โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1876

ดัชนี พ.ศ. 1876

ทธศักราช 1876 ใกล้เคียงกั.

21 ความสัมพันธ์: ฟิลิปปาแห่งเฮนอลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษพระนิชิโมะกุพระนิกโกมหาวิหารเคอนิจส์แบร์กยุคคะมะกุระรัฐบาลโชกุนคะมะกุระรายชื่อทุพภิกขภัยรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรียรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่นสังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชูสงครามร้อยปีอะชิกะงะ ทะกะอุจิจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรพรรดิโคงงจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีตระกูลโฮโจประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1333นิตตะ โยะชิซะดะเซ็สโซและคัมปะกุ

ฟิลิปปาแห่งเฮนอลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Philippa of Hainault) (24 มิถุนายน ค.ศ. 1314 15 สิงหาคม ค.ศ. 1369) ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ประสูติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1311 ที่ Valenciennes ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 1 เคานทแห่งเอโนลต์และโจนส์แห่งวาลัวส์ เคานเทสแห่งเอโนลต์ เป็นพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1328 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1369 ฟิลลิปปาสิ้นพระชนม์เมื่อ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1369 ที่พระราชวังวินด์เซอร์ในกรุงลอนดอน พระศพตั้งอยู่ที่ แอบบีเวสต์มินสเตอร์ ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ที่มหาวิหารยอร์คเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1328 สิบเอ็ดเดือนหลังจากทรงขึ้นครองราชย์ พระราชินีฟิลลิปปาไม่ทรงเหมือนพระราชินีองค์ก่อนๆ ที่ทำให้ประชาชนอังกฤษรู้สึกว่าเป็นชาวต่างชาติโดยมิได้ทรงนำผู้ติดตามจากต่างประเทศเป็นจำนวนมากเข้ามาในราชสำนักอังกฤษ พระราชินีฟิลลิปปาเสด็จติดตามพระสวามีไปในการสงครามกับราชอาณาจักรสกอตแลนด์ในปีค.ศ. 1333 และฟลานเดอร์สระหว่างปี ค.ศ. 1338 ถึงปี ค.ศ. 1340) ซึ่งทรงไดัรับความนิยมในความมีพระกรุณาและความเห็นอกเห็นใจจะเห็นได้จากการที่ทรงอ้อนวอนพระสวามีไม่ให้ทำร้ายชาวเมืองคาเลส์ในปี ค.ศ. 1347 นอกจากนั้นก็ยังทรงทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หลายครั้งเมื่อพระสวามีเสด็จไปแผ่นดินใหญ่ยุโรป พระนางมีพระโอรส-ธิดา กับ สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ทั้งหมด 11 พระองค์ และเหลือรอดอยู่ถึง 9 พระองค์ ซึ่งเป็นสถิติที่ดีมากในขณะนั้น เนื่องจากสมัยนั้นมีอัตราการสิ้นชีวิตของทารกสูงถึง 3 ใน 4 (หมายความว่าถ้ามีลูก 4 คนก็จะเหลือรอดอยู่แค่ 1 คนเท่านั้น) เนื่องจากสมัยนั้นยังไม่มีสุขอนามัยที่ดีพอ สำหรับทารก.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และฟิลิปปาแห่งเฮนอลต์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระนิชิโมะกุ

ระนิชิโมขุ (日目, ค.ศ. 1260- ค.ศ. 1333) หรือ พระนิชิโมขุ โชนิน เป็นสาวกและศิษย์ของพระนิชิเรน ซึ่งได้อยู่ฝั่งพระนิกโค ในการก่อตั้งนิชิเรนโชชู พระนิชิโมขุได้รับการแต่งตั้งจากพระนิกโคให้เป็น พระสังฆราชองค์ที่ 3 แห่งนิชิเรนโชชู.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และพระนิชิโมะกุ · ดูเพิ่มเติม »

พระนิกโก

ระนิกโคโชนิน พระนิกโค (日興 Nikkō) (ค.ศ. 1246 - ค.ศ. 1333) หรือ พระนิกโค โชนิน เป็นผู้ก่อตั้งนิกายย่อยของศาสนาพุทธ นิกายนิชิเรน ซึ่งคือ นิชิเรนโชชู นามแบบเต็มของท่านคือ ฮะวะคิ-โบะ เบียวคุเร็น อาจาริ นิกโค (伯耆房 白蓮阿闍梨 日興 Hawaki-bō Byakuren Ajari Nikkō) ในปี ค.ศ. 2015 นี้ จะเป็นปีแห่งการเฉลิมฉลองครบรอบ 770 ปี ของการประสูติของพระนิกโค โชนิน โดยนิกาย นิชิเรนโชชู.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และพระนิกโก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเคอนิจส์แบร์ก

อาสนวิหารเคอนิจส์แบร์ก (Königsberg Cathedral) เป็นอาสนวิหารศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซียที่ตั้งอยู่ที่เมืองคาลินกราด (เดิมเคอนิจส์แบร์กในเยอรมนี) บนเกาะเพรเกิล (เพรโกลยา) ในสหพันธรัฐรัสเซีย หรือเรียกว่าคไนพ์ฮอฟในภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และมหาวิหารเคอนิจส์แบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย

ตราอาร์มของบาวาเรีย รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย (List of rulers of Bavaria) บาวาเรียปกครองโดยประมุขทั้งที่มีตำแหน่งเป็นดยุกและเป็นพระมหากษัตริย์ ราชอาณาจักรได้รับการรวมหรือการถูกแบ่งตลอดมาในประวัติศาสตร์ของหลายราชวงศ์ที่ปกครอง แต่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู

ระนิชิเนียว โชนิง สังฆนายกรูปปัจจุบันแห่งนิชิเรนโชชู ในนิกายนิชิเร็งโชชู สังฆนายก เป็นตำแหน่งของผู้นำและประมุขสุงสุดของนิกาย ซึ่งมีสานุศิษย์อยู่ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย มีผู้นับถือส่วนมากในประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน กานา มาเลเซีย บราซิล ศรีลังกา และประเทศไทย สังฆนายกรูปปัจจุบันคือ พระนิชิเนียว โชนิง สังฆนายกรูปที่ 68.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และสังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู · ดูเพิ่มเติม »

สงครามร้อยปี

งครามร้อยปี (Hundred Years' War) เป็นชุดความขัดแย้งระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และสงครามร้อยปี · ดูเพิ่มเติม »

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ

อะชิกะงะ ทะกะอุจิ (Ashikaga Takauji,足利尊氏) เป็น โชกุน คนแรกแห่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และอะชิกะงะ ทะกะอุจิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1861 - พ.ศ. 1882 โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิไดโงะ ที่ครองราชย์ในช่วง ศตวรรษที่ 9 โดยเมื่อใส่คำว่า โก ที่แปลว่า สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ว่า จักรพรรดิไดโงะที่สอง หรือ จักรพรรดิไดโงะยุคหลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคงง

ักรพรรดิโคงง (Emperor Kōgon) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 1 ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1331 - ค.ศ. 1333.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และจักรพรรดิโคงง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโฮโจ

ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะจึงได้รับพระราชทาน ตำแหน่ง เซไตโชกุน เป็นคนแรกจาก จักรพรรดิโกะ-โทะบะ ยิ่งทำให้ตระกูลโฮโจทรงอำนาจและอิทธิพล มากขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1202 โยะริโตะโมะถึงแก่อสัญกรรม โยะริอิเอะ บุตรชายคนโตจึงขึ้นเป็นโชกุนสืบต่อมา แต่ในสมัยของโยะริอิเอะอำนาจทั้งหมดอยู่ที่โทะคิมะซะ ผู้เป็นตาพร้อมกันนั้นยังบีบบังคับโชกุนโยะริอิเอะให้ตั้ง ตัวเองเป็น ชิกเก็ง หรือผู้สำเร็จราชการทำให้โชกุน โยะริอิเอะไม่พอใจสละตำแหน่งให้ ซะเนะโตะโมะ ผู้ เป็นน้องชายหลังจากดำรงตำแหน่งเพียง 1 ปีซึ่งหลังจาก สมัยของโชกุนโยะริอิเอะเป็นต้นไปอำนาจทั้งหมดอยู่ที่ ชิกเก็งที่มาจากตระกูลโฮโจทั้งสิ้น ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงในปี ค.ศ. 1333 หลังจาก ตระกูลอะชิกะงะ ที่นำโดย อะชิกะงะ ทะกะอุจิ กระทำรัฐประหาร บุกเข้ายึด คะมะกุระ ทำให้ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงพร้อมกับตระกูลมินะโมะโต.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และตระกูลโฮโจ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

ประตูซุซะกุ ประตูเมืองหลวงเฮโจวเกียว สมัยนะระ (บูรณะขึ้นมาใหม่) คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ ในชุด ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ วาดเมื่อปี พ.ศ. 2369 โดยคะสึชิกะ โฮะกุไซ ประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น (ภาษาญี่ปุ่น: 日本の歴史; นิฮงโนะเระกิชิ).

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1333

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1333 ในประเทศมองโกเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1333 · ดูเพิ่มเติม »

นิตตะ โยะชิซะดะ

นิตตะ โยะชิซะดะ ( ค.ศ. 1300 ถึง ค.ศ. 1338) ซะมุไรซึ่งมีช่วงชีวิตอยู่ในปลายยุคคะมะกุระและต้นยุคมุโระมะชิ เป็นผู้ล้มล้างรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ นิตตะ โยะชิซะดะ นิตตะ โยะชิซะดะ เป็นโกะเกะนิง ( ) หรือซะมุไรผู้ปกครองผืนดินอยู่ที่เมืองนิตตะ (ปัจจุบันอยู่ที่เมืองโอตะ จังหวัดกุมมะ) ในแคว้นโคซุเกะ ตระกูลนิตตะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลเซวะเง็งจิ ( ) เฉกเช่นเดียวกับตระกูลอะชิกะงะ ในค.ศ. 1333 จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ ทรงประกาศเชื้อเชิญให้บรรดาซะมุไรทั้งหลายที่ไม่พอใจการปกครองของรัฐบาลโชกุนเมืองคะมะกุระเข้าร่วมกับกองกำลังของพระองค์ในการล้มล้างรัฐบาลโชกุนฯ เรียกว่า สงครามปีเก็งโก ในขณะที่อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ( ) ยึดเมืองเคียวโตะถวายแด่พระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะนั้น นิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพจากแคว้นโคซุเกะทางไปทางใต้เพื่อเข้ายึดเมืองคะมะกุระ หลังจากที่มีชัยชนะเหนือทัพของรัฐบาลโชกุนในยุทธการที่บุบะอิงะวะระ (เขตฟุชู เมืองโตเกียวในปัจจุบัน) นิตตะ โยะชิซะดะจึงยกทัพเข้าประชิดเมืองคะมะกุระ แต่ทว่าชัยภูมิของเมืองคะมะกุระมีภูเขาล้อมรอบสามด้าน การโจมตีเมืองคะมะกุระนั้นต้องผ่านทางทะเลผ่านแหลมอินะมุระงะซะกิ นิตตะ โยะชิซะดะ จึงทำพิธีเซ่นไหว้เทพเจ้าแห่งทะเล โดยการโยนดาบลงไปในทะเล หลังจากเสร็จสิ้นพิธีคลื่นทะเลกลับเปลี่ยนทิศไปในทางที่ส่งเสริมทัพของโยะชิซะดะ โยะชิซะดะจึงสามารถยึดเมืองคะมะกุระได้ ผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายคือ โฮโจ ทะกะโตะกิ ทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิตไปพร้อมกับขุนนางซะมุไรทั้งหลายในรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ นิตตะ โยะชิซะดะ ทำพิธีบวงสรวงเทพเจ้าแห่งทะเล ที่แหลมอินะมุระงะซะกิ หลังจากการล่มสลายของรัฐบาลคะมะกุระ จักรพรรดิโกะ-ไดโงะทรงก่อตั้งการปกครองขึ้นมาใหม่โดยมีอำนาจและศูนย์กลางอยู่ที่ราชสำนักเมืองเกียวโต ดังที่เคยเป็นมาในยุคเฮอัง และลดอำนาจของชนชั้นซะมุไร เรียกว่า การฟื้นฟูปีเค็มมุ (Kemmu Restoration) สร้างความไม่พอใจให้แก่ชนชั้นซะมุไรโดยทั่วไป ในค.ศ. 1335 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ แยกตนออกไปเพื่อก่อตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นมาอีกครั้ง ในขณะที่นิตตะ โยะชิซะดะ ยังคงจงรักภักดีต่อพระจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ โดยที่นิตตะ โยะชิซะดะ เป็นคู่แข่งคนสำคัญของอะชิกะงะทะกะอุจิ นิตตะ โยะชิซะดะ ยกทัพไปปราบอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ที่เมืองคะมะกุระแต่พ่ายแพ้ ทำให้อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถยกทัพเข้าประชิดเมืองเกียวโตได้ คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ ป้องกันเมืองเกียวโตได้สำเร็จทำให้ทะกะอุจิต้องถอยร่นไป ในค.ศ. 1336 อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ยกทัพมาอีกครั้งเป็นทัพขนาดใหญ่ทั้งทางบกและทางทะเลเข้ามายังเมืองเกียวโต คุซุโนะกิ มะซะชิเงะ เสนอว่าควรจะให้จักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จออกจากนครเกียวโตไปก่อนเพื่อไปทำการตั้งรับนอกเมือง เนื่องจากทัพของอะชิกะงะมีขนาดใหญ่ แต่นิตตะ โยะชิซะดะ ยืนกรานที่จะตั้งรับอยู่ภายในนครหลวงเกียวโต ในยุทธการที่มินะโตะงะวะ ทัพของนิตตะ โยะชิซะดะ ถูกโจมตีจนถอยร่นไป ส่งผลให้ทัพของฝ่ายพระจักรพรรดิพ่ายแพ้ต่อทัพของอะชิกะงะ อะชิกะงะ ทะกะอุจิ สามารถเข้ายึดนครเกียวโตได้ นิตตะ โยะชิซะดะ จึงนำองค์จักรพรรดิโกะ-ไดโงะเสด็จหลบหนีไปยังวัดเขาฮิเอ ชานเมืองเกียวโต และเสด็จหนีต่อไปยังเมืองโยะชิโนะ (จังหวัดนะระในปัจจุบัน) เพื่อก่อตั้งราชสำนักขึ้นมาใหม่ที่นั่น กลายเป็นพระราชวงศ์ฝ่ายใต้ ในขณะที่อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ก็ตั้งองค์จักรพรรดิขึ้นใหม่อีกองค์ที่เมืองเกียวโต ซึ่งต่อมากลายเป็นพระราชวงศ์ฝ่ายเหนือ เป็นจุดเริ่มต้นของ ยุคราชวงศ์เหนือใต้ ในค.ศ. 1337 จักรพรรดิโกะ-ไดโงะมีพระราชโองการให้นิตตะ โยะชิซะดะ นำพระโอรสสองพระองค์คือ เจ้าชายทะกะนะกะ และเจ้าชายซึเนะนะกะ เสด็จไปยังแคว้นเอะชิเซ็ง (จังหวัดฟุกุอิในปัจจุบัน) ทางตะวันออกอันห่างไกลเพื่อสร้างกองกำลังขึ้นมาเพื่อยึดอำนาจคืนจากรัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ แต่ทว่าทัพของรัฐบาลโชกุนใหม่ยกทัพติดตามมา ทำให้นิตตะ โยะชิซะดะ และเจ้าชายทั้งสองถูกทัพของรัฐบาลโชกุนฯห้อมล้อมอยู่ที่ป้อมคะเนะงะซะกิ ต่อมาป้อมคะเนะงะซะกิแตกทัพของรัฐบาลโชกุนฯสามารถเข้ายึดป้อมได้ นิตตะ โยะชิอะกิ บุตรชายคนโตของโยะชิซะดะ ทำการเซ็ปปุกุเสียชีวิต เจ้าชายทั้งสองพระองค์ถูกปลงพระชนม์ ส่วนนิตตะ โยะชิซะดะนั้น หลบหนีออกไปได้ ในค.ศ. 1338 โยะชิซะดะรวบรวมกำลังเข้าโจมตีป้อมคุโระมะรุ ซึ่งเป็นป้อมของรัฐบาลโชกุนฯ ในขณะการสู้รบที่ป้อมคุโระมะรุ ม้าของโยะชิซะดะต้องธนูและล้มทับร่างของโยะชิซะดะทำให้ไม่สามารถขยับได้ เมื่อเห็นว่าตนเองกำลังพ่ายแพ้ ตามวรรณกรรมเรื่อง "ไทเฮกิ" นิตตะ โยะชิซะดะ ได้ใช้ดาบตัดศีรษะของตนเอง จนถึงแก่ความตายในที่สุด หลังจากที่นิตตะ โยะชิซะดะ เสียชีวิตไปแล้ว บุตรหลานที่ยังคงมีชีวิตรอดของโยะชิซะดะ เปลี่ยนชื่อสกุลจากนิตตะเป็น อิวะมะซึ และกลับไปครองเมืองนิตตะที่แคว้นโคซุเกะตามเดิมไปตลอดจนถึงยุคเอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และนิตตะ โยะชิซะดะ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1876และเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1333

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »