โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2148

ดัชนี พ.ศ. 2148

ทธศักราช 2148 ใกล้เคียงกั.

55 ความสัมพันธ์: ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัมพ.ศ. 2078พ.ศ. 2145พ.ศ. 2146พ.ศ. 2147พ.ศ. 2149พ.ศ. 2150พ.ศ. 2151พ.ศ. 2152พ.ศ. 2198พระเจ้าอะเนาะเพะลูนกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์กรมพระราชวังบวรสถานมงคลมิเกล เด เซร์บันเตสยะมะอุชิ ชิโยะยะมะอุชิ ทะดะโยะชิรัฐบาลเอโดะราชวงศ์สุโขทัยราชวงศ์ตองอูรายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามผู้ปกครองรัสเซียรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษวัดพะโคะสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสิ่งพิมพ์รายคาบหมู่เกาะโมลุกกะอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอาดรียาน เบราเวอร์อำเภออมก๋อยอนุสรณ์ผู้ตายจักรพรรดิชะฮันคีร์จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิอักบัรจักรวรรดิจักรวรรดิออตโตมันจังหวัดอุทัยธานีดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝันประวัติศาสตร์อังกฤษประเทศพม่าใน ค.ศ. 1605ประเทศรัสเซียใน ค.ศ. 1605นักบุญเยโรมรำพึงธรรม (การาวัจโจ)นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ)โบสถ์ซันตามาเรียเดลลาวิตโตเรีย...โทกูงาวะ อิเอยาซุโทกูงาวะ ฮิเดตาดะเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา2 มิถุนายน25 เมษายน ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »

ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม

ฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม (Francis Willoughby, 5th Baron Willoughby of Parham; ราว ค.ศ. 1605 - 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1666) เป็นนายทัพฝ่ายรัฐสภาผู้มีบทบาทสำคัญในยุทธการที่เกนส์บะระในสงครามกลางเมืองอังกฤษ วิลละบีสนับสนุนฝ่ายรัฐสภาในระยะแรกของสงครามแต่ต่อมาเปลี่ยนข้างไปเป็นฝ่ายกษัตริย์นิยม และต่อมาก็เข้ารับราชการเป็นข้าหลวงของอาณานิคมอังกฤษสองครั้งในแคริบเบียน ฟรานซิส วิลละบีเกิดที่แพรัมในเทศมณฑลซัฟฟอล์ก ราว ค.ศ. 1605 เป็นบุตรของวิลเลียม วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 3 แห่งแพรัม และฟรานซ์ แมนเนอส์ บุตรสาวของจอห์น แมนเนอส์ เอิร์ลที่ 4 แห่งรัตแลนด์แห่งนอตติงแฮม บิดาของฟรานซิสเสียชืวิตเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และฟรานซิส วิลละบี บารอนวิลละบีที่ 5 แห่งแพรัม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2078

ทธศักราช 2078 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1535 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2078 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2145

ทธศักราช 2145 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2145 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2147

ทธศักราช 2147 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2147 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2149

ทธศักราช 2149 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2149 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2150

ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2150 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2151

ทธศักราช 2151 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2151 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2152

ทธศักราช 2152 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2152 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2198

ทธศักราช 2198 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพ.ศ. 2198 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และพระเจ้าอะเนาะเพะลูน · ดูเพิ่มเติม »

กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์

แสดงกฎ 3 ข้อของเคปเลอร์ที่มีวงโคจรดาวเคราะห์ 2 วง (1) วงโคจรเป็นวงรีด้วยจุดโฟกัส ''f1'' และ ''f2'' สำหรับดาวเคราะห์ดวงแรกและ ''f1'' และ ''f3'' สำหรับดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ดวงอาทิตย์อยู่ที่จุด ''f1'' (2) ส่วนแรเงา 2 ส่วน ''A1'' และ ''A2'' มีผิวพื้นเท่ากันและเวลาที่ดาวเคราะห์ 1 ทับพื้นที่ ''A1'' เท่ากับเวลาที่ทับพื้นที่ ''A2''. (3) เวลารวมของวงโคจรสำหรับดาวเคราะห์ 1 และดาวเคราะห์ 2 มีสัดส่วนเท่ากับ a1^3/2:a2^3/2. กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเคปเลอร์ (Kepler's laws of planetary motion) คือกฎทางคณิตศาสตร์ 3 ข้อที่กล่าวถึงการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ โยฮันเนส เคปเลอร์ (พ.ศ. 2114 – พ.ศ. 2173) เป็นผู้ค้นพบ เคปเลอร์ได้ศึกษาการสังเกตการณ์ของนักดาราศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงชาวเดนมาร์กชื่อไทโค บราห์ (Tycho Brahe) โดยประมาณ พ.ศ. 2148 เคปเลอร์พบว่าการสังเกตตำแหน่งของดาวเคราะห์ของบราห์เป็นไปตามกฎง่ายๆ ทางคณิตศาสตร์ กฎของเคปเลอร์ท้าทายดาราศาสตร์สายอริสโตเติลและสายทอเลมีและกฎทางฟิสิกส์ในขณะนั้น เคปเลอร์ยืนยันว่าโลกเคลื่อนที่เป็นวงรีมากกว่าวงกลม และยังได้พิสูจน์ว่าความเร็วการเคลื่อนที่มีความผันแปรด้วย ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ทางดาราศาสตร์และฟิสิกส์ อย่างไรก็ดี คำอธิบายเชิงฟิสิกส์เกี่ยวกับพฤติกรรมของดาวเคราะห์ก็ได้ปรากฏชัดเจนได้ในอีกเกือบศตวรรษต่อมา เมื่อไอแซก นิวตันสามารถสรุปกฎของเคปเลอร์ได้ว่าเข้ากันกับกฎการเคลื่อนที่และกฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตันเองโดยใช้วิชาแคลคูลัสที่เขาคิดสร้างขึ้น รูปจำลองแบบอื่นที่นำมาใช้มักให้ผลผิดพล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

มิเกล เด เซร์บันเตส

มิเกล เด เซร์บันเตส ซาอาเบดรา (Miguel de Cervantes Saavedra; 29 กันยายน ค.ศ. 1547 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นนักเขียนชาวสเปน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และมิเกล เด เซร์บันเตส · ดูเพิ่มเติม »

ยะมะอุชิ ชิโยะ

ท่านเคนโชอินหรือยะมะอุชิ ชิโยะ ยะมะอุชิ ชิโยะ (見性院 โรมาจิ: Yamauchi Chiyo) (1557- 31 ธันวาคม ค.ศ. 1617) หรือ เค็นเซียวอิง (Kensyoin) เป็นภรรยาของ ยะมะอุชิ คะซุโตะโยะ ไดเมียวคนแรกของ แคว้นโทะสะ ชิโยะเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1557 โดยพ่อของนางเป็นซามูไรแต่ถูกฆ่าตายพร้อมภรรยาทำให้นางกำพร้าพ่อแม่ตั้งแต่เด็กต่อมานางได้หนีมาเจอกับคะซุโตะโยะในวัยหนุ่มและเขาได้พานางไปรับใช้แม่ของเขาต่อมาแม่ของคะซุโตะโยะได้จัดงานแต่งงานให้กับเขาและชิโยะที่โตเป็นสาวแล้วเมื่อสามีของนางถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1605 เธอก็ได้ออกบวชเป็นแม่ชีในฉายาว่า ท่านเคนโชอิน นานถึง 12 ปี ชิโยะสิ้นชีวิตเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1617 ขณะอายุประมาณ 60 ปี หมวดหมู่:ตระกูลยะมะอุชิ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และยะมะอุชิ ชิโยะ · ดูเพิ่มเติม »

ยะมะอุชิ ทะดะโยะชิ

ยะมะอุชิ ทะดะโยะชิ (1592-1665) เป็นไดเมียวคนที่ 2 แห่งแคว้นโทะซะสืบต่อจาก ยะมะอุชิ คะซุโตะโยะ ผู้เป็นลุงและพ่อบุญธรรม ยะมะอุชิ ทะดะโยะชิเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1592 เป็นบุตรชายของ ยะมะอุชิ ยะสึโตะโยะ น้องชายของท่านคะซุโตะโยะต่อมาได้ถูกท่านคะซุโตะโยะรับเป็นบุตรบุญธรรมเพราะท่านมีแต่ลูกสาวที่เสียชีวิตไปแล้วและมีลูกบุญธรรมคนหนึ่งแต่เป็นลูกใครก็ไม่รู้และได้บวชเป็นพระไปแล้วหลังจากที่ท่านคะซุโตะโยะถึงแก่อสัญกรรมในปี 1605 ทะดะโยะชิวัยเพียง 13 ปีจึงขึ้นเป็นไดเมียวสืบต่อมาโดยมียะสึโตะโยะพ่อแท้ๆปฏิบัติหน้าที่แทนจนถึงวัยที่ทะดะโยะชิสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ซึ่งตอนยังเป็นทายาททางการเมืองนั้นโชกุน อิเอะยะสุ ได้ยกบุตรสาวบุญธรรมให้มาแต่งงานเป็นภรรยาของทะดะโยชิทำให้ตระกูลยะมะอุชิกลายเป็นเครือญาติกับ ตระกูลโทะกุงะวะ ยะมะอุชิ ทะดะโยะชิถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี 1665 ด้วยวัย 65 ปีหลังจากดำรงตำแหน่งยาวนานถึง 50 ปี หมวดหมู่:ไดเมียว หมวดหมู่:ตระกูลยะมะอุชิ หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นโทะซะ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และยะมะอุชิ ทะดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุโขทัย

ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และราชวงศ์สุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ

รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ ผู้เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญของประเทศอิตาลีในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และรายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย

ักรพรรดิแห่งรัสเซีย หรือที่มักเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าพระเจ้าซาร์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองอาณาจักรซาร์รัสเซีย และจักรวรรดิรัสเซีย โดยนับตั้งแต่ ค.ศ. 1721 จะทรงใช้พระยศว่า "จักรพรรดิ" จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายคือ จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 โดยนับตั้งแต่การยกฐานะเป็นจักรวรรดิมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นแกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1809 - ค.ศ. 1917, พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1916.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และรายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ

ลำดับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาของอังกฤษ (Timeline of the English Reformation) เหตุการณ์ข้างล่างนี้เป็นเหตุการณ์ที่มีส่วนเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษจากโรมันคาทอลิกมาเป็นนิกายเชิร์ชออฟอิงแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพะโคะ

วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน จังหวัดสงขลา วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่ บริเวณเขาพัทธสิงค์ หมู่ที่ 6 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และวัดพะโคะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11 (Leo XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1605 ประสูติเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1535 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1605 รวมพระชนมายุได้ 69 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2078 ลีโอที่ 11 หมวดหมู่:ตระกูลเมดิชิ หมวดหมู่:บุคคลจากฟลอเรนซ์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 (อังกฤษ: Paul V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1605 ถึง ค.ศ. 1621 ประสูติเมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1552 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1621 รวมพระชนมายุได้ 68 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2095 ปอลที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 8 (อังกฤษ: Clement VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1592 ถึง ค.ศ. 1605 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2079 คลีเมนต์ที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งพิมพ์รายคาบ

งพิมพ์รายคาบ หมายถึง สิ่งพิมพ์เย็บเล่มที่มีกำหนดออกระบุไว้แน่นอนและต่อเนื่อง มีกำหนดระยะเวลาออกไว้แน่นอนและสม่ำเสมอ เช่น ทุก 1 เดือน (รายเดือน) ทุก 15 วัน (รายปักษ์) ทุก 7 วัน (รายสัปดาห์) เนื้อหาในเล่มประกอบไปด้วยบทความต่างๆ เรื่องราวที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ บางเรื่องจบในฉบับแต่บางเรื่องลงต่อเนื่องกันไปหลายฉบับ เนื้อเรื่องภายในเล่มอาจจะจำกัดขอบเขตตามแขนงวิชาใดวิชาหนึ่ง หรืออาจจะเป็นเรื่องทั่วๆ ไปแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และสิ่งพิมพ์รายคาบ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโมลุกกะ

หมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) หรือ หมู่เกาะมาลูกู (Maluku Islands) เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย ทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกหมู่เกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่วนยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคู ข้าว และเครื่องเทศต่าง ๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดิมโดยเฉพาะบนเกาะบันดา แต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่ 17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 ถึงปี พ.ศ. 2542 มาลูกูเหนือและฮัลมาเฮรากลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด คือ มาลูกู (Maluku) และมาลูกูเหนือ (North Maluku) ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และหมู่เกาะโมลุกกะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาดรียาน เบราเวอร์

อาดรียาน เบราเวอร์ (Adriaen Brouwer; ค.ศ. 1605 - มกราคม ค.ศ. 1638) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เบราเวอร์ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันทำงานส่วนใหญ่ในฟลานเดอส์และสาธารณรัฐดัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออมก๋อย

อมก๋อย (30px) เป็นอำเภอหนึ่งใน 25 อำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางใต้สุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน และตาก อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสวยงามหลายแห่ง เช่น ดอยม่อนจอง ดอยมูเซอ วัดแสนทอง ซึ่งเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองอมก๋อย เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และอำเภออมก๋อย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ผู้ตาย

อนุสรณ์ผู้ตาย หรือ รูปสัญลักษณ์ผู้ตาย หรือ หุ่นพยนต์ (EffigyMerriam-Webster, Definition of Effigy) คือรูปสัญลักษณ์ที่ใช้แทนผู้ตายซึ่งมักจะเป็นรูปปั้นหรือรูปสลักจากหินหรือไม้ รูปสัญลักษณ์มักจะเป็นรูปเต็มตัวของผู้ตายที่มักจะตั้งอยู่ภายในวัดคริสต์ศาสนา อนุสรณ์ผู้ตายแตกต่างจาก “อนุสรณ์ที่เก็บศพ” ตรงที่อนุสรณ์ผู้ตายจะเป็นเพียงสิ่งที่สร้างแทนผู้ตายโดยไม่มี่ร่างของผู้ตายฝังอยู่ด้วยเช่นอนุสรณ์ที่เก็บศพ โดยทั่วไปรูปสัญลักษณ์ที่ทำจะเป็นร่างนอนหงายพนมมือ หรือบางครั้งอาจจะคุกเข่าหรือยืนสวดมนต์ ในบางครั้งอนุสรณ์ผู้ตายจะเป็นเพียงครึ่งตัว เช่นเหรียญที่มีภาพอับราฮัม ลิงคอล์นครึ่งตัว รูปสัญลักษณ์ผู้ตายอาจจะใช้ในพิธีทางศาสนาเพื่อแทนผู้ที่ไม่เป็นที่นิยม เช่นการเผารูปเพื่อแสดงถึงการกำจัดผู้ตาย เช่นในอังกฤษจะมีการเผารูปสัญลักษณ์ที่ทำจากฟางหรือเศษวัสดุเป็นรูปกาย ฟอคส์ (Guy Fawkes) ทุกวันที่ 5 พฤศจิกายนของทุกปี เพี่อเป็นการระลึกถึงกาย ฟอคส์ผู้มีส่วนในการวางการคบคิดระเบิดรัฐสภาอังกฤษ (Gunpowder Plot) โดยผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกเพื่อจะพยายามกำจัดพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1605 แต่ไม่สำเร็.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และอนุสรณ์ผู้ตาย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชะฮันคีร์

นูรุดดีน สะลีม ชะฮันคีร์ (نورالدین سلیم جهانگیر, ราชสมภพ 20 กันยายน ค.ศ. 1569 - สวรรคต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1627) พระปรมาภิไธย นูรุดดีน มาจากภาษาอาหรับที่มีความหมายว่า แสงแห่งศรัทธา ส่วนชะฮันคีร์ มาจากภาษาเปอร์เซียที่มีความหมายว่า ผู้พิชิตโลก สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กับพระนางโชธาพาอี ทรงครองราชย์สมบัติต่อจากพระชนกในปี ค.ศ. 1605 เมื่อมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงก่อการกบฏต่อพระบิดาหลายครั้ง แต่ก็ได้รับพระราชทานอภัยโทษดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และจักรพรรดิชะฮันคีร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Rudolf II, Holy Roman Emperor) (18 กรกฎาคม ค.ศ. 1552 - 20 มกราคม ค.ศ. 1612) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครอจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1576 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1612 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ มาเรียแห่งสเปน รัชสมัยของพระองค์สรุปได้เป็นสามประการHotson, 1999.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอักบัร

ญะลาล อุดดีน มุฮัมมัด อักบัร (جلال الدین محمد اکبر; Jalaluddin Muhammad Akbar, 24 ตุลาคม พ.ศ. 2085 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2248) หรือที่รู้จักในชื่อ อักบัรมหาราช (Akbar the Great) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2099 ถึง พ.ศ. 2148 ด้วยการให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา พระองค์จึงถือเป็นกษัตริย์มุสลิมที่อยู่ในใจประชาชนอินเดียตลอดมา จักรพรรดิอักบัรเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิหุมายุน พระองค์ได้ประสูติกาล ณ รัฐสินธุ์ ขณะที่พระราชบิดาเสด็จหนีไปยังเปอร์เซีย พระองค์ได้ครองราชย์ต่อจากพระบิดาในปี พ.ศ. 2099 ขณะที่มีพระชนมายุเพียง 13 ปีเศษ พระองค์เคยย้ายเมืองหลวงไปยังเมืองลัคเนาเป็นเวลา 13 ปี มีพระสหายคู่พระทัยชาวฮินดูคือ ราชามานสิงห์ ในรัชกาลของพระองค์ทรงได้ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา และไม่บีบบังคับให้ศาสนิกอื่นให้เข้ามานับถือศาสนาอิสลามเช่นดังรัชกาลก่อน โดยทรงยกเลิกกฎเชซิยะห์ ซึ่งเป็นกฎหมายให้ผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามต้องจ่ายภาษีสูงกว่าดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และจักรพรรดิอักบัร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน

อนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน (El ingenioso hidalgo don Quixote de la Mancha)ซาเบดฺร้า, มิเกล๎ เด เซร๎บันเต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1605

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1605 ในประเทศพม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และประเทศพม่าใน ค.ศ. 1605 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซียใน ค.ศ. 1605

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1605 ในประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และประเทศรัสเซียใน ค.ศ. 1605 · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเยโรมรำพึงธรรม (การาวัจโจ)

นักบุญเจอโรมภาวนา (Saint Jerome in Meditation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สำนักสงฆ์ซานตามาเรีย, มอนเซอร์รัตในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมภาวนา” เขียนราว ค.ศ. 1605 นักบุญเจอโรมผู้ปฏิบัติตัวเป็นฤๅษีเป็นหนึ่งในคริสต์ศาสนปราชญ์และเป็นผู้รับผิดชอบในการแปลพระคัมภีร์ไบเบิลมาเป็นภาษาละติน (คัมภีร์ไบเบิลภาษาละติน (Vulgate)) และเป็นนักบุญที่นิยมกันในสมัยของคาราวัจโจ และคาราวัจโจเองก็เขียนภาพนักบุญเจอโรมถึงแปดภาพแต่เหลืออยู่เพียงสามภาพ แต่สาเหตุที่วาดไม่เป็นที่ทราบว่าเป็นการเลือกหัวข้อเองหรือผู้อุปถัมภ์เป็นผู้เลือก แต่เป็นหัวข้อการวาดที่ทำให้คาราวัจโจได้เรียนรู้ถึงการวาดภาพผู้มีอายุ - ของผิวหนังที่ผ่านจากวัยหนุ่มไปเป็นผิวหนังที่เหี่ยวย่น ในภาพนี้นักบุญเจอโรมพิเคราะห์หัวกะโหลกซึ่งเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของท่าน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความตายที่จะมาถึงอย่างเลี่ยงไม่ได้ และความไร้สาระของวัตถุทางโลก ภาพเขียนอาจจะมาจากงานสะสมของวินเชนโซ จุสตินิอานินายธนาคารผู้อุปถัมภ์ของคาราวัจโจและพี่คาร์ดินัลเบเนเดตโต เบเนเดตโตสะสมงานหลายชิ้นของคาราวัจโจที่รวมทั้งภาพนักบุญเจอโรมที่มีขนาดเดียวกับภาพนี้ที่อยู่ในรายชื่องานสะสมของจุสตินิอานิในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และนักบุญเยโรมรำพึงธรรม (การาวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ)

นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ หรือ นักบุญเจอโรมแปลพระคัมภีร์ (Saint Jerome Writing) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1605 ถึงปี ค.ศ. 1606 เป็นภาพที่เปรียบเทียบได้กับภาพ “นักบุญเจอโรมวิปัสสนา” (พิพิธภัณฑ์สำนักสงฆ์ซานตามาเรีย, มอนเซอร์รัต) ที่เขียนในช่วงเวลาเดียวกัน และภาพในหัวข้อเดียวกันที่เขียนหลังจากนั้น “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (วาเล็ตตา)” ในขณะที่ฝ่ายโปรเตสแตนต์ต้องการจะแปลพระคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาท้องถิ่นเพื่อเป็นการเผยแพร่พระวจนะของพระเจ้าแก่บรรดาผู้นับถือคริสต์ศาสนาโดยทั่วไป ฝ่ายโรมันคาทอลิกก็พยายามในการต่อสู้เพื่อที่ให้เหตุผลในการสนับสนุนการรักษาการใช้ภาษาละตินที่แปลโดยนักบุญเจอโรมในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ต่อไป นักบุญเจอโรมได้ทำการรับศีลจุ่มจากพระสันตะปาปาองค์หนึ่ง, ได้รับมอบหน้าที่ให้เป็นผู้แปลโดยพระสันตะปาปาอีกองค์หนึ่ง และประกาศว่านักบุญปีเตอร์เป็นพระสังฆราชองค์แรกของโรม นักบุญเจอโรมเป็นผู้มีอิทธิพลมากที่สุดองค์หนึ่งในบรรดาคริสต์ศาสนปราชญ์ในการต่อต้านผู้นอกศาสนา ในการโจมตีลัทธินิยมนักบุญ และในการจำกัดการเรียนรู้ภาษาละตินให้อยู่ในวงของผู้มีการศึกษา ฉะนั้นภาพนี้จึงเป็นภาพที่เหมาะสมในการภาพแรกที่สคิปิโอเน บอร์เกเซซื้อไม่นานหลังจากที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคาร์ดินัลในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และนักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์ซันตามาเรียเดลลาวิตโตเรีย

้านหน้าโบสถ์ซันตามาเรียเดลลาวิตโตเรีย โบสถ์ซันตามาเรียเดลลาวิตโตเรีย หรือโบสถ์แม่พระแห่งชัย (Chiesa di Santa Maria della Vittoria) เป็นโบสถ์บาซิลิกาขนาดเล็กแห่งหนึ่งในกรุงโรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และโบสถ์ซันตามาเรียเดลลาวิตโตเรีย · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ

ทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ เป็นโชกุนคนที่ 2 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1579 หลังจากผู้เป็นบิดาได้ลงจากตำแหน่งโชกุนในปี ค.ศ. 1605 ท่านจึงขึ้นดำรงตำแหน่งสืบต่อมาขณะอายุได้เพียง 26 ปี ในสมัยของท่านตระกูลโทะกุงะวะสามารถขยายอำนาจออกไปได้อย่างกว้างขวาง และลงจากอำนาจในปี ค.ศ. 1623 ขณะอายุได้ 44 ปีแต่ก็ยังทรงอิทธิพลอยู่ก่อนจะที่จะเสียชีวิตลงในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1632 ขณะอายุได้ 53 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และโทกูงาวะ ฮิเดตาดะ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2148และ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1605

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »