โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1939

ดัชนี พ.ศ. 1939

ทธศักราช 1939 ใกล้เคียงกั.

16 ความสัมพันธ์: ฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดีพระเจ้าอัลฟองโซที่ 5 แห่งอารากองรายชื่อทุพภิกขภัยรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดนรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กวิลเลียมเดอลาโพล ดยุคแห่งซัฟโฟล์คที่ 1อันฮัลท์-เดสเซาอันฮัลท์-เคอเทินอิซาเบลลาแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษจักรวรรดิจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2ดงแดมุนต้นสมัยกลางประเทศบัลแกเรีย31 กรกฎาคม

ฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดี

ฟิลลิปเดอะกูด หรือ ฟิลลิปที่ 3 ดยุคแห่งบูร์กอญ ('''Philippe le Bon'''., Philip the Good หรือ Philip III, Duke of Burgundy) (31 กรกฎาคม ค.ศ. 1396 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1467) ฟิลลิปเดอะกูดเป็นขุนนางชาวฝรั่งเศส ผู้เป็นบุตรของจอห์นเดอะเฟียร์เลสส์และมาร์กาเร็ตแห่งบาวาเรีย ฟิลลิปเดอะกูดได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุคแห่งบูร์กอญตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลฟองโซที่ 5 แห่งอารากอง

ระเจ้าอัลฟอนโซที่ 5 แห่งอารากอน (Alfonso V of Aragon หรือ Alfonso the Magnanimous; Alfons) (ค.ศ. 1396 - 27 มิถุนายน ค.ศ. 1458) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 5”, พระมหากษัตริย์แห่งบาเลนเซียในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 3”, พระมหากษัตริย์แห่งมายอร์คาและซาร์ดิเนียในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 2”, และพระมหากษัตริย์แห่งซิซิลีและเคานท์แห่งบาร์เซโลนา ในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 4” และพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์ในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 1”.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และพระเจ้าอัลฟองโซที่ 5 แห่งอารากอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน

ตราแห่งสวีเดน พระมหากษัตริย์สวีเดน (Monarki i Sverige) เป็นประมุขของราชอาณาจักรสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศสวีเดนมีการปกครองเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและองค์กษัตริย์เองมิได้มีพระราชอำนาจทางการเมือง กระนั้นก็ยังทรงเป็นสถาบันสูงสุดรวมถึงได้รับความเคารพจากสังคมของราชอาณาจักรสวีเดนมาโดยตลอด ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียมเดอลาโพล ดยุคแห่งซัฟโฟล์คที่ 1

วิลเลียมเดอลาโพล ดยุกแห่งซัฟโฟล์คที่ 1 (William de la Pole, 1st Duke of Suffolk) (16 ตุลาคม ค.ศ. 1396 - 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1450) วิลเลียมเดอลาโพลเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุกแห่งซัฟโฟล์คที่ 1, มาร์ควิสแห่งซัฟโฟล์คที่ 1 และ เอิร์ลแห่งซัฟโฟล์คที่ 4 มีชื่อเล่นว่า “Jack Napes” เดอลาโพลเป็นแม่ทัพผู้มีบทบาทสำคัญในการต่อสู้ในสงครามดอกกุหลาบ และต่อมามีหน้าที่เป็นอัครมหาเสนาบดี นอกจากนั้นก็ยังปรากฏในบทละครของวิลเลียม เชกสเปียร์เรื่อง เฮนรี่ที่ 4, ตอน 1 และ เฮนรี่ที่ 4, ตอน 2 และการฆาตกรรมของเดอลาโพลเป็นหัวเรื่องของตำนานกลอนพื้นบ้านของอังกฤษชื่อ Six Dukes Went a-Fishing (ดยุกหกคนไปตกปลา).

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และวิลเลียมเดอลาโพล ดยุคแห่งซัฟโฟล์คที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

อันฮัลท์-เดสเซา

ราชรัฐอันฮาลท์-เดสเซา (Fürstentum (Herzogtum) Anhalt-Dessau, Anhalt-Dessau) เป็นอดีตราชรัฐที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อันฮาลท์-เดสเซาเดิมเป็นราชรัฐและต่อมาเป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนีที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1396 หลังจากการแบ่งราชรัฐอันฮาลท์-แซร์บสท์ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่เดสเซา ราชรัฐอันฮาลท์-เดสเซาประสบกับการแบ่งแยกและการกลับมารวมตัวหลายครั้งในประวัติศาสตร์ของราชรัฐ เมื่อแบ่งไปก่อตั้งเป็นอันฮาลท์-เคอเทินในปี ค.ศ. 1471 ต่อมาในปี ค.ศ. 1544 ก็ได้รับการแบ่งเป็นครั้งที่สองเพื่อก่อตั้งเป็นอันฮาลท์-แซร์บสท์และอันฮาลท์-เพลิทเคา ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และอันฮัลท์-เดสเซา · ดูเพิ่มเติม »

อันฮัลท์-เคอเทิน

ราชรัฐอันฮาลท์-เคอเทิน (Fürstentum (Herzogtum) Anhalt-Köthen, Anhalt-Köthen) เป็นอดีตดัชชีที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อันฮาลท์-เคอเทินเดิมเป็นราชรัฐและต่อมาเป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนีที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1396 หลังจากการแบ่งราชรัฐอันฮาลท์-แซร์บสท์ เป็นอันฮาลท์-เดสเซา และ อันฮาลท์-เคอเทิน อาณาจักรนี้รุ่งเรืองมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1552 เมื่อตกไปเป็นส่วนหนึ่งของอันฮาลท์-เดสเซา อันฮาลท์-เคอเทินได้รับการก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งที่สองในปี ค.ศ. 1603 จากการแบ่งราชรัฐอันฮาลท์-แซร์บสท์ หลังจากการเสียชีวิตของพรินซ์ออกกัสตัส หลุยส์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และอันฮัลท์-เคอเทิน · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Isabella of Valois) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1389 – 13 กันยายน ค.ศ. 1409) อิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1389 ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระมเหสีองค์ที่สองของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ อิสซาเบลลา เสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เมื่อพระชนมายุเพียง 7 ชันษา ดังนั้นอิสซาเบลลาและพระเจ้าริชาร์ดไม่มีพระโอรสธิดาด้วยกัน เนื่องจากอิสซาเบลลา อภิเษกสมรสเมื่อพระชนมายุเพียง 7 ชันษา ดังนั้นจึงไม่มีพิธีที่สมบูรณ์ พระเจ้าริชาร์ด กับอิสซาเบลลาเป็นสวามี แมเหสีที่เอาใจใส่กัน พระเจ้าริชาร์ด จะนำของขวัญมาให้อิสซาเบลลาเสมอ คำตรัสสุดท้ายของพระเจ้าริชาร์ด ที่ตรัสกับพระมเหสี คือ " ลาก่อน มาดาม เราคงจะพบกันอีกครั้ง " หลังจากที่พระสวามีถูกปลงพระชนม์ (ไม่แน่ชัด) อิสซาเบลลาก็ทรงเสกสมรสกับชาร์ลส์ ดยุคแห่งออร์ลีออง (Charles, Duke of Orléans) เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1406 อิสซาเบลลาสิ้นพระชนม์ในการให้กำเนิดพระราชธิดา จองแห่งวาลัวส์ (Jeanne of Valois) เมื่อวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1409 ที่ปราสาทคิมโบลตัน ในราชอาณาจักรอังกฤษ เมื่อพระชนมายุได้ 21 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และอิซาเบลลาแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2

ักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 หรือ อาณาจักรซาร์แห่งบัลแกเรีย (Second Bulgarian Empire, Второ българско царство, Vtorо Balgarskо Tsartsvo) เป็นจักรวรรดิในในยุคกลางของบัลแกเรียที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1185 และรุ่งเรืองมาจนถึงปี ค.ศ. 1396 (หรือ ค.ศ. 1422) จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 เป็นจักรวรรดิที่สืบต่อจากจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 และมามีอำนาจรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิคาโลยัน และ สมเด็จพระจักรพรรดิไอวาน อาเซนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย ก่อนที่มาจะค่อยๆ เสื่อมโทรมลงจนในที่สุดก็ถูกพิชิตโดยจักรวรรดิออตโตมันในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 ตามมาด้วยราชอาณาจักรที่ปกครองโดยเจ้าชายและต่อมาโดยพระมหากษัตริย์เป็นราชอาณาจักรบัลแกเรียในปี ค.ศ. 1878 มาจนถึงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ดงแดมุน

งแดมุน (ประตูใหญ่ทางทิศตะวันออก) คือประตูโบราณที่ตั้งอยู่ในโซล ประเทศเกาหลีใต้ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ฮยุงอินจีมุน (흥인지문, Heunginjimun ประตูแห่งความเมตตากรุณา) สร้างขึ้นในรัชกาลของพระเจ้าแทโจ ในวโรกาสครองสิริราชย์สมบัติได้ 50 ปี เมื่อปี พ.ศ. 1939 (ค.ศ. 1396) ต่อมาเมื่อถึงปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) จึงได้มีการปฏิสังขรณ์ใหม่ ส่วนประตูที่เห็นกันในปัจจุบันนั้นก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869).

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และดงแดมุน · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรีย

ัลแกเรีย (България) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบัลแกเรีย (Република България) เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ ประเทศเซอร์เบียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางตะวันตก และประเทศโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบบัลแกเรียเคยเป็นอาณานิคมของรัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และประเทศบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1939และ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1396

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »