หว่อง คาไว จาง อี้โหมว เฉิน ข่ายเกอ รวมทั้งภาพยนตร์ของเป็นเอก รัตนเรือง 2 เรื่อง คือ เรื่องรัก น้อยนิด มหาศาล และคำพิพากษาของมหาสมุทร และตอนหนึ่งของภาพยนตร์ไทยเรื่อง อารมณ์ อาถรรพ์ อาฆาต กำกับโดย ปีเตอร์ ชาน นอกเหนือจากผลงานกำกับภาพแล้ว คริสโตเฟอร์ ดอยล์ ยังเคยร่วมแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Comrade: Almost a Love Story (2539) กำกับภาพยนตร์ของตัวเองเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคริสโตเฟอร์ ดอยล์ · ดูเพิ่มเติม »

คะเนะโกะ อิเกะดะ

นะโกะ อิเกะดะ เกิดเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 เป็นภรรยาของ ดร.ไดซาขุ อิเคดะ ประธานสมาคมโซคา งัคไก สากล ปัจจุบันคาเนโกะดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าฝ่ายผู้ใหญ่หญิงกิตติมศักดิ์ของสมาคมสร้างคุณค่า และเป็นหัวหน้าฝ่ายสตรีกิตติมศักดิ์ของสมาคมโซคา งัคไก สากล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคะเนะโกะ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

คำนิยมเพชรพระอุมา

ำนิยมเพชรพระอุมา เป็นการแสดงความคิดเห็นของผู้ทรงเกียรติและทรงคุณวุฒิหลายท่าน ที่มีต่อนวนิยายเรื่องเพชรพระอุมาจากสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ซึ่งการแสดงความนิยมต่อเพชรพระอุมานี้ เป็นการการันตีถึงผลงานการประพันธ์ของพนมเทียนและความเป็นสุดยอดของวรรณกรรมชิ้นเอกของเมืองไทย ซึ่งผู้ทรงเกียรติและทรงคุณวุฒิที่ได้ให้เกียรติมาให้คำนิยมต่อเพชรพระอุมา มาจากหลายอาชีพและหน้าที่การงาน เช่น ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย ฯพณฯ นายมีชัย ฤชุพันธุ์ นายเสนาะ เทียนทอง ดร.พิจิตต รัตตกุล ในแต่ละตอนของเพชรพระอุมา ต่างมีคำนิยมที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการประพันธ์ของพนมเทียน ความสนุนสนานของการดำเนินเรื่อง ความรู้ในด้านต่าง ๆ ของการเดินป่า การใช้ภาษาในการตัดพ้อหรือพร่ำพรรณา ที่พนมเทียนสามารถท่ายถอดให้แก่ตัวละครทุกตัวในเพชรพระอุมา ให้มีชีวิตชีวาโลดแล่นจนเป็นที่รู้จักและผูกพันกับนักอ่านทุกรุ่นทุกสมัย ซึ่งคำนิยมเพชรพระอุมาจากผู้ทรงเกียรติและทรงคุณวุฒิหลายท่าน ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคำนิยมเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

คำไต สีพันดอน

ำไต สีพันดอน (ຄຳໄຕ ສີພັນດອນ; เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2467 ที่แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว) เป็นประธานประเทศลาว ปัจจุบัน สมรสแล้ว มีบุตร 5 คน (ลูกชาย 2 คน ลูกสาว 3 คน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคำไต สีพันดอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก สัญลักษณ์ประจำคณะ คือ พังงา ซึ่งเป็นรูปพวงมาลัยที่ใช้บังคับทิศทางการเดินเรือพานิชย์ โดยสื่อความหมายถึง การนำทางให้ไปสู่จุดมุ่งหมายที่หวังไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีนอร์ดิก

ณะมนตรีนอร์ดิก เป็นความร่วมมือกันระหว่างสภาและรัฐบาลของประเทศกลุ่มนอร์ดิก จัดตั้งขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง และเริ่มเห็นผลชัดเจนครั้งแรกเมื่อมีการเปิดตลาดแรงงานและระบบประกันสังคมร่วม และการอนุญาตผ่านแดนโดยไม่ต้องใช้หนังสือเดินทางในกลุ่มสมาชิก ในปีพ.ศ. 2495 คณะมนตรีนอร์ดิกมีสมาชิก 5 ชาติ ได้แก่ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และ 3 เขตปกครองตนเอง ได้แก่ หมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะมนตรีนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะที่เปิดสอนด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน แห่งแรกของประเทศไทย หรือที่เรียกทั่วไปภายหลังเรียกว่า "นิเทศศาสตร์" ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสมาคมวารสารศาสตร์แห่งประเทศไทยด้วย โดยปัจจุบันเป็นสถาบันชั้นนำของประเทศ ที่ผลิตบุคลากร แถวหน้าเพื่อยกระดับวิชาชีพและวิชาการด้านสื่อสารมวลชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เปิดสอนในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกทางด้านสังคมศาสตร์ และเปิดสอนในรายวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ให้กับนิสิตสาขาอื่นๆในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะสาธารณสุขแห่งแรกของไทย และมีบทบาทในการวางรากฐานด้านการศึกษาทางสาธารณสุขของประเทศมาโดยตลอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณิต สาพิทักษ์

ลเอก คณิต สาพิทักษ์ อดีตประธานที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 อดีตประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2495 มีชื่อเล่นว่า "อ๊อด" เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ปฏิบัติหน้าที่ตาม พรก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณิต สาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

คนุท ฮัมซุน

นุท ฮัมซุน (Knut Hamsun; 4 สิงหาคม ค.ศ. 1859 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคนุท ฮัมซุน · ดูเพิ่มเติม »

งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ

งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ หรือ พุทธชยันตี 2500 ปี (2500th Buddha Jayanti Celebration) เป็น เทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนา ที่จัดขึ้นในปี พ.ศ. 2500 เนื่องในโอกาสที่ครบรอบ 2500 ปีแห่งการปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังเรียกว่างานฉลองกึ่งพุทธกาล เนื่องจากความเชื่อโบราณว่าพระพุทธศาสนาจะดำรงอยู่ 5000 ปี แล้วจักเสื่อมสลายลง งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในประเทศไทย ได้มีการเตรียมการล่วงหน้ากว่า 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2495 มีการสร้างอนุสรณ์สถานพุทธมณฑล และการจัดกิจกรรมมากมายเพื่อเฉลิมฉลองพร้อมกันกับประเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า เนปาล และประเทศที่มีประชากรนับถือพระพุทธศาสนาทั่วโลก โดยในประเทศอื่นใช้คำว่า "พุทธชยันตี 2500 ปี".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์

รายการประกาศผลรางวัลออสการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 24

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 24 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี

ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี มีลักษณะเป็นตราอาร์ม รูปโล่พื้นสีขาว มีแถบขวางรูปคลื่นสีฟ้า 3 แถบที่ตอนบนของโล่ บนพื้นโล่นั้นแบ่งเป็นช่องสามเหลี่ยมหัวกลับพื้นสีแดง ภายในมีรูปคบเพลิง ถัดจากโล่ขึ้นไปเป็นหมวกเกราะอัศวินโบราณ ประดับด้วยพู่ประดับสีขาว-น้ำเงิน คาดด้วยผ้าโพกสีเดียวกัน ตอนบนสุดนั้นเป็นเครื่องยอดรูปเรือสำรวจชื่อ อาร์เอสเอส ดิสคัฟเวอรี (RRS Discovery) ซึ่งเป็นเรือที่ โรเบิร์ต ฟอลคอน สก็อตต์ และเออร์เนสต์ แชคเคิลตัน นักสำรวจชาวอังกฤษ ใช้เดินทางมาสำรวจขั้วโลกใต้ในปี ค.ศ. 1901 (พ.ศ. 2444) ตราดังกล่าวนี้ตั้งอยู่บนพื้นรองรูปพื้นหญ้าสีเขียว (ครึ่งซ้าย) และพื้นน้ำแข็งสีขาว (ครึ่งขวา) มีราชสีห์สีทองยืนผงาดประคองข้างตราด้านซ้าย หมายถึงสหราชอาณาจักร ส่วนด้านขวาประคองด้วยนกเพนกวินจักรพรรดิ อันเป็นสัตว์ที่สามารถพบได้ทั่วไปในขั้วโลกใต้ เบื้องล่างสุดมีแพรแถบสีเหลือง จารึกคำขวัญเป็นอักษรสีแดงใจความ "Research and Discovery" แปลความได้ว่า "สำรวจและค้นพบ" ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสำคัญของดินแดนส่วนนี้ ตราดังกล่าวนี้ ทางการสหราชอาณาจักรเริ่มกำหนดให้ใช้ได้เมื่อปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ขณะที่ดินแดนส่วนนี้ยังจัดให้อยู่ในความดูแลของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (พร้อมกันกับตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ตรี ด่านไพบูลย์

นายมนตรี ด่านไพบูลย์ หรือ นายตรี ด่านไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของนายศักดิ์ - นางทองพูน ด่านไพบูลย์ ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตรี ด่านไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลช้างเผือก (อำเภอเมืองเชียงใหม่)

ตำบลช้างเผือก เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันมีทั้งส่วนที่เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก เทศบาลตำบลช้างเผือก (120px)) และบางส่วนยังอยู่ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอเมืองเชียงใหม่ มีสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น วัดเจ็ดยอด อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตำบลช้างเผือก (อำเภอเมืองเชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

ตูโปเลฟ ตู-16

ตูโปเลฟ ตู-16 (Tupolev Tu-16 Badger) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแบดเจอร์) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดไอพ่นสองเครื่องยนต์ที่ใช้โดยสหภาพโซเวียต มันได้บินมากว่า 50 ปีโดยใช้ชื่อเซียน เอช-6 ที่ยังคงประจำการอยู่ในกองทัพอากาศจีน กองทัพอากาศสหรัฐฯ ใช้ชื่อรหัสว่าไทป์ 39.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตูโปเลฟ ตู-16 · ดูเพิ่มเติม »

ตีจี อูโน

ตีจี อูโน (TeleGiornale 1; TG1) เป็นตราสัญลักษณ์ประจำรายการข่าว ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติอิตาลี ช่อง 1(RAI)แพร่ภาพทั่วทวีปยุโรป นอกจากนั้นแล้วได้ออกอากาศร่วมกับช่อง Rai24News และ แพร่ภาพทั่วโลกทางช่อง Raitaliaออกอากาศทุกช่วงของสถานีตลอดทั้งวัน โดยมี ผู้สื่อข่าว นาย Augusto Minzolini เป็นกองบรรณาธิการข่าว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตีจี อูโน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลบาโด ดาลี

ซัลบาโด ฟาลิป ฌาซิน ดาลี อี ดูแมนัก มาร์ควิสแห่งปูบุล (Salvador Felip Jacint Dalí i Domènech, marquès de Púbol) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ซัลบาโด ดาลี (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 – 23 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นจิตรกรชาวสเปน มีชื่อเสียงจากผลงานภาพวาดแนวเหนือจริง ดาลีเป็นลูกชายคนเดียวของบ้าน เนื่องจากก่อนที่เขาจะเกิดไม่นาน พี่ชายของเขาได้เสียชีวิตลง ทำให้พ่อและแม่รักและหวงแหนเขามาก เขามีงานแสดงศิลปะตอนอายุ 14 ปีที่บ้านของเขาเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากพ่อแม่ เขาศึกษาศิลปะที่โรงเรียนสอนศิลปะแห่งหนึ่งในกรุงมาดริด แต่ว่าไม่เคยเข้าสอบเลยแม้แต่ครั้งเดียว เพราะเขาคิดว่าไม่มีใครสามารถตัดสิน "ศิลปะ" ได้ และเขาก็ไม่ใส่ใจด้วยถึงแม้ว่าจะโดนไล่ออกถึงสองครั้งก็ตาม (ช่วงนี้ได้พบกับเฟเดรีโก การ์ซีอา ลอร์กา ซึ่งต่อมากลายเป็นกวีเอกคนนึงของสเปน) เขาทำทุกอย่างเพื่อการสร้างสรรค์งานศิลปะในแบบของต้วเอง เมื่อดาลีอายุได้ 20 ปี เขาถูกจับข้อหาทางการเมือง อีก 5 ปีต่อมา ได้เข้าร่วมกับศิลปินลัทธิเหนือจริง มุ่งหมายเน้นความเพ้อฝันเหนือจริง และช่วงนี้เองที่เขาได้พบกับปาโบล ปีกัสโซ จิตรกรเอกอีกคนหนึ่ง ช่วงนี้เองที่ดาลีได้อยู่กินกับกาลา (Gala) ที่เป็นทั้งเพื่อนคู่คิด นางแบบ และมีงานทำนิตยสารด้วยกัน ช่วงอายุที่ได้ 34 ปีการเขียนรูปของดาลีเริ่มพัฒนาจนกลายมาเป็นแนวที่เห็นกันในปัจจุบัน เช่น รูป Sublime Moment และรูป The Transparent Simulacrum Of The Forged Lmage ที่ถูกเขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2481 ดาลีออกไปอยู่ที่อเมริกานานถึง 8 ปี ปี พ.ศ. 2498 เริ่มเขียนงานแนวศาสนา เช่นภาพ Crucifixion (พ.ศ. 2495) ซึ่งก็เป็นเหตุให้เขาถูกขับออกจากกลุ่ม Surrealism (แต่ดาลีบอกว่าเขานี่แหละคือ Surrealism) กาลา ภรรยาของเขาได้เสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2525 ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 ดาลีก็เสียชีวิตลงด้วยโรคหัวใจล้มเหลว รวมอายุได้ 84 ปี ซัลบาโด ดาลีได้เป็นแบบอย่างให้กับศิลปินรุ่นหลังหลายต่อหลายคน ด้วยความที่งานของเขามีอัตตาดิบอยู่สูงและความที่เปี่ยมไปด้วยเอกลักษณ์ในการเขียนรูป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซัลบาโด ดาลี · ดูเพิ่มเติม »

ซีกฟริด เอดสเตริม

ยูฮันเนส ซีกฟริด เอดสเตริม (Johannes Sigfrid Edström) เป็นประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลคนที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2413 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2507 หมวดหมู่:ชาวสวีเดน หมวดหมู่:ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซีกฟริด เอดสเตริม · ดูเพิ่มเติม »

ซีลอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ซีลอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซีลอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์

ซีเกมส์ (South-East Asian Games; ชื่อย่อ: SEA Games) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสองปี (ปีเว้นปี) ดำเนินการแข่งขันโดยสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South-East Asian Games Federation; SEAGF) ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซีเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์

นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ มีชื่อเดิมว่า ประพัฒน์ แซ่ฉั่ว กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติและกรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ในฐานะประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อดีตนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ต่อมาได้เป็นนักการเมือง เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และประธานคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสินเชื่อเกษตรแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการมันสำปะหลัง ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 105/2557 ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง และประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ สุนทรจามร

ประพนธ์ สุนทรจามร มีชื่อจริงว่า นาวาอากาศเอก ประพนธ์ โตจำเริญ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2471 เป็นศิษย์ครูเวส สุนทรจามร มีผลงานเพลงมากมาย เช่น เสียงสวาท (คู่ พิทยา บุณยรัตพันธุ์) หาดผาแดง ผู้ที่พระเจ้าสาป บุพเพสันนิวาส ชีวิตการทำงานของประพนธ์ เริ่มต้นที่ตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว กระทรวงกลาโหมและกระทรวงพาณิชย์ หลังจากนั้นได้ทำงานอยู่บริษัท นครหลวงประกันชีวิต ในช่วงนี้ ครูเวส สุนทรจามร ได้เห็นความสามารถด้านร้องเพลง จึงได้ชักชวนมาร่วมวงดนตรีศิษย์จามร ซึ่งครู ธนิต ผลประเสริฐตั้งขึ้น ประพนธ์เล่าว่า เมื่อครั้งที่มาพบครูเวส สุนทรจามร ครูเวสได้ถามว่าร้องเพลงอะไรได้บ้าง ประพนธ์ก็ได้นำชื่อเพลงที่ร้องได้มาให้ครูเวสดู พอดีกับวินัย จุลละบุษปะ ผ่านเข้ามา แล้วพูดว่า "เพลงของผมทั้งนั้นเลยนี่ครู" ครูเวสเลยให้ร้อง เมื่อเป็นที่ถูกใจแล้ว จึงได้ประพันธ์เพลงให้ร้อง สำหรับเพลงบุพเพสันนิวาสที่สร้างชื่อเสียงให้กับประพนธ์อย่างมากมายนั้น เป็นผลงานที่ครูสุรัฐ พุกกะเวส แต่งร่วมกับครู เวส สุนทรจามร แต่งไว้แต่ยังไม่มีคนร้อง ประพนธ์จึงได้เข้ามาร้อง เมื่อ พ.ศ. 2495 หลังจากนั้น ประพนธ์ก็มีผลงานเพลงออกมาเรื่อย ๆ เช่น หาดผาแดง ดวงใจของพี่ เสียงสวาท กระต่ายกับดวงจันทร์ (คู่ พิทยา บุณยรัตพันธุ์) ปี พ.ศ. 2497 ประพนธ์ สุนทรจามร ได้ลาออกจากบริษัท นครหลวงประกันชีวิต เพื่อเข้ารับราชการทหาร สังกัดกรมสารบัญทหารอากาศ โดยมิได้ร่วมขับร้องเพลงอยู่ในวงดนตรีสุนทราภรณ์เลย ดังนั้น ประพนธ์จึงไม่ใช่นักร้องของสุนทราภรณ์ ในระยะนี้ประพนธ์ได้ร้องเพลงอยู่กับคณะจารุกนก และคณะศิษย์จามรอยู่เนือง ๆ พ.ศ. 2512 ประพนธ์ได้ร้องเพลงหาดผาแดงของ "พรพิรุณ" ทำให้มีชื่อเสียงโด่งดังอีกครั้ง และรับร้องเพลงอยู่ตามไนต์คลับและภัตตาคารอยู่บ้าง ภายหลังจึงได้รับร้องเพลงกับวงธนิตสรณ์ ของครูธนิต ผลประเสริฐ วงดนตรีไตรทิพย์ ของ บุญเลื่อน ไตรพิพัฒน์ และวงดนตรีเอื้อสัมพันธ์ ของ ปรีชา เกียรติประวัติ ปัจจุบัน ประพนธ์ สุนทรจามร ได้เกษียณอายุราชการจากกองทัพอากาศแล้ว เมื่อ พ.ศ. 2531 แต่รับร้องเพลงอยู่เสมอ ในนามวงดนตรี คีตกานต์ โดยพักอาศัยอยู่ที่ย่านบึงกุ่ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประพนธ์ สุนทรจามร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

ประตูซุซะกุ ประตูเมืองหลวงเฮโจวเกียว สมัยนะระ (บูรณะขึ้นมาใหม่) คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ ในชุด ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ วาดเมื่อปี พ.ศ. 2369 โดยคะสึชิกะ โฮะกุไซ ประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น (ภาษาญี่ปุ่น: 日本の歴史; นิฮงโนะเระกิชิ).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ (20 มิถุนายน พ.ศ. 2458 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 5 สมัย เจ้าของฉายา โค้วตงหมง และเจ้าของวลี ยุ่งตายห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล

รายชื่อผู้ดำรงตำแหน่งประธานของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล · ดูเพิ่มเติม »

ประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ

ประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ (9 สิงหาคม พ.ศ. 2495 -) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ครูประทีป อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร, นักสิทธิมนุษยชน ซึ่งปฏิบัติงานช่วยเหลือเด็กยากไร้ ภายในชุมชนแออัดคลองเตย, ผู้ก่อตั้งมูลนิธิดวงประทีป และมูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม ประทีปเป็นผู้รับมอบรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ประจำปี พ.ศ. 2521 นอกจากนี้ ประทีปยังเป็น นักเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อประชาธิปไตย โดยเข้าร่วมกับสมาพันธ์ประชาธิปไตย องค์กรหลักของผู้ชุมนุม ในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ เมื่อ พ.ศ. 2535 และเป็นหนึ่งในแกนนำชุดที่ 2 ของแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (นปก.) ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มขององค์กร ซึ่งมีจุดยืนต่อต้านรัฐประหาร ที่คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ก่อขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ประทีปสมรสกับทัตซึยะ ฮาตะ นักสังคมสงเคราะห์ชาวญี่ปุ่น มีบุตรชายด้วยกันสองคนคือ อิสระและมิ่งบุญ ฮาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาฮามาสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศบาฮามาส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศบาฮามาสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศพม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศพม่าใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศพม่า เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศกรีซใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศกัมพู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

รณรัฐกานา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศกานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน พ.ศ. 2495

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศภูฏานใน พ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซียใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศมาเลเซียใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศสวีเดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสวีเดนใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิก

ประเทศอินโดนีเซีย ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) พร้อมกับประเทศไทย และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่โตเกียว และโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ที่ สหภาพโซเวียต นักกีฬาอินโดนีเซียได้เหรียญทั้งหมด 25 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 6 เหรียญทอง 9 เหรียญเงิน 10 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศอินโดนีเซียส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศอินโดนีเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศอุรุกวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอโมโรสใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศคอโมโร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศคอโมโรสใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศปากีสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศปานามา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2495

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2495 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศไทยใน พ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามในโอลิมปิก

ประเทศเวียดนาม ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ.1952-1972 เป็นการเข้าร่วมการแข่งขันของเวียดนามใต้,1980-ปัจจุบัน เป็นการเข้าร่วมการแข่งขันของประเทศเวียดนาม) ซึ่งเวียดนามได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ที่มอนทรีอัล และโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ที่ ลอสแอนเจลิส นักกีฬาเวียดนามได้เหรียญทั้งหมด 2 เหรียญเงิน นับตั้งแต่ประเทศเวียดนามส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเวียดนามในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเวเนซุเอลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์โลกร้อน

ผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2551 ปรากฏการณ์โลกร้อน หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปรากฏการณ์โลกร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ผ่องเจริญกุล

นายปรีชา ผ่องเจริญกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคสามัคคีธรรม และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (อลงกรณ์ พลบุตร) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอดีตนักกิจกรรมสมัย 14 ตุลา เป็นบุคคล ควบคุมรถบัญชาการ ฝ่ายนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปรีชา ผ่องเจริญกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไข่ออง

ปลาไข่ออง เป็นชื่อเรียกสกุลปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Osteobrama (/ออส-ที-โอ-บรา-ม่า/) มีรูปร่างโดยรวมดังนี้ มีลำตัวลึกแบนข้างมากเป็นทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ด้านข้างคอด หางเรียว หัวค่อนข้างเล็กกลม ปากอยู่ปลายสุด เกล็ดมีขนาดเล็ก หลุดง่าย ครีบหลังยกสูงและสั้น ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายเป็นหนามแข็งและมีขอบเป็นจักฟันเลื่อย และอยู่เหนือฐานครีบท้อง ฐานครีบก้นยาว ครีบหางเว้าลึก ลำตัวสีเงินหรืออาจมีสีเหลืองอ่อน ครีบใส บางชนิดมีหนวด บางชนิดไม่มีหนวด หากมีก็เป็นหนวดที่สั้นและหลุดง่ายมาก มีฟันในลำคอ 3 แถว ปลายของเส้นข้างลำตัวไปสิ้นสุดลงที่ฐานครีบหาง ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 15–30 เซนติเมตร อาศัยเป็นฝูงในน้ำขุ่น พบในประเทศอินเดียและพม่า 6 ชนิด และลุ่มน้ำสาละวิน 2 ชนิด บริเวณชายแดนไทย–พม่า มีทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปลาไข่ออง · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ปวยร์โตรีโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ปาล พนมยงค์

ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปาล พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล ปาโอเลตตี

ปาโอโล ปาโอเลตตี (Paolo Paoletti) เกิดวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 ที่เมืองฟรัสกาตี เป็นอดีตนักกีฬารักบี้ยูเนียน, เจ้าหน้าที่การแข่งขันรักบี้ยูเนียน และนักแสดงละครเวทีชาวอิตาลี ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งฮุกเกอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปาโอโล ปาโอเลตตี · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักฟุตบอลแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอล

รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของสมาคมผู้สื่อข่าวอังกฤษ เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1947 เป็นรางวัลประจำปีที่มอบให้แก่นักฟุตบอลที่ถูกตัดสินว่าดีที่สุดของฤดูกาลในฟุตบอลอังกฤษ รางวัลนี้เริ่มมอบตั้งแต่ฤดูกาล 1947-48 ผู้ได้รับรางวัลคนแรกคือ สแตนลีย์ แมตทิวส์ ปีกของแบล็กพูล ผู้ได้รับรางวัลคนล่าสุด (ฤดูกาล 2012-13) คือ แกเร็ธ เบล จากทอตนัมฮอตสเปอร์ มีผู้เล่นแปดคนที่ได้รับรางวัลมากกว่าหนึ่งครั้ง คนล่าสุดคือคริสเตียโน โรนัลโด ที่ได้รับรางวัลครั้งที่สองของเขาในฤดูกาล 2007-08 ผู้ที่ได้รับรางวัลมากที่สุดคือเธียร์รี อองรี โดยได้รางวัลสามครั้งในสี่ฤดูกาล รางวัลนี้มอบโดย สมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอลอังกฤษ (Football Writers' Association: FWA) ซึ่งเป็นสมาคมฟุตบอลแห่งหนึ่งของประเทศอังกฤษ มีสมาชิกเป็นนักข่าวฟุตบอล ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 400 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนักฟุตบอลแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวฟุตบอล · ดูเพิ่มเติม »

นักกีฬาโอลิมปิกอิสระในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

นักกีฬาโอลิมปิกอิสระ (Independent Olympic Athletes) มีกำหนดการแข่งขัน ในโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ที่กรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร โดยคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส (Netherlands Antilles Olympic Committee) ซึ่งมีแผนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง หลังการล่มสลายของดินแดนเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส และคณะกรรมการบริหารไอโอซี ในที่ประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) มีมติให้เพิกถอนสมาชิกภาพด้วย อย่างไรก็ตาม นักกีฬาชาวดัตช์แอนทิลเลียน ซึ่งมีคุณสมบัติสำหรับการแข่งขันครั้งนี้ ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขันอย่างอิสระ ภายใต้ธงโอลิมปิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนักกีฬาโอลิมปิกอิสระในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

ันเอก นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) อดีตประธานวุฒิสภา, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

นาราดา ไมเคิล วอลเดน

นาราดา ไมเคิล วอลเดน (Narada Michael Walden) เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1952 ในคาลามาซู รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา เป็นโปรดิวเซอร์ มือกลอง นักร้องและนักแต่งเพลง ชาวอเมริกัน ชื่อของเขา นาราดา มาจาก ศรี ชินมอย ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 อาชีพของเขามีช่วง 3 ทศวรรษ ที่ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ แผ่นเสียงทองคำขาวและหลายรางวัลแผ่นเสียงทองคำขาว ไมเคิล วอลเดนยังเป็นเจ้าของและดำเนินการทาร์ปันสตูดิโอ ซึ่งเป็นสตูดิโอที่มีชื่อเสียงแซนราฟาเอล รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1980 หมวดหมู่:นักดนตรีชาวอเมริกัน หมวดหมู่:โปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลแกรมมี หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐมิชิแกน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนาราดา ไมเคิล วอลเดน · ดูเพิ่มเติม »

นารีมาน ศอดิก

นารีมาน ศอดิก (อาหรับ:ناريمان صادق Nārīmān Sādiq, ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1933 —สวรรคต 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) เป็นธิดาของนายฮุสเซน ฟาห์มี ศอดิก เบย์ และนางอาซีลา คามิล โดยนารีมานเป็นพระมเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนารีมาน ศอดิก · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล

การประกวดนางงามจักรวาล (Miss Universe) เป็นการประกวดความงามประจำปี เริ่มจัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2495 โดยแปซิฟิกมิลส์ (Pacific Mills) บริษัทเสื้อผ้าจากแคลิฟอร์เนีย และหลังจากนั้นได้บริหารงานโดย เคย์เซอร์-รอธ (Kayser-Roth) และตามด้วย กัล์ฟแอนด์เวสเทิร์นอินดัสทรีซ์ (Gulf and Western Industries) จนกระทั่งปี พ.ศ. 2539 ดอนัลด์ ทรัมป์ ได้ซื้อกิจการและบริหารงานโดยองค์กรนางงามจักรวาล (Miss Universe Organization) ในเดือน กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนางงามจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ แล.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

น้อม อุปรมัย

นายน้อม อุปรมัย (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 4 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และน้อม อุปรมัย · ดูเพิ่มเติม »

แบร์ต ฟัน มาร์ไวก์

ลัมแบร์ตึส "แบร์ต" ฟัน มาร์ไวก์ (Lambertus "Bert" van Marwijk OON) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 เป็นผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวดัตช์ ขณะเป็นนักฟุตบอลอาชีพ เขาเคยเล่นให้กับหลายสโมสร เช่น โกอะเฮดอีเกิลส์, อาเซต, เอ็มเฟเฟ, ฟอร์ตือนาซิตตาร์ด และเคยเป็นตัวแทนของประเทศเนเธอร์แลนด์อยู่ครั้งหนึ่ง ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแบร์ต ฟัน มาร์ไวก์ · ดูเพิ่มเติม »

แพทริก สเวซี

แพทริก สเวซี (Patrick Wayne Swayze) (18 สิงหาคม ค.ศ. 1952 - 14 กันยายน ค.ศ. 2009) นักเต้น นักแสดง ชาวอเมริกัน อีกทั้งยังเป็นนักร้องและนักแต่งเพลง มีชื่อเสียงจากบทครูสอนนักเต้นในภาพยนตร์เรื่อง Dirty Dancing ที่ฉายในปี พ.ศ. 2530 และมีชื่อเสียงสูงสุดจากภาพยนตร์เรื่อง Ghost คู่กับ เดมี มัวร์ ที่ฉายในปี พ.ศ. 2533 แพทริก สเวซี เคยได้รับเลือกเป็นผู้ชายที่เซ็กซี่ที่สุดแห่งปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแพทริก สเวซี · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมเพื่อนรัก

แมงมุมเพื่อนรัก (Charlotte's Web) เป็นวรรณกรรมสำหรับเยาวชนที่มีชื่อเสียง ของ อี.บี. ไวท์ นักเขียนชาวสหรัฐ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2495 เป็นวรรณกรรมสำหรับเยาวชนเรื่องที่สอง ในจำนวน 3 เรื่อง ของไวท์ ต่อจาก สจ๊วต ลิตเติ้ล (พ.ศ. 2488) และ The Trumpet of the Swan (เสียงรักจากทรัมเป็ตหงส์) (พ.ศ. 2513) แมงมุมเพื่อนรัก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ แมงมุมชื่อ ชาร์ล็อต ซึ่งช่วยชีวิตลูกหมูชื่อ วิลเบอร์ ซึ่งถูกเลี้ยงเพื่อนำมาฆ่าเป็นอาหาร โดยการชักใย สะกดเป็นตัวอักษร เพื่อให้วิลเบอร์ได้ตกเป็นข่าวถึงความพิเศษ ไม่เหมือนหมูตัวอื่น และรอดพ้นจากการถูกฆ่าในที่สุด วรรณกรรมเรื่องนี้ได้รับการตีพิมพ์ถึง 45 ล้านเล่ม ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ 23 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย แมงมุมเพื่อนรัก ฉบับภาษาไทย ตีพิมพ์โดย ไทยวัฒนาพานิช ได้รับคัดเลือกเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแมงมุมเพื่อนรัก · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

แรมง ดอแมแน็ก

แรมง ดอแมแน็ก (Raymond Domenech; เกิดเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1952 ในลียง) เป็นอดีตกองหลังทีมชาติฝรั่งเศสและอดีตผู้จัดการทีมชาติฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแรมง ดอแมแน็ก · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 6,904 ครั้ง แผ่นดินไหวใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

แถบอักษรข่าววิ่ง

แถบตัวอักษรข่าววิ่ง ที่ด้านล่างของหน้าจอ แถบอักษรข่าววิ่ง (news ticker บ้างเรียก crawler หรือ slide) เป็นแถบที่อยู่บริเวณด้านล่างของจอโทรทัศน์เพื่อใช้แสดงหัวข้อข่าวสั้น โดยมักปรากฏในรายการประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน เริ่มใช้ครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2495 โดย เอ็นบีซี โดยเป็นส่วนหนึ่งของรายการทูเดย์ แถบอักษรข่าววิ่งดังกล่าวเป็นเพียงการฉายแถบกระดาษที่มีหัวข้อข่าวอย่างสั้นวิ่งในลักษณะเครื่องพิมพ์ดีดอยู่บริเวณด้านล่างของจอ แต่ได้ยกเลิกในภายหลัง เนื่องจากไม่ได้รับความนิยม จนสถานีโทรทัศน์ ซีเอ็นเอ็นเฮดไลน์นิวส์ ได้เริ่มใช้แถบตัวอักษรข่าวในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแถบอักษรข่าววิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แถมสุข นุ่มนนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ แถมสุข นุ่มนนท์ เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักประวัติศาสตร์ชาวไทย ผู้ซึ่งมีผลงานจากหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เช่น เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ขบวนการ ร.ศ. 130 ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-สหรัฐอเมริกา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองhttp://koha.library.tu.ac.th/cgi-bin/koha/opac-search.pl?q.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแถมสุข นุ่มนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลส์ โอลเดนเบิร์ก

แคลส์ โอลเดนเบิร์ก (Claes Oldenburg.) ศิลปินในกลุ่มป๊อปอาร์ต (Pop Art.) ผู้ซึ่งมีแนวทางในการสร้างสรรค์งานแตกต่างไปจากศิลปินคนอื่นๆ โดยจะมีการสอดแทรกความสนุกสนาน น่าขบขันลงไปในผลงาน ในขณะเดียวกันก็ยังมีความสวยงามและความลงตัวซ่อนอยู่ภายในชิ้นงานด้วย ซึ่งผลงานที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ ประติมากรรมขนาดใหญ่ยักษ์ หรือ Large – Scale Sculptures เป็นงานที่สร้างขึ้นโดยใช้สิ่งของที่มีในชีวิตประจำวัน เช่น ไม้หนีบผ้า กรรไกร ลูกขนไก่ มาทำให้มีขนาดใหญ่ แล้วนำไปติดตั้งในที่ชุมชนทำให้ผู้คนที่เดินผ่านไปผ่านมามีโอกาสได้เสพงานศิลปะมากขึ้น ทำให้งานศิลปะไม่ถูกจำกัดพื้นที่ให้อยู่แต่เพียงใน Gallery อีกต่อไป อีกทั้งยังเป็นการเล่นกับปฏิกิริยาของคนดูที่มีต่องานศิลปะอีกด้วย นับว่าเป็นศิลปินที่สร้างกระแสศิลปะในรูปแบบใหม่ได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแคลส์ โอลเดนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แคล้ว นรปติ

นายแคล้ว นรปติ (1 กันยายน พ.ศ. 2460 - 8 เมษายน พ.ศ. 2549) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 7 สมัย อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น อดีตเลขาธิการพรรคเศรษฐกร และอดีตหัวหน้าพรรคแนวร่วมสังคมนิยม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแคล้ว นรปติ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นซาร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

แคว้นซาร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแคว้นซาร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

แคนาด อินส์ สเตเดียม

แคนาด อินส์ สเตเดียม (Canad Inns Stadium) เป็นสนามฟุตบอลชั่วคราวตั้งอยู่ที่วินนิเพก รัฐแมนิโทบา ประเทศแคนาดา ในปี ค.ศ. 1999 สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสนามกีฬาหลักของแพนอเมริกันเกมส์ 1999 หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:สนามกีฬาในประเทศแคนาดา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแคนาด อินส์ สเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์กสวาเกน บีเทิล

ฟล์กสวาเกน บีเทิล (Volkswagen Beetle) เป็นรถรุ่นหนึ่ง ของค่ายรถยนต์โฟล์กสวาเกน ผลิตระหว่าง พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2546 รวมระยะเวลาการผลิต 65 ปี ยอดจำหน่ายรวมทั้งสิ้น 21,529,464 คัน ซึ่งถือเป็นรุ่นที่ออกแบบครั้งเดียว แล้วสามารถทำยอดขายได้สูงสุด และผลิตเป็นระยะเวลานานที่สุดในประวัติศาสตร์ยานยนต์ (รถรุ่นอื่นๆ จะต้องมีการออกแบบใหม่และปรับโฉมนับสิบรุ่นในชื่อเดียวกัน เพื่อให้ทันสมัยและรักษายอดจำหน่าย จึงจะสามารถทำยอดขายได้ในหลักล้าน) บีเทิล เป็นรถขับเคลื่อนล้อหลัง และเครื่องยนต์อยู่ด้านหลังของตัวรถ อันที่จริงแล้ว ชื่อเดิมของมันไม่ใช่บีเทิล เดิมทีโฟล์กสวาเกน จะเรียกรถรุ่นนี้ว่า Volkswagen แล้วตามด้วยขนาดของลูกสูบโดยประมาณของรถคันนั้น ซึ่งมี 5 ขนาด ทำให้มีชื่อเรียกได้ 5 แบบ คือ Volkswagen 1600, Volkswagen 1500, Volkswagen 1300, Volkswagen 1200 และ Volkswagen 1100 แต่ต่อมา ผู้คนในประเทศเยอรมนี (โฟล์กสวาเกน เป็นบริษัทเยอรมัน) เริ่มเรียกรถรุ่นนี้ว่า "Käfer" ซึ่งเป็นศัพท์ภาษาเยอรมันว่า ด้วง ตามรูปทรงของรถ และในแถบประเทศอื่นๆ ก็เริ่มเรียกกันย่อๆ ว่า Beetle และการเรียกย่อๆ ได้รับความนิยม ด้วยเป็นชื่อที่เรียกง่ายกว่าที่จะเรียกว่า โฟล์กสวาเกน 1100 หรือตัวเลขอื่นๆ ต่อมา ความนิยมที่จะเรียกรถรุ่นนี้ว่า ด้วง ได้แพร่กระจายไปยังประเทศอื่นที่มีรถรุ่นนี้จำหน่าย โดยในแต่ละประเทศ มักจะเรียกรถรุ่นนี้ย่อๆ เป็นคำว่า ด้วง หรือแมลงอื่นๆ ที่ใกล้เคียง ของภาษานั้นๆ รวมทั้งในประเทศไทย ที่เรียกรถรุ่นนี้กันอย่างติดปากมาจนถึงปัจจุบันว่า "รถโฟล์กเต่า" หรือ "รถเต่า" ต่อมา ใน พ.ศ. 2510 โฟล์กสวาเกน จึงได้เริ่มใช้ชื่อ โฟล์กสวาเกน บีเทิล อย่างเป็นทางการ และการผลิตบีเทิลดำเนินต่อไปเป็นรถยะเวลานาน เมื่อรูปทรงเริ่มมองดูล้าสมัย ยอดขายก็เริ่มลดลง และโฟล์กสวาเกนเริ่มหยุดขายบีเทิลในประเทศต่างๆ (ประเทศไทย หยุดขาย พ.ศ. 2521) จนกระทั่ง พ.ศ. 2541 ก็เหลือประเทศสุดท้ายคือ เม็กซิโก เป็นประเทศสุดท้ายที่โฟล์กสวาเกนยังผลิตรุ่นบีเทิลอยู่ จนกระทั่ง โฟล์กสวาเกน ตัดสินใจหยุดการผลิตบีเทิลลงอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ถึงการผลิตจะได้สิ้นสุดลงแล้ว บีเทิลก็ยังได้รับการจัดอันดับในรายชื่อรถยนต์ยอดเยี่ยมแห่งศตวรรษ เป็นอันดับ 4 รองจาก ฟอร์ด โมเดลที, มินิ และ ซีตรอง ดีเอส, James G. Cobb, The New York Times, December 24, 1999.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโฟล์กสวาเกน บีเทิล · ดูเพิ่มเติม »

โภคิน พลกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโภคิน พลกุล · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟ

มฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟ (Maxamed Cabdi Yuusuf, محمد يوسف عبدي) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศโซมาเลีย ตั้งแต่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโมฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟ · ดูเพิ่มเติม »

โยะชิโอะ ชิระอิ

() นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 เสียชีวิตเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2546 รวมอายุได้ 80 ปี สถิติการชก 58 ครั้ง ชนะ 46 (น็อค 18) เสมอ 4 แพ้ 8 เป็นแชมป์โลกมวยสากลคนแรกของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโยะชิโอะ ชิระอิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 1,200 เตียง ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจที่ 3600 มีภารกิจดังต่อไปนี้ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช

รงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช เดิมชื่อโรงพยาบาลนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ที่ 198 ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลสิงห์บุรี

รงพยาบาลสิงห์บุรี เป็นโรงพยาบาลของรัฐขึ้นตรงต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประเภทโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 343 เตียง ถนนขุนสรรค์ ตำบลบางพุทรา อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ห่างจาก ศาลากลางจังหวัดสิงห์บุรี ประมาณ 3 กิโลเมตรโดยมีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 33 ไร่ 2 งาน 62 ตารางว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงพยาบาลสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลตำรวจ

รงพยาบาลตำรวจ (Police General Hospital) โรงพยาบาลของรัฐ ในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีฐานะเทียบเท่ากับหน่วยงานตำรวจระดับกองบัญชาการ เดิมสังกัดสำนักงานแพทย์ใหญ่ ตั้งอยู่ที่ 492/1 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงพยาบาลตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบูรณะรำลึก

รงเรียนบูรณะรำลึก (อังกฤษ:Buranarumluk School) เป็นโรงเรียนเอกชน ศาสนาคริสต์ ประเภทสามัญศึกษา รับนักเรียนทั้งชายและหญิง ให้การศึกษาในระดับอนุบาล ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนบูรณะรำลึก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์

รงเรียนพิบูลประชาสรรค์ หรือเดิมมีชื่อว่า“วิทยาลัยพิบูลประชาสรรค์” เป็นสถานศึกษาในสังกัด กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย วิทยาลัยพิบูลประชาสรรค์จัดตั้งขึ้นโดยคณะรัฐบาลซึ่งมี จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีมติให้จัดสร้างอาคารสงเคราะห์สำหรับประชาชน ที่พักอาศัยอยู่ในแหล่งเสื่อมโทรมในเขตดินแดงและห้วยขวาง เพื่อช่วยบรรเทาทุกข์ร้อนของประชาชน และยังช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของชาติด้วย ต่อมาท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ได้พิจารณาเห็นว่าควรที่จะจัดตั้งสถานศึกษาสำหนับลูกหลานของประชาชนเหล่านี้ด้วย จึงได้สถาปนาขึ้นเป็น “วิทยาลัยพิบูลประชาสรรค์” เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2495 โดยมีนางเอื้อนทิพย์ เปรมโยธิน เป็นผู้อำนวยการท่านแรก (พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2516) ในด้านการจัดการศึกษาเริ่มแรกนั้นวิทยาลัยพิบูลประชาสรรค์จัดการศึกษาแบบสหศึกษาแบ่งเป็น 4 แผนก คือ แผนกอนุบาล แผนกประถมศึกษา แผนกมัธยมศึกษา และแผนกอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

รงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทสหศึกษา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 171/3151 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์10220.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวอนนภาศัพท์

รงเรียนวอนนภาศัพท์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 บ้านหาดวอน ถนนบางแสนล่าง ตำบลแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20130.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนวอนนภาศัพท์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดนาวง

รงเรียนวัดนาวง เป็นโรงเรียนรัฐบาล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณบ้านนาวง ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษาแบบสหศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนวัดนาวง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวิสุทธรังษี

รงเรียนวิสุทธรังษี (Visuttharangsi School) (อักษรย่อ: ว.ส.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (ราชบุรี-กาญจนบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2447 โดย พระวิสุทธิรังษี หรือ หลวงปู่เปลี่ยน อินฺทสโร เจ้าอาวาสวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ครบรอบการก่อตั้ง 100 ปี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ปัจจุบันมีอายุ ปี ปัจจุบัน โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชายล้วน ยกเว้นแผนการเรียน Education Hub Classroom/Enrichment Science Classroom/Intensive Program/English Program/โครงการส่งเสริมศักยภาพฯ) ถึงตอนปลายสายสามัญ (ชาย - หญิง ทุกแผนการเรียน) ปัจจุบันมีนักเรียนมากกว่า 4,000 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนวิสุทธรังษี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเขต 1 มีชื่อย่อว.อ. ก่อตั้งเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสมถวิล

รงเรียนสมถวิล (พระโขนง) เป็นโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร เปิดสอนตั้งแต่ชั้นเตรียมอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อตั้งโดย สมถวิล สังขะทรัพย์ อดีตข้าราชการครู และมีน้องสาวคือยิ่งถนอม เทียมเมธ เป็นอาจารย์ใหญ่ท่านแรก เริ่มต้นตั้งเป็นโรงเรียนอนุบาล ภายในซอยสุขุมวิท 42 (กล้วยน้ำไท) เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2489 ต่อมาในปี พ.ศ. 2495 ย้ายที่ตั้งมาอยู่ริมถนนสุขุมวิท ระหว่างซอยสุขุมวิท 67 กับซอยสุขุมวิท 69 (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งสำนักงานบริษัท ไทซินอุตสาหกรรม จำกัด ผู้จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ภาชนะบรรจุน้ำดื่มหลายชนิด) เปิดสอนระดับอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ต่อมาขยายถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนจะย้ายที่ตั้งอีกครั้งมาอยู่ภายในซอยสุขุมวิท 62/1 เมื่อปี พ.ศ. 2533 และในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสมถวิล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ

รงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ เป็นโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งแรกในประเทศไทย ภายใต้การดำเนินงานของ มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นโรงเรียนสาธิตในสังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่เลขที่ 174 ซอยสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ได้พัฒนาจากโรงเรียนประสานมิตร ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญศึกษาในบริเวณโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงเป็นระบบโรงเรียนสาธิต เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติงานในการฝึกสอนระดับมัธยมศึกษาของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และต่อมาได้ตั้งโรงเรียนประถมสาธิต วิทยาลัยวิชาการศึกษา เพิ่มเป็นสถานที่ปฏิบัติงานในการฝึกสอนระดับประถมศึกษา และได้มีการพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มีการแบ่งหน่วยงานออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) และ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรนารีวิทยา

รงเรียนสุรนารีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ร.น., S.R.N) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดนครราชสีมาประเภทโรงเรียนหญิงล้วน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสุรนารีวิทยา ได้จัดการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของสังคมในการเป็นสถานศึกษาชั้นนำของโรงเรียนมัธยมศึกษาของไทย เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาประจำปีการศึกษา 2523 และได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำปีการศึกษา 2535 โรงเรียนสุรนารีวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีต้นกำเนิดของโรงเรียนมัธยมแบบประสม (Comprehensive School) แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งได้รับการพัฒนาด้วยความเอาใส่ ทุ่มเท เสียสละอย่างต่อเนื่องจากผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียนตลอดจนนักเรียนและสังคมตลอดม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสุรนารีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวิทยา

รงเรียนสตรีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ว.; อังกฤษ: Satri Wittaya School) หรือเรียกอย่างย่อ ว่า สตรีวิท เป็นโรงเรียนรัฐบาลมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนสตรีล้วน ตั้งอยู่ที่ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 ถึง ม.6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสตรีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีเลย

รงเรียนสตรีเลย หรือ โรงเรียนสตรีเลย "วัฑฒนดรุณี" เป็นอดีตโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดเลย ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสตรีเลย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุตรดิตถ์

รงเรียนอุตรดิตถ์ เป็น โรงเรียนชายประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2452 เดิมชื่อ "โรงเรียนประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ " ก่อนจะย้ายไปยังที่ตั้งโรงเรียนอนุบาลจังหวัดอุตรดิตถ์ และย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบันในปี พ.ศ. 2484 โรงเรียนอุตรดิตถ์ เป็นสถานศึกษาที่เคยได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทานประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอนแบบ "สหศึกษา" เป็นโรงเรียนประเภท มัธยมศึกษาตอนต้น-ตอนปลาย โรงเรียนอุตรดิตถ์ในปัจจุบันจัดเป็นสถานมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นส่วนราชการในบังคับของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอนุบาลสมุทรสงคราม

รงเรียนอนุบาลสมุทรสงคราม เป็นโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนอนุบาลสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนผดุงกิจวิทยา

รงเรียนผดุงกิจวิทยา เดิมชื่อ "เผยจือกงเซี๊ยะ" (培知公学) เป็นโรงเรียนสอนภาษาไทย-จีน ตั้งอยู่ที่ แขวงคลองสาน เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยผู้ขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียนคือ นายเอี้ยวคุณ แซ่อึ้ง ตามใบอนุญาตเลขที่ 104 /2490 ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. 2490 มีนายบุ่งห่าง แซ่ลิ้ม เป็นผู้จัดการคนแรก และนายใสสด รักกุศล เป็นครูใหญ่คนแรกของโรงเรียน ดำเนินการจัดการเรียนการสอนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นแหล่งศึกษาของบุตรหลานชาวไทยเชื้อสายจีนและบุคคลทั่วไปที่อยู่ในย่านนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2495 ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนจาก เผยจือกงเซี๊ยะ เป็น ผดุงกิจวิทยาจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการและจัดสอนภาษาจีนเป็นวิชาเพิ่มเติม ตั้งแต่ระดับชั้นประถมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี พ.ศ. 2537 ได้ย้ายโรงเรียนจากแขวงคลองสานมาอยู่ที่อาคารเลขที่ 96/1 หมู่ 10 ถนนเพชรเกษม แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ตั้งของสมาคมมิตรภาพบางแคจนถึงปัจจุบัน โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมศิษย์เก่าผดุงกิจวิทยาที่ได้รับการเลือกตั้งผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาบริหารสถานศึกษาวาระละ 2 ปี ปัจจุบันเป็นวาระการบริหารสถานศึกษาของ นางสกุลทิพย์ ทิพย์บันลือ นายกสมาคมศิษย์เก่าผดุงกิจวิทยาและคณะ สมัยที่ 15-16 มีนางขนิษฐา แนวนาค เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนผดุงกิจวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนทุ่งสง

รงเรียนทุ่งสงเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 (สพท.นศ.2) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2468 ปัจจุบันเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีเนื้อที่ 54 ไร่ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 44 หมู่ 2 ถนนทุ่งสง - นครศรีธรรมราช ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเปิดสอนทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช่วงชั้นที่ 3) และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช่วงชั้นที่ 4) เป็นโรงเรียนโครงการร่วมโรงเรียนกีฬาจังหวัดนครศรีธรรมราช (โครงการร่วมระหว่างกรมพลศึกษากับกรมสามัญศึกษา) และเป็นโรงเรียนหน่วยเบิกเงินจากคลังจังหวัดนครศรีธรรมราช ณ อำเภอทุ่งสง โรงเรียนทุ่งสงมีอาคารถาวร 6 หลัง จำนวนห้องเรียน 37 ห้อง ห้องพิเศษ 25 ห้อง ห้องบริการ 15 ห้อง โรงพลศึกษา-หอประชุม 1 หลัง อาคารเอนกประสงค์ 1 หลัง โรงฝึกงานช่างอุตสาหกรรม 2 หลัง คหกรรม 1 หลัง และ อาคาร IT เฉลิมพระเกียรติ 1 หลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนทุ่งสง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายร้อยตำรวจ

รงเรียนนายร้อยตำรวจ (Royal Police Cadet Academy: RPCA) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นหน่วยงานระดับกองบัญชาการ ตั้งอยู่ที่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีภารกิจหลักในการฝึกอบรม ให้การศึกษา อบรมหล่อหลอมนักเรียนนายร้อยตำรวจให้มีคุณลักษณะเหมาะสมที่จะเป็นนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร และฝึกอบรมผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรอื่น ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรหลักของในโรงเรียนนายร้อยตำรวจเรียกว่า "นักเรียนนายร้อยตำรวจ" (นรต.) ผู้ที่สำเร็จการศึกษาชั้นสูงตามหลักสูตรนักเรียนนายร้อยตำรวจจะได้รับการแต่งตั้งยศเป็น "ว่าที่ร้อยตำรวจตรี" โดยนายตำรวจสัญญาบัตรที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรนักเรียนนายร้อยตำรวจได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเข้ารับพระราชทานกระบี่จากพระองค์ท่าน หรือองค์ผู้แทนพระองค์ตลอดม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายเรือ

รงเรียนนายเรือ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนายทหารเรือชั้นสัญญาบัตรของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือไทย ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรือ เรียกว่า นักเรียนนายเรือ (นนร.) นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาบัตรในระดับปริญญาตรีเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ และมีสิทธิได้รับการแต่งตั้งยศนายทหารชั้นสัญญาบัตรเป็น "ว่าที่เรือตรี".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนนายเรือ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพัทยา 7 (บ้านหนองพังแค)

รงเรียนเมืองพัทยา 7 (บ้านหนองพังแค) - Pattaya City 7 School (Ban Nong Pang Kae) เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่หน้าถนนสุขุวิทตรงข้ามวัดบุณย์กัญจนาราม ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลศึกษาถึงมัธยมศึกษา แบบสหศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนเมืองพัทยา 7 (บ้านหนองพังแค) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเลยพิทยาคม

รงเรียนเลยพิทยาคม (Loei Pittayakom School, (อักษรย่อ: ล.พ.ค, L.P.K) หรือเรียกอย่างย่อว่า เลยพิทย์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำจังหวัดเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนเลย-ด่านซ้าย บ้านนาหนอง ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย 42000 สถาปนาเมื่อ พ.ศ. 2515 ปัจจุบัน เปิดสอนระดับชั้น ม.1 - ม.6 โรงเรียนเลยพิทยาคม เป็น 1 ใน 3 โรงเรียนของจังหวัดเลยที่เข้าร่วมในโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของสสวท ร่วมกับโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย และเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล(World Class Standard School) ขนาดใหญ่พิเศษ ซึ่งมีเพียง 3 แห่งในจังหวัดเท่านั้นคือ โรงเรียนศรีสงครามวิทยา โรงเรียนภูเรือวิทยา และโรงเรียนเลยพิทยาคม นอกจากนี้โรงเรียนเลยพิทยาคมยังเป็นโรงเรียนคู่พัฒนากับโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา ซึ่งในทุกๆปี จะมีการแข่งขัน ฟุตบอลประเพณีโรงเรียนคู่พัฒนา เลยพิทย์-เลยอนุกูล ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยใช้สนามกีฬาจังหวัดเลยเป็นสถานที่จัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนเลยพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว

รงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว (อังกฤษ:Bangneaw Municipal School)เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าบางเหนียว ซึ่งเป็นชื่อเรียกตามชุมชนอันเป็นที่ตั้งของโรงเรียน ให้การศึกษาในระดับชั้นอนุบาล, ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดเทศบาลนครภูเก็ต กระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ มิลลา

อัลเบิร์ต โรเจอร์ มิลลา (Albert Roger Milla) (เกิด 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ที่เมืองยาอุนเด) นักฟุตบอลจากประเทศแคเมอรูน ถึงแม้ว่า โรเจอร์ มิลลา ได้เริ่มเล่นให้ทีมชาติแคเมอรูนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2521 ลงเล่นฟุตบอลโลกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2525 แต่มีชื่อเสียงในฟุตบอลโลก 1990 และฟุตบอลโลก 1994 ในการแข่งขันที่สหรัฐอเมริกา โรเจอร์ มิลลา ได้ทำประตูของเขาในขณะที่อายุ 42 ปี 39 วัน ทำให้เป็นสถิติฟุตบอลโลก นักฟุตบอลที่อายุสูงสุดที่ทำประตูได้ ในนัดที่แข่งกับทีมชาติรัสเซีย ชีวิตในช่วงเด็กของ โรเจอร์ มิลลา ได้ย้ายที่อยู่บ่อยเนื่องจากพ่อทำงานสร้างทางรถไฟ เริ่มเล่นฟุตบอลครั้งแรกเมื่ออายุ 13 ปี ให้กับสโมสร เอแคลร์ เมื่ออายุ 25 ปี ได้นำทีม ตงแนร์ เป็นแชมป์ ในปี พ.ศ. 2520 (1977) โรเจอร์ มิลลาได้ไปยุโรปและเล่นให้กับสโมสร วาล็องเซียนส์ ในฝรั่งเศส แต่ไม่ได้ลงเล่นตลอดเวลา 2 ปี และได้ย้ายต่อไปที่ อาแอส โมนาโก และ บาสเตีย จนในที่สุดได้ย้ายไปเล่นให้กับ แซงต์-เอเตียง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรเจอร์ มิลลา · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

โฮนีอารา

แผนที่แสดงที่ตั้งของกรุงโฮนีอารา โฮนีอารา มีประชากร 49,107 คน ในปี พ.ศ. 2542 เป็นเมืองหลวงของหมู่เกาะโซโลมอน และของจังหวัดกัวดัลคาแนล เป็นเมืองจุดศูนย์กลางของหมู่เกาะโซโลมอน โฮนีอาราตั้งอยู่บนเกาะกัวดัลคาแนล และสร้างทับกับเมืองหลวงเดิมคือตูลากิหลังจากสิ้น สงครามโลกครั้งที่ 2 โฮนีอาราเป็นเมืองหลวงของหมู่เกาะโซโลมอนในปี พ.ศ. 2495 ฮโนอารา ฮโนอารา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโฮนีอารา · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2495

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2495 ในโทรทัศน์ประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโทรทัศน์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศเยอรมนีใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในโทรทัศน์ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโทรทัศน์ประเทศเยอรมนีใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา สะสมทรัพย์

มทรัพย์ (18 กันยายน พ.ศ. 2495 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไชยา สะสมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว (ชื่อเล่น ปั่น) เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2523 ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ปัจจุบันมี บริษัท วัชรพล จำกัด เป็นเจ้าของ, ยิ่งลักษณ์ วัชรพล เป็นผู้อำนวยการ และสราวุธ วัชรพล เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ มีจำนวนพิมพ์ปัจจุบันที่ 1,000,000 ฉบับ ราคาจำหน่าย 10.00 บาท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไทยรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ไคเซิร์สเลาเทิร์น

แผนที่ตั้งเมืองไคเซิร์สเลาเทิร์น ไคเซิร์สเลาเทิร์น (Kaiserslautern) เป็นเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ในรัฐไรน์ลันท์-ฟัลทซ์ มีประชากรประมาณ 99,469 คน และเป็นที่ตั้งฐานทัพของนาโต ซึ่งส่วนมากเป็นทหารชาวอเมริกันและครอบครัว มีจำนวนประมาณ 30,000 คน ซึ่งเรียกเมืองนี้ว่า "K-town" เนื่องจากชื่อไคเซิร์สเลาเทิร์นออกเสียงเป็นภาษาอังกฤษยาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไคเซิร์สเลาเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เบญจมินทร์

ญจมินทร์ เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงรุ่นเก่าชื่อดังที่ได้รับฉายาว่า "ราชาเพลงรำวง" ในยุคที่วงการลูกทุ่งเพิ่งจะบุกเบิก นอกจากนั้นก็เคยสร้างและกำกับภาพยนตร์ เขียนบทละครและภาพยนตร์หลายเรื่อง รวมทั้งร่วมในการแสดงภาพยนตร์ด้วย ในวงการเพลง เบญจมินทร์ เป็นที่รู้จักอย่างมากจากเพลงรำวง อย่าง "เมขลาล่อแก้ว","รำวงแจกหมวก", "แมมโบ้จัมโบ้", "อึกทึก", "มะโนราห์ 1-2", "สาลิกาน้อย", "รำวงฮาวาย", "รำเต้ย", "อายจัง" และอีกมากมาย ส่วนเพลงลูกทุ่ง เขาโด่งดังจากเพลงแนวเกาหลีหลายเพลง ต้นฉบับแนวเสียงของ สุรพล สมบัติเจริญเจ้าของฉายา ราชาเพลงลูกทุ่ง และเป็นคนเปิดศักราชของลูกทุ่งอีสานและชาวอีสานในวงการเพลงลูกทุ่งของเมืองไทย ช่วงที่ำกำลังรุ่งโรจน์ ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเบญจมินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์

อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนนี เออร์คิวเดซ

นนี เออร์คิวเดซ (Benny Urquidez; ชื่อเล่น: เดอะเจ็ท; 20 มิถุนายน ค.ศ. 1952 —) เป็นทั้งคิกบ็อกเซอร์, นักออกแบบคิวบู๊ และนักแสดงชาวอเมริกัน เออร์คิวเดซเดิมเป็นผู้เข้าแข่งขันคาราเต้แบบนอน-คอนแท็ก (แบบไม่ปะทะจริง) ก่อนที่จะมาเป็นผู้บุกเบิกการต่อสู้แบบฟูล-คอนแท็ก (แบบปะทะจริง) ในสหรัฐ โดยได้หันเหสู่คาราเต้แบบฟูล-คอนแท็กในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเบนนี เออร์คิวเดซ · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงโอลิมปิก

ลิงโอลิมปิกในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ณ เมืองซอลต์เลกซิตี (Salt Lake City) รัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2545 เพลิงโอลิมปิก (Olympic Flame, Olympic Fire, Olympic Torch, Olympic Light, Olympic Eye, Olympic Sun) คือเพลิงที่ใช้จุดในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เป็นสัญลักษณ์และอนุสรณ์ถึงเพลิงที่เทพโพรมีเทียสขโมยจากเทพเจ้าซุสมามอบให้แก่มนุษยชาติมีไว้บริโภคเป็นครั้งแรก การจุดคบเพลิงโอลิมปิกเป็นประเพณีปฏิบัติตั้งแต่สมัยกรีกโบราณที่ต้องรักษาให้เพลิงโชติช่วงตลอดการแข่งขันกีฬาดังกล่าว สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกยุคปัจจุบัน ประเพณีการจุดเพลิงเช่นว่านี้ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม พ.ศ. 2471 สืบมาจนทุกวันนี้ ส่วนการส่งผ่านและวิ่งซึ่งคบเพลิงโอลิมปิกจากประเทศกรีซผ่านประเทศเครือข่ายต่าง ๆ ไปยังประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันนั้นมีนายคาร์ล ไดเอ็ม (Carl Diem) และนายโยเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) เป็นผู้ริเริ่มในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเบอร์ลิน พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

เพนแท็กซ์

นแท็กซ์ คอร์ปอเรชัน (Pentax Corporation) เป็นบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเพนแท็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ

แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ เป็นแพทย์แผนปัจจุบันคนแรกของไทยที่บุกเบิกนำเอาสมุนไพรมาใช้ร่วมกับการรักษาแบบแผนปัจจุบัน ในโรงพยาบาลวังน้ำเย็นจังหวัดสระแก้วและเป็นผู้ก่อตั้งสถาบันการแพทย์แผนไทยซึ่งทำให้ศาสตร์องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยที่ถึงหลงลืมไปนานกลับมาได้ความนิยมอีกครั้งหนึ่ง อีกทั้งยังได้รับเลือกเป็นแพทย์ดีเด่นชนบท ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียง กัลป์ตินันท์

นายเกรียง กัลป์ตินันท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี อดีตสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเกรียง กัลป์ตินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เมลามีน

มลามีน Melamine เป็นเบสอินทรีย์ มีสูตรทางเคมีว่า C3H6N6, และชื่อทาง IUPAC ว่า 1,3,5-triazine-2,4,6-triamine เมลามีนเป็นสารที่ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย เมลามีนเป็นไทรเมอร์ (หรือสารประกอบที่เกิดจากโมเลกุล 3 ตัวที่เหมือนกันแตกเป็นสามขา) ของไซยานาไมด์ (cyanamide) เช่นเดียวกันกับไซยานาไมด์ เมลามีนประกอบด้วยไนโตรเจน 66% (โดยมวล) เป็นสารที่มีคุณสมบัติหน่วงไฟเมื่ออยูในรูปของเรซินด้วยการปลดปล่อยไนโตรเจนออกมาเมื่อลุกใหม้หรือถูกเผา มีการนำเอา Dicyandiamide (หรือ cyanoguanidine), ที่เป็นไดเมอร์ (สองส่วน - dimer) ของไซยานาไมด์มาใช้เป็นสารหน่วงไฟเช่นกัน เมลามีนเป็นสารในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite) ของ “ไซโลมาซีน (cyromazine) ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงชนิดหนึ่ง เป็นสารที่เกิดขึ้นในตัวของสัตว์เลือดอุ่นที่ย่อยไซโลมาซีน มีรายงานด้วยเช่นกันว่าไซโลมาซีนเปลี่ยนเป็นเมลามีนในพื.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเมลามีน · ดูเพิ่มเติม »

เมธ รัตนประสิทธิ์

นายเมธ รัตนประสิทธิ์ หรือ หลวงวิลาสวันวิท เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเสรีประชาธิปไตย และเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนการป่าไม้ จังหวัดแพร่ จนได้รับการกล่าวถึงว่าเป็น "ผู้เริ่มงานโรงเรียนการป่าไม้".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเมธ รัตนประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ ชินวัตร

วเรศ ชินวัตร อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20 เป็นผู้ดูแลพื้นที่ภาคใต้ของพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย และเป็นพี่สาวของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเยาวเรศ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เล เลือง มิญ

ล เลือง มิญ (เกิด 1 กันยายน ค.ศ. 1952) เขาเป็นนักการเมืองประเทศเวียดนาม และเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คนปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเล เลือง มิญ · ดูเพิ่มเติม »

เลขาธิการสหประชาชาติ

ลขาธิการสหประชาชาติ เป็นหัวหน้าสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ โดยตามกฎบัตรสหประชาชาติ การแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติจะต้องได้รับมติจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามคำแนะนำของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่จะเป็นฝ่ายเสนอตัวบุคคลที่มารับตำแหน่งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่มีบทบาทสูงสุดในองค์การสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติจะดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี โดยจะดำรงตำแหน่งคนละหนึ่งหรือสองสมัย และตามธรรมเนียมแล้ว จะต้องไม่เป็นบุคคลจากประเทศสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนี้ก็เป็นที่เข้าใจกันว่า บุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งคนต่อไปจะต้องมาจากประเทศนอกทวีปของเลขาธิการคนล่าสุด ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ อังตอนีอู กูแตรึช อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส โดยเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนที่ 9.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเลขาธิการสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเสริม วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสาวนีย์ อัศวโรจน์

ตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ สกุลเดิม สุจริตกุล (เกิด 15 มิถุนายน พ.ศ. 2495) หนึ่งในตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2546 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ศาสตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย ศาสตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ หรือที่รู้กันในนาม ศาสตราจารย์ ดร.เสาวนีย์ อัศวโรจน์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเสาวนีย์ อัศวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาวหิมะ

ือดาวหิมะ (Snow leopard, Ounce) สัตว์ในวงศ์ Felidae ชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์ป่าที่หายากใกล้สูญพันธุ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera uncia เดิมทีเสือดาวหิมะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Uncia uncia โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Uncia โดยใช้มาตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 30 แต่จากการศึกษาด้านจีโนไทป์พบว่าอยู่ในสกุล Panthera เช่นเดียวกับเสือใหญ่หลายชนิด ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเสือดาวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ เชาว์สุรินทร์

น่ห์ เชาว์สุรินทร์ (26 มกราคม พ.ศ. 2495 —) เป็นนักฟันดาบสากลชาวไทย ผู้ซึ่งเข้าแข่งขันทั้งประเภทบุคคลและประเภททีม ในรายการเอเป้ที่โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 และเคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษา 11 ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอฟบีที (บริษัท)

ริษัท โรงงานฟุตบอลล์ไทย สปอร์ตติ้งกู๊ดส์ จำกัด หรือที่รู้จักกันดีในชื่อย่อว่า เอฟบีที (Football Thai Factory Sporting Goods Co, Ltd; อักษรย่อ: FBT) เป็นบริษัทและตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์เครื่องกีฬาสัญชาติไทย บริษัทก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเอฟบีที (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เอส-2 แทรคเคอร์

right เอส-2 แทรคเคอร์ (S-2 Tracker) เอส-2 แทรคเคอร์ เป็นเครื่องบินปราบเรือดำน้ำประจำเรือบรรทุกอากาศยาน เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1952 และใช้งานกันกว้างขวางในหลายประเทศ ได้แก่ ฮอลแลนด์ อิตาลี อาร์เจนตินา บราซิล ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ไทย และ สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเอส-2 แทรคเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสตาจีอูดูโมรุงบี

อสตาจีอูดูโมรุงบี เอสตาจีอูดูโมรุงบี (Estádio do Morumbi) หรือชื่อทางการคือ สนามกีฬาซีเซรู ปงเปว จี โตเลดู (Estádio Cícero Pompeu de Toledo) เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลเซาเปาลู ตั้งอยู่ที่เมืองเซาเปาลู ประเทศบราซิล เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1952 และเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1970 มีความจุทั้งสิ้น 69,809 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเอสตาจีอูดูโมรุงบี · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์มิดเดิลเวท แชมเปียนชิป

อ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์มิดเดิลเวท แชมเปียนชิป หรือ แชมป์โลกมิดเดิลเวท NWA (NWA World Middleweight Championship) เป็นเข็มขัดแชมป์โลกประเภทมิดเดิลเวทมวยปล้ำอาชีพของสมาคม National Wrestling Alliance (NWA) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1939 จนถึง ค.ศ. 2010 โดยผู้ที่ชิงแชมป์จะต้องน้ำหนักระหว่าง 82 กิโลกรัม (181 ปอนด์) จนถึง 87 กิโลกรัม (192 ปอนด์) แชมป์เส้นนี้ก่อตั้งขึ้นในช่วงต้นปี ค.ศ. 1939 ในชื่อ "เวิลด์ มิดเดิลเวท แชมเปียนชิป" โดย Salvador Lutteroth เจ้าของ Empresa Mexicana de Lucha Libre (EMLL) แชมป์คนแรกคือ Gus Kallio ซึ่งเป็นแชมป์ World Middleweight Champion 5 สมัยของ National Wrestling Association ซึ่งมีฉายาว่า "ราชาแห่งมิดเดิลเวท" ในสหรัฐอเมริกา ในตอนที่ Octavio Gaona เอาชนะ Kallio ในวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1939 เขาได้แชมป์มิดเดิลเวททั้งสองเส้น ต่อมาแชมป์ National Wrestling Association ถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 1940 เพื่อให้ความสำคัญกับการสร้างของ Lutteroth เมื่อ EMLL ได้สมทบกับ National Wrestling Alliance (NWA) ในปี ค.ศ. 1952 เข็มขัดก็ถูกใช้คำนำหน้าด้วย "NWA" ในช่วงปลายทศวรรษ 1980 EMLL ได้ถอนตัวออกจาก NWA และในช่วงต้นทศวรรษ 1990 สมาคมได้เปลี่ยนชื่อเป็น Consejo Mundial de Lucha Libre (CMLL) CMLL ได้เป็นเจ้าของแชมป์ 3 เส้นของแบรนด์ NWA ที่เกิดขี้นในสมาคมนี้ กับ 2 เส้นอื่นๆ คือ NWA World Welterweight Championship และ NWA World Light Heavyweight Championship ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์มิดเดิลเวท แชมเปียนชิป · ดูเพิ่มเติม »

เอเวอรี บรันดิจ

เอเวอรี บรันดิจ (Avery Brundage) เป็นประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลคนที่ 5 และ เป็นนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 5 ที่สวีเดนอีกด้วย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2430 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2518 หมวดหมู่:ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเอเวอรี บรันดิจ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี (เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์เผ่า เป็นศิษย์รุ่นแรกของศิลปินแห่งชาติ รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟ์ โกลด์บลุม

ฟฟ์ โกลด์บลุม (Jeff Goldblum) มีชื่อเต็มว่า เจฟฟรีย์ ลินน์ โกลด์บลุม (Jeffrey Lynn Goldblum) เกิดเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) ที่เมืองพิทท์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ผลงานดัง ๆ ที่สร้างชื่อเสียง ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจฟฟ์ โกลด์บลุม · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ บอนด์

มส์ บอนด์ (James Bond) เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย เอียน เฟลมมิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2496 ซึ่งปรากฏอยู่ในนวนิยาย 12 ตอนและรวมเรื่องสั้นอีก 2 เล่ม ต่อมาหลังจากเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2507 มีนักประพันธ์อีกหลายคนได้สิทธิ์ในการประพันธ์ เจมส์ บอนด์ ต่อ ได้แก่ คิงส์ลีย์ เอมิส, คริสโตเฟอร์ วูด, จอห์น การ์ดเนอร์, เรย์มอนด์ เบ็นสัน, เซบาสเตียน ฟอล์ค, เจฟฟรีย์ ดีฟเวอร์ และ วิลเลียม บอยด์ นอกจากนี้ยังมีผลงานประพันธ์ของ ชาร์ลี ฮิกสัน ในชุด ยังบอนด์ และ เคต เวสต์บรูค ประพันธ์ในรูปแบบไดอารีของตัวละคร มิสมันนีเพนนี เจมส์ บอนด์ ยังได้ถูกดัดแปลงออกมาเป็นสื่อต่างๆ เช่น ละครโทรทัศน์, ละครวิทยุ, การ์ตูน, วิดีโอเกมและภาพยนตร์ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากทั่วโลก โดยเป็นภาพยนตร์ชุดที่ทำเงินสูงสุดอันดับที่ 4 เริ่มจากเรื่อง พยัคฆ์ร้าย 007 (Dr.No) เมื่อปี พ.ศ. 2505 โดยมี ฌอน คอนเนอรี รับบท เจมส์ บอนด์ ปัจจุบันออกฉายแล้วทั้งหมด 24 ภาค ผลิตโดย อีโอเอ็น โปรดักชันส์ ภาคล่าสุด ชื่อว่า องค์กรลับดับพยัคฆ์ร้าย (Spectre) แดเนียล เคร็ก เป็นเจมส์ บอนด์ ครั้งที่ 4 และเป็นคนที่ 6 ที่รับบทนี้ นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์ที่ไม่ใช่ของ อีโอเอ็น คือ ทีเด็ดเจมส์บอนด์ 007 (Casino Royale) เมื่อปี พ.ศ. 2510 เดวิด นิเวน เป็นเจมส์ บอนด์ และ พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ (Never Say Never Again) เมื่อปี พ.ศ. 2526 ซึ่งเป็นการรีเมค ธันเดอร์บอลล์ 007 (Thunderball) โดย ฌอน คอนเนอรี กลับมารับบทเป็นเจมส์ บอนด์ อีกครั้ง ตัวเลข 007 ที่อยู่ท้ายชื่อของเจมส์ บอนด์ หมายถึงรหัสลับประจำตัวที่ใช้เรียกแทนตัวเขาในฐานะของสายลับคนหนึ่ง โดยเลข 00 ที่นำหน้าเลข 7 อยู่นั้น ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แจ้งให้ทราบว่า ตัวเขาเป็นสายลับที่ได้รับอนุญาตให้สามารถสังหารชีวิตผู้อื่นได้โดยไม่ผิดกฎหมายสมเกียรติ อ่อนวิมล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจมส์ บอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ดี. วัตสัน

มส์ ดี. วัตสัน เจมส์ ดิวอี วัตสัน (James Dewey Watson; 6 เมษายน พ.ศ. 2471) นักอณูชีววิทยาชาวอเมริกัน ได้รับการยอบรับว่าเป็นผู้ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอร่วมกับฟรานซิส คริกและมอริส วิลคินส์ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ มีผลงานการตีพิมพ์คือบทความ โครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจมส์ ดี. วัตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เจสส์ แม็กแมน

รเดอริก เจมส์ "เจสส์" แม็กแมน ซีเนียร์ (Roderick James "Jess" McMahon Sr.) เป็นนักโปรโมเตอร์มวยสากลอาชีพ และมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน เขาเป็นต้นตระกูลแม็กแมน เขาเป็นผู้ก่อตั้งสมาคม แคปิเทิลเรสต์ลิงคอร์โปเรชั่น ร่วมกับทูตส์ มอนดต์ ในปี ค.ศ. 1952 ลูกชายของแม็กแมน วินซ์ แม็กแมน ซีเนียร์ หลังจากเข้ารับตำแหน่งและได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น World Wide Wrestling Federation (WWWF) ซึ่งปัจจุบันคือ WWE.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจสส์ แม็กแมน · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:شمس پهلوی, ประสูติ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - สิ้นพระชนม์ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก และเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์ ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 ณ เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ โดยเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต์ โดยพี่พระพี่น้องด้วยกัน 5 พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์, เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์, เจ้าหญิงไฟซาแห่งอียิปต์ และพระขนิษฐาอีก 1 พระองค์ คือ เจ้าหญิงไฟทิยาแห่งอียิปต์ เจ้าหญิงฟัยกะฮ์เสกสมรสเมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1950 ที่เมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยเสกสมรสกับนายฟูอัด ซาดิก เบย์ มีบุตร-ธิดาด้วย 4 คน ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงฟัยกะฮ์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์

้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์แห่งออตโตมัน (ตุรกี:Fatma Neslişah Osmanoğlu Sultan; ประสูติ: 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์ 2 เมษายน ค.ศ. 2012) พระปนัดดาของกาหลิบคนสุดท้ายแห่งจักรวรรดิออตโตมัน โดยพระบิดาคือเจ้าชายเซซาด โอมาร์ ฟารุก เอฟเฟนดี เป็นโอรสในกาหลิบอับดุลเมซิดที่ 2 กับพระมเหสีพระองค์แรก และพระมารดาคือเจ้าหญิงรูกิเย ซาบิฮะ สุลต่าน เป็นพระธิดาในสุลต่าน และกาหลิบคนสุดท้ายแห่งออตโตมัน สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6 กับพระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงฟัตมา เนสลีชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فادية Fādiya, ประสูติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1943-26 ธันวาคม ค.ศ. 2002) พระราชธิดาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน

้าหญิงมาร์กาเรตโยงมาที่หน้านี้ สำหรับผู้ที่ใช้พระนามว่า "เจ้าหญิงมาร์กาเรต" อื่นๆ ดู เจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม) เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน (มาร์กาเรต โรส; ประสูติ: 21 สิงหาคม พ.ศ. 2473 - สิ้นพระชนม์: 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545) พระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 กับสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ และพระขนิษฐาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระประมุขแห่งอังกฤษองค์ปัจจุบัน พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเคาน์เตสแห่งสโนว์ดอนจากการอภิเษกสมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์

้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์ (อาหรับ:الأميرة فريال Feriyāl, ประสูติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1938 - สิ้นพระชนม์ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 Deccan Chronicle. Retrieved on 29 November 2009.) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงเฟริยาลแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فوزية Fawziya, ประสูติ 7 เมษายน ค.ศ. 1940 - สิ้นพระชนม์ 27 มกราคม ค.ศ. 2005) พระราชธิดาพระองค์กลางของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเต่งกะด๊ะ

้าหญิงเต่งกะด๊ะ (Princess of Taingda; พ.ศ. 2408 - พ.ศ. 2495) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์คองบอง ทรงมีพระนามเดิมคือ เจ้าหญิงศรีสุริยธรรมาเทวี (Sri Suriya Dharma Devi) เจ้าหญิงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าหญิงเต่งกะด๊ะเมื่อแรกประสูติ ก่อนที่พระราชบิดาจะเปลี่ยนบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าหญิงมโหย่ติ (Princess of Myothit).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหญิงเต่งกะด๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหนูปรมาณู

อะนิเมะ ฉบับปี 2003 เจ้าหนูปรมาณู หรือ แอสโตรบอย หรือ เจ้าหนูจอมพลัง เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นที่ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2495 วาดโดยโอซามุ เท็ตซึกะ และถูกสร้างเป็นอะนิเมะฉายทางโทรทัศน์ญี่ปุ่น ระหว่าง พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2509 ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ถูกนำไปฉายในสหรัฐอเมริกา 2 ครั้ง ครั้งแรกโดยบริษัท ซินดิเคชัน เมื่อ พ.ศ. 2506 และครั้งที่สองโดยเครือข่ายเอ็นบีซี ระหว่าง พ.ศ. 2509 - พ.ศ. 2521 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าหนูปรมาณู · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมเอี่ยม (กลางภาพ) เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ซ้าย) เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2495) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพี่น้องหนึ่งในห้าคนในเจ้าจอมก๊กออ มีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ จำนวน 2 พระองค์ เจ้าจอมเอี่ยม เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เทร์รี โอควินน์

ทร์รันซ์ "เทร์รี" โอควินน์ (Terrance "Terry" O'Quinn) เกิดเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานครั้งแรกในภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง F.D.R.: The Last Year จากนั้นเขาได้รับแสดงสมทบในภาพยนตร์และทางโทรทัศน์หลายเรื่องอย่างเช่น Young Guns, All the Right Moves, Silver Bullet, Places in the Heart และ Between Two Women ยังเป็นแขกให้รายการโทรทัศน์อย่าง Miami Vice, The Twilight Zone, Tales of the Unexpected, The West Wing และ Remington Steele โอควินน์มีชื่อเสียงในเรื่อง The Stepfather และ Stepfather II และในปี 1996 เขาแสดงในบทปีเตอร์ วัตส์ใน Millennium ที่มีอยู่ 3 ฤดูกาล (1996-1999) เขายังแสดงบทจอห์น ล็อก ในซีรีส์ทางช่องเอบีซี เรื่อง Lost ที่เขาได้รับรางวัลเอมมีในปี 2007 และเคยได้รับการเสนอชื่อก่อนหน้านี้นปี 2005 อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเทร์รี โอควินน์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครอุดรธานี

ทศบาลนครอุดรธานี เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี เป็นศูนย์กลางหน่วนงานราชการภูมิภาค การค้า การพานิชย์ การขนส่งทางบก และอากาศ และอุตสาหกรรมของจังหวัดอุดรธานี มีพื้นที่ 47.70 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมตำบลหมากแข้งทั้งตำบล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเทศบาลนครอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองสะเดา

ทศบาลเมืองสะเดา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเทศบาลเมืองสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนเจ้าพระยา

ื่อนเจ้าพระยา เป็นเขื่อนทดน้ำขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่บริเวณคุ้งบางกระเบียน หมู่ที่ 4 ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดเขื่อนเจ้าพระยาเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เขื่อนเจ้าพระยามีลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 237.50 เมตร สูง 16.5 เมตร ติดตั้งบานประตูเหล็กรูปโค้งสูง 7.50 เมตร มีช่องระบายให้น้ำไหลผ่านขนาดกว้าง 12.50 เมตร จำนวน 16 ช่อง ประตูน้ำสำหรับเรือสัญจรติดกับเขื่อนด้านขวากว้าง 14 เมตร ยาว 170.50 เมตร เรือขนาดใหญ่สามารถผ่านเข้าออกได้ บนสันเขื่อนมีสะพานกว้าง 7 เมตร รับรถน้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 20 ตัน และมีทางระบายน้ำล้นฉุกเฉินสร้างบนคันกั้นน้ำซ้ายมือเหนือเขื่อนเจ้าพระยา กว้าง 10 เมตร ยาว 1,000 เมตร เพื่อช่วยระบายน้ำเมื่อเกิดอุทกภัย อัตราการระบายน้ำผ่านเขื่อนสูงสุดประมาณ 3,300 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แต่การปล่อยน้ำจะควบคุมให้อยู่ในระดับไม่เกิน 2,500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพื่อมิให้กระทบต่อพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทัศนียภาพรอบเขื่อนสวยงาม ช่วงเดือนมกราคมในบริเวณแม่น้ำเหนือเขื่อนจะมีฝูงนกเป็ดน้ำนับหมื่นมาอาศัยหากิน เขื่อนนี้ใช้ประโยชน์ด้านการชลประทาน การทดน้ำเพื่อการเกษตร โดยระบายน้ำจากแม่น้ำในภาคเหนือสู่ภาคกลางและอ่าวไทย ส่งน้ำไปในพื้นที่เพาะปลูกภาคกลางเข้าคลองส่งน้ำสายใหญ่รวม 5 สาย คือ แม่น้ำน้อย แม่น้ำท่าจีน คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง คลองชัยนาท-ป่าสัก และคลองชัยนาท-อยุธยา และยังใช้ผลิตไฟฟ้าสำหรับจ่ายในจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเขื่อนเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม

ตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม เป็นเขตการปกครองของคณะสงฆ์ในระดับจังหวัด ที่เกิดขึ้นจากการจัดแบ่งตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 ฉบับแก้ไข พุทธศักราช 2535 ที่จัดให้มีการปกครองในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่มหาเถรสมาคมเป็นองค์กรปกครองสูงสุด มีเจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ เจ้าคณะตำบล และเจ้าอาวาสเป็นลำดับสุดท้าย ในปัจจุบันในฝ่ายคณะสงฆ์มหานิกายมี พระเทพมหาเจติยาจารย์ (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ ป.ธ.9) วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็น เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

เดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ท

อ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ท เดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ท (de Havilland Comet) เป็นเครื่องบินเจ็ทโดยสารรุ่นแรกของโลก ผลิตและพัฒนาโดยบริษัท เดอ ฮาวิลแลนด์ จำกัด ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่สหราชอาณาจักร ขึ้นบินครั้งแรกใน พ.ศ. 2492 เป็นสัญลักษณ์ของความก้าวหน้าทางการบินของสหราชอาณาจักร เครื่องบินเจ็ท สามารถบินได้สูงกว่า 10 กิโลเมตร และบินได้เร็วเกือบ 1000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ต่างจากเครื่องบินใบพัดรุ่นแรกหรือเรือเหาะที่ไม่สามารถบินสูงและเร็วได้เท่านั้น จึงเป็นการเปิดศักราชใหม่ของเครื่องบินที่รวดเร็ว ข้ามน้ำข้ามทะเลได้ในไม่กี่ชั่วโมง จึงได้รับความนิยมสูง มีการนำไปใช้ในหลายวงการ ในหลายประเทศ แต่ทว่า หลังจากนั้นก็ได้มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นกับคอเม็ท คือ การระเบิดกลางอากาศ ซึ่งภายหลังได้มีการตรวจพบว่า มีสาเหตุมาจากการออกแบบที่ไม่สามารถทนต่อแรงดันอากาศได้มากพอ คอเม็ทจึงเริ่มถูกปลดออก เครื่องบินรุ่นคอเม็ท ขึ้นบินครั้งแรกในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 เมื่อทดสอบแล้วว่าบินได้จริง ก็ถูกสั่งซื้อจากสายการบินจำนวนมาก เช่น จาก British Overseas Airways Corporation หรือ BOAC และเปิดบริการแก่ประชาชนจริงใน พ.ศ. 2495.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ท · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย

รื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย (Ehrenzeichen für Verdienste um die Republik Österreich, Decoration of Honour for Services to the Republic of Austria หรือ Order of Merit of the Austrian Republic) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชาติของสาธารณรัฐออสเตรีย ถือเป็นเครื่องอิสริยภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงสุดของประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

เคเอฟซี

อฟซี (KFC) หรือ ไก่ทอดเคนทักกี (Kentucky Fried Chicken) เป็นภัตตาคารอาหารจานด่วนหลายสาขาที่เน้นอาหารประเภทไก่ทอดและมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่หลุยส์วิลล์ รัฐเคนทักกี สหรัฐอเมริกา เคเอฟซีเป็นภัตตาคารหลายสาขาที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากแมคโดนัลด์ ด้วยจำนวนร้าน 18,875 ร้านใน 118 ประเทศนับถึงเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเคเอฟซี · ดูเพิ่มเติม »

เตรียม ชาชุมพร

ตรียม ชาชุมพร ภาพตัวละครในแบบเรียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาชุด มานะ มานี ปิติ ชูใจ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ผลงานการวาดของเตรียม ชาชุมพร เตรียม ชาชุมพร (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 — 24 มกราคม พ.ศ. 2533) นักเขียนการ์ตูนฝีมือระดับแนวหน้าของไทย ผู้มีผลงานอันโดดเด่นอยู่จากลายเส้นและบรรยากาศแบบไทยๆ ในงานเขียนต่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานภาพประกอบแบบเรียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาชุด มานะ มานี ปิติ ชูใ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเตรียม ชาชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

เตียง ศิริขันธ์

นายเตียง ศิริขันธ์ (คนกลาง) ในเครื่องแบบเสรีไทย กับนายทหารสัมพันธมิตร นายเตียง ศิริขันธ์ กับนางนิวาศน์ ภริยา นายชาญ บุนนาค บุคคลที่ถูกสังหารพร้อมนายเตียง เตียง ศิริขันธ์ (5 ธันวาคม พ.ศ. 2452 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2495) เป็นนักการเมืองฉายา "ขุนพลภูพาน" หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วยนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ นายถวิล อุดล และนายจำลอง ดาวเรือง นายเตียงดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สกลนคร 5 สมัย ตั้งแต่อายุ 28 ปี รัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นหัวหน้าใหญ่เสรีไทยภาคอีสานและสกลนครโดยมีศูนย์บัญชาการอยู่บนเทือกเขาภูพาน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ "ข้าพเจ้าต้องการให้ทุก ๆ คนบนพื้นอันเป็นสยามประเทศนี้ เป็นราษฎรเสมอหน้ากันหมด ปราศจากความเหลื่อมล้ำต่ำสูง" เตียง ศิริขันธ์ ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้งเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2495 ในสมัยรัฐบาลคณะรัฐประหาร มีผู้ถูกฆ่าในครั้งนั้น ได้แก่ ชาญ บุนนาค เล็ก บุนนาค ผ่อง เขียววิจิตร และ สง่า ประจักษ์วงศ์ โดยศพถูกนำไปเผาทิ้งที่ ต.แก่งเสี้ยน อ.เมือง.กาญจนบุรี นายเตียง ศิริขันธ์ เกิดที่บ้านในตำบลตลาด อำเภอเมืองสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของขุนนิเทศพาณิชย์ (บุดดี ศิริขันธ์) กับนางอ้อน ศิริขันธ์ จบโรงเรียนเรียนฝึกหัดครูวัดบวรนิเวศวิหาร และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางนิวาศน์ ศิริขันธ์ (นามเดิม นิวาศน์ พิชิตรณการ เป็นบุตรสาวของ ร.อ.นาถ และนางเวศ พิชิตรณการ) มีบุตร 1 คน ชื่อ นายวิฑูรย์ ศิริขันธ์ เกี่ยวกับเชื้อสายของเตียง ศิริขันธ์ นั้นบิดาเป็นบุตรชายลำดับที่ 4 ของรองอำมาตย์โท พระบริบาลศุภกิจ (คำสาย ศิริขันธ์) หรือเพียเมืองขวา อดีตกรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ กับนางบัว ศิริขันธ์ ธิดาของพระโคษาราช (ต้นตระกูล นาถโคษา) กำนันตำบลสะพานหิน ปู่ของเตียง ศิริขันธ์ ชื่อพระเสนาภักดี (ขันธ์ ศิริขันธ์) ย่าชื่อนางพรหมา ศิริขันธ์ ปู่ทวดชื่อพระศรีวรราชหรือเพียสีสุวงษ์ (ท้าวรี) ย่าทวดชื่อนางที บิดาของปู่ทวดชื่อเพียสีหาเทพ (ท้าวศรี) กรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ชุดแรกสมัยเริ่มตั้งเมืองสกลนคร ตระกูลของเตียงศิริขันธ์นับว่าเป็นเชื้อสายขุนนางเก่าแก่ และเกี่ยวดองกับตระกูลเจ้าเมืองของสกลนครมายาวนาน คือ ตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเตียง ศิริขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน ข่ายเกอ

ฉิน ข่ายเกอ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีน ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เฉิน ข่ายเกอ เกิดที่ปักกิ่ง ในวัยรุ่น ขณะประเทศจีนกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาร่วมเป็นหนึ่งในกองทัพพิทักษ์แดง (เรดการ์ด - Red Guard) หลังสิ้นสุดการปฏิวัติวัฒนธรรม เขาเข้าศึกษาต่อที่สถาบันภาพยนตร์แห่งปักกิ่ง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเฉิน ข่ายเกอ · ดูเพิ่มเติม »

เซียร์เกย์ จูคอฟ

ซียร์เกย์ วลาดิมิโรวิช จูคอฟ (Сергей Владимирович Жуков.) เก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเซียร์เกย์ จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปรีโก เฟร์นันเดซ

ปโดร เฟร์นันเดซ กัสตีเยโคส (Pedro Fernández Castillejos) หรือ เปรีโก เฟร์นันเดซ (Perico Fernández) หรือ นักมวยสากลชาวสเปน เกิดเมื่อ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่เมืองซาราโกซา ประเทศสเปน สถิติการชก 128 ครั้ง ชนะ 83 (น็อก 48) เสมอ 15 แพ้ 28.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเปรีโก เฟร์นันเดซ · ดูเพิ่มเติม »

เนลสัน แมนเดลา

นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

นเธอร์แลนด์แอนทิลลิส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มีนาคม

วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กรกฎาคม

วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ11 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ11 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 สิงหาคม

วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มกราคม

วันที่ 28 มกราคม เป็นวันที่ 28 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 337 วันในปีนั้น (338 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ28 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 เมษายน

วันที่ 28 เมษายน เป็นวันที่ 118 ของปี (วันที่ 119 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 247 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ28 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 สมุนจอมป่วน

3 สมุนจอมป่วน หรือ 3 พี่น้องจอมยุ่ง (The Three Stooges) เป็นทีมตลกอเมริกาซึ่งเล่นกันในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 จนถึงช่วงกลางศตวรรษที่ 70 ซึ่งรู้จักกันดีในภาพยนตร์สั้นของพวกเขา ซึ่งตลกของเขาจะเน้นในทางกริยาและการเจ็บตัว ในภาพยนตร์สั้นของ 3 พี่น้องจอมยุ่ง ซึ่งเป็นทีมตลก 3 คน ซึ่งประกอบไปด้วย โม ฮาวเวอร์ด (Moe Howard) เป็นสมุนคนที่ 1, แลร์รี่ ไฟน์ (Larry Fine) เป็นสมุนคนที่ 2 และ เคอร์ลี่ ฮาวเวอร์ด (Curly Howard) เป็นสมุนคนที่ 3 ตั้งแต่ ค.ศ. 1934 ถึง ค.ศ. 1946 แต่เมื่อเคอร์ลี่ เป็นโรคหลอดเลือดสมองและเสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1952 เชมพ์ ฮาวเวอร์ด (Shemp Howard) จึงเข้ามาแทนที่เป็นสมุนคนที่ 3 แต่เมื่อเชมพ์เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1955 จึงใช้สตั้นท์ชื่อว่า โจ พาลมา (Joe Palma) แสดงแทนเป็นเชมพ์ และในปีเดียวกันได้ถูกแทนที่โดย โจ เบสเซอร์ (Joe Besser) และ เคอร์ลี่ "โจ" เดริต้า ("Curly-Joe" DeRita) ในปี ค.ศ. 1959 แต่เมื่อแลร์รี่ เสียชีวิตในโรคหลอดเลือดสมอง ในปี ค.ศ. 1970 จึงถูกแทนที่โดย อีมิล ซิทกา (Emil Sitka) แต่เมื่อโม ได้เสียชีวิตโดยโรคมะเร็งในปี ค.ศ. 1975 3 สมุนจอมป่วนจึงหยุดเล่นในปี ค.ศ. 1975.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 สมุนจอมป่วน · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

52 (แก้ความกำกวม)

52 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ52 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ9 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1952

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »