โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2033

ดัชนี พ.ศ. 2033

ทธศักราช 2033 ใกล้เคียงกั.

18 ความสัมพันธ์: ชีวิตของพระนางพรหมจารีพระแม่มารีให้นม (ดา วินชี)ยุคมุโระมะชิราชวงศ์ฮาพส์บวร์คอะชิกะงะ โยะชิมะซะอะชิกะงะ โยะชิตะเนะอัลเบร็คท์ ดยุกแห่งปรัสเซียอาสนวิหารแรนอำเภอพิชัยอำเภอปายจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีทิลมัน รีเมนชไนเดอร์ทิเชียนแม่พระรับสารแห่งเชสเตลโลโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนีโมเสส ฮามอนโดเมนีโก กีร์ลันดาโยเจ้าฟ้าเสือหาญ

ชีวิตของพระนางพรหมจารี

ีวิตของพระแม่พรหมจารี (Life of the Virgin) หรือชีวิตของพระแม่มารี เป็นฉากชุดจากชีวิตของพระแม่มารีย์มารดาของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้เขียนภาพชุดในศิลปะคริสต์ศาสนามักจะเป็นชุดที่ประกอบกับหรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการเขียนก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี หนังสือวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และชีวิตของพระนางพรหมจารี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีให้นม (ดา วินชี)

ระแม่มารีให้นม (ภาษาอังกฤษ: Madonna Litta) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในสหพันธรัฐรัสเซีย เลโอนาร์โดเขียนภาพ “พระแม่มารีให้นม” ราวปี ค.ศ. 1490 เป็นภาพที่พระแม่มารีกำลังให้นมแก่พระบุตร แต่ท่าทางเก้งก้างของพระบุตรทำให้นักวิชาการบางท่านสันนิษฐานว่าบางส่วนของภาพอาจจะเขียนโดยโบลทราฟฟิโอผู้เป็นลูกศิษย์ของดา วินชี อีกข้อหนึ่งที่ทำให้สันนิษฐานว่าดา วินชีให้ลูกศิษย์เขียนให้เสร็จคือจากเส้นของของพระแม่มารีและพระบุตรดูแข็งกว่างานอื่นของดา วินชี และฉากหลังที่เรียบ ภาพ “พระแม่มารีให้นม” เป็นภาพที่เขียนให้กับตระกูลวิสคอนติประมุขแห่งมิลาน ต่อมาตกไปเป็นของตระกูลลิตตาที่เป็นเจ้าของต่อมาอีกหลายร้อยปี ในปี ค.ศ. 1865, ซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซียซื้อจากเคานท์ลิตตา และเก็บภาพไว้ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจที่เป็นที่ตั้งของภาพมาจนกระทั่งทุกวันนี้ ภาพเขียนปรากฏในภาพยนตร์ รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และพระแม่มารีให้นม (ดา วินชี) · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมุโระมะชิ

มุโระมะชิ ตรงกับค.ศ. 1336 - ค.ศ. 1568 ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 14 อะชิคะงะ โยะชิมิสึ ได้ปราบปรามชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบ และตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นอีกครั้งที่ เคียวโตะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนนี้ได้ปกครองญี่ปุ่นต่อมาเป็นเวลานานถึงสองศตวรรษเศษอันเป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบก็ได้กลืนวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองลงอย่างราบคาบเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลโชกุนของตระกูลอะชิคะงะ เกิดจากการรวมตัวของขุนศึกสำคัญ ๆ ตามหัวเมืองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นธรรมดาที่การรวบอำนาจให้รัฐบาลมีเสถียรภาพนั้นเป็นไปได้อย่างลำบาก ดังนั้นในครึ่งหลังศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ขุนศึกตามหัวเมืองต่าง ๆ จึงเริ่มทำสงครามแย่งชิงอำนาจกัน จนทั้งประเทศญี่ปุ่นตกเข้าสู่ยุคสงคราม ภายในยุคนี้เป็นยุคที่ชนชั้นนักรบมีอำนาจเหนือเกษตรกรและมีกรรมสิทธิเหนือที่ดินจึงเป็นการปกครองระบบศักดินาโดยสมบูรณ์ ด้านเศรษฐกิจก็เจริญรุ่งเรืองมาก เนื่องจากทำการค้ากับจีนสมัยหมิงด้านวัฒนธรรม ลัทธิเซนเป็นส่วนเพิ่มเติมให้กับวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองและชนชั้นนักรบ ซึ่งเห็นรูปแบบได้จากตำหนักทอง (Kinkaku) ในปลายศตวรรษที่ 14 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมคิตะยะมะ (Kitayama) และตำหนักเงิน (Ginkaku) ในปลายศตวรรษที่ 15 อันเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ (Higashiyama) การละคร อย่างเช่น โน เคียวเง็น และการต่อเพลง ก็เริ่มแพร่หลายสู่ประชาชนภายนอก ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่น อย่างเช่น พิธีชงชา การจัดดอกไม้ ก็เริ่มมีรากฐานมาจากยุคนี้ และในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 พวกฝรั่ง เช่น ชาติโปรตุเกส และสเปนก็ได้นำอาวุธปืนยาวและศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และยุคมุโระมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิมะซะ

อะชิกะงะ โยะชิมะซะ โชกุนคนที่ 8 แห่ง ตระกูลอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1449 ถึง ค.ศ. 1473 ในสมัยของโชกุนโยะชิมะซะได้ชื่อว่าเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความเสื่อมถอยของรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะจากเหตุการณ์สงครามโอนิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และอะชิกะงะ โยะชิมะซะ · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ โยะชิตะเนะ

อะชิกะงะ โยะชิตะเนะ (Ashikaga Yoshitane, 9 กันยายน ค.ศ. 1466 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1523) โชกุนคนที่ 10 แห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ดำรงตำแหน่งสมัยที่ 1 ระหว่างปีิ ค.ศ. 1490 - ค.ศ. 1495 และสมัยที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1508 - ค.ศ. 1522.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และอะชิกะงะ โยะชิตะเนะ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบร็คท์ ดยุกแห่งปรัสเซีย

อัลเบร็คท์ ดยุกแห่งปรัสเซีย (Albrecht von Preussen; Albert, Duke of Prussia) (17 พฤษภาคม ค.ศ. 1490 - 20 มีนาคม ค.ศ. 1568) อัลเบร็คท์เป็นเจ้าชายผู้คัดเลือกของ Grand Master of the Teutonic Knights และดยุกแห่งปรัสเซียตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และอัลเบร็คท์ ดยุกแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแรน

อาสนวิหารแรน (Cathédrale de Rennes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแรน (Cathédrale Saint-Pierre de Rennes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลแรน ตั้งอยู่ในเขตเมืองแรนในจังหวัดอีเลวีแลน แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และอาสนวิหารแรน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิชัย

อำเภอพิชัย เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พิชัยเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เคยเป็นเมืองลูกหลวงของกรุงสุโขทัย เมืองหน้าด่านในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเคยเป็นตัวจังหวัดเก่าอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และอำเภอพิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปาย

อำเภอปาย (25px) เป็นอำเภอขนาดเล็กทางตอนเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่รู้จักกันดีในด้านความงามของธรรมชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และอำเภอปาย · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์

ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์ (Tilman Riemenschneider) (ราว ค.ศ. 1460 - (7 กรกฎาคม ค.ศ. 1531) ทิลมัน รีเมนชไนเดอร์เป็นประติมากรและช่างสลักไม้คนสำคัญชาวเยอรมัน ที่ทำงานอยู่ที่เวือร์ซบูร์ก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1483 รีเมนชไนเดอร์เป็นประติมากรผู้มีความสามารถระหว่างสมัยคาบเกี่ยวระหว่างสมัยกอธิคและสมัยฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และทิลมัน รีเมนชไนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล

แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล (Annunciazione di Cestello) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซันโดร บอตตีเชลลี จิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟีซีที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “แม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1489 ถึง ค.ศ. 1490 ภาพนี้เป็นงานจ้างของคอนแวนต์เชสเตลโลในฟลอเรนซ์ (ปัจจุบันคือโบสถ์ซันตามาเรียมัดดาเลนาแห่งปัซซี (Santa Maria Maddalena de'Pazzi)) บอตตีเชลลีสามารถใช้ทัศนมิติในการมองลึกเข้าไปในโครงสร้างของห้องข้ามพื้นกระเบื้องตามแนวเส้นที่แคบลง ออกไปยังภูมิทัศน์ภายนอก ท่าทางที่อ่อนไหวอย่างมีชีวิตจิตใจของทั้งพระแม่มารีย์ขัดกับช่องไดนามิค (spatial dynamics) ที่ดึงสายตาไปยังฉากหลัง ลักษณะสามเหลี่ยมเริ่มจากชายเสื้อของทูตสวรรค์กาเบรียลต่อไปยังมือที่ยกขึ้น ขึ้นไปยังพระหัตถ์ของพระแม่มารีย์ที่ยกขึ้นขวางพระอุระ เครื่องทรงของทูตสวรรค์ที่จีบพับเป็นลอนใหญ่ทำให้มีความรู้สึกว่าเหมือนจะเพิ่งบินลงมา ทูตสวรรค์เกเบรียลคุกเข่าต่อหน้าพระแม่มารีย์เผยอปากพร้อมที่จะแจ้งสารที่เขียนเป็นภาษาละตินที่เขียนไว้บนกรอบเดิมว่า “พระจิตเจ้าจะเสด็จลงมาเหนือท่านและพระอานุภาพของพระผู้สูงสุดจะแผ่เงาปกคลุมท่าน” (ลูกา 1:35).

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และแม่พระรับสารแห่งเชสเตลโล · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

ปลทอร์นาบุโอนิ (Tornabuoni Chapel, Cappella Tornabuoni) เป็นชาเปลหลักหรือชาเปลของบริเวณร้องเพลงสวดอยู่ภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ที่เขียนโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาและห้องเขียนภาพระหว่างปี ค.ศ. 1485 ถึงปี ค.ศ. 1490.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี · ดูเพิ่มเติม »

โมเสส ฮามอน

มเสส ฮามอน (Moses Hamon) (ราว ค.ศ. 1490 - (ค.ศ. 1567) โมเสส ฮามอนชาวยิวเกิดในสเปนเป็นบุตรของโจเซฟ ฮามอน โมเสสย้ายไปคอนสแตนติโนเปิลกับบิดาและในที่สุดก็ได้เป็นนายแพทย์ประจำพระองค์ของสุลต่านสุลัยมานมหาราช และได้ติดตามพระองค์ไปทุกสมรภูมิและกลายเป็นคนโปรดเพราะความรู้ความสามารถ ฮามอนเป็นนักภาษาศาสตร์ผู้มีความสามารถในภาษาอาหรับ ภาษาตุรกี และภาษาเปอร์เซีย และเป็นผู้อุปถัมภ์การศึกษาเกี่ยวกับยิว ฮามอนมีงานเขียนในภาษาฮิบรูในคอนสแตนติโนเปิลในปี ค.ศ. 1515 และปี ค.ศ. 1516 และสร้างสถานศึกษาด้วยเงินทุนของตนเองในอิสตันบุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และโมเสส ฮามอน · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และโดเมนีโก กีร์ลันดาโย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าเสือหาญ

หนฟ้า หรือ เจ้าฟ้าเสือหาญ หรือ เจ้าหลวงเสือหาญฟ้า เป็นโอรสของสุแสนฟ้า ในสมัยของพระองค์ได้เกิดสงครามระหว่างอาหมกับชาวนาคะขึ้นใหม่ ถึงแม้ว่าพวกนาคะจะพ่ายแพ้อย่างย่อยยับในตอนแรก แต่ก็เกิดความปั่นป่วนในกองทัพอาหม บาร์ โกฮาอินซึ่งเป็นแม่ทัพถูกพวกทหารจับตัดหัว จนกองทัพต้องล่าถอยไป และ พ.ศ. 2033 ได้เกิดสงครามกับพวกกะฉารี ฝ่ายอาหมพ่ายแพ้ที่ดัมพุคบนฝั่งแม่น้ำทิขุ เสียแม่ทัพและทหาร 120 คน และยังมีบาดเจ็บอีกมาก ฝ่ายอาหมขอยุติสงครามโดยส่งเจ้าหญิงองค์หนึ่ง ช้าง 2 เชือก และนางกำนัล 11 คน เป็นบรรณาการถวายกษัตริย์กะฉารี สุเหนฟ้าถูกลอบปลงพระชนม์ใน พ.ศ. 2036 โดยชนเผ่าไทรุงบันหมู่หนึ่ง เนื่องจากคนเหล่านี้ถูกสุเหนฟ้าลงโทษในฐานขโมยข้าวจากท้องพระคลัง จึงแค้นสุเหนฟ้า ได้ฉวยโอกาสในขณะถูกเกณฑ์มาซ่อมพระราชวัง แทงสุเหนฟ้าจนสิ้นพระชนม์ บางเรื่องกล่าวว่า คนเหล่านี้ได้รับการยุยงจากบุรฮา โกฮาอิน สุเหนฟ้าทรงครองราชย์ได้ 5 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2033และเจ้าฟ้าเสือหาญ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1490

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »