โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2372

ดัชนี พ.ศ. 2372

ทธศักราช 2372 ใกล้เคียงกั.

101 ความสัมพันธ์: ชวาเนนเกซังพ.ศ. 2450พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามรกฎ กรมขุนสถิตย์สถาพรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิตพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์การแปลงฟูรีเยมหานิกายมาร์ติน แวน บิวเรนราชวงศ์เบอร์นาดอตต์รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อธงในประเทศคอสตาริการายพระนามพระมหากษัตริย์มาดากัสการ์รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซียรายพระนามจักรพรรดิเวียดนามรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปนรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐรายนามประธานาธิบดีสหรัฐรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสวอมแบตวงศ์กิล่ามอนสเตอร์ศาสนาพุทธในประเทศไทยสกุลวูลเปสสมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8สมเด็จพระเจ้าราดามาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนสะพานมาร์โลว์หลวงพ่อเนียมหลุยส์ เบรลล์อาสนวิหารออร์เลอ็องอิน-จันอเมลีแห่งเลาช์เทนเบิร์ก จักรพรรดินีแห่งบราซิลฮงอินโบ ชูซะกุฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัวจอห์น ควินซี แอดัมส์จอห์น เอเวอเรตต์ มิเลจังหวัดสุรินทร์จงโคร่งธงชาติเม็กซิโกทะเกะชิ ซุอิซังคาร์ล ฟรีดริช เกาส์ตราแผ่นดินของอุรุกวัย...ตะกองประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1829ประเทศออสเตรเลียประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1829ประเทศไทยใน พ.ศ. 2372ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1829ปลาฟิงเกอร์ปลากระเบนชายธงปลากระเบนชายธง (สกุล)ปลากระเบนแมนตาปลาการ์ตูนแดงปลาราฟิโอดอนปลาสากเหลืองปลาสิงโตปีกเข็มปลาหมอตาลปลาอะโรวานาอเมริกาใต้ปลาอะโรวานาแอฟริกาปลาอะโรวานาเงินปลาอะโรวาน่าเอเชียปลาอินซีเน็ตดำปลาคู้แดงปลาแพะเหลืองปลาโนรีปลาไหลผีอะบาอะบาปลาเม็ดขนุนปลาเรดเทลแคทฟิชปูเสฉวนบกนีลส์ เฮนริก อาเบลแย้แอนดรูว์ แจ็กสันโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่งโรเบิร์ต อี. ลีโลมาหัวบาตรหลังเรียบโทมัส ยังเชสเตอร์ เอ. อาเทอร์เพลงยาวถวายโอวาทเพิร์ท (ออสเตรเลีย)เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เอวาริสต์ กาลัวเจอโรนิโมเต่าหญ้าเต่าหัวค้อน10 มิถุนายน13 มิถุนายน21 มกราคม29 กันยายน5 สิงหาคม6 มิถุนายน8 ธันวาคม ขยายดัชนี (51 มากกว่า) »

ชวาเนนเกซัง

วาเนนเกซัง (Schwanengesang, D 957) เป็นชื่อรวมผลงานของฟรันซ์ ชูแบร์ท (1797 - 1828) คีตกวีชาวออสเตรีย ที่ตีพิมพ์หลังการเสียชีวิตของชูแบร์ท ประกอบด้วยงานดนตรี 13 ชิ้นสำหรับประกอบโคลงของกวีสามคน คือ ลุดวิจ เรลสแตป (1799–1860), ไฮน์ริก ไฮน์ (1797–1856) และโยฮันน์ กาเบรียล ซีเดิล (1804-1875) รวมกับผลงานชื่อ Taubenpost ที่ว่ากันว่าเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของชูแบร์ทก่อนจะเสียชีวิต รวมผลงานชิ้นนี้ได้ชื่อว่า "ชวาเนนเกซัง" เป็นภาษาเยอรมันมีความหมายว่า "งานชิ้นสุดท้าย (ก่อนตาย)" ตั้งชื่อโดยโทเบียส ฮาสลิงเจอร์ ผู้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ ค.ศ. 1829 เพื่อผลทางการตลาด โดยสื่อความหมายว่าเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของชูแบร์ท ผลงานทั้ง 14 ชิ้น ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และชวาเนนเกซัง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ 2000000000000000 ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม "ทองดี") และพระอัครชายา (พระนามเดิม "หยก"หรือ ดาวเรือง) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ (18 เมษายน พ.ศ. 2341 - 16 เมษายน พ.ศ. 2406) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 6 ขึ้น 4 ค่ำ ปีมะเมีย สัมฤทธิศก จุลศักราช 1160 ตรงกับวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2341 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาศิลา ทรงเป็นต้นราชสกุลกุญชร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิทักษเทเวศร์ และโปรดให้ทรงว่ากรมม้า ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น กรมพระพิทักษเทเวศร์ นเรศรราชรวิวงศ์ อิศวรพงศพิพัฒนศักดิ อุดมอรรควรยศ วงศประนตนาถนเรนทร์ พาหเนนทรบพิตร และโปรดเกล้าฯ ให้กำกับกรมคชบาลเพิ่มอีกกรมหนึ่ง สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีกุน เบญจศก จุลศักราช 1225 ตรงกับวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2406 พระชันษา 65 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามรกฎ กรมขุนสถิตย์สถาพร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามรกฎ กรมขุนสถิตย์สถาพร (พ.ศ. 2351 - พ.ศ. 2399) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือนยี่ ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1170 ตรงกับปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามรกฎ กรมขุนสถิตย์สถาพร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2334 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2396) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 6 ขึ้น 3 ค่ำ ปีกุน ตรีศก จุลศํกราช 1153 ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2334 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเจ้าจอมมารดานวล ไม่มีนามสกุลพระราชทาน ในปี พ.ศ. 2372 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นสวัสดิวิไชย และโปรดให้ต่อมา พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ เลื่อนกรมขึ้นเป็น กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อเสาร์ เดือนอ้าย แรม 2 ค่ำ ปีฉลู เบญจศก จุลศักราช 1215 ตรงกับวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2396 พระชันษา 63 ปี พระราชทานเพลิง ณ พระเมรุท้องสนามหลวง วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2397.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยวงศ์ กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิต

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นไกรสรวิชิต (13 มิถุนายน พ.ศ. 2341 - 30 มกราคม พ.ศ. 2390) เป็นโอรสพระองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ เจ้าจอมมารดากลิ่น (ธิดาของพระยาพัทลุงและคุณหญิงแป้น) เมื่อทรงพระเยาว์ชาววังเรียกพระองค์ว่า พระองค์โต เนื่องจากทรงมีวรกายที่สูงใหญ่ ประสูติเมื่อ วันพุธ เดือน 8 ขึ้น 1 ค่ำ ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2333 - 27 เมษายน พ.ศ. 2373) ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 3 ขึ้น 5 ค่ำ ปีจอ โทศก จุลศักราช 1152 ตรงกับวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2333 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเจ้าจอมมารดาตานี ทรงเป็นต้นราชสกุลฉัตรกุล ในปี พ.ศ. 2359 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ และโปรดให้กำกับกรมพระนครบาล ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้ทรงกำกับกรมท่า และกรมมหาดไทย จนกระทั่งต่อมาได้เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 เมื่ออังคาร เดือน 6 ขึ้น 6 ค่ำ ปีขาล โทศก จุลศักราช 1192 ตรงกับวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2373 พระชันษา 40 ปี ด้วยโรคเถาถ่าน พระราชทานเพลิง ณ พระเมรุท้องสนามหลวง 2 มีนาคม พ.ศ. 2373.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

การแปลงฟูรีเย

การแปลงฟูรีเย (Fourier transform) ตั้งชื่อตาม โฌแซ็ฟ ฟูรีเย หมายถึงการแปลงเชิงปริพันธ์ โดยเป็นการเขียนแทนฟังก์ชันใดๆ ในรูปผลบวก หรือปริพันธ์ ของฐาน ที่เป็นฟังก์ชันรูปคลื่น ไซน์หรือ โคไซน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และการแปลงฟูรีเย · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน แวน บิวเรน

มาร์ติน แวน บิวเรน (Martin Van Buren.; 5 ธันวาคม ค.ศ. 1782 - 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1862) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 8 ของสหรัฐอเมริกา ผู้ดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1837 จนกระทั่งถึงวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1841 สืบต่อจากประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็กสัน โดยมีริชาร์ด เมนทอร์ จอห์นสันเป็นรองประธานาธิบดี ประธานาธิบดีมาร์ติน แวน บิวเรน เกิดเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1782ที่เมืองคินเดอร์ฮุก รัฐนิวยอร์ก แต่งงานกับแฮนนาห์ โฮส์ แวน บิวเรน และถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1862 ที่เมืองคินเดอร์ฮุก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และมาร์ติน แวน บิวเรน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์

ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ เป็นราชวงศ์ปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ. 1818 และ ค.ศ. 1905 เป็นการปกครองของสวีเดนและนอร์เวย์ ซึ่งมีกษัตริย์ดังต่อไปนี้ หมวดหมู่:ราชวงศ์สวีเดน หมวดหมู่:ราชวงศ์นอร์เวย์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศคอสตาริกา

งในหน้านี้ เป็นธงที่มีการใช้และเคยใช้ในประเทศคอสตาริกาสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมของธงชาติ ดูที่ ธงชาติคอสตาริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายชื่อธงในประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์มาดากัสการ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายพระนามพระมหากษัตริย์มาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย

มเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย(อังกฤษ: Queen of Prussia)เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซียตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี ค.ศ. 1701 จนถึงคราวล่มสลายในปีค.ศ. 1918 จนถึงเมื่อปีค.ศ. 1806 สมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซียยังดำรงพระอิสริยยศเป็นพระชายาในเจ้าชายผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กอีกด้วย และภายหลังจากปีค.ศ. 1871 สมเด็จพระราชินีก็ยังดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดินีแห่งเยอรมนี อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม

้านล่างนี้คือ รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามสมเด็จพระราชินี, สมเด็จพระราชินีนาถ และ เจ้าฟ้าชายพระราชสวามีแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ

ตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ (First Lady of the United States) เป็นตำแหน่งอย่างไม่เป็นทางการของผู้ดูแลทำเนียบขาว โดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว ตำแหน่งนี้จะเป็นของภรรยาของประธานาธิบดีสหรัฐคนปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในบางครั้งมีสตรีอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งนี้ ในกรณีที่ประธานาธิบดีนั้นยังไม่ได้แต่งงานหรือเป็นหม้าย ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ดำรงตำแหน่งจะเป็นญาติหรือเพื่อนผู้หญิงของประธานาธิบดี ปัจจุบันยังไม่มีประธานาธิบดีที่เป็นสตรี ดังนั้นจึงไม่มีคำเรียกสามีของประธานาธิบดีซึ่งจะเป็นผู้ดูแลทำเนียบขาว แต่ปัจจุบันมีสตรีที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแล้วหลายคน สามีของสตรีเหล่านี้จะถูกเรียกว่า สุภาพบุรุษหมายเลขหนึ่ง (First Gentlemen) สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งคนปัจจุบันคือเมลาเนีย ทรัมป์และมีอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งที่ยังมีชีวิตอยู่ 4 คน ได้แก่ โรซาลีนน์ คาร์เตอร์, บาร์บารา บุช, ฮิลลารี คลินตัน,ลอรา บุช และ มิเชล โอบาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ทำเนียบขาวเป็นสถานที่ทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นตำแหน่งประมุขในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าของทุกสาขาของรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ โดยมีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เขียนโดยสภาคองเกรสมาตราที่ 2 ของรัฐธรรมนูญนั้นบัญญัติว่า ประธานาธิบดีต้องเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังทหาร และกระจายอำนาจที่เป็นของประธานาธิบดีออกไป รวมไปถึงอำนาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมาย ที่ผ่านมาจากสภาคองเกรส นอกจากนั้น ประธานาธิบดียังมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นที่ปรึกษาและอำนาจในการลดโทษหรือให้รอลงอาญาได้ ท้ายที่สุดแล้ว หากประธานาธิบดีได้รับคำแนะนำและการยอมรับจากวุฒิสภา แล้วจะมีอำนาจในการทำสนธิสัญญา, แต่งตั้งเอกอัครราชทูตและศาลตัดสินของประเทศ รวมไปถึงศาลสูงสุดด้วย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 กำหนดให้สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้ไม่เกินสองสมัย รายนามนี้รวมเฉพาะบุคคลที่ได้สาบานตนเป็นประธานาธิบดีตามการลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายนามประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

วอมแบต

วอมแบต (wombat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ในวงศ์ Vombatidae มีทั้งหมด 3 ชนิด ใน 2 สกุล มีรูปร่างโดยรวม อ้วนป้อม มีขนนุ่มละเอียด มีสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาหรือดำ หางสั้น มีส่วนขาที่สั้น ขาหน้าที่มีเล็บแหลมคมและข้อขาที่แข็งแรง ใช้สำหรับขุดโพรงเพื่ออยู่อาศัย ซึ่งโพรงมีทางยาวและมีหลายห้องหลายทาง เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน ในยามปกติตัวผู้และตัวเมียจะแยกกันอยู่ จะอยู่ด้วยกันเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ยยาวประมาณ 1 เมตร น้ำหนักเกือบ 40 กิโลกรัม กินพืชเป็นอาหาร โดยเฉพาะหญ้าที่เป็นอาหารหลัก มีฟันที่แหลมคม ที่เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ วอมแบตเป็นสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องคว่ำ เพื่อป้องกันลูกตกลงมา ให้ลูกครั้งละ 1 ตัวเท่านั้น ใช้เวลาตั้งท้องนาน 22 วัน มีทั้งหมด 3 ชนิด 2 สกุล พบในประเทศออสเตรเลียทางตอนใต้และเกาะแทสเมเนียเท่านั้น ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และวอมแบต · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กิล่ามอนสเตอร์

วงศ์กิล่ามอนสเตอร์ (Gila monster, Venomous lizard) เป็นสัตว์เลื้อยคลานวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Helodermatidae อยู่ในอันดับย่อยกิ้งก่า รูปร่างโดยรวมของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ มีลำตัวป้อม หางป้อมและส่วนปลายมนกลม ซึ่งเป็นอวัยวะเก็บสำรองไขมัน มีต่อมน้ำพิษอยู่ในเนื้อเยื่อตามความยาวของขากรรไกรล่าง ผิวหนังลำตัวหนา เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านข้างเป็นตุ่มกลมและไม่มีกระดูกในชั้นหนังรองรับ แต่เกล็ดด้านท้องเป็นรูปเหลี่ยมและมีขนาดใหญ่กว่าเกล็ดด้านหลังรวมทั้งมีกระดูกในชั้นหนังรองรับ กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์คลาวิเคิลเป็นรูปตัวอักษรที (T) ในภาษาอังกฤษ หรือเป็นรูปโค้งและกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม ปล่อยหางหลุดจากลำตัวไม่ได้ พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟัน มีลำตัวขนาดใหญ่ มีความยาวของลำตัวประมาณ 30-50 เซนติเมตร มีอยู่เพียงสกุลเดียว คือ Heloderma โดยมีความหมายว่า "ผิวที่เป็นปุ่ม" อันหมายถึงลักษณะผิวหนังของกิ่งก่าในวงศ์นี้ มีที่มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า "hêlos" (ἧλος) หมายถึง "หัว" หรือ "เล็บ" หรือ "ปุ่ม" และ "Derma" (δέρμα) หมายถึง "ผิว" เดิมถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ กิล่ามอนสเตอร์ (H. suspectum) และกิ้งก่าลูกปัด (H. horridum) แพร่กระจายพันธุ์ในทะเลทรายที่แห้งแล้งของสหรัฐอเมริกาจนถึงเม็กซิโกและกัวเตมาลา อาศัยอยู่บนพื้นดินโดยการขุดโพรง แต่สามารถปีนป่ายต้นไม้หรือโขดหินได้เป็นอย่างดี หากินในเวลากลางวันโดยอาศัยการฟังเสียงและรับภาพ มีอุปนิสัยหากินตามลำพัง โดยที่ กิล่ามอนสเตอร์จะกินสัตว์ขนาดใหญ่อย่าง กระต่ายหรือสัตว์ฟันแทะขนาดเล็กด้วย ส่วนกิ้งก่าลูกปัดจะหากินเพียงไข่นกและกิ้งก่าเท่านั้น ทั้ง 2 ชนิดขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ แต่ปัจจุบันได้แบ่งออกอีกเป็น 3 ชนิด รวมเป็น 5 ชนิด คือ กิ้งก่าลูกปัดเชียปัน (H. alvarezi), กิ้งก่าลูกปัดริโอเฟอเต (H. exasperatum) และกิ้งก่าลูกปัดกัวเตมาลัน (H. charlesbogerti).

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และวงศ์กิล่ามอนสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สกุลวูลเปส

กุลวูลเปส (Fox, True fox) เป็นสกุลของหมาจิ้งจอกสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Vulpes จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ ซึ่งคำว่า "Vulpes" เป็นภาษาลาตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก" สกุลวูลเปส นับเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของหมาจิ้งจอก คือ มีทั้งหมด 12 ชนิด โดยมี หมาจิ้งจอกแดง (Vulpes vulpes) เป็นต้นแบบของสกุล พบกระจายพันธุ์ไปแทบทุกส่วนของโลก ทั้ง ป่า, ชายป่าใกล้ชุมชนมนุษย์, ทะเลทราย, ที่ราบสูง หรือแม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสกุลวูลเปส · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพ

แดเนียล โอคอนเนลผู้ก่อตั้ง “สมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพ” สมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพ (Repeal Association) เป็นขบวนการทางการเมืองของไอร์แลนด์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยแดเนียล โอคอนเนล (Daniel O'Connell) โดยมีจุดประสงค์ในการรณรงค์ในการพยายามยกเลิกพระราชบัญญัติสหภาพของปี ค.ศ. 1800 ที่เป็นพระราชบัญญัติที่มีผลให้เกิดการรวมราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ และ ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เข้าด้วยกันเป็น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ สมาคมต้องการที่จะหันไอร์แลนด์กลับไปอยู่ในฐานะที่มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองเช่นที่ก่อตั้งได้สำเร็จอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่งโดยเฮนรี แกรทแทน (Henry Grattan) ในคริสต์ทศวรรษ 1780 แต่ครั้งนี้เป็นการร่วมมืออย่างเต็มตัวโดยฝ่ายคาทอลิกหลังจากพระราชบัญญัติผ่อนปรนสิทธิของโรมันคาทอลิก (Act of Catholic Emancipation) มีผลในการบังคับใช้ในปี ค.ศ. 1829 ที่ได้รับการสนับสนุนโดยการอนุมัติภายใต้พระราชบัญญัติปฏิรูปของปี ค.ศ. 1832 เมื่อสมาคมมาล้มตัวลงในปลายคริสต์ทศวรรษ 1840 ขบวนการยังไอร์แลนด์ (Young Ireland) ก็มารับช่วงต่อ ผู้ต้องการยกเลิกการเป็นสหภาพทำการประท้วงการเลือกตั้งทั่วไปของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1832 ในไอร์แลนด์ ระหว่างปี ค.ศ. 1835 จนถึงปี ค.ศ. 1841 สมาชิกก็สมัครเข้ารับการเลือกตั้งโดยทำการร่วมมือกับพรรคลิเบอรัลของสหราชอาณาจักร ผู้สมัครรับเลือกตั้งของสมาคมที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพรรคลิเบอรัลทำการประท้วงการเลือกตั้งทั่วไปของสหราชอาณาจักรอีกครั้งในปี ค.ศ. 1841 และ ปี ค.ศ. 1847.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์ (อังกฤษ:Ranavalona II)(พ.ศ. 2372 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งมาดากัสการ์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12 (อังกฤษ: Leo XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1823 ถึง ค.ศ. 1829 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2303 ลีโอที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8 (อังกฤษ: Pius VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1829 ถึง ค.ศ. 1830 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2304 ปิอุสที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าราดามาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์

ระเจ้าราดามาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์ (23 กันยายน พ.ศ. 2372 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2406) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรเมรีนาที่ซึ่งครอบคลุมเกาะมาดากัสการ์ พระองค์ทรงครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมเด็จพระเจ้าราดามาที่ 2 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนและนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม พ.ศ. 2372 - สวรรคต 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450) เป็นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2415 ทรงสละราชสมบัติจากการเป็นกษัตริย์แห่งนอร์เวย์เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2448 และทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดนเมื่อวันเดียวกันกับการเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450 รวมพระชนมายุได้ 78 ปี ทรงดำรงตำแหน่งตามฐานันดรดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมาร์โลว์

มุมมองจากโบสถ์แห่งหนึ่งที่อยู่ใกล้เคียง สะพานมาร์โลว์ เป็นสะพานที่ใช้เฉพาะการสัญจรท้องถิ่น เป็นทางข้ามแม่น้ำเทมส์ระหว่างเมืองมาร์โลว์ในมณฑลบัคกิงแฮมเชอร์ และหมู่บ้านบิชัม มณฑลบาร์คเชอร์ มีสะพานอยู่บริเวณนี้ตั้งแต่สมัยราชกาลสมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร สะพานมาร์โลว์ในปัจจุบันนี้เป็นสะพานแขวน ซึ่ง สถาปนาโดยคุณวิลเลียม เทียร์นีย์ คลาร์ค และสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2372 ถึงปี พ.ศ. 2375 และเป็นต้นแบบสำหรับสะพานเชื่อมเซเชนียในกรุงบูดาเปสต์อีกดัวย มาร์โลว์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และสะพานมาร์โลว์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อเนียม

หลวงพ่อเนียม หลวงพ่อเนียม วัดน้อย (พ.ศ. 2372 — 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452) ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่งจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นที่นับถือโดยทั่วไปในด้านปาฏิหาริย์ พระพุทธคุณของท่านมากมายยิ่งนักทั้งในด้านเมตตา มหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด เป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน แม้แต่สมเด็จพระสังฆราช(แพ ติสเทโว) วัดสุทัศน์เทพวราราม หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อทับ วัดทอง ยังมีความเคารพนับถือ และมีพระเครื่องของหลวงพ่อเนียมในครอบครอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และหลวงพ่อเนียม · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ เบรลล์

หลุยส์ เบรลล์ หลุยส์ เบรล (เกิดวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2352 (ค.ศ. 1809) ที่เมือง Coupvray ประเทศฝรั่งเศส) ครูตาบอดชาวฝรั่งเศส โดยเมื่อปี พ.ศ. 2372 สำนักงานสำมะโนประชากรฝรั่งเศสขึ้นบัญชีชื่อของเขา เป็นผู้ไม่รู้หนังสือแต่ในปีนั้นเขาเพิ่งจะตีพิมพ์ผลงานว่าด้วยเรื่อง "ภาษาใหม่" ผู้ประดิษฐ์อักษรเบรลล์สำหรับคนตาบอดอ่าน โดยใช้นิ้วมือสัมผัส เขาได้ความคิดมาจากการส่งข่าวสารทางทหาร ในเวลากลางคืนของกัปตันชาร์ลส์ บาร์บิเอร์ ซึ่งใช้กระดาษแข็งปั๊มเป็นรหัสจุด-ขีด โดยพัฒนามาเป็นระบบ 6 จุด ซึ่งสามารถจัดกลุ่มของจุดได้ถึง 63 แบบ ใช้แทนอักษรตาดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และหลุยส์ เบรลล์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารออร์เลอ็อง

อาสนวิหารออร์เลอ็อง (Cathédrale d'Orléans) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารกางเขนศักดิ์สิทธิ์แห่งออร์เลอ็อง (Cathédrale Sainte-Croix d'Orléans) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งออร์เลอ็อง ตั้งอยู่ที่เมืองออร์เลอ็องในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก อาสนวิหารเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายเพราะความเกี่ยวพันกับนักบุญโยนออฟอาร์คผู้เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศส โยนออฟอาร์คเข้าร่วมพิธีมิสซาที่อาสนวิหารเมื่อค่ำวันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และอาสนวิหารออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อิน-จัน

อิน-จัน และลูก ๆ ของทั้งคู่ อิน-จัน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2354 — 17 มกราคม พ.ศ. 2417) เป็นชื่อของฝาแฝดสยาม ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเป็นที่มาของคำว่า "แฝดสยาม" เนื่องจากเกิดที่ประเทศสยาม (ประเทศไทย) ฝาแฝดที่มีหน้าอกติดกันและใช้ตับร่วมกัน เป็นฝาแฝดคู่แรกของโลกที่สามารถดำรงชีพเหมือนคนธรรมดาได้ตลอดชีวิต อิน-จันได้สัญชาติอเมริกันเมื่อปี พ.ศ. 2382 และใช้นามสกุลว่า บังเกอร์ (Bunker) มีลูกหลานสืบตระกูลมาจนถึงทุกวันนี้ ชื่อเสียงของอิน-จัน ทำให้เกิดคำเรียกแฝดตัวติดกันว่า แฝดสยาม (Siamese twins) ตามชื่อเรียกประเทศไทยในเวลานั้น ฝาแฝดอิน-จัน เป็นฝาแฝดที่มีตัวติดกันทางส่วนหน้าอก (บันทึกของชาวตะวันตกบอกว่า เนื้อที่เชื่อมกันระหว่างอกนี้สามารถยืดได้จนทั้งคู่สามารถหันหลังชนกันได้).

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และอิน-จัน · ดูเพิ่มเติม »

อเมลีแห่งเลาช์เทนเบิร์ก จักรพรรดินีแห่งบราซิล

มเด็จพระจักรพรรดินีอเมลีแห่งบราซิล (Imperatriz Amélia do Brasil) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงอเมลีแห่งเลาช์เทนเบิร์ก (Amélia Augusta Eugênia de Leuchtenberg; Amélie Auguste Eugénie de Leuchtenberg) เป็นดัชเชสแห่งเลาช์เทนเบิร์ก (31 กรกฎาคม 1812 – 26 มกราคม 1873) และเป็นจักรพรรดินีแห่งบราซิล พระองค์เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ของจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล พระองค์เป็นพระราชนัดดาของโฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส พระราชบิดาของพระองค์เออแฌน เดอ โบอาร์แน เป็นโอรสของจักรพรรดินีกับอาแล็กซ็องดร์ เดอ โบอาร์แนพระสวามีองค์แรก และเป็นโอรสบุญธรรมของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 พระราชมารดาของเจ้าหญิงอเมลีเป็นพระราชธิดาของพระเจ้ามักซีมีเลียนที่ 1 พระมหากษัตริย์บาวาเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และอเมลีแห่งเลาช์เทนเบิร์ก จักรพรรดินีแห่งบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ฮงอินโบ ชูซะกุ

งอินโบ ชูซะกุ (本因坊秀策; Honinbo Shusaku) เจ้าของฉายา ชูซะกุ ผู้คงกระพัน หรือชื่อแรกเกิด คุวะบะระ โทะระจิโร (桑原虎次郎; Kuwabara Torajiro; 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1829 — ค.ศ. 1862) เป็นนักหมากล้อมระดับอาชีพชาวญี่ปุ่นในศตวรรษที่ 19 เขาเป็นที่รู้จักจากหมากไร้พ่าย ในการแข่งขันศึกหน้าปราสาท; สามสิบเกมประจำปีกับโอตะ ยูโซ กับการเปิดหมากแบบชูซะกุด้วยตัวหมากสีดำ หลังจากการเสียชีวิต เขาได้รับการเลื่อนตำแหน่งเป็นปราชญ์หมากล้อม และอยู่ถัดจากฮงอินโบ ชูวะ ผู้เป็นอาจารย์ของเขา ฮงอินโบ ชูซะกุ ได้รับการยกย่องเป็นผู้เล่นที่แข็งแกร่งที่สุดตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และฮงอินโบ ชูซะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว

ัง บัปติสต์ ปาลเลอกัวซ์ พร้อมด้วยเด็กไทยชื่อแก้ว และเด็กญวนชื่อชมถ่ายที่ปารีส เมื่อ พ.ศ. 2397 ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว (Jean-Baptiste Pallegoix.) หรือที่รู้จักในนามพระสังฆราชปัลเลอกัวซ์ เป็นบาทหลวงสังกัดคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส ปฏิบัติหน้าที่มิชชันนารีในประเทศไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสมณศักดิ์เป็นประมุขมิสซังสยามตะวันออก (apostolic vicar of Eastern Siam) และมุขนายกเกียรตินามแห่งมาลลอสหรือมัลลุส (titular bishop of Mallos/Mallus) ท่านได้นำวิทยาการการถ่ายรูปเข้ามาในประเทศไทย และนอกจากนี้ท่านยังจัดทำพจนานุกรมสี่ภาษาเล่มแรกของไทยขึ้นชื่อ สัพะ พะจะนะ พาสา ไท โดยมีภาษาทั้งสี่ที่ว่านี้คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาละติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ควินซี แอดัมส์

อห์น ควินซี แอดัมส์ (John Quincy Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และจอห์น ควินซี แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล

อห์น เอเวอเรตต์ มิเล หรือ เซอร์จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล บาโรเนตที่ 1, PRA (John Everett Millais หรือ Sir John Everett Millais, 1st Baronet, PRA) (8 มิถุนายน ค.ศ. 1829 - 13 สิงหาคม ค.ศ. 1896) เป็นจิตรกรและนักวาดภาพประกอบของกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรม, ภาพวาดเส้น และภาพพิมพ์ มิเลเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และจอห์น เอเวอเรตต์ มิเล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จงโคร่ง

และวงศ์หมาน้ำ จงโคร่ง หรือ หมาน้ำ หรือ กง หรือ กระทาหอง หรือ กระหอง (ปักษ์ใต้) (อังกฤษ: Giant jungle toad, Asian giant toad; ชื่อวิทยาศาสตร์: Phrynoidis aspera) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกคางคกขนาดใหญ่ที่พบในประเทศไทยชนิดหนึ่ง จงโคร่งนับเป็นคางคกชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย บริเวณหลังมีน้ำพิษเห็นเป็นปุ่มชักเจน ตาใหญ่ ตัวมีสีน้ำตาลดำ ตัวผู้มักปรากฏลายสีเข้มเป็นแถบทั้งขาหน้า และขาหลัง บริเวณใต้ท้องมีสีขาวหม่น ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร ขายาว 6-8 นิ้ว ขาหน้าสั้นกว่าขาหลัง นิ้วเท้ามี 4 นิ้ว สามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ตามสภาพแวดล้อม โดยตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ จงโคร่งเป็นสัตว์ที่พบได้เฉพาะในป่าดิบชื้น โดยจะอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำในป่า เช่น ลำธารน้ำตกหรือลำห้วย โดยมักใช้ชีวิตอยู่ในน้ำมากกว่าอยู่บนบก มักหลบอยู่ตามขอนไม้หรือก้อนหินขนาดใหญ่ หากินในเวลากลางคืน อาหารหลักได้แก่ แมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็ก มีเสียงร้องคล้ายสุนัขเห่า จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "หมาน้ำ" โดยมีพฤติกรรมร้องเป็นจังหวะ ๆ ละ 6-10 วินาที ลักษณะไข่เป็นฟองกลม ๆ อาจติดอยู่ตามขอบแหล่งน้ำที่อาศัย โดยฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูฝนจนถึงต้นฤดูหนาว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าดิบชื้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทย พบได้ในภาคเหนือ, ภาคตะวันตกและภาคใต้ ในความเชื่อของคนปักษ์ใต้ จงโคร่งหรือกงเป็นสัตว์นำโชค หากเข้าบ้านใครถือเป็นลางมงคล แต่ในบางท้องถิ่นมีการเอาหนังของจงโคร่งมาตากแห้งแล้วมวนผสมกับใบยาสูบสูบเหมือนยาสูบทั่วไป มีฤทธิ์แรงกว่ายาสูบหรือบุหรี่ทั่วไป โดยมีความแรงเทียบเท่ากับกัญชา ในฟิลิปปินส์ก็นิยมทำเช่นเดียวกัน ปัจจุบัน มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และจงโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเม็กซิโก

งชาติสหรัฐเม็กซิโก มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบ่งตามแนวตั้ง ประกอบด้วย สีเขียว สีขาว และสีแดง กลางแถบสีขาวมีภาพตราแผ่นดินของเม็กซิโก ซึ่งแม้ว่าการนิยามความหมายในสีธงชาติจะมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง แต่สีธงที่ใช้ก็ยังคงเป็นสีเดิมตลอดมานับตั้งแต่เม็กซิโกทำสงครามประกาศอิสรภาพจากสเปน แบบธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2511 แต่รูปแบบธงชาติโดยรวมนั้นได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2361 ส่วนกฎหมายว่าด้วยสัญลักษณ์ประจำชาติฉบับปัจจุบัน ซึ่งมีชื่อในภาษาสเปนว่า "Ley sobre el Escudo, la Bandera y el Himno Nacionales" (รัฐบัญญัติว่าด้วยตราแผ่นดิน ธงชาติ และเพลงชาติ) ซึ่งระบุข้อกำหนดในการชัก ใช้ และแสดงธงชาติ ได้เริ่มบังคับใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ตามประวัติศาสตร์ของเม็กซิโก ได้ปรากฏว่าประเทศนี้มีการเปลี่ยนแบบธงชาติมาแล้ว 4 ครั้ง โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงของขนาดสัดส่วนธงและรูปแบบตราแผ่นดิน อย่างไรก็ตาม ตราแผ่นดินของเม็กซิโกทุกแบบล้วนมีลักษณะร่วมกัน คือ เป็นภาพนกอินทรีจับงูไว้ด้วยกรงเล็บและคาบงูไว้ในปาก โดยนกนั้นยืนอยู่บนต้นกระบองเพชร ซึ่งตั้งอยู่บนโขดหินกลางทะเลสาบ ตราดังกล่าวนี้ มีที่มาจากตำนานของชาวอัซเตก โดยเล่ากันว่า เทพเจ้าของพวกเขาได้บอกนิมิตให้สร้างเมืองขึ้นในจุดที่เห็นนกอินทรีคาบงู ซึ่งที่นั่นก็คือที่ตั้งของกรุงเม็กซิโกซิตีในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และธงชาติเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเกะชิ ซุอิซัง

ทะเกะชิ ซุอิซัง ทะเกะชิ ซุอิซัง (24 ตุลาคม ค.ศ. 1829 – 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1865) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ทะเกะชิ ฮัมเปตะ เป็นซามูไรชาวแคว้นโทะซะในช่วงยุคบะคุมะสึของประเทศญี่ปุ่น ทะเกะชิ ซุอิซัง เป็นผู้นำกลุ่มโทะซะคินโนโท หรือ "กลุ่มผู้ภักดีแห่งโทะซะ" ซึ่งสนับสนุนแนวคิด "ซนโนโจอิ" หรือ "เทิดทูนจักรพรรดิ ขับคนป่าเถื่อน" และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว เขาได้พยายามเข้ามามีอำนาจควบคุมแคว้นโทะซะและพยายามดึงซะกะโมะโตะ เรียวมะ เพื่อนซามูไรหัวก้าวหน้าชาวแคว้นโทะซะ ให้เข้าร่วมกลุ่มด้วย ต่อมาเมื่อทางแคว้นโทะซะดำเนินการกวาดล้างซามูไรระดับล่างที่สนับสนุนแนวคิดซนโนโจอิ ทะเกะชิได้ถูกจับกุมเนื่องจากต้องสงสัยว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการลอบสังหารโยะชิดะ โทโย อดีตขุนนางชั้นสูงของแคว้นโทะซะซึ่งมีแนวคิดปฏิรูปประเทศด้วยการยอมค้าขายกับต่างชาติ และถูกตัดสินให้จบชีวิตตนเองด้วยการคว้านท้อง อนึ่ง นอกจากจะเป็นผู้นำกลุ่มโทะซะคินโนโทแล้ว ทะเกะชิ ซุอิซัง ยังเป็นหัวหน้าของโอะกะดะ อิโซ และทะนะกะ ชิมเบ ผู้เป็น 2 ใน 4 มือสังหารผู้ลือชื่อในยุคบะคุมะสึ หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นโทะซะ‎ หมวดหมู่:เซ็ปปุกุ หมวดหมู่:บะกุมะสึ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และทะเกะชิ ซุอิซัง · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

ันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (1777-1855) โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (Johann Carl Friedrich Gauß) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302 (ค.ศ. 1777) เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ (นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์) ได้รับฉายาว่า "เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์" (Prince of Mathematics) เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และคาร์ล ฟรีดริช เกาส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอุรุกวัย

ตราแผ่นดินของอุรุกวัย เริ่มใช้เมื่อวันที่19 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และตราแผ่นดินของอุรุกวัย · ดูเพิ่มเติม »

ตะกอง

ตะกอง หรือ ลั้ง หรือ กิ้งก่ายักษ์ (Chinese water dragon) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างทั่วไปคล้ายอีกัวน่าที่พบในอเมริกากลางและอเมริกาใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และตะกอง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์

อร์แลนด์ราว ค.ศ. 1014 ที่ประกอบด้วยอาณาจักรต่างๆ ที่เป็นอริต่อกัน ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ (History of Ireland) การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ครั้งแรกในไอร์แลนด์เริ่มขึ้นราว 8000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อหมู่ชนของระบบสังคมล่าสัตว์-เก็บพืชผักเริ่มเดินทางเข้ามาจากแผ่นดินใหญ่ยุโรปอาจจะโดยทางสะพานแผ่นดินที่เคยเชื่อมระหว่างสองทวีป หลักฐานทางโบราณคดีของประชากรกลุ่มนี้แทบจะไม่มีร่องรอยให้เห็น แต่ผู้สืบเชื้อสายจากคนกลุ่มนี้และต่อมาของกลุ่มคนที่โยกย้ายเข้ามาจากคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้ทิ้งร่องรอยของแหล่งโบราณคดีสำคัญๆ ของยุคหินใหม่เอาไว้ เช่นอนุสรณ์นิวเกรนจ์ การมาถึงของนักบุญแพทริคและผู้เผยแพร่ศาสนาในต้นจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 คริสต์ศาสนาก็เข้ามาแทนที่ลัทธิพหุเทวนิยมของเคลติคที่มาสิ้นสุดลงโดยสิ้นเชิงในปี ค.ศ. 600 ตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 800 และอีกกว่าหนึ่งร้อยปีหลังจากนั้น ไวกิงก็เข้ามารุกรานไอร์แลนด์ และสร้างความวุ่นวายและความเสียหายให้แก่วัฒนธรรมของสำนักสงฆ์และกลุ่มตระกูลท้องถิ่นต่างๆ บนเกาะไอร์แลนด์ แต่กระนั้นสถาบันทั้งสองก็พิสูจน์ตนเองว่ามีความมั่นคงพอที่จะเอาตัวรอดและสามารถผสานกลืนไปกับวัฒนธรรมผู้ที่เข้ามารุกรานได้ การเข้ามาของอัศวินรับจ้างแคมโบร-นอร์มันภายใต้ริชาร์ด เดอ แคลร์ เอิร์ลแห่งเพมโบรคที่ 2 หรือที่เรียกกันว่า "Strongbow" ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1829

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1829 ในประเทศกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประเทศกรีซใน ค.ศ. 1829 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1829

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1829 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1829 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2372

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2372 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประเทศไทยใน พ.ศ. 2372 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1829

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1829 ในประเทศเนปาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และประเทศเนปาลใน ค.ศ. 1829 · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฟิงเกอร์

ปลาฟิงเกอร์ หรือ ปลาเฉี่ยวแอฟริกา (African moony, Mono sebae) เป็นปลาชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus sebae มีรูปร่างคล้ายกับปลาเฉี่ยวหินหรือปลาผีเสื้อเงิน (M. argenteus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันคือ ปลาฟิงเกอร์จะไม่มีความแวววาวของเกล็ดเท่า และไม่มีเหลือบสีเหลืองสดที่ครีบหลังและครีบท้องเหมือนปลาเฉี่ยวหิน และมีลายแถบสีดำอีกแถบบริเวณก่อนถึงโคนครีบหาง และมีลักษณะเด่นคือ ครีบท้องในปลาที่โตเต็มที่แล้วจะยาวย้วยห้อยลงมาใต้ท้องดูเหมือนนิ้วมือของมนุษย์ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเรียก "ฟิงเกอร์" มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งนับว่าใหญ่กว่าปลาเฉี่ยวหิน แพร่กระจายพันธุ์อยู่บริเวณปากแม่น้ำและป่าโกงกางของชายฝั่งทวีปแอฟริกาแถบตะวันออก ตั้งแต่หมู่เกาะคะเนรีจนถึงอังโกลา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นิสัยก้าวร้าวและว่ายน้ำได้เร็วมาก จึงไม่เหมาะสมกับการเลี้ยงรวมกับปลาที่ว่ายน้ำช้ากว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาฟิงเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง

ปลากระเบนชายธง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) ปลากระเบนชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเลได้ อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเป็นทรงกึ่งสี่เหลี่ยมดูคล้ายชายธง จึงเป็นที่มาของชื่อ โดยความกว้างของลำตัวจะมีมากกว่าความยาวของลำตัวเสียอีก เมื่อมีขนาดเล็กผิวด้านบนจะเรียบ และผิวนี้จะขรุขระขึ้นตามอายุที่มากขึ้น โดยมีตุ่มแข็งเล็ก ๆ ปกคลุมบริเวณกลางลำตัวจนถึงโคนหาง ตามีขนาดเล็ก หางยาว ปลายหางมีแผ่นริ้วหนังเห็นได้ชัดเจน มีเงี่ยงพิษ 2 ชิ้นที่ตอนกลางของส่วนหาง สีลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลคล้ำ มีความกว้างโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 1 เมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร และยาว 1.8 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือ หางที่ยาวมาก โดยที่ความยาวของหางมีมากกว่าความยาวลำตัวถึง 2.5–3 เท่า ซึ่งเมื่อถูกจับ มักจะสะบัดหางด้วยความรุนแรงและเร็วเพื่อแทงเงี่ยงหางเพื่อป้องกันตัว เนื่องจากมีเงี่ยงที่อยู่ตอนกลางของส่วนหางด้วย จึงนับได้ว่ามีอันตรายกว่าปลากระเบนสกุลหรือชนิดอื่นทั่วไป ที่มีเงี่ยงอยู่ที่ส่วนโคนหาง พบกระจายพันธุ์บริเวณชายฝั่งทะเล หรือปากแม่น้ำอย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือ เช่น อียิปต์ และแอฟริกาใต้ เรื่อยไปจนถึงทะเลแดง, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงภูมิภาคไมโครนีเซีย และ ออสเตรเลีย รวมถึงญี่ปุ่น โดยมีรายงานพบที่แม่น้ำคงคา ประเทศอินเดีย ที่ห่างจากทะเลถึง 2,200 กิโลเมตร รวมถึงมีรายงานการพบตัวที่มีน้ำหนัก 50 กิโลกรัมที่คลองรังสิต จังหวัดปทุมธานี ของประเทศไทย แต่พฤติกรรมในทะเลจะอาศัยอยู่ได้ลึกถึง 60 เมตร สำหรับในประเทศไทย พบได้ในแหล่งน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, แม่น้ำบางปะกง และแม่น้ำแม่กลองช่วงจังหวัดกาญจนบุรี และพบได้น้อยที่ทะเลสาบสงขลาตอนใน ในเขตจังหวัดพัทลุงและสงขลา มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ ใช้เนื้อเป็นอาหารในต่างประเทศ และใช้หนังทำเป็นเครื่องหนัง เช่น กระเป๋า เป็นต้น และยังเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาป้อนอาหารให้ที่ชายหาดแถบทะเลแคริบเบียนด้วย เดิมปลากระเบนชายธงเคยถูกจำแนกให้มีเพียงชนิดเดียว แต่ปัจจุบันจากการศึกษาล่าสุดได้ถูกจำแนกออกเป็นถึง 5 ชนิด และในชนิด P. sephen นี้ เป็นปลาที่พบในแถบทะเลแดงและทะเลอาหรับหน้า 102-120, กระเบนน้ำจืดแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลากระเบนชายธง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง (สกุล)

ปลากระเบนชายธง หรือ ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) เป็นสกุลของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pastinachus (เป็นภาษาละตินหมายถึง "ปลากระเบน" หรือ "ปลากระเบนธง") ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวที่เป็นทรงคล้ายสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายชายธงจึงทำให้เป็นที่มาของชื่อ กลางหลังมีเกล็ดชิ้นใหญ่คล้ายไข่มุกและมีส่วนที่เป็นเกล็ดรูปฟันขนาดเล็กปกคลุมผิวหนังส่วนบน บนฐานปากมีตุ่มเนื้อ 5 ตุ่ม ตรงกลาง 3 ด้านข้างอย่างละหนึ่งเหมือนกัน มีส่วนหางที่อวบอ้วน มีเงี่ยงที่กลางหางอยู่เลยกว่าตำแหน่งของปลากระเบนสกุลอื่น ๆ ที่มีเงี่ยงกันที่อยู่บริเวณโคนหาง ที่สำคัญ คือ แผ่นหนังที่เห็นได้ชัดเจนที่ปลายหาง หางมีความยาวกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ส่วนหัว ปัจจุบันพบทั้งสิ้น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลากระเบนชายธง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนแมนตา

ปลากระเบนแมนตา หรือ ปลากระเบนราหู (Manta rays) เป็นปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง จัดเป็นปลากระเบนที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจมีความกว้างช่วงปีก (ครีบหู) ได้ถึง 6.7 เมตร หรือ 22 ฟุต มีน้ำหนักได้ถึง 1,350 กิโลกรัม หรือ 3,000 ปอนด์ อาศัยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะรอบ ๆ แนวปะการัง จัดอยู่ในสกุล Manta (เป็นภาษาสเปนแปลว่า "ผ้าห่ม") ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae) เดิมทีแล้ว ปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ในวงศ์ Mobulidae แต่ในปัจจุบันรวมอยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก โดยทั่วไปปลากระเบนแมนตาจะมีหลังสีดำและท้องสีขาว แต่อาจพบตัวที่มีหลังสีฟ้าได้บ้าง ตาอยู่บริเวณข้างหัว และต่างจากปลากระเบนทั่วไป ปากอยู่ทางด้านหน้าของหัว มีช่องเหงือก 5 คู่ เหมือนปลากระเบนทั่วไป ครีบหูพัฒนาเป็น ติ่งลักษณะคล้ายเขา หรือที่เรียกว่าครีบหัว อยู่บริเวณด้านหน้าของหัวแบน ๆ ครีบดังกล่าวเจริญขึ้นในช่วงตัวอ่อน เลื่อนมาอยู่รอบปาก ทำให้เป็นหนึ่งในสัตว์มีกระดูกสันหลังมีขากรรไกร ที่มีรยางค์พิเศษอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดชนิดหนึ่ง (อีกชนิดคือ เต่าหก ((Manouria emys)) โดยเขาที่อ่อนนุ่มนี้มีไว้สำหรับโบกพัดเอาน้ำเข้าปาก เพื่อกินแพลงก์ตอน และเพื่อจะฮุบน้ำจำนวนมากต้องว่ายอ้าปากและพัดอาหารเข้าปากอยู่เสมอ ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะวิวัฒนาการมาเป็นกรองกินแพลงก์ตอนตามทะเลเปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ลักษณะการกรองกินทำให้ฟันลดขนาดลงเป็นซี่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่แอบอยู่ใต้ผิว คล้ายกับปลากระเบนทั่วไป มีหางเป็นเส้นยาว แต่หากปราศจากเงี่ยงที่ส่วนหาง และเกล็ดแหลมหุ้มลำตัวก็มีขนาดเล็กลง แทนที่ด้วยเมือกหนาหุ้มร่างกาย ส่วนท่อน้ำออกมีขนาดเล็กและไม่ทำหน้าที่ น้ำทั้งหมดไหลเข้าสู่ปากแทน เพื่อการว่ายน้ำที่ดี ปลากระเบนแมนตาวิวัฒนาการรูปร่างร่างกายให้เป็นสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด และมีการพัฒนาครีบให้คล้ายปีกสำหรับโบยบินในท้องทะเล ขนาดตัวยักษ์ใหญ่และความเร็วชนิดใกล้เคียงจรวด ทำให้ปลากระเบนแมนตามีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมาก โดยที่ศัตรูของปลากระเบนแมนตาในน่านน้ำไทยกลุ่มเดียว คือวาฬเพชรฆาต (Orcinus orca) และวาฬเพชรฆาตเทียม (Pseudorca crassidens) แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานแน่นอน โดยปกติแล้วกินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า แรม-เจ็ต (Ram-jet) ปลากระเบนแมนตา เดิมถูกจัดเป็นเพียงปลาชนิดเดียว และปัจจุบันถูกจำแนกออกเป็น 2 ชนิด เมื่อไม่นานมานี้ ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลากระเบนแมนตา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาการ์ตูนแดง

ปลาการ์ตูนแดง หรือ ปลาการ์ตูนแก้มหนาม (Maroon clownfish, Spine-cheeked clownfish) เป็นปลาน้ำเค็มขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas biaculeatus จัดอยู่ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) วงศ์ย่อยปลาการ์ตูน (Amphiprioninae) จัดเป็นปลาการ์ตูนเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Premnas ซึ่งแตกต่างไปจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ในสกุล Amphiprion สิ่งที่ทำให้ปลาการ์ตูนแดงมีความแตกต่างจากปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ คือ บริเวณแก้มหรือแผ่นปิดเหงือกมีหนามยื่นออกมาจากตรงกลาง อยู่เหนือริมฝีปากเล็กน้อยขึ้นไปจนถึงบริเวณใต้ดวงตา ซึ่งสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า มีลักษณะลำตัวแบนกว้าง มีโครงสร้างที่ค่อนข้างใหญ่กว่าปลาการ์ตูนชนิดอื่น ๆ โดยเฉพาะปลาเพศเมียที่โดยปกติจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้อยู่แล้ว และมีสีที่คล้ำกว่า ครีบอกมีขนาดใหญ่ ลำตัวมีสีแดงก่ำ บริเวณแผ่นปิดเหงือก กึ่งกลางลำตัว และโคนหาง มีแถบสีขาวพาด สีของปลาการ์ตูนแดงค่อนข้างหลากหลาย ในปลาขนาดเล็กจะมีตั้งแต่สีแดงสดจนถึงแดงก่ำ และจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนปลาเจริญเติบโตเต็มที่ ขณะที่บางตัวในขนาดเล็กจะมีแต้มสีดำบริเวณตามครีบต่าง ๆ และจะจางหายไปเมื่อปลาโตขึ้น จัดเป็นปลาการ์ตูนที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง โดยมีความยาวเต็มที่ประมาณ 17 เซนติเมตร มีอุปนิสัยก้าวร้าวห่วงถิ่นค่อนข้างมาก พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอินโด-แปซิฟิกจนถึงเกาะไต้หวัน เช่น เกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในออสเตรเลีย เป็นต้น โดยจะอาศัยอยู่กับดอกไม้ทะเลชนิด Entacmaea quadricolor เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ซึ่งปลาการ์ตูนแดงในเริ่มแรกที่มีการค้นพบและทำการอนุกรมวิธาน ถูกเข้าใจว่าเป็นปลาในวงศ์เดียวกับปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) โดยถูกจับได้ในปี ค.ศ. 1790 ที่อินดีสตะวันออก ซึ่งก็คือ ประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน หลังจากนั้นเมื่อมีการศึกษาเพิ่มเติมขึ้น ก็ถูกเปลี่ยนไปใช้สกุลใหม่และชื่อชนิดใหม่ไปมา จนกระทั่งมาใช้ชื่อสกุลอย่างในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ. 1817 และชื่อเก่าก็กลายเป็นชื่อพ้องหรือยกเลิกใช้ไป นอกจากนี้แล้ว ปลาการ์ตูนแดงที่อาศัยอยู่บริเวณเกาะสุมาตรา จะมีอยู่กลุ่มหนึ่ง ที่มีลายสีเหลืองเจือด้วยสีฟ้าอ่อนแทนด้วยแถบสีขาว และแถบสีเหลืองนี้จะไม่จางหายไปเมื่อปลาที่พบในแหล่งอื่น ตรงกันข้าม เมื่อปลามีอายุมากขึ้นแถบดังกล่าวจะมีสีเข้มขึ้นด้วย ซึ่งปลาในลักษณะนี้ถูกเรียกกันในแวดวงปลาสวยงามว่า "ปลาการ์ตูนทอง" ซึ่งในปี ค.ศ. 1904 ปลาการ์ตูนทองเคยถูกแยกออกเป็นชนิดใหม่ในชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Premnas epigrammata ด้วย นอกจากนี้แล้วในธรรมชาติ ยังพบปลาการ์ตูนบางตัวที่คาดว่าเป็นลูกผสมระหว่างปลาการ์ตูนแดงกับปลาการ์ตูนมะเขือเทศ (Amphiprion frenatus) ด้วยในบริเวณทะเลฟิลิปปิน โดยมีสีสันเหมือนปลาการ์ตูนแดงทุกประการ แต่มีครีบต่าง ๆ สั้นกว่ารวมถึงหนามบริเวณแก้มด้วย อนึ่ง ปลาการ์ตูนแดงในตู้เลี้ยงจะมีพฤติกรรมที่แตกต่างจากธรรมชาติ คือ ยอมรับดอกไม้ทะเลได้มากชนิดขึ้น เช่น Macrodactyla doreensis, Heteractis malu, H. magnifica, Crytodendrum adhaesivum แต่กระนั้นก็ขึ้นอยู่กับนิสัยปลาแต่ละตัวด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาการ์ตูนแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาราฟิโอดอน

ปลาราฟิโอดอน ​เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ปลาฟันสุนัข (Cynodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างภายนอกเหมือนปลาฝักพร้า (Macrochirichthys macrochirus) มาก ซึ่งเป็นปลาคนละวงศ์ และคนละอันดับ และเป็นปลาที่พบกันคนละทวีปด้วย ซึ่งเป็นผลของการวิวัฒนาการเข้าหากัน เว้นแต่ปลาราฟิโอดอนจะมีครีบไขมัน ซึ่งปลาฝักพร้าไม่มี แต่มีพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน มีลักษณะลำตัวยาวและแบนข้างมาก ท้องเป็นสันแคบ ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน ลำตัวสีเงินแวววาว ครีบใส ครีบอกใหญ่และยาวแหลม ครีบท้องและครีบหลังเล็ก แต่ครีบก้นมีฐานครีบยาว ครีบหางเล็กและไม่แยกเป็นสองแฉก มีครีบไขมัน ภายในปากจะเห็นฟันเป็นซี่ ๆ แหลมคมจำนวนมาก เป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Rhaphiodon (โดย Rhaphiodon มาจากภาษากรีกคำว่า rhaphis (ραφής) หมายถึง "เข็ม", odous (οδούς) หมายถึง "ฟัน" และ vulpinus เป็นภาษาละตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก") มีพฤติกรรมนิยมอยู่รวมเป็นฝูง ออกล่าเหยื่อเป็นปลาขนาดเล็กบริเวณผิวน้ำ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 70 เซนติเมตร พบในแม่น้ำอเมซอนและลำน้ำสาขา ในเปรู, ปารากวัย, อุรุกวัย และกายอานา มีชื่อเรียกกันในท้องถิ่นว่า เบียอาร่า (Biara) ใช้เป็นปลาบริโภคในท้องถิ่นและตกเป็นเกมกีฬา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามราคาแพง โดยถูกนำเข้ามาจำหน่ายพร้อมกับปลาสคอมบิรอยด์ (Hydrolycus scomberoides) ซึ่งพฤติกรรมในตู้เลี้ยงพบว่า มีนิสัยขี้ตกใจมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาราฟิโอดอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสากเหลือง

ระวังสับสนกับ ปลาสากหางเหลือง ปลาสากเหลือง หรือ ปลาน้ำดอกไม้เหลือง (Obtuse barracuda) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสาก (Sphyraenidae) มีรูปร่างเรียวยาว ปากกว้าง จะงอยปากแหลม ขากรรไกรล่างยื่นยาวกว่าขากรรไกรบนมีฟันเขี้ยว ช่องปากสีเหลือง กระดูกแก้มอันแรกมีเหลี่ยมรูปมุมฉาก ครีบหลังอันแรกมีเทาปนกับสีเหลือง ครีบอก, ครีบก้น, ครีบหลังอันที่ 2 และครีบหางมีสีเหลืองแต่ครีบท้องมีสีขาว ลำตัวสีเหลืองอ่อน ท้องสีขาวเงิน ตามลำตัวไม่มีแถบสีหรือลวดลายใด ๆ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 20-30 เซนติเมตร พบยาวที่สุด 55 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนต่าง ๆ ทั่วโลก ในน่านน้ำไทยพบชุกชุมทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน มักจะสับสนกับปลาสากหางเหลือง (S. flavicauda) เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็กทั่วไป บางครั้งอาจพบรวมฝูงกันเล็กตามชายฝั่งหรือปากแม่น้ำ นิยมตกเป็นเกมกีฬา และบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจ นิยมนำเนื้อไปทำข้าวต้มหรือปลาเค็ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาสากเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสิงโตปีกเข็ม

ปลาสิงโตปีกเข็ม หรือ ปลาสิงโตครีบขาว (White-lined lionfish, Clearfin turkeyfish, Radiata lionfish, Radial firefish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแมงป่อง (Scorpaenidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาสิงโตชนิดอื่น แต่มีครีบอกที่ส่วนปลายเป็นเส้นเรียวเล็กคล้ายปลายเข็ม ครีบหลังมีก้านครีบสั้นกว่า มีติ่งที่ตายาว ลายบนลำตัวเป็นบั้งขนาดใหญ่และมีจำนวนน้อยกว่าปลาสิงโตชนิดอื่น และเป็นสีแดงเข้มหรือสีคล้ำสลับกับลายสีจาง ครีบต่าง ๆ เป็นสีใสปนแดง ปลายครีบอกสีขาว มีขนาดความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ขนาดใหญ่ที่สุด 23 เซนติเมตร เป็นปลากินเนื้อ กินกุ้งและปลาขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยอยู่ตามแนวปะการัง ของเขตอินโด-แปซิฟิก, แอฟริกาใต้, หมู่เกาะริวกิว, นิวแคลิโดเนีย ในน่านน้ำไทยจัดเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อย โดยพบได้ที่ฝั่งทะเลอันดามันเท่านั้น เช่น หมู่เกาะสุรินทร์, หมู่เกาะสิมิลัน, หมู่เกาะอาดัง-ราวี เป็นต้น นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาสิงโตปีกเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอตาล

ปลาหมอตาล หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาจูบ (Kissing gourami) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Helostomatidae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ มีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนมากกว่าปลาหมอไทย หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ ปากเล็กยืดหดได้ ริมฝีปากหนา นัยน์ตาอยู่ในระดับเดียวกันกับมุมปาก มีเกล็ดขนาดปานกลางปกคลุมส่วนหัวและลำตัว ฟันละเอียด ตาอยู่เหนือมุมปาก ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็งและอ่อน ครีบท้องมีก้านครีบแข็ง 5 ซี่ เกล็ดเล็กมีอยู่ที่เส้นข้างตัว 44-48 เกล็ด เส้นข้างลำตัวขาดตอนตรงบริเวณใต้ก้านครีบอ่อนของครีบหลัง ครีบท้องและครีบก้นยาว ลำตัวเป็นสีเขียวปนเทา หลังมีสีเทาปนดำ ท้องสีขาว มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจเช่นเดียวกับปลาในวงศ์ Osphronemidae จึงสามารถอาศัยในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนละลายในปริมาณที่ต่ำได้ ปลาหมอตาล มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง และมีพฤติกรรมที่แปลกไปกว่าปลาชนิดอื่น คือ เมื่อจะต่อสู้หรือข่มขู่กัน จะใช้ปากตอดกันคล้ายกับการจูบที่แสดงออกถึงความรักของมนุษย์จึงเป็นที่มาของชื่อ "ปลาจูบ" วางไข่แบบไข่ลอยบนผิวน้ำ พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำทั่วไปรวมถึงนาข้าวหรือท้องร่องสวนในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 12-20 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 30 เซนติเมตร สำหรับในประเทศไทยพบเฉพาะลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน่าน และพบบางส่วนในป่าพรุทางภาคใต้ กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์น้ำตลอดจนถึงแมลงและแพลงก์ตอน โดยใช้ปากที่ยืดหดได้นี้ตอดกิน จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามเพื่อความเพลิดเพลินและทำความสะอาดภายในตู้ปลา โดยนิยมเลี้ยงกันในตัวที่มีสีพื้นลำตัวเป็นสีขาวนวลหรือสีชมพู ในขณะที่ปลาที่มีสีตามธรรมชาติจะนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจเพื่อการบริโภค นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น ใบตาล, อีตาล, ตาล, ปากง่าม, อีโก๊ะ หรือ วี ในภาษาใต้ เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาหมอตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาอเมริกาใต้

ปลาอะโรวาน่าอเมริกาใต้ หรือ ปลาตะพัดอเมริกาใต้ (Arowana, Amazon arowana) สกุลปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) ในอันดับ Osteoglossiformes ใช้ชื่อสกุลว่า Osteoglossum (/ออส-ที-โอ-กลอส-ซั่ม/) มีรูปร่างเพรียวยาวกว่าปลาอะโรวาน่าในสกุล Scleropages ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และออสเตรเลีย โดยมีส่วนต่างกันที่เห็นได้ชัดที่สุด คือ ส่วนหางที่เรียวเล็กกว่าโดยเฉพาะครีบหาง ปากมีความกว้างกว่า และหนวด 1 คู่ที่ใต้คางนั้นเรียวยาวกว่า ครีบหลังเรียวเล็กกว่าและเป็นทางยาวไปแทบตลอดส่วนหลัง มีสีสันลำตัวเป็นสีเดียวทั้งตัว โดยไม่มีเหลือบสีแบบปลาในสกุล Scleropages มีก้านครีบหลัง 43-48 ก้าน ครีบก้นยาวกว่าครีบหลัง มีก้านครีบ 53-57 ก้าน มีการแพร่กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ มีเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาอะโรวานาอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาแอฟริกา

ปลาอะโรวานาแอฟริกา หรือ ปลาตะพัดแอฟริกา (African arowana, Nile arowana, African bonytongue) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ซึ่งมีเพียงชนิดเดียวในสกุล Heterotis นี้ (ในข้อมูลเก่าจะระบุให้อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)) ปลาอะโรวานาแอฟริกา มีลักษณะส่วนหัวค่อนข้างกลมหนาและสั้น ตาโต ปากเล็ก ริมฝีปากหนา ไม่มีหนวด ลำตัวกลมและแบนข้างที่หาง สีลำตัวสีน้ำตาลอมเขียวและดำ โดยสีสันนี้สามารถแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม บริเวณส่วนท้องซีดจาง ครีบและหางค่อนข้างเล็กและสีเดียวกับลำตัว เกล็ดมีขนาดเล็ก เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมี 32–38 เกล็ด โดยเส้นข้างลำตัวเริ่มจากจุดเหนือแผ่นปิดเหงือกไปจรดที่จุดกึ่งกลางของโคนหาง ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร อีกทั้งยังกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ และยังสามารถกินแพลงก์ตอนเป็นอาหารได้อีกด้วย โดยการผ่านการกรองที่ช่องเหงือก โดยจะหากินทุกระดับน้ำ อีกทั้งยังสามารถฮุบอากาศหายใจโดยตรงได้ด้วย แพร่พันธุ์ด้วยการสานรัง โดยพ่อแม่ปลาจะคาบไม้น้ำประเภทกกมาวางซ้อนสานกันเป็นวงกลมคล้ายตะกร้าลอยอยู่ผิวน้ำ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ฟุต ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว 2 วัน ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 มิลลิเมตร แพร่กระจายอยู่บริเวณแม่น้ำไนล์ในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันตก แถบประเทศอียิปต์, เซเนกัล, ซาอีร์ เป็นต้น เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองใช้เป็นอาหาร และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แม้จะไม่มีสีสันสวยงามเลยก็ตาม ซึ่งในสถานที่เลี้ยง ปลาอะโรวานาแอฟริกาไม่มีนิสัยก้าวร้าวเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน หนังสือ (แอบ)คุยเรื่องปลาตู้ โครงการ 2: ปลาอโรตัวเป็นวาน่าเลี้ยง โดย Nanconnection (ตุลาคม, พ.ศ. 2546) ISBN 974-534-865-1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาอะโรวานาแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาเงิน

ปลาอะโรวาน่าเงิน หรือ ปลาตะพัดอเมริกาใต้สีเงิน (Silver arowana, Arawana; Aruanã) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Osteoglossum bicirrhosum ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) มีรูปร่างคล้ายปลาอะโรวาน่าดำ (O. ferreirai) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน โดยมีถิ่นกำเนิดในลุ่มน้ำอเมซอนในเฟรนช์เกียนา, บราซิลและเปรู มีลำตัวยาวลึกและแบนข้างมาก ลำตัวด้านท้ายจะเรียวเล็กกว่าส่วนหัวมากจนมองเห็นได้ชัด ส่วนท้องมีลักษณะแบนจนใต้ท้องเป็นสันคม ขณะที่ยังเล็กจะมีจุดสีน้ำเงินและล้อมรอบด้วยวงแหวนสีชมพูที่บริเวณหลังแผ่นเหงือก ตัวตัวโดยทั่วไปสีขาวออกเหลือบเงิน แต่ปลาในบางแหล่งน้ำเกล็ดอาจมีหลายเหลือบสี เช่น เหลือง, เขียว และฟ้า บริเวณครีบและหางโดยมากจะเป็นสีฟ้าหม่น หัวและปากมีขนาดใหญ่และกว้างมาก โดยเป็นปลาในวงศ์นี้ที่หัวและปากใหญ่ที่สุด มีหนวด 1 คู่ ซึ่งก็เป็นปลาที่มีหนวดยาวที่สุดด้วยเช่นกัน ขนาดโตเต็มที่ราว 1-1.5 เมตร จัดว่าเป็นปลาที่มีความยาวที่สุดในวงศ์นี้ด้วยเช่นกัน ซึ่งโดยมากแล้ว เมื่อปลาโตเต็มที่กรามล่างจะยื่นออกมาเลยกรามบน และลูกตาก็มักจะตกลงมามองข้างล่าง ปลาอะโรวาน่าเงิน จัดเป็นปลาอะโรวาน่าที่โตเร็วที่สุด แพร่ขยายพันธุ์ง่ายที่สุด รวมทั้งอุปนิสัยในสถานที่เลี้ยงไม่ดุร้ายเมื่อเทียบกับปลาอะโรวาน่าชนิดอื่น ๆ จึงสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นหรือเลี้ยงรวมกันได้หลาย ๆ ตัว อีกทั้งการที่แพร่ขยายพันธุ์ง่าย ซึ่งทำให้เป็นปลาที่มีราคาถูก จึงเป็นที่นิยมสำหรับนักเลี้ยงปลา สำหรับในธรรมชาตินิยมบริโภคในพื้นถิ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาอะโรวานาเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวาน่าเอเชีย

ปลาอะโรวาน่าเอเชีย หรือ ปลาตะพัดเอเชีย (Asian arowana) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งในสกุล Scleropages (/สะ-เคอ-โอ-พา-กิส/) ในวงศ์ Osteoglossidae ถือเป็นปลาโบราณที่สืบเผ่าพันธุ์มาจากปลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีลักษณะรูปร่างไม่ต่างจากบรรพบุรุษในยุคก่อนประวัติศาสตร์มากนัก เป็นปลาที่มีวิวัฒนาการแยกออกจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน เมื่อกว่า 140 ล้านปีก่อน ในยุคครีเตเชียสตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาอะโรวาน่าเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินซีเน็ตดำ

ปลาอินซีเน็ตดำ (Black Prochilodus, Boquichico) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prochilodus nigricans อยู่ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างยาวและลำตัวกลมกว่าปลาในสกุล Semaprochilodus ริมฝีปากหนาและขยับไปมาตลอดเวลาได้ เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียดมีสีเงินและมีสีดำคล้ำเป็นแถบยาวตามแนวนอนลำตัว ยิ่งปลาที่มีขนาดเล็กจะเห็นได้ชัดเจน ขอบเกล็ดมีสีดำ ครีบหลังและครีบหางมีขนาดเล็ก ส่วนท้องป่องออก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 31 เซนติเมตร พบใหญ่สุดประมาณ 37 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโทแคนตินส์ ในบราซิลและอาร์เจนตินา เป็นปลาที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยมักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำ และหากินโดยใช้ปากที่ขยับไปมาตลอดนั้นตอดหากินบริเวณท้องน้ำ ผสมพันธุ์และวางไข่ในฤดูน้ำหลาก โดยมีอัตราการวางไข่เฉลี่ยครั้งละ 100,000 ฟอง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย นับเป็นปลาที่หาได้ยากและมีราคาแพงชนิดหนึ่งของวงศ์นี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาอินซีเน็ตดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาคู้แดง

ปลาคู้แดง หรือ ปลาเปคูแดง (Red bellied pacu) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) วงศ์ย่อย Serrasalminae มีรูปร่างเหมือนกับปลาปิรันยาแดง (Pygocentrus nattereri) แต่ปลาคู้แดงมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า กรามล่างไม่ยื่นยาวออกมาและลักษณะของฟันไม่แหลมคมเหมือนกับปลาปิรันยาแดง เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด มีสีสันแวววาวเหมือนกับปลาปิรันยาแดง แต่ในส่วนของสีแดงไม่เข้มเท่า แต่ลูกปลาวัยอ่อนมีจุดกลมสีแดงเหมือนกัน และจุดเหล่านี้จะค่อย ๆ เล็กลงและหายไปเมื่อปลาโตขึ้น ปลาคู้แดง มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ 80 เซนติเมตร น้ำหนักหนัก 25 กิโลกรัม (ขนาดและน้ำหนักโดยเฉลี่ยคือ 45 เซนติเมตร และน้ำหนัก 2-3 กิโลกรัม) มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโอริโนโคในประเทศอาร์เจนตินา นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยเฉพาะพืชเช่นเมล็ดพืชหรือลูกไม้ที่ร่วงหล่นจากต้น โดยจะไปรอกินถึงบริเวณผิวน้ำเลยทีเดียว ปลาคู้แดงขณะเมื่อยังเล็ก ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่นิยมทำเป็นอาหารของชนพื้นถิ่น มีชื่อเรียกในภาษาพื้นเมืองว่า Pirapitinga ในประเทศไทยปลาคู้แดงถูกนำเข้ามาครั้งแรกในฐานะปลาสวยงาม เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาคู้แดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแพะเหลือง

ปลาแพะเหลือง (Sunrise goatfish, Sulphur goatfish) ปลาทะเลและปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีลำตัวยาวเล็กน้อย คางมีหนวดเรียวยาว 2 เส้น ปากบนและปากล่างมีแถบของฟันซี่เล็ก บนเพดานปากด้านข้างแต่ละข้างมีฟันหนึ่งแถบ และแนวกลางเพดานปากส่วนหน้ามีฟัน 2 หย่อมเล็ก ๆ ช่องระหว่างครีบหลังทั้ง 2 อันมีเกล็ดคั่นกลาง 5 1/2 เกล็ด แนวของคอดหางมีเกล็ด 12-13 เกล็ด ด้านหลังมีสีเขียวออกเงินหรือชมพู และกลายเป็นสีเงินบริเวณด้านข้างและท้อง ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองทองหรือส้ม 2 แถบ พาดตามแนวยาวลำตัว เป็นลักษณะเด่น ขอบปลายสุดของครีบหลังอันแรกเป็นสีดำ ส่วนที่เหลือเป็นสีเหลืองคล้ำ 2 แถบ ขอบท้ายของครีบหางเป็นสีคล้ำ หนวดสีขาว มีความยาวโดยเฉลี่ย 20 เซนติเมตร ยาวที่สุด 23 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ตามแถบชายฝั่งที่เป็นพื้นโคลน และอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อย ในภูมิภาคมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิคฝั่งตะวันตก มีการประมงบ้าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาแพะเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโนรี

ำหรับโนรีที่หมายถึงนก ดูที่: นกโนรี สำหรับโนรีที่หมายถึงนักมวย ดูที่: โนรี จ๊อกกี้ยิม ปลาโนรี (Bannerfishes, Pennanfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Heniochus อยู่ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวสั้นแต่กว้างมาก หัวแหลม ปากเล็กอยู่ที่ปลายสุดจะงอยปาก ครีบหลังที่มีก้านแข็งราว 11-12 อัน ก้านครีบหลังอันที่ 4 ตอนแรกยื่นยาวเป็นเส้นยาวมากดูโดดเด่น ตัวมีสีสันสดสวยหัวและลำตัวมีพื้นสีขาวเงิน มีแถบสีดำเข้มพาดขวางราว 3 แถบ มีทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาโนรี · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลผีอะบาอะบา

ปลาไหลผีอะบาอะบา (Aba aba, Aba knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gymnarchus niloticus ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) อยู่ในวงศ์ Gymnarchidae ซึ่งมีอยู่เพียงชนิดเดียวเท่านั้น เป็นปลาขนาดใหญ่ สามารถยาวได้ถึง 1-1.5 เมตร มีรูปร่างยาวเรียวคล้ายปลาไหล ส่วนหัวมีขนาดเล็ก ตาเล็ก มีครีบพริ้วไหวตลอดลำตัวด้านบน พื้นลำตัวสีเทา ส่วนท้องสีขาว ปลายหางเล็กและเรียวยาว เกล็ดมีขนาดเล็กมาก มีการแพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำของทวีปแอฟริกาแถบตะวันตก ในลุ่มแม่น้ำแกมเบีย โดยอาศัยในความลึกประมาณ 1-1.5 เมตร เป็นปลาที่สามารถอาศัยในแหล่งน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้เป็นอย่างดี ด้วยสามารถฮุบอากาศได้เอง สายตาไม่ดี หาอาหารด้วยการนำทางโดยการสร้างกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน ๆ กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กชนิดอื่นเป็นอาหาร เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม ราคาไม่แพง จัดเป็นปลาที่เลี้ยงง่ายมากชนิดหนึ่ง แต่ว่าเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายมาก ไม่สามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นได้เล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาไหลผีอะบาอะบา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเม็ดขนุน

ปลาเม็ดขนุน (Yellow goatfish) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแพะ (Mullidae) มีรูปร่างทรงกระสวย บริเวณเหนือเส้นข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองพาดผ่าน แนวยาวของลำตัวตั้งแต่บริเวณหลังขอบตาไปจนถึงปลายหาง มีเกล็ดขนาดใหญ่ลักษณะเป็นแบบสากเล็กน้อย ส่วนหัวมีเกล็ด ใต้คางมีหนวด 1 คู่ ที่ไวต่อความรู้สึก ใช้สำหรับคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามหน้าดิน เช่น พื้นทราย ซึ่งดูแล้วเหมือนหนวดเคราของแพะ ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อน ประกอบไปด้วย ครีบหลังแยกเป็น 2 ตอน ครีบอก ครีบท้อง ครีบก้น และมีครีบหางแบบเว้าลึก มีขนาดความยาวโตเต็มที่ประมาณ 28 เซนติเมตร มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง อาศัยบริเวณเหนือพื้นทรายและแนวปะการัง บริเวณมหาสมุทรอินเดียและ มหาสมุทรแอตแลนติก จัดเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่มีการจับเพื่อการประมง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาเม็ดขนุน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเรดเทลแคทฟิช

ปลาเรดเทลแคทฟิช (Redtail catfish) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Phractocephalus hemioliopterus ในวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ (Pimelodidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Phractocephalus ทั้งนี้เนื่องจากชนิดอื่นที่อยู่ร่วมสกุลกันได้สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคไมโอซีนตอนต้นแล้ว (ราว 13.5 ล้านปีก่อน) คือ P. nassi ซึ่งค้นพบซากดึกดำบรรพ์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปลาเรดเทลแคทฟิช · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบก

ปูเสฉวนบก (Land hermit crabs) เป็นปูเสฉวนในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า coenobivm และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีทั้งหมด 15 ชนิด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปูเสฉวนทั่วไป และอาศัยอยู่ในเปลือกหอย แต่ไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะสำลักน้ำตายได้เหมือนปูมะพร้าว (Birgus latro) แต่จะลงไปกินน้ำทะเลเพื่อต้องการเกลือแร่ อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดอีกด้วย ปูเสฉวนบกมีถิ่นกำเนิดที่ทวีปอเมริกาเหนือ, ทะเลแคริบเบียน, หมู่เกาะเบอร์มิวดา, ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย จะอาศัยอยู่บนบกหรือในป่าริมชายทะเล กินอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์เหมือนปูเสฉวนทั่วไป ปัจจุบันปูเสฉวนบกกำลังได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมใช้สีทาบนเปลือกหอยให้เป็นสีสันและลวดลายต่าง ๆ แต่เป็นปูที่ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการเลี้ยง เนื่องจากถึงแม้ว่าจะอาศัยอยู่บนบกก็ตาม แต่ในสถานที่เลี้ยงต้องใช้ความชุ่มชื้นด้วย และปูพื้นด้วยกรวดทรายและขอนไม้หรือมะพร้าวผุ และมีความจำเป็นต้องใช้แคลเซียมเพื่อเป็นแร่ธาตุด้วย ไม่เช่นนั้นอาจตายได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และปูเสฉวนบก · ดูเพิ่มเติม »

นีลส์ เฮนริก อาเบล

นีลส์ เฮนริก อาเบล (Neils Henrik Abel) เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1802 เสียชีวิต 6 เมษายน ค.ศ. 1829 เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นบางท่านยกย่องอาเบลว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของสแกนดิเนเวีย อย่างไรก็ตามอาเบลเสียชีวิตด้วยอายุเพียง 26 ปี และเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตอาภัพที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการคณิตศาสตร์ เคียงคู่ไปกับ เอวารีสต์ กาลัว (เสียชีวิตเมื่ออายุ 20 ปี), รามานุจัน (เสียชีวิตเมื่ออายุ 33 ปี) และ โซฟี่ แชร์แมง (เสียชีวิตโดยที่ไม่มีโอกาสได้ทราบว่าตนเองได้รับปริญญากิตติมศักดิ์) อาเบลและเพื่อนนักคณิตศาสตร์ร่วมสมัยคือ เกาส์และโคชี่ มีส่วนร่วมเป็นอย่างสูงในการพัฒนาคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ซึ่งแตกต่างจากคณิตศาสตร์สมัยเก่าตรงที่มีการพิสูจน์อย่างเคร่งครัดในทุกทฤษฎีบท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และนีลส์ เฮนริก อาเบล · ดูเพิ่มเติม »

แย้

แย้ (Butterfly lizards, Small-scaled lizards, Ground lizards, Butterfly agamas) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าประเภทหนึ่ง จัดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสกุล Leiolepis ในวงศ์ Agamidae วงศ์ย่อย Leiolepidinae พบกระจายทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะภูมิภาคอินโดจีน พบทั้งหมด 8 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 4 ชนิด มีลักษณะเด่นคือ มีสีสวยสด และลำตัวไม่มีปุ่มหนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และแย้ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรูว์ แจ็กสัน

แอนดรูว์ แจ็กสัน (Andrew Jackson – 15 มีนาคม พ.ศ. 2310 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2388) มีชื่อเล่นว่า “โอลด์ฮิกกอรี่ (Old Hickory) รัฐบุรุษอเมริกันและประธานาธิบดีคนที่ 7 แห่งสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2372 – พ.ศ. 2380) เกิดที่เมืองแวกซ์ฮอว์ รัฐเซาท์แคโรไลนา จบการศึกษาด้านกฎหมายและได้รับเลือกเป็นสมาชิกรัฐสภาจากรัฐเทนเนสซี เมื่อ พ.ศ. 2339 เป็นสมาชิกวุฒิสภาเมื่อ พ.ศ. 2340 และระหว่างปี พ.ศ. 2341 – พ.ศ. 2347 ได้ดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลสูง นอกจากนี้กอ่นหน้านี้ แอนดรูว์ แจ็กสันยังเคยเป็นนักค้าที่ดินและนักค้าทาสอยู่ระยะหนึ่งด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และแอนดรูว์ แจ็กสัน · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง

ันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง โยฮันน์ สเตร๊าสส์ ที่หนึ่ง (เยอรมัน: Johann Strauß - หรือที่รู้จักกันในนามของ โยฮันน์ สเตร๊าสส์ ซีเนียร์ เกิดเมื่อวันที่14 มีนาคม พ.ศ. 2347 เสียชีวิตเมื่อวันที่25 กันยายน พ.ศ. 2392) เป็นคีตกวีชาวออสเตรีย ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักได้แก่เพลงวอลซ์ และเพื่อทำให้เพลงประเภทนี้เป็นที่รู้จักกันมากขึ้น โยเซฟ แลนเนอร์ จึงได้ (โดยไม่ตั้งใจ) จัดตั้งมูลนิธิขึ้นเพื่อให้บุตรชายของเขาสืบสานอาณาจักรดนตรีต่อไป อย่างไรก็ดี บทเพลงของเขาที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดเห็นจะได้แก่ ราเด็ตสกี้มาร์ช (ตั้งชื่อตามโยเซฟ ราเด็ตสกี้ ฟอน ราเด็ตส์) ในขณะที่เพลงวอลซ์ที่เลื่องชื่อที่สุดของเขาได้แก่ Lorelei Rhine Klänge โอปุส 154.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต อี. ลี

รเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี โรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี (Robert Edward Lee) (19 มกราคม ค.ศ. 1807 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1870) เป็นนายพลที่มีชื่อเสียงโด่งดังคนหนึ่งของอเมริกา เขามีบทบาทสำคัญมากในสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน และ สงครามกลางเมืองอเมริกา โดยนายพลลีได้สละหน้าที่การงานของเขาในสหรัฐอเมริกา เพื่อกลับมาร่วมสู้กับบ้านเกิดที่เวอร์จิเนีย ซึ่งอยู่ฝ่ายสมาพันธรัฐอเมริกา เขาสามารถนำชัยชนะมาสู่ฝ่ายใต้ของเขานับไม่ถ้วน ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายใต้มีแสนยานุภาพในหลาย ๆ ด้านด้อยกว่าฝ่ายเหนือมากก็ตาม แต่ถึงแม้นายพลลีจะเก่งกาจปานใด เขาก็ต้องฝ่ายแพ้ฝ่ายเหนือในยุทธการเกตตีสเบิร์ก นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของฝ่ายใต้ในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และโรเบิร์ต อี. ลี · ดูเพิ่มเติม »

โลมาหัวบาตรหลังเรียบ

ลมาหัวบาตรหลังเรียบ หรือ โลมาหัวบาตรไร้ครีบหลัง (Finless porpoise, 江猪, พินอิน: Jiāng zhū-หมูแม่น้ำ) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์พอร์พอยส์ (Phocoenidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Neophocaena แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) เป็นสัตว์ที่สืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันแล้วประมาณ 20 ล้านปี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับโลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง (Orcaella brevirostris) คือ มีส่วนหัวกลมหลิมเหมือนบาตรพระไม่มีจะงอยปาก แต่ส่วนหลังเรียบไม่มีครีบหลัง ครีบข้างค่อนข้างใหญ่ปลายแหลม และลักษณะฟันในปากจะเป็นตุ่ม ไม่แหลมคม อันเป็นลักษณะเฉพาะของโลมาในวงศ์พอร์พอย์ ซึ่งทั่วโลกพบอยู่ 6 ชนิด ในประเทศไทยพบเพียงชนิดนี้ชนิดเดียว มีขนาดโตเต็มที่ยาว 1.9 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 70–80 เซนติเมตร ในน่านน้ำไทยสามารถได้ทุกจังหวัดที่ติดกับทะเล โดยพบมากที่สุดในฝั่งอ่าวไทย คือ ทะเลแถบจังหวัดตราด และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 เหมือนกับวาฬและโลมาชนิดอื่น ๆ ในประเทศจีน โลมาหัวบาตรหลังเรียบ เป็นโลมาเพียง 1 ใน 2 ชนิด นอกจากโลมาแม่น้ำแยงซีเกียง (Lipotes vexillifer) หรือไป๋จี๋ ที่สามารถพบได้ในแม่น้ำแยงซีเกียง โดยมีชื่อเล่นจากชาวจีนว่า "หมูแม่น้ำ" หรือ"แพนด้าแม่น้ำ" เป็นสัตว์ที่อยู่ในฐานะหวั่นวิตกว่าจะสูญพันธุ์ เนื่องจากมลภาวะสภาพแวดล้อม จากการประเมินพบว่าปัจจุบันหลงเหลือเพียงพันกว่าตัวเท่านั้น ซึ่งทุกปีจะมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 5–10 ต่อปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และโลมาหัวบาตรหลังเรียบ · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

เชสเตอร์ เอ. อาเทอร์

เชสเตอร์ อลัน อาเทอร์ (Chester Alan Arthur) (5 ตุลาคม ค.ศ. 1829-18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1886) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เป็นคนที่ 21 หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:รองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเวอร์มอนต์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเชสเตอร์ เอ. อาเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงยาวถวายโอวาท

ลงยาวถวายโอวาท เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ ขณะเมื่อเป็นพระอาจารย์ถวายอักษรแด่เจ้าฟ้ากลางและเจ้าฟ้าปิ๋ว พระโอรสในเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เชื่อว่าประพันธ์ขึ้นราวปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเพลงยาวถวายโอวาท · ดูเพิ่มเติม »

เพิร์ท (ออสเตรเลีย)

ร์ท เพิร์ท (Perth) เป็นเมืองหลวงของรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ในประเทศออสเตรเลีย มีประชากรอาศัยอยู่ 1,507,900 (ธันวาคม 2006) ทำให้เพิร์ทเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย และเป็น 3 ใน 4 ของรัฐ ความหนาแน่นของประชากรอยู่ที่อันดับที่ 4 ในออสเตรเลีย ด้วยอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 2.1 (2006) และคาดว่าจะเจริญได้ถึงร้อยละ 2.5 ในปี 2007.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเพิร์ท (ออสเตรเลีย) · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอวาริสต์ กาลัว

อวาริสต์ กาลัว (Évariste Galois,, 25 ตุลาคม ค.ศ. 1811 – 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1832) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ขณะที่เป็นวัยรุ่น กาลัวสามารถหาเงื่อนไขจำเป็นและเงือนไขพอเพียงสำหรับการหาคำตอบของพหุนามอันดับใดๆ ผลงานของ กาลัวนับว่าเป็นรากฐานของ ทฤษฎีกาลัว ซึ่งเป็นหนึ่งในสาขาหลักของวิชา พีชคณิตนามธรรม และเป็นสาขาหนึ่งใน Galois connection นอกจากนี้ กาลัวยังเป็นบุคคลแรกที่ใช้คำว่า กรุป (Group, groupe) ในฐานะของศัพท์เฉพาะทาง เพื่อที่จะอธิบายเรื่องกลุ่มในการเรียงสับเปลี่ยน นอกเหนือจากความสนในคณิตศาสตร์แล้ว กาลัวยังเป็นผู้ที่นิยมแนวคิดสาธารณรัฐอย่างสุดโต่ง กาลัวถูกยิงเสียชีวิตจากการดวลปืนในขณะที่มีอายุได้เพียง 20 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเอวาริสต์ กาลัว · ดูเพิ่มเติม »

เจอโรนิโม

อโรนิโม ถ่ายเมื่อประมาณ พ.ศ. 2448 เจอโรนิโม เป็นชาวอินเดียนแดง ในชนเผ่าอาปาเช เบดอนโคเฮ เกิดเมื่อวันที่ เกิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2372 (ค.ศ. 1829) ในบริเวณที่ในปัจจุบันเป็นรัฐนิวเม็กซิโก มีชื่อจริงว่า โกยาตเลย์ (Goyathlay) ในขณะนั้น รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้พยายามขับไล่ชาวอินเดียนแดงออกไปเพื่อขยายอาณาเขตของประเทศ อินเดียนแดงหลายเผ่ายอมถอย แต่บางเผ่า ซึ่งรวมทั้งเผ่าอาปาเช เบดอนโคเฮ ของเจอโรนิโม ที่ไม่ยอมถอย และออกตอบโต้อเมริกาโดยการดักปล้นเสบียงและอาวุธของอเมริกาที่ขนส่งเข้ามาใกล้ ๆ พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) กลางปี โกยาตเลย์ ครอบครัว และชนเผ่าอาปาเชบางส่วนได้ปลีกตัวออกมาเพื่อทำการค้าขายกับเมืองในเม็กซิโก แต่ว่า ในขณะที่นักรบและผู้ชายไปค้าขาย หน่วยม้าลาดตระเวนของเม็กซิโกกลับบุกถล่มค่าย สังหารผู้หญิงและเด็กทุกชีวิตในค่ายชั่วคราวแห่งนั้น เมื่อหัวหน้าเผ่าอาปาเช เบดอนโคเฮทราบเรื่อง จึงขอความช่วยเหลือไปยังเผ่า 2 เผ่า ที่เป็นมิตรกับเผ่าอาปาเช เบดอนโคเฮ ซึ่งได้แก่ เผ่าอาปาเช เน็คนี และเผ่าอาปาเช โคเน็นเพื่อจะได้ร่วมมือกันทำสงครามกับเม็กซิโก เผ่าอาปาเชทั้งสาม เริ่มสงครามกับเม็กซิโกใน พ.ศ. 2402 (ค.ศ. 1859) โดยในฤดูร้อน ก็เริ่มโจมตีหน่วยทหารลาดตระเวนที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในแถบชนบทของเม็กซิโก โดยมีโกยาตเลย์เป็นผู้นำทีมปล้นสะดม เผ่าอาปาเชทั้งสาม ออกปล้นอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลเม็กซิโกก็ไม่สามารถจับกุมได้เลย ดังนั้น ในพ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) รัฐบาลอเมริกัน ได้ร่วมมือกับรัฐบาลเม็กซิโก เพื่อการจับกุมโกยาตเลย์โดยเฉพาะ และนอกจากนี้ยังให้ชื่อโกยาตเลย์ใหม่ สำหรับเรียกกันในหมู่ชาวเม็กซิกันและอเมริกันว่า เจอโรนิโม จนเป็นคำเรียกติดปากมาจนถึงปัจจุบัน หลังจากรัฐบาลของเม็กซิโกและอเมริการ่วมมือกันแล้ว ก็ได้แต่งตั้งนายพลจอร์จ ครูก เป็นผู้บัญชาการในภารกิจจับกุมเจอโรนิโม สามารถจับกุมนักรบเผ่าอาปาเชได้หลายคน แต่จับกุมเจอโรนิโมไม่ได้ จนกระทั่ง ประมาณกลางปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเจอโรนิโม · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหญ้า

ต่าหญ้า หรือ เต่าสังกะสี หรือ เต่าหญ้าแปซิฟิก (Olive ridley sea turtle, Pacific ridley) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lepidochelys olivacea เป็นเต่าทะเลขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60-70 เซนติเมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30-40 กิโลกรัม กระดองมีสีเขียวมะกอกหรือสีน้ำตาล เกล็ดบนกระดองมีลักษณะซ้อนกันเหมือนสังกะสีมุงหลังคา อันเป็นที่มาของอีกชื่อเรียกหนึ่ง ส่วนท้องมีสีเหลืองออกขาว หัวค่อนข้างโต ดวงตาปูนโปนออกมา กระดองมีความแข็งมาก ริมฝีปากสั้นทู่และคมแข็งแรงมากเพื่อใช้สำหรับขบกัดกินสัตว์มีกระดองซึ่งเป็นอาหารหลัก ส่วนของกระดองและท้องเชื่อมต่อกัน เป็นเต่าทะเลที่ว่ายน้ำได้เร็วมาก โดยอาจว่ายได้ถึง 35 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ในมหาสมุทรแอตแลนติกพบน้อยมาก กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น กุ้ง, ปลา, แมงกะพรุน, ปู, หอย, สาหร่ายทะเลและหญ้าทะเล ในน่านน้ำไทยจะพบได้ในฝั่งทะเลอันดามัน ในอ่าวไทยจะพบได้น้อยกว่า จัดเป็นเต่าทะเลอีกชนิดหนึ่งที่พบได้น้อบมากในน่านน้ำไทย โดยการวางไข่มีรายงานว่าพบที่ฝั่งทะเลอันดามันเท่านั้น โดยไม่พบในฝั่งอ่าวไทย และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเต่าหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหัวค้อน

ต่าหัวค้อน หรือ เต่าล็อกเกอร์เฮด หรือ เต่าจะละเม็ด (Loggerhead) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caretta caretta จัดเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Caretta ลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายเต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea) และเต่าตนุ (Chelonia mydas) มาก ต่างกันที่เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จำนวน 2 คู่ เท่ากับเต่าหญ้า แต่เกล็ดบนกระดองหลังแถวข้างมีจำนวน 5 แผ่นซึ่งต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่น ๆ และรูปทรงของกระดองจะเรียวเล็กลงมาทางส่วนท้ายและเป็นสันแข็งเห็นชัดเจน กระดองมีสีน้ำตาลแดง น้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลส้ม ขอบชายโครงมีสันแข็ง ขณะที่ยังเป็นลูกเต่ากระดองจะยกสูง ที่สำคัญเป็นจุดเด่น คือ มีหัวขนาดใหญ่โตอย่างเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ขาซึ่งเป็นใบพายทั้งคู่หน้าและคู่หลังมีเล็บหนึ่งเล็บในแต่ละข้าง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดกระดองหลังยาวประมาณ 85 เซนติเมตร กระดองท้อง 60 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำมีเปลือกและหอย เป็นอาหารหลัก พบน้อยมากที่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบน้อยมาก และไม่พบรายงานว่ามีการขึ้นมาวางไข่เป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังพบได้บ้างที่เขตอบอุ่นทางตอนเหนือของออสเตรเลียและทะเลญี่ปุ่น หรืออินโดนีเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และเต่าหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ5 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2372และ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1829

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »