โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1998

ดัชนี พ.ศ. 1998

ทธศักราช 1998 ใกล้เคียงกั.

27 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1940พ.ศ. 2056พระนางช็องฮีพระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)พระเจ้าทันจงพระเจ้าติโลกราชพระเจ้าเซโจมาเลเซียเชื้อสายไทยยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1ยุคแห่งการสำรวจรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กวัดโพธารามมหาวิหารศาสนาพุทธในประเทศไทยสมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5สงครามดอกกุหลาบอันเดรอา กริตติอาดัม คราฟท์ฮันส์ แม็มลิงจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีประวัติศาสตร์อังกฤษโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1เฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮมเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2เซ็สโซและคัมปะกุ

พ.ศ. 1940

ทธศักราช 1940 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพ.ศ. 1940 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2056

ทธศักราช 2056 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพ.ศ. 2056 · ดูเพิ่มเติม »

พระนางช็องฮี

มเด็จพระราชินีจองฮี (Hangeul:정희왕후, Hanja:貞熹王后, Revised Romanization: Jeonghui Wanghu) (8 ธันวาคม 1418 – 6 พฤษภาคม 1483) เป็นพระมเหสีของพระเจ้าเซโจกษัตริย์พระองค์ที่เจ็ดแห่งราชอาณาจักรโชซอนและยังเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าเยจงแห่งโชซอนกษัตริย์พระองค์ที่แปดแห่งราชอาณาจักรโชซอน ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระราชสวามีในปี ค.ศ. 1468 พระนางทรงขึ้นดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการให้กับพระราชโอรสในปี ค.ศ. 1468 ถึง ค.ศ. 1469 และยังทรงเป็นผู้สำเร็จราชการให้กับพระราชนัดดาซึ่งก็คือพระเจ้าซองจงแห่งโชซอนในปี ค.ศ. 1469 ถึง ค.ศ. 1477 พระนางทรงเป็นธิดาจากตระกูลยุนแห่งพาพยอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพระนางช็องฮี · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)

ูบทความหลักที่ พระเยซูถูกเฆี่ยน พระเยซูถูกเฆี่ยน (ภาษาอังกฤษ: Flagellation of Christ) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งมาร์เคที่เมืองเออร์บิโนในประเทศอิตาลี เปียโรเขียนภาพนี้ประมาณระหว่างปี ค.ศ. 1455 ถึงปี ค.ศ. 1460 นักเขียนผู้หนึ่งบรรยายภาพนี้ว่าเป็นภาพ “enigmatic little painting” องค์ประกอบของภาพต่างจากการวางองค์ประกอบภาพโดยทั่วไปและค่อนข้างซับซ้อน รูปสัญลักษณ์และความหมายในการสื่อเป็นเรื่องที่ถกเถียงทางทฤษฎีกันอย่างกว้างขวาง เค็นเน็ธ คล้าค (Kenneth Clark) นักประวัติศาสตร์ศิลปะนับภาพ “พระเยซูถูกเฆี่ยน” เป็นภาพหนึ่งในจำนวนภาพเขียนที่ดีที่สุดสิบภาพและเรียกว่าเป็น “ภาพเขียนเล็กที่ดีที่สุดในโลก”.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าทันจง

ระเจ้าดันจง (단종 端宗)(พ.ศ. 1984 ถึง พ.ศ. 2000) ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 6 ของราชวงศ์โชซอน (พ.ศ. 1995 ถึง พ.ศ. 1998) ขณะที่พระเจ้ามุนจงพระบิดาสิ้นพระชนม์นั้น พระเจ้าดันจงทรงอายุได้แค่ 12 ชันษา จึงต้องให้ฮวางโบอิน และ คิมจงซอ เป็นผู้สำเร็จราชการแทน แต่คิมจงซอนั้น ต้องการแผ่ขยายอำนาจในราชสำนัก จึงชนเข้ากับการขยายอำนาจขององค์ชายซูยัง และองค์ชายอันพยอง พระปิตุลา ในพ.ศ. 1996 องค์ชายซูยังก็ได้ทำการยึดอำนาจสังหารฮวางโบอินและคิมจงซอที่หน้าพระราชวังเคียงบก และได้สังหารองค์ชายอันพยองและใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพระเจ้าทันจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพระเจ้าติโลกราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซโจ

ระเจ้าเซโจ (세조 世祖) (ค.ศ. 1417 ถึง ค.ศ. 1468) กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1455 ถึง ค.ศ. 1468) เป็นกษัตริย์ที่ถูกประณามมากที่สุดพระองค์หนึ่งเพราะแย่งราชบัลลังก์มาจากพระนัดดาคือ พระเจ้าทันจง ที่ยังทรงพระเยาว์อย่างไม่เป็นธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และพระเจ้าเซโจ · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียเชื้อสายไทย

วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และมาเลเซียเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1

ทธการเซนต์อัลบันส์ครั้งที่ 1 (First Battle of St Albans) เป็นยุทธการแรกของสงครามดอกกุหลาบที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1455 ที่เซนต์อัลบันส์ ราว 35 กิโลเมตรเหนือกรุงลอนดอนในมณฑลฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายราชวงศ์แลงคาสเตอร์ที่นำโดยเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 และฝ่ายราชวงศ์ยอร์คที่นำโดยริชาร์ด แพลนทาเจเน็ท ดยุคแห่งยอร์คที่ 3 และริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลแห่งวอริคที่ 16 ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายราชวงศ์ยอร์คได้รับชัยชนะ ในด้านความเสียหายฝ่ายแลงคาสเตอร์มีผู้เสียชีวิต 300 คน รวมทั้งดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ท แต่ฝ่ายราชวงศ์ยอร์คมีไม่ทราบจำนวน นอกจากนั้นฝ่ายยอร์คยังจับตัวพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ได้ และตั้งตนเป็นผู้ปกครองอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ยุคแห่งการสำรวจ

แห่งการสำรวจ หรือ ยุคแห่งการค้นพบ (Age of Exploration หรือ Age of Discovery) เป็นช่วงระยะเวลาในประวัติศาสตร์โลกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงที่ชาวยุโรปออกเดินทางไปสำรวจทางทะเลในโลกที่กว้างออกไปจากตัวทวีปยุโรปเองโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ สินค้าที่เป็นที่ต้องการกันมากในยุโรปในขณะนั้นคือทอง เงิน และ เครื่องเทศ ยุคแห่งการสำรวจประจวบกับช่วงที่ชาวยุโรปตะวันตกเริ่มใช้เข็มทิศในการกำหนดและระบุเส้นทาง, การใช้วิธีการเดินเรือเดินทะเลแบบใหม่, การมีแผนที่ใหม่ และความก้าวหน้าทางดาราศาสตร์ ความก้าวหน้าเหล่านี้ช่วยในการแสวงหาเส้นทางการค้าขายใหม่ไปยังเอเชียโดยเลี่ยงอุปสรรคถ้าการใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของมหาอำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่วิวัฒนาการขึ้นสำหรับการเดินทางทางทะเลคือเรือชนิดใหม่สองแบบที่ออกแบบโดยโปรตุเกส--เรือคาร์แร็ค (Carrack) และ เรือคาราเวล (Caravel) ที่วิวัฒนาการมาจากการออกแบบเรือในยุคกลางที่ใช้ในการเดินเรือในทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เรือสองชนิดนี้เป็นเรือสองชนิดแรกที่ให้ความปลอดภัยพอที่จะฝ่าคลื่นฝ่าลมในมหาสมุทรแอตแลนติกได้เมื่อเทียบกับเรือรุ่นก่อนหน้านั้นที่ใช้กันเฉพาะในบริเวณที่คลื่นลมไม่รุนแรงเทียบเท่ากับการเดินทางกลางมหาสมุทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และยุคแห่งการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธารามมหาวิหาร

วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวง เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ (เดิมชื่อวัดเจดีย์เจ็ดยอด หรือ วัดเจ็ดยอด) ตั้งอยู่ที่ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 1998 พระเจ้าติโลกราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงสร้างวัดโพธารามมหาวิหาร สร้างด้วยศิลาแลงประดับลวดลายปูนปั้น เป็นเจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2020 วัดโพธารามมหาวิหาร เป็นสถานที่สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 8 ของโลก ปัจจุบันเจดีย์เจ็ดยอดหักพังไปเกือบหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และวัดโพธารามมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 (Callixtus III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1455 ถึง ค.ศ. 1458 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1921 คาลิกซ์ตุสที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นบาเลนเซีย.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และสมเด็จพระสันตะปาปากัลลิสตุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 (Nicholas V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1447 ถึง ค.ศ. 1455 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1940 นิโคลัสที่ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และสมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามดอกกุหลาบ

ที่ตั้งสำคัญในสงครามดอกกุหลาบ สงครามดอกกุหลาบ (Wars of the Roses) เป็นชุดสงครามราชวงศ์ที่ผู้สนับสนุนราชวงศ์แพลนแทเจเนตสองสายที่เป็นคู่แข่งชิงราชบัลลังก์อังกฤษกัน ได้แก่ ราชวงศ์แลงแคสเตอร์และราชวงศ์ยอร์ก (ซึ่งสัญลักษณ์ตราประจำตระกูล คือ ดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวตามลำดับ) ทั้งสองฝ่ายรบกันเป็นช่วงห่าง ๆ กันระหว่างปี 1455 ถึง 1485 แม้จะมีการสู้รบที่เกี่ยวข้องอีกทั้งก่อนหน้าและหลังช่วงนี้ สงครามดังกล่าวเป็นผลจากปัญหาทางสังคมและการเงินหลังสงครามร้อยปี ชัยชนะบั้นปลายเป็นของผู้เรียกร้องเชื้อสายแลงแคสเตอร์ค่อนข้างห่าง เฮนรี ทิวดอร์ ผู้กำราบพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ยอร์ก และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมสองราชวงศ์ หลังจากนั้น ราชวงศ์ทิวดอร์ปกครองอังกฤษและเวลส์เป็นเวลา 117 ปี เฮนรีแห่งโบลิงโบรกทรงก่อตั้งราชวงศ์แลงแคสเตอร์ขณะทรงราชย์ในปี 1399 เมื่อทรงถอดพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 พระภราดร (ลูกพี่ลูกน้อง) จากราชสมบัติ พระราชโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ยังทรงรักษาการอยู่ในราชสมบัติของตระกูลไว้ได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1422 พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทายาทของพระองค์ เป็นทารก การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชวงศ์แลงแคสเตอร์สืบมาจากจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ พระราชโอรสที่ยังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สามในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 สิทธิในราชบัลลังก์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ถูกริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์คคัดค้าน ผู้สามารถอ้างว่าสืบเชื้อสายจากไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป และเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กพระราชโอรสที่ยังมียังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สองและสี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ริชาร์ดแห่งยอร์ค ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของรัฐหลายตำแหน่ง ทะเลาะกับราชวงศ์แลงแคสเตอร์สำคัญ ๆ ในราชสำนักและกับมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู พระมเหสีในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสียชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยาบาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง เอิร์ลแห่งวอริก บุกครองอังกฤษจากกาเลและสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็นผู้พิทักษ์อังกฤษ (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกในยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2 แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่ยุทธการที่โทว์ทันเมื่อเดือนมีนาคม 1461 หลังการลุกขึ้นต่อต้านของแลงแคสเตอร์ทางเหนือถูกกำราบในปี 1464 และพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทะเลาะกับเอิร์ลแห่งวอริก สมญา "ผู้สร้างกษัตริย์" (Kingmaker) ผู้สนับสนุนและที่ปรึกษาหลักของพระองค์ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์ โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ซึ่งมีอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์ เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟูพระเจ้าเฮนรีที่ 6 กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่บาร์เนต (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และทูกสบรี (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่งเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์ จากนั้น บ้านเมืองค่อนข้างสงบอยู่พักหนึ่ง จนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตกะทันหันในปี 1483 ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระอนุชาที่ยังมีพระชนมชีพของพระองค์ ทีแรกเคลื่อนไหวเพื่อกันมิให้ตระกูลวูดวิลล์ที่ไม่เป็นที่นิยมของพระมเหสีหม้ายของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเข้าร่วมในรัฐบาลระหว่างที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ยังทรงพระเยาว์ จึงยึดราชบัลลังก์เป็นของตน โดยอ้างว่า การสมรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เฮนรี ทิวดอร์ พระญาติห่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์แลงแคสเตอร์ผู้รับสืบทอดการอ้างสิทธิ์มาด้วย ชนะพระเจ้าริชาร์ดที่บอสเวิร์ธฟิลด์ในปี 1485 พระองค์ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมและประสานราชวงศ์ทั้งสอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และสงครามดอกกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา กริตติ

หลุมฝังศพของเขาในเมืองเวนิส อันเดรอา กริตติ(Andrea Gritti) (ค.ศ. 1455 - ค.ศ. 1538) เป็นดยุกแห่งเวนิสประมุขของสาธารณรัฐเวนิส ระหว่างปี ค.ศ. 1523 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1538 อันเดรอา กริตติเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1455 ที่บาร์โดลิโนไม่ไกลจากเวโรนาในประเทศอิตาลีปัจจุบัน กริตติใช้เวลาส่วนใหญ่ในสมัยต้นในคอนสแตนติโนเปิลดูแลผลประโยชน์ให้แก่เวนิส ในปี ค.ศ. 1499 กริตติก็ถูกจำคุกในข้อหาเป็นสายลับแต่รอดจากการถูกประหารชีวิตเพราะความที่เป็นมิตรกับวิเซียร์ (vizier) และถูกปล่อยตัวอีกหลายปีต่อมา เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เวนิสก็เสียดินแดนเกือบทั้งหมดที่มีบนแผ่นดินอิตาลี กริตติมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเสียดินแดน ในปี ค.ศ. 1509 หลังจากการพ่ายแพ้ในยุทธการอักนาเดลโลกริตติก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพของกองทัพเวนิสในเตรวิโซ และสามารถยึดปาดัวคืนมาได้ และสามารถต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี ค.ศ. 1510 หลังจากการเสียชีวิตของนิโคโล ดิ พิติกลิอาโนกริตติก็เป็นผู้บังคับบัญชากองทัพเวนิสทั้งหมดแต่ถูกบังคับให้ถอยโดยกองทัพที่รุกเข้ามาของฝรั่งเศส กริตติได้รับเลือกให้เป็นดยุกแห่งเวนิสในปี ค.ศ. 1523 และได้ลงนามในสนธิสัญญากับสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นการยุติความเกี่ยวข้องของเวนิสในสงครามอิตาลี กริตติพยายามรักษาความเป็นกลางของเวนิสระหว่างความขัดแย้งระหว่างจักรพรรดิคาร์ลและพระเจ้าฟรองซัวส์แห่งฝรั่งเศส และพยายามหันความสนใจของทั้งสองพระองค์ไปยังการหยุดยั้งการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมันในฮังการี แต่กริตติก็ไม่สามารถหยุดยั้งสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมันจากการโจมตีคอร์ฟูในปี ค.ศ. 1537ได้ ซึ่งทำให้เวนิสต้องเข้าสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และอันเดรอา กริตติ · ดูเพิ่มเติม »

อาดัม คราฟท์

อาดัม คราฟท์ (Adam Kraft หรือ Adam Krafft) (ราว ค.ศ. 1455 - มกราคม ค.ศ. 1509) เป็นประติมากรและมาสเตอร์ช่างก่อสร้างชาวเยอรมันของสมัยกอธิคของคริสต์ศตวรรษที่ 15 คราฟท์เกิดและเติบโตขึ้นที่เนือร์นแบร์กในประเทศเยอรมนี เป็นที่ทราบกันว่าเมื่อยังหนุ่มคราฟท์ได้มีโอกาสเดินทางไปอุล์ม และ สตราสบวร์ก และเชื่อกันว่าสมรสสองครั้งแต่ไม่ทราบว่ามีบุตรธิดาหรือไม่ งานชิ้นเอกของคราฟท์คืองานแกะแท่น (tabernacle) ที่สูงราว 18.7 เมตรสำหรับวัดเซนต์ลอเร็นซ์ในเนือร์นแบร์ก งานแกะรองรับด้วยตัวแบบสี่ตัวได้รับการบูรณะหลังจากที่ได้รับความเสียหายระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้รองรับคนหนึ่งคือภาพเหมือนของคราฟท์เอง เชื่อกันว่าคราฟท์ทำงานแกะทั้งหมดในเนือร์นแบร์กและในบริเวณบาวาเรียระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และอาดัม คราฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ แม็มลิง

ันส์ แม็มลิง (Hans Memling; ราว ค.ศ. 1430 - 11 สิงหาคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา คริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และฮันส์ แม็มลิง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1

อ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 หรือ เอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 2 (Edmund Beaufort, 1st Duke of Somerset หรือ 2nd Duke of Somerset) (ค.ศ. 1406 - 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1455) เอ็ดมันด์ โบฟอร์ทเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทสำคัญในสงครามร้อยปีและสงครามดอกกุหลาบ เอ็ดมันด์ โบฟอร์ทเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1406 เป็นบุตรของจอห์น โบฟอร์ท เอิร์ลแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 และมาร์กาเร็ต โบฟอร์ท เคานเทสแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 ปู่ของเอ็ดมันด์คือจอห์นแห่งกอนท์ ดยุคแห่งแลงคาสเตอร์ที่ 1 และตาคือทอมัส ฮอลแลนด์ เอิร์ลแห่งเค้นท์ที่ 2 เมื่อยังหนุ่มเอ็ดมันด์ โบฟอร์ทถูกจับเป็นนักโทษในยุทธการโบจ์ (Battle of Baugé) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และเอ็ดมันด์ โบฟอร์ท ดยุคแห่งซัมเมอร์เซ็ทที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม

นรี สตาฟฟอร์ด ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 2 (Henry Stafford, 2nd Duke of Buckingham) (4 กันยายน ค.ศ. 1455 - 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1483) เฮนรี สตาฟฟอร์ดเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองและการตกอับของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 และหนึ่งในผู้ต้องสงสัยว่ามีส่วนในการหายสาบสูญ (หรือฆาตกรรม) ของเจ้าชายแห่งหอคอย ดยุคแห่งบัคคิงแฮมมีความสัมพันธ์กับพระราชวงศ์อังกฤษหลายทาง แต่โอกาสที่จะมีสิทธิในราชบัลลังก์ออกจะเป็นเรื่องที่ไกลจากความเป็นจริง แต่เมื่อฝ่ายยอร์คและแลงคาสเตอร์ผู้สืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 มีความขัดแย้งกัน โอกาสของบัคคิงแฮมก็ดูเหมือนจะเป็นไปได้ นักประวัติศาสตร์อ้างว่าบัคคิงแฮมจงใจวางแผนที่จะยึดบัลลังก์มาตั้งแต่ระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 และเกือบจะประสบความสำเร็จถ้าทุกสิ่งทุกอย่างดำเนินไปตามแผน ฮัมฟรีย์ สตาฟฟอร์ด เอิร์ลแห่งสตาฟฟอร์ดบิดาของเฮนรีสนับสนุนฝ่ายแลงคาสเตอร์ในยุคแรกของสงครามดอกกุหลาบ และมาเสียชีวิตจากการได้รับบาดเจ็บในยุทธการเซนต์อัลบันส์ครั้งที่ 1 แต่เฮนรีสนับสนุนฝ่ายยอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และเฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2

นรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2 (Henry Percy, 2nd Earl of Northumberland) (3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1392 - 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1455) เฮนรี เพอร์ซีย์เป็นขุนนางชาวอังกฤษที่เป็นบุตรของเฮนรี “ฮอทเสปอร์” เพอร์ซีย์และเอลิสซาเบธ เดอ มอร์ติเมอร์ (Elizabeth de Mortimer) บุตรีของเอ็ดมันด์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 3 (Edmund Mortimer, 3rd Earl of March) และ ฟิลลิปปา แพลนทาเจเน็ท เคานเทสแห่งอัลสเตอร์ที่ 5 เฮนรี เพอร์ซีย์ได้รับการฟื้นฟูกลับมาในราชสำนักในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และเฮนรี เพอร์ซีย์ เอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1998และเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1455

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »