โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2113

ดัชนี พ.ศ. 2113

ทธศักราช 2113 ใกล้เคียงกั.

27 ความสัมพันธ์: ฟรันเชสโก ปรีมาติชโชฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์มพ.ศ. 2029รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียนรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อทุพภิกขภัยรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามจักรพรรดิเวียดนามรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามซาปา อินคารายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กวอน (สกุลเงินเกาหลีเหนือ)สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571)สงครามศาสนาของฝรั่งเศสหมู่เกาะกาลาปาโกสหลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูงอะซะอิ นะงะมะซะอันนาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนและโปรตุเกสอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)จังหวัดเพชรบุรีทิเชียนคริสต์ศตวรรษที่ 16แคทเธอรีน เดอ เมดีชีโฮโจ อุจิมะซะเกราะญี่ปุ่นเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา

ฟรันเชสโก ปรีมาติชโช

ฟรันเชสโก ปรีมาติชโช (Francesco Primaticcio) (30 เมษายน ค.ศ. 1504 - ค.ศ. 1570) เป็นจิตรกร, ประติมากร และ สถาปนิกชาวอิตาลีแบบแมนเนอริสม์ของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ในฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และฟรันเชสโก ปรีมาติชโช · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม

ียนลายเส้นโดยอิสราเอล ซีลแว็สทร์ มุมมองไปที่ปราสาทเนิฟแห่งเมอดง หนึ่งในงานออกแบบของเดอ ลอร์ม ที่อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมในช่วงร้อยปีหลังจากที่ได้รับการก่อสร้าง ฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert de l'Orme; ค.ศ. 1510 – 8 มกราคม ค.ศ. 1570) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส เป็นปรมาจารย์ผู้หนึ่งแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ฟีลีแบร์เกิดที่เมืองลียง เป็นลูกของเฌออ็อง เดอ ลอร์ม ซึ่งเป็นสถาปนิกเช่นกัน และพยายามสั่งสอนให้ลูกชายให้เข้าสู่วิชาชีพเดียวกัน ฟีลีแบร์ถูกส่งไปร่ำเรียนที่อิตาลี (ค.ศ. 1533–1536) เมื่อเรียนจบได้ถูกจ้างเข้าทำงานโดยสมเด็จพระสันตปาปาพอลที่ 3 พอได้กลับมาที่ฝรั่งเศสก็ได้มาทำงานกับพระคาร์ดินัล ดูว์ แบแลแห่งลียง (Cardinal du Bellay) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2029

ทธศักราช 2029 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และพ.ศ. 2029 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน

ูบทความหลักที่ ทิเชียน รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน เป็นรายการภาพเขียนที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์อิตาลีแบบเวนิส รายการข้างล่างนี้เป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ (และอาจจะรวมทั้งงานเขียนที่ไม่ได้ระบุเป็นการแน่นอนว่าเป็นของทิเชียน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม

้านล่างนี้คือ รายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายพระนามจักรพรรดิเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามสมเด็จพระราชินี, สมเด็จพระราชินีนาถ และ เจ้าฟ้าชายพระราชสวามีแห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามซาปา อินคา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายพระนามซาปา อินคา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

วอน (สกุลเงินเกาหลีเหนือ)

วอน คือสกุลเงินที่เกาหลีเหนือใช้เป็นสกุลเงินในปัจจุบัน ซึ่ง 1000 วอน เทียบเป็นเงินไทยประมาณ 35 บาท มีธนบัตรเพียง 9 แบบเท่านั้น คือ ธนบัตรใบละ 5 วอน ธนบัตรใบละ 10 วอน ธนบัตรใบละ 50 วอน ธนบัตรใบละ 100 วอน ธนบัตรใบละ 200 วอน ธนบัตรใบละ 500 วอน ธนบัตรใบละ 1000 วอน ธนบัตรใบละ 2000 วอน และ ธนบัตรใบละ 5000 วอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และวอน (สกุลเงินเกาหลีเหนือ) · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571)

งของ “สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์” ที่ใช้ในยุทธการที่เลปันโต สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (Holy League) ของปี ค.ศ. 1571 คือกลุ่มรัฐโรมันคาทอลิกที่มีทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เพื่อต่อต้านอิทธิพลของจักรวรรดิออตโตมันในบริเวณทางตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 5 ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1571 สมาชิกของสันนิบาตประกอบด้วยรัฐสันตะปาปา ราชอาณาจักรสเปน เนเปิลส์ และซิซิลีของฮับส์บูร์ก สาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐเจนัว แกรนด์ดัชชีทัสกานี ดัชชีซาวอย ดัชชีปาร์มา ดัชชีอูร์บีโน และอัศวินแห่งมอลตา รัฐต่าง ๆ เหล่านี้มีกองเรือประเภทต่างๆ ด้วยกันทั้งหมดด้วยกัน 300 ลำ ทหารราบ 50,000 คน และทหารม้า 4,500 คน และมีปืนที่พร้อมที่จะต่อสู้ในวันที่ 1 ของทุกปี โดยมีเจ้าชายจอห์นแห่งออสเตรีย พระอนุชาต่างพระมารดาในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน เป็นผู้บังคับบัญชาการสูงสุด ทุนทรัพย์ในการบำรุงกองเรือมาจากรัฐสันตะปาปา สเปน และสาธารณรัฐเวนิส สันนิบาตศักดิ์สิทธิ์เปิดโอกาสการเป็นสมาชิกแก่จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ฝรั่งเศส และโปรตุเกส แต่ไม่มีผู้ใดเข้าร่วม จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ประสงค์ที่จะรักษาสันติภาพกับอิสตันบุล ขณะที่ฝรั่งเศสเป็นพันธมิตรกับออตโตมันในการต่อต้านอิทธิพลของกลุ่มพันธมิตรสเปน และโปรตุเกสมัวแต่ยุ่งอยู่กับโมร็อกโกและการเผชิญความขัดแย้งโดยตรงกับออตโตมันในทะเลแดงและมหาสมุทรอินเดียซึ่งทำให้ไม่มีกำลังพอที่ส่งคนไปช่วยสันนิบาตได้ สันนิบาตเริ่มด้วยการรวมกองทัพเรือเข้าด้วยกันเพื่อช่วยเวนิสต่อต้านการรุกรานของออตโตมันที่นำโดยลาลา คารา มุสตาฟา ปาชาในไซปรัสในเดือนกรกฎาคมปี ค.ศ. 1570 แต่ไปถึงไม่ทันที่จะช่วยให้ไซปรัสรอดจากการยึดครองโดยออตโตมัน แต่เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1571 สันนิบาตก็สามารถได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดต่อกองทัพเรือของออตโตมันในยุทธการที่เลปันโต ริมฝั่งทะเลทางด้านตะวันตกของกรีซ หลังจากการลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกในปี ค.ศ. 1573 แล้วสันนิบาตก็สิ้นสุดลง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1571) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามศาสนาของฝรั่งเศส

หตุการณ์สังหารหมู่วันเซนต์บาร์โธโลมิว สงครามศาสนาของฝรั่งเศส (French Wars of Religion) เป็นสงครามกลางเมืองฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ. 1562 ถึง ค.ศ. 1598 ระหว่างฝ่ายคาทอลิก นำโดยตระกูลกีส (Guise) กับกลุ่มอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศส นำโดยตระกูลบูร์บง ผลคือฝรั่งเศสเปลี่ยนราชวงศ์ใหม่จากราชวงศ์วาลัวส์ เป็นราชวงศ์บูร์บง และเสรีภาพทางศาสนาของผู้นับถือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศสตามพระราชกฤษฎีกาแห่งนองซ์ออกโดยพระเจ้าอองรีที่ 4.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะกาลาปาโกส

แผนที่โลกแสดงภาพหมู่เกาะกาลาปาโกส ห่างจากชายฝั่งอเมริกาใต้ไปทางตะวันตก อยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร หมู่เกาะกาลาปาโกส (Islas Galápagos; Galápagos Islands) เป็นหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก มีความน่าสนใจทั้งด้านธรณีวิทยา สัตววิทยา และนิเวศวิทยาเป็นอย่างยิ่ง เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเอกวาดอร์ โดยมีชื่อภาษาสเปนอย่างเป็นทางการว่า กลุ่มเกาะโกลอน (Archipiélago de Colón; Islas de Colón) ตั้งอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ห่างจากทวีปออกไปทางตะวันตก 1,000 กิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และหมู่เกาะกาลาปาโกส · ดูเพิ่มเติม »

หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง

หลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง (Humayun's Tomb; ہمایوں کا مقبرہ, Humayun ka Maqbara) เป็นสุสานหลวงที่บรรจุพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูงแห่งจักรวรรดิโมกุล โดยผู้กำกับดูแลการก่อสร้างได้แก่พระมเหสีพระองค์แรกของพระองค์ ซึ่งมีพระนามว่า "พระนางเบกา เบกุม" สร้างในระหว่างปีค.ศ. 1569 - ค.ศ. 1570 ออกแบบโดยมิรัก มีร์ซา กียัท (Mirak Mirza Ghiyath) สถาปนิกชาวเปอร์เซีย ซึ่งจัดว่าเป็นสุสานและสวนแห่งแรกบนอนุทวีปอินเดีย World Heritage Committee, UNESCO.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และหลุมฝังพระบรมศพของจักรพรรดิหุมายูง · ดูเพิ่มเติม »

อะซะอิ นะงะมะซะ

อะซะอิ นะงะมะซะ อะซะอิ นะงะมะซะ เป็นไดเมียว ที่ใน ยุคเซ็งโงะกุ ครอบครองอยู่แถบจังหวัดโอม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และอะซะอิ นะงะมะซะ · ดูเพิ่มเติม »

อันนาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนและโปรตุเกส

อันนาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนและโปรตุเกส (Ana de Austria; Ana de Áustria) (1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1549 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1580) เจ้าหญิงอันนาแห่งออสเตรียประสูติเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1549 ในสเปนแต่ทรงเติบโตขึ้นในกรุงเวียนนาตั้งแต่พระชนมายุได้สี่พรรษา พระองค์เป็นพระธิดาองค์โตในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และอาร์คดัชเชสมาเรียแห่งออสเตรีย อันนาแห่งออสเตรียเป็นพระอัครมเหสีองค์ที่สี่ในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และอันนาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนและโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ภาษาอังกฤษ: Allegory of Prudence) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติใน กรุงลอนดอนในอังกฤษ ทิเชียนเขียนภาพ “อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ” ระหว่างปี ค.ศ. 1565 ถึงปี ค.ศ. 1570 เป็นภาพศีรษะชายสามศีรษะหันหน้ากันไปสามทางเหนือสัตว์สามชนิด จากซ้ายเป็นหมาป่า, สิงห์โต และหมา ศีรษะชายสามคนเป็นอุปมานิทัศน์หรือสัญลักษณ์ของ “ชีวิตสามช่วงของมนุษย์” (ความเป็นหนุ่ม, ความเป็นผู้ใหญ่ และ ความมีอายุ) ซึ่งคล้ายกับการวางท่าของสฟิงซ์และต่อมาบรรยายโดยอริสโตเติล ใบหน้าของแบบเชื่อกันว่าเป็นภาพของทิเชียนเอง, โอราซิโอลูกชาย และหลานมาร์โค เวเชลลิโอซึ่งเช่นเดียวกับโอซาริโอ ทั้งสองคนพำนักและทำงานอยู่กับทิเชียน ทิเชียนเขียนภาพเหมือนตนเองอีกภาพหนึ่งในปี ค.ศ. 1567 ซึ่งใช้เป็นภาพที่ใช้เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของทิเชียนกับภาพนี้ นอกจากนั้นใบหน้านี้ยังปรากฏในภาพเขียนของทิเชียนในสมัยเดียวกันอีกหลายภาพ ภาพนี้เป็นภาพเดียวที่ทิเชียนเขียนคำขวัญ: “EX PRAETERITO/PRAESENS PRUDENTER AGIT/NE FUTURA ACTIONẼ DETURPET” (จาก(ประสบการณ์ใน)อดีต, ปฏิบัติอย่างรอบคอบในปัจจุบัน, ไม่ทำลายอนาคต) เออร์วิน พานอฟสกีตีความหมายในความสัมพันธ์ของใบหน้าทั้งสามในภาพเขียนว่าเมื่อทิเชียนได้รับความสำเร็จในปี ค.ศ. 1569 ในการที่สามารถโอนใบ “Senseria” ซึ่งเป็นใบลิขสิทธิ์ที่ได้รับจากซินยอเรีย (Signoria) ให้แก่ลูกชายได้ ฉะนั้นทิเชียนจึงกลายเป็นอดีต, โอราซิโอเป็นสัญลักษณ์ของปัจจุบัน และ ความไม่มีหลาน, มาร์โคจึงเป็นสัญลักษณ์ของอนาคต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 16

ริสต์ศตวรรษที่ 16 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึง ค.ศ. 1600 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ สเปนและโปรตุเกสได้มีการเดินเรือเพื่อออกไปสำรวจสถานที่ต่างๆ หลังจากที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และคริสต์ศตวรรษที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และแคทเธอรีน เดอ เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

โฮโจ อุจิมะซะ

อุจิมะซะ โฮโจ อุจิมะซะ เป็นไดเมียวที่ปกครองเขตคันโตของญี่ปุ่นในยุคเซงโงะก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และโฮโจ อุจิมะซะ · ดูเพิ่มเติม »

เกราะญี่ปุ่น

''เกราะญี่ปุ่นของซามูไรในสมัยโบราณ'' เกราะญี่ปุ่น คือเครื่องสวมใส่สำหรับป้องกันอันตรายจากอาวุธ ของนักรบซามูไรในสมัยโบราณและทหารเดินเท้า เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักรบ ซามูไร ในการต่อสู้ ถูกเรียกว่า จิตวิญญาณแห่งเหล็กกล้า เกราะญี่ปุ่น สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปประเภท คือ โยะโรย และ โดะมะรุ ซึ่ง โยะโรย คือเกราะสำหรับซามูไรขี่ม้า หรือแม่ทัพและไดเมียว ซึ่งลักษณะของเกราะจะมีน้ำหนักมากและมีแผงกำบังไหล่ สีสันฉูดฉาดสะดุดตา ส่วน โดะมะรุ คือเกราะสำหรับซามูไรเดินเท้า จะแตกต่างกับ โยะโรย ตรงที่เกราะจะมีน้ำหนักเบาและสวมพอดีตัวกับผู้สวมใส่ และสีสันค่อนข้างทึ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และเกราะญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

อลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Elisabeth of Austria) (5 กรกฎาคม ค.ศ. 1554 - 22 มกราคม ค.ศ. 1592) เอลิซาเบธแห่งออสเตรียเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสในพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 ระหว่างวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1570 ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1574 เอลิซาเบธประสูติเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1554 ที่เวียนนา ในประเทศออสเตรีย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิลเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และมาเรียแห่งสเปน จักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อประสูติมีพระอิสริยยศเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา

ตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา (อักษรธรรม: ᩈᩥ᩠ᨷᩈ᩠ᩋᨦᨻᩢ᩠ᨶᨶᩣ ไทลื้อใหม่: ᦈᦹᧈᦈᦹᧈᦋᦵᦲᧁᦘᦱᦉᦱᦑᦺ᧑᧒ᦗᧃᦓᦱ) หรือชื่อย่อว่า ซีไต่ ตั้งอยู่ทางใต้สุดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีเมืองเอก คือ เมืองเชียงรุ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2113และเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1570

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »