โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2322

ดัชนี พ.ศ. 2322

ทธศักราช 2322 ใกล้เคียงกั.

39 ความสัมพันธ์: ชาวไทดำพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระสนมวอนบิน จากตระกูลฮง แห่งพงซานรายชื่อธงในประเทศอิหร่านรายชื่อทุพภิกขภัยรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามพระมหากษัตริย์ลาวรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่นวัดมหาวนารามวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารศาสนาพุทธในประเทศไทยอำเภอโพธิ์ไทรอำเภอเวียงสาฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็งจักรพรรดินีเอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงหลุยส์แห่งบาเดิน)จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะจังหวัดขอนแก่นจำปาศักดิ์ (แก้ความกำกวม)ธงชาติอิหร่านดาราจักรแบล็คอายความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรีควายป่าแอฟริกาคัสเซิลตราแผ่นดินของโบลิเวียปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชันประเทศไทยใน พ.ศ. 2322เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียสเจมส์ คุกเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)เจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1เต่าซูลคาต้าเซ็สโซและคัมปะกุ1 มิถุนายน13 กันยายน17 กันยายน27 ตุลาคม29 กันยายน

ชาวไทดำ

ังหวัดเดี่ยนเบียนของเวียดนาม หรือในอดีตคือแคว้นสิบสองจุไท ถิ่นที่อยู่เดิมของชาวไทดำ มีเมืองแถงเป็นเมืองหลวง ไทดำ หรือ ไทยทรงดำ เป็นกลุ่มชาวไทกลุ่มหนึ่ง ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในเขตสิบสองจุไทเดิม หรือบริเวณลุ่มแม่น้ำดำและแม่น้ำแดงในเวียดนามตอนเหนือ ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ดั้งเดิมของชาวไทดำและ ชาวไทขาว ปัจจุบันสิบสองจุไทคือจังหวัดเดียนเบียนฟูของเวียดนาม มีเขตติดต่อกับประเทศลาวคือแขวงพงสาลี ปัจจุบันชื่อที่ชาวพื้นเมืองใช้เรียกตนเองที่จังหวัดเดียนเบียนฟูคือ "ไตดำ" ในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามาปกครองเวียดนามและลาว พวกเขาได้เรียกชนเผ่าที่อยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำดำว่า ไทดำ ที่เรียกว่าไทดำไม่ใช่ว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน้ำดำ แต่เพราะว่ากลุ่มชนเผ่าไทดังกล่าว นิยมสวมเสื้อผ้าสีดำอันเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งย้อมด้วยต้นห้อมหรือต้นคราม การที่เรียกว่า "ลาวโซ่ง" จริง ๆ แล้วชนชาติพันธุ์ไม่ได้เป็นลาว เหตุที่เรียกเช่นนี้เป็นเพราะว่ามีการอพยพผ่านดินแดนลาวลงมายังสยาม การเรียกว่า "ชาวโซ่ง" หรือ "ชาวไททรงดำ" จะถูกต้องกว่า เหมือนที่มีการเรียกคนกลุ่มนี้ในจังหวัดเพชรบุรีว่า "โซ่ง" หรือ "ไทยทรงดำ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และชาวไทดำ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)

ระยาวิเชียรปราการ หรือ พระยาจ่าบ้าน (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นพระยาประเทศราชนครเชียงใหม่สมัยกรุงธนบุรี ช่วง พ.ศ. 2317 - พ.ศ. 2319.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 สมเด็จพระราชินีชาร์ล็อต พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 (Descendants of King George III) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มต้นจากการอภิเษกสมรสของพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (จอร์จ วิลเลียม เฟรเดริค; 4 มิถุนายน พ.ศ. 2281 - 29 มกราคม พ.ศ. 2363 เสวยราชสมบัติ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2303 สืบต่อจากพระเจ้าจอร์จที่ 2 พระอัยกา) พระโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก หลุยส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-ก็อตธา ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2304 ณ พระราชวังเซนต์เจมส์ กรุงลอนดอน กับ เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (โซเฟีย ชาร์ล็อต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2287 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2361) และมีพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 15 พระองค์ พระราชนัดดา 8 พระองค์ และพระราชปนัดดา 17 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสที่สำคัญในพระเจ้าจอร์จที่ 3 ได้แก่ พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร และพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์ ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญ ได้แก่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮันโนเฟอร์ อีกทั้งยังมีพระราชปนัดดาที่สำคัญคือ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าชายแอนสท์ เอากุสท์ มกุฎราชกุมารแห่งฮันโนเฟอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมวอนบิน จากตระกูลฮง แห่งพงซาน

พระสนมวอนบิน จากตระกูลฮง แห่งพงซาน (Royal Noble Consort Won of the Hong clan) (7 พฤษภาคม ค.ศ. 1766 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1779) พระสนมใน พระเจ้าชองโจ พระราชาลำดับที่ 22 แห่ง ราชวงศ์โชซ็อน เป็นน้องสาวของ ฮงกุกยอง ราชเลขาในพระเจ้าชองโจทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติห่าง ๆ กับ พระพันปีฮเยกยอง พระราชมารดาของพระเจ้าชองโจเพราะพระพันปีก็ทรงมาจากสกุลฮงเช่นเดียวกัน พระสนมวอนบินประสูติเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1766 ได้เข้าถวายตัวเป็นพระสนมเมื่อปี ค.ศ. 1778 ขณะมีพระชนมายุเพียง 12 พรรษาแต่ทรงเป็นพระสนมได้เพียง 1 ปีก็สิ้นพระชนม์อย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1779 ขณะพระชนมายุเพียง 13 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และพระสนมวอนบิน จากตระกูลฮง แห่งพงซาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอิหร่าน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และรายชื่อธงในประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว

ระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร (เจ้าอุ่นคำ) กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ประทับบนพระราชบัลลังก์ ในพระราชวังหลวงเมืองหลวงพระบาง ลำดับกษัตริย์ลาว อ้างอิงตามพงศาวดารหลวงพระบาง ชินกาลมาลีปกรณ์ และ ตำนานพระแก้วมรกต กรณีศักราชไม่ตรงกัน จะยึดตามตำนานพระแก้วมรกตเป็นหลัก ขุนบรมราชาธิราช (พ.ศ. 1240 - พ.ศ. 1293) ได้ย้ายจากหนองแส (เมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้า) มาอยู่ที่ใหม่เรียกว่า นาน้อยอ้อยหนู (เมืองแถนหรือเมืองกาหลง) ปัจจุบันเรียกว่าเชียงรุ่งเขตสิบสองพันนา พร้อมทั้งขยายอาณาเขตออกไปโดยส่งโอรส 7 องค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และรายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาวนาราม

วัดมหาวนาราม เดิมชื่อว่า วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์ นิยมเรียกว่า วัดป่าใหญ่ เป็นพระอารามหลวง เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่บนถนนหลวง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พระปทุมวรราชสุริยวงศ์(ท้าวคำผง - ต้นสายสกุล " ณ อุบล ") เจ้าเมืองอุบลราชธานีคนแรก ได้ได้ก่อสร้างวัดที่ริมฝั่งแม่น้ำมูล ตั้งชื่อว่า วัดหลวง เพื่อให้เป็นสถานที่บำเพ็ญกุศลแก่ประชาชนทั่วไป เมื่อพระมหาเถระได้เข้ามาอยู่จำพรรษาแล้วท่านเห็นว่า วัดนี้เป็นวัดบ้าน หรือ ฝ่ายคามวาสีไม่เหมาะแก่การปฏิบัติสมณธรรมวิปัสสนากรรมฐาน จึงได้หาสถานที่ใหม่ คือ ป่าดงอู่ผึ้ง ห่างจากวัดหลวงไปทางทิศเหนือ 100 เส้น มีหนองน้ำ ชื่อว่า หนองสะพัง เป็นสถานที่อันสงบวิเวก เหมาะจึงได้ก่อตั้งขึ้นเป็นสำนักสงฆ์ (พ.ศ. 2322) ชื่อว่า วัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์ เพื่อให้คู่กับวัดหลวงซึ่งก่อตั้งขึ้นก่อนแล้วนั้น แต่ก็ยังไม่ทันได้ตั้งเป็นวัดให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เจ้าเมืองคือ พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (ท้าวคำผง - ต้นสายสกุล " ณ อุบล ") ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อนเมื่อ พ.ศ. 2338) พ.ศ. 2348 เจ้าเมืองคนที่ 2 คือ พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ท้าวทิดพรหม - ต้นสายสกุล " พรหมวงศานนท์ ") ได้มาก่อสร้างวิหารอารามในวัดป่าหลวงมณีโชติศรีสวัสดิ์ต่อจนสำเร็จใน พ.ศ. 2350 และได้ยกฐานะเป็นวัดชื่อว่า วัดป่าหลวงมณีโชติ แต่ชาวบ้านเรียกว่า วัดหนองตะพังหรือหนองสระพัง ตามชื่อหนองน้ำที่อยู่ใกล้เคียง (มีหลักฐานการสร้างวัดอยู่ที่ ศิลาจารึก ซึ่งตั้งอยู่ข้างหลัง (ด้านซ้าย) ของพระเจ้าใหญ่อินทร์แปงระบุปีที่สร้างวัดนี้ ตรงกับ พ.ศ. 2350) โดยมีพระมหาราชครูศรีสัทธรรมวงศาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และเป็นผู้สร้างพระพุทธรูปพระอินแปง หรือ พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง พ.ศ. 2484 ได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น วัดมหาวัน หรือ วัดป่าใหญ่ และได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งตามสมัยนิยมเรียกว่า วัดมหาวนาราม ความหมายของวัด ก็ยังคงเป็นเช่นเดิม คือ แปลว่า ป่าใหญ่ วัดนี้ได้รับพระราชทานโปรดเกล้า ฯ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 ปูชนียวัตถุที่สำคัญ คือ พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยลักษณะศิลปะแบบลาว ขนาดหน้าตักกว้างประมาณ 3 เมตร สูงจากเรือนแท่นถึงเปลวพระโมลี 5 เมตร ก่ออิฐถือปูน ลงรักปิดทอง เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หมวดหมู่:วัดในจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และวัดมหาวนาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร

วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ. 2310 ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอาป้อมวิชัยประสิทธิ์ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2322 ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามในปี พ.ศ. 2327 ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโพธิ์ไทร

ทร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ริมแม่น้ำโขง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และอำเภอโพธิ์ไทร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเวียงสา

วียงสา (40px) เป็นอำเภอศูนย์กลางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัดน่านตอนใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และอำเภอเวียงสา · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง

็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง (Jean-Baptiste-Siméon Chardin; 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1699 - 6 ธันวาคม ค.ศ. 1779) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพนิ่ง ชาร์แด็งผู้เกิดและใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในในปารีสเป็นบุตรของช่างทำตู้ ชาร์แด็งพำนักอยู่ที่เลฟต์แบงก์จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงหลุยส์แห่งบาเดิน)

จักรพรรดินีเอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนา จักรพรรดินีเอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนาแห่งรัสเซีย (Елизавета Алексеевна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งบาเดิน (หลุยส์ มารี ออกุสเท; 24 มกราคม พ.ศ. 2322 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย อ อ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก หมวดหมู่:ราชวงศ์โฮลชไตน์-กอททอร์พ-โรมานอฟ หมวดหมู่:แกรนด์ดัชเชสแห่งรัสเซีย หมวดหมู่:ราชวงศ์เซริงเงิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และจักรพรรดินีเอลิซาเบธ อเล็กเซเยฟนาแห่งรัสเซีย (เจ้าหญิงหลุยส์แห่งบาเดิน) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ

ักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ (Emperor Go-Momozono, 2301 - 2322, ครองราชย์ 2314 - 2322) จักรพรรดิพระองค์ที่ 118 ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2314 - พ.ศ. 2322.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์ (แก้ความกำกวม)

ำปาศักดิ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และจำปาศักดิ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิหร่าน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 ส่วน ยาว 7 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบสีเขียว สีขาว และสีแดงตามแนวนอน ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ส่วนที่ถัดจากแถบสีขาวทั้งด้านบนและด้านล่างนั้น มีอักษรอาหรับเป็นข้อความ "อัลลอหุ อักบัร" เรียงซ้ำกันไปตามขอบแถบสีขาว รวม 22 ครั้ง ประกาศใช้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และธงชาติอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักรแบล็คอาย

ราจักรแบล็คอาย (Black Eye Galaxy) หรือเรียกว่า ดาราจักรเจ้าหญิงนิทรา,เมซีเย 64,เอ็ม64 หรือ เอ็นจีซี 4826 ค้นพบโดยเอ็ดเวิร์ด ไพก็อตต์ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1779.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และดาราจักรแบล็คอาย · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี

ทความนี้เกี่ยวกับความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ เพียง 15 ปีของอาณาจักรธนบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ควายป่าแอฟริกา

วายป่าแอฟริกา (African buffalo, Cape buffalo) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) วงศ์ย่อยวัวและควาย (Bovinae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Syncerus ควายป่าแอฟริกามีลักษณะรูปร่างคล้ายกับควายป่า (Bubalus arnee) และควายบ้าน (B. bubalis) ที่พบในทวีปเอเชีย แต่ทว่ามีรูปร่างที่บึกบึนกว่ามาก มีนิสัยว่องไว่และดุร้ายยิ่งกว่างควายป่าเอเชียอย่างมาก และมีส่วนโคนเขาที่ย้อนเข้าหากัน ในตัวผู้จะหนา และโคนเขาชนกัน ขณะที่ตัวเมียจะมีเขาที่เล็กกว่า และโคนเขาไม่ชนกัน ลำตัวมีสีเข้ม กีบเท้ามีลักษณะโค้งกลมขนาดใหญ่ ลำตัวมีความยาว 2.1–3.4 เมตร น้ำหนักมากกว่า 700 กิโลกรัมขึ้นไป มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 22–25 ปี พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาใต้ บริเวณที่เป็นทุ่งหญ้าสะวันน่า และบึงน้ำขนาดใหญ่ทั่วไป กินหญ้าและใบไม้เป็นอาหาร เมื่อโตเต็มวัยมักอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ ชอบที่จะแช่ปลักโคลนเหมือนควายในทวีปเอเชีย โดยมีตัวเมียและลูกเป็นส่วนใหญ่ของฝูง โดยมีตัวผู้ที่มีอายุมากที่สุดเป็นจ่าฝูง มีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 340 วัน เมื่อถูกคุกคามจากสัตว์อื่น เช่น สิงโต ทั้งฝูงจะหันบั้นท้ายเข้าชนกัน เพื่อป้องกันลูกควายวัยอ่อนที่ยังป้องกันตัวไม่ได้ ให้อยู่ในวงล้อมป้องกันจากการถูกโจมตี ควายป่าแอฟริกาได้รับความสนใจในเชิงการท่องเที่ยวดูสัตว์ โดยถูกจัดให้เป็น 1 ใน 5 ผู้ยิ่งใหญ่ของสัตว์ป่าแอฟริกา อันประกอบไปด้วย สิงโต, ช้างแอฟริกา, ควายป่า, แรด และเสือดาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และควายป่าแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

คัสเซิล

ัสเซิล (Kassel) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของรัฐเฮ็สเซิน ประเทศเยอรมนี บนแม่น้ำฟุลดา เมืองคัสเซิลเป็นเมืองหลวงของแคว้นคัสเซิล มีประชากร 198,500 คน (ค.ศ. 2007) และมีพื้นที่ 106.77 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และคัสเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของโบลิเวีย

ตราแผ่นดินของโบลิเวีย เริ่มใช้เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และตราแผ่นดินของโบลิเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชัน

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่นที่เกิดในคลอโรพลาสต์ ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่น (Photophosphorylation) เป็นการขนส่งอิเล็กตรอนไปตามตัวรับอิเล็กตรอนต่างๆ โดยเริ่มจากตัวให้อิเล็กตรอนตัวแรกคือน้ำ ส่งต่อกันไปเรื่อยๆ จนถึง NADPH+H+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ทั้งนี้ การขนส่งอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีแสงเท่านั้น ในพืชชั้นสูง ปฏิกิริยานี้เกิดที่คลอโรพลาสต์ภายในคลอโรพลาสต์มีเยื่อหุ้มสองชั้น ซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายเยื่อหุ้มของไมโทคอนเดรียคือ ชั้นนอกยอมให้สารทุกชนิดผ่านได้อย่างเป็นอิสระ ส่วนเยื่อหุ้มชั้นในยอมให้เฉพาะสารที่มีตัวพาที่เฉพาะผ่านได้เท่านั้น เยื่อหุ้มชั้นในของคลอโรพลาสต์เป็นชั้นๆเรียกไทลาคอยด์ (thylakoid) ซึ่งมีกลุ่มเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งอิเล็กตรอนฝังตัวอยู่ แนวคิดเริ่มแรกที่ว่าแสงถูกใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนั้นถูกเสนอขึ้นโดยแจน อิงเก็นเฮาซ์ในปี ค.ศ. 1779 ผู้ระบุว่าพืชนั้นจำเป็นต้องสัมผัสกับแสงแดด แม้ว่าโจเซฟ พริสต์ลีย์จะได้ทำการสังเกตการผลิตของออกซิเจนโดยปราศจากแสงเป็นองค์ประกอบไปแล้วใน ค.ศ. 1772 คอร์นีเลียส แวน นีลเสนอใน ค.ศ. 1931 ว่ากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกรณีของกลไกการทำงานทั่วไปซึ่งโฟตอนของแสงถูกใช้ในการทำให้เสื่อมสภาพโดยใช้แสงกับไฮโดรเจนตัวให้อิเล็กตรอนและไฮโดรเจนที่ใช้ในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากนั้นใน ค.ศ. 1939 โรบิน ฮิลล์ก็พิสูจน์ว่าคลอโรพลาสต์ที่ถูกแยกออกมาสามารถสร้างออกซิเจนได้ แต่ไม่สามารถตรึง CO2 ได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และที่ไม่ต้องใช้แสง (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยามืด) สามารถเกิดขึ้นได้ในสถานที่ต่างๆ กัน นำไปสู่การค้นพบระบบแสง 1 และระบบแสง 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2322

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2322 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และประเทศไทยใน พ.ศ. 2322 · ดูเพิ่มเติม »

เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส

รอน เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส (Jöns Jacob Berzelius; 20 สิงหาคม ค.ศ. 1779 – 7 สิงหาคม ค.ศ. 1848) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดที่จังหวัดเอิสแตร์เยิตลันด์ บิดามารดาของแบร์ซีเลียสเสียชีวิตตั้งแต่เขายังเล็ก เขาจึงอยู่ในความดูแลของญาติในเมืองลินเชอปิง แบร์ซีเลียสเรียนหนังสือในเมืองนั้นก่อนจะเรียนต่อวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยอุปซอลา เขาเรียนเคมีกับอันเดอร์ส กุสตาฟ เอเกแบร์ก ผู้ค้นพบธาตุแทนทาลัม แบร์ซีเลียสเป็นผู้ช่วยเภสัชกรและแพทย์ก่อนจะเรียนจบในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คุก

องเจมส์ คุก นักสำรวจชาวอังกฤษ วาดโดยนาธาเนียล แดนซ์ ปีค.ศ. 1775 จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ทางทะเลแห่งชาติ ในเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ เจมส์ คุก (27 ตุลาคม ค.ศ. 1728 - 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1779) เป็นนักสำรวจและนักเดินเรือชาวอังกฤษ และยังเป็นนักทำแผนที่อีกด้วย เขาได้เดินทางไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกสามครั้ง ซึ่งก็ได้ทำแผนที่แนวชายฝั่งไว้ส่วนใหญ่ กัปตัน เจมส์ คุก เป็นบุคคลหนึ่งที่ได้เข้ามาสำรวจประเทศออสเตรเลีย และยึดออสเตรเลียเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นผู้ค้นพบเกาะฮาวายนอกจากนี้เขายังเป็นผู้คนพบเกาะอีกหลายแห่ง เช่น เกาะนิวซิแลนด์ เป็นต้น เจมส์ คุก ถูกฆ่าตายระหว่างการต่อสู้กับชนพื้นเมืองฮาวาย ที่อ่าวเกียลาคีกัว เกาะฮาวายในปี ค.ศ. 1779.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเจมส์ คุก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)

อนุสาวรีย์พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ที่ทุ่งศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) หรือ พระปทุมวรราชสุริยวงษ ในจารึกพระเจ้าอินแปงออกนามว่า เจ้าพระปทุม ชาวเมืองอุบลราชธานีในสมัยโบราณนิยมออกนามว่า อาชญาหลวงเฒ่า ดำรงตำแหน่งเจ้าประเทศราชครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราชคนแรก (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานีในภาคอีสานของประเทศไทย) นามเดิมว่า เจ้าคำผง หรือ ท้าวคำผง เป็นโอรสในเจ้าพระตา (เจ้าพระวรราชปิตา) เจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลุ่มภู) กับเจ้านางบุศดี สมภพเมื่อ พ.ศ. 2252 ณ นครเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์อันเก่าแก่ อันเนื่องมาจากพระอัยยิกา (ย่า) ของพระองค์ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าปางคำ (ปู่) มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ จึงเป็นเหตุให้มีสร้อยราชทินนาม (รวมทั้งของเจ้าฝ่ายหน้า-ผู้อนุชา) มีคำว่า สุริยวงศ์ ต่อท้ายนาม อีกทั้งยังสืบเชื้อสายมาจากพระอัยกา (ปู่) คือเจ้าปางคำ เจ้านายเชื้อสายลื้อแห่งราชวงศ์เชียงรุ่งจากอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง (เมืองเชียงรุ้งแสวนหวีฟ้า) ผู้สร้างเมืองหนองบัวลุ่มภู (จังหวัดหนองบัวลำภูในปัจจุบัน) อนึ่ง พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ อุบล แห่งจังหวัดอุบลราชธานี ในภาคอีสานของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)

วาดมงกุฎของจักรพรรดินีญี่ปุ่น เจ้าหญิงโยะชิโกะ จักรพรรดินีใน จักรพรรดิโคกะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 119 และพระราชมารดาบุญธรรมใน จักรพรรดินินโก จักรพรรดิองค์ที่ 120.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

้าจอมแว่น หรือ เจ้าคุณจอมแว่น พระนามเดิมว่า เจ้านางคำแว่น หรือ อาชญานางคำแว่น บ้างออกพระนามว่า เจ้านางบัวตอง ชาวลาวและชาวอีสานนิยมออกคำลำลองพระนามว่า เจ้านางเขียวค้อม เป็นพระบรมวงศานุวงศ์จากนครเวียงจันทน์ อดีตนางพระกำนัลในพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนผลัดราชวงศ์ใหม่ เจ้าจอมแว่นเป็นพระสนมเอกที่มีอิทธิพลต่อราชสำนักสยามฝ่ายในอย่างสูง จนชาววังได้ยกย่องให้เป็น เจ้าคุณข้างใน และถือเป็นเจ้าคุณองค์แรกในพระราชวงศ์จักรี อีกทั้งยังเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่คอยอภิบาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์อย่างเข้มงวด จนได้รับฉายาว่า คุณเสือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เต่าซูลคาต้า

ต่าซูลคาต้า หรือ เต่าเดือยแอฟริกัน (Sulcata tortoise, African spurred tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Geochelone sulcata จัดเป็นเต่าบกที่มีความใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองมาจาก เต่ายักษ์กาลาปากอส (G. nigra) และเต่าอัลดาบร้า (Aldabrachelys gigantea) จัดเป็นเต่าที่มีลักษณะกระดองที่แบนราบ เมื่อยังอยู่ในวัยเล็กลำตัวมีสีขาวไปจนถึงสีน้ำตาลเหลือง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นและวัยเต็มวัยสีของกระดองจะพัฒนาเป็นสีน้ำตาลและสีเหลือง ขาทั้งสี่ข้างแข็งแรง โดยเฉพาะขาคู่หน้ามีเกล็ดขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน กระจายพันธุ์บริเวณพื้นที่แห้งแล้ง บริเวณขอบทะเลทรายซาฮาร่าตั้งแต่ประเทศมาลี, เซเนกัล ในแอฟริกาตะวันตกไปจนถึงเอธิโอเปีย ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้มากกว่า 36 นิ้ว น้ำหนักกว่า 100 กิโลกรัม มีอายุยาวกว่า 100 ปี เป็นเต่าที่กินอาหารหลักได้หลากหลาย โดยมากเป็นหญ้า รวมถึงวัชพืชและผลไม้ชนิดต่าง ๆ รวมถึงพืชในทะเลทราย เช่น กระบองเพชร มีพฤติกรรมที่แตกต่างไปกวาเต่าบกชนิดอื่น ๆ คือ เดินเก่งและเดินได้เร็ว สามารถเดินหาอาหารกินได้วันละหลายชั่วโมง เต่าตัวผู้เมื่อสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ราว 5 ปี หรือมีความยาวประมาณ 15 นิ้ว ในส่วนตัวเมียจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 7 ปี หรือมีความยาวประมาณ 17 นิ้ว ตัวผู้มีโคนหางที่ยาวกว่าตัวเมีย และมีกระดองบริเวณก้นเป็นรูปตัววี อีกทั้งกระดองใต้ท้องมีลักษณะโค้งเว้าเข้าไปด้านใน การสังเกตเพศเห็นได้เมื่อมีอายุได้ 3-4 ปี หรือมีความยาวประมาณ 1 ฟุต มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงต้นฤดูร้อนจนถึงปลายฤดูฝน โดยใช้เวลาผสมพันธุ์นานราว 1 ชั่วโมง เต่าตัวเมียจะวางไข่หลังผสมพันธุ์แล้ว 1 เดือน โดยใช้ขาหลังขุดหลุม ซึ่งอาจมีหลายหลุมเพื่อหลอกสัตว์กินเนื้อชนิดอื่นที่จะมาขโมยไข่ วางไข่ครั้งละ 20-30 ฟอง โดยในแต่ละปีอาจวางไข่ได้ถึงครั้งละ 4-5 ครั้ง และมักจะวางไข่ในช่วงเวลาบ่ายไปจนถึงตอนเย็น ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 90 วัน โดบใช้อุณหภูมิประมาณ 29-31 องศาเซลเซียส ความชื้นอยู่ที่ร้อยละ 75-85 ลูกเต่าเมื่อแรกฟักจะมีความยาวประมาณ 2 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 20-30 กรัม และจะมีถุงไข่แดงติดตัวมาด้วย ซึ่งถุงไข่แดงนั้นจะให้พลังงานแทนอาหาร ใช้เวลานานประมาณหนึ่งสัปดาห์ ถุงไข่แดงนี้จึงจะยุบไป ปัจจุบัน เต่าซูลคาค้าเป็นเต่าบกอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว รวมถึงในประเทศไทยด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเต่าซูลคาต้า · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และ17 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และ27 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2322และ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1779

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »