โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1847

ดัชนี พ.ศ. 1847

ทธศักราช 1847 ใกล้เคียงกั.

9 ความสัมพันธ์: พระนิชิจิมารีแห่งลักเซมเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11จักรวรรดิข่านจักกาไทประเทศจีนใน ค.ศ. 1304เปตราก19 กรกฎาคม20 กรกฎาคม

พระนิชิจิ

ระนิชิจิ (日持; 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1250– หลังจากปี ค.ศ. 1304) หรือ ไคอิโค เป็นลูกศิษย์และสาวกของพระนิชิเรน ซึ่งได้ออกเดินทางไปยัง ฮอกไกโด ไซบีเรีย และ ประเทศจีน พระนิชิจิ เกิดในจังหวัดซุรุกะ เป็นบุตรคนที่สองของ ตระกูลที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจ ในตอนแรกพระนิชิจิได้ศึกษาธรรมของนิกายเทียนไท้ แต่หลังจากนั้นไม่นานก็ได้เข้าเป็นศิษย์ของพระนิชิเรน พระนิชิจิได้ถูกแต่งตั้งเป็น 1 ใน 6 พระสงฆ์อาวุโส จากพระนิชิเรน แต่ก็เป็น ลูกศิษย์ของพระนิกโคด้วย หลังจากการดับขันธ์ของพระนิชิเรนในปี ค.ศ. 1282 พระนิชิจิได้จัดตั้งวัด อิโชจิ ในปัจจุบันคือ วัดเรนอิจิ (蓮永寺) ใน ชิซุโอะกะ แต่ภายหลังความสัมพันธ์กับพระนิกโคกลับแย่ลง เขาได้ตั้งคณะมิชชันนารีเดินทางเผยแผ่ธรรมในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1295 โดยได้วางแผนว่าจะเดินทางเท้าไป ฮะโกะดะเตะ, ฮอกไกโด และหลังจากนั้นก็จะเดินทางไปยัง ชางตู ประเทศจีน เพื่อเผยแผ่ธรรมให้ชาวมองโกล เนื่องจากเห็นว่าชาวมองโกลนั้น ถูกกล่าวถึงบ่อยครั้งในบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเรน อย่างไรก็ตามเป็นเวลาหลายศตวรรษที่ไม่มีทราบว่าเกิดอะไรขึ้นกับพระนิชิจิ หลังจากการเดินทางออกจากประเทศญี่ปุ่น มีตำนานเล่าว่าท่านได้สร้างวัดขึ้นที่ภาคเหนือของประเทศญี่ปุ่น และได้จับปลาชนิดใหม่ในฮอกไกโด ได้ตั้งชื่อว่า ฮอกเกะ ในตำนานนั้นค่อนข้างกำกวมและไม่แน่ชัดว่า ท่านได้เดินทางไปถึงประเทศจีนโดยปลอดภัยหรือไม่ ในปี ค.ศ. 1936 นักท่องเที่ยวได้พบโงะฮนซนของพระนิชิจิและอัฐิของท่านในดินแดนที่ห่างไกลในประเทศจีน และในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และพระนิชิจิ · ดูเพิ่มเติม »

มารีแห่งลักเซมเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มารีแห่งลักเซมเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Marie de Luxembourg; Marie of Luxembourg) (ค.ศ. 1304 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1324) มารีแห่งลักเซมเบิร์กทรงเป็นสมเด็จราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ และพระอัครมเหสีองค์ที่สองในพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ. 1322 ถึง ค.ศ. 1324 มารีผู้ประสูติเมื่อปี ค.ศ. 1304 เป็นพระธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิไฮนริคที่ 7 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ มาร์กาเร็ตแห่งบราบองต์ มารีแห่งลักเซมเบิร์กทรงเสกสมรสกับพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 4 หลังจากที่ทรงทำการหย่าร้างกับพระมเหสีองค์แรกบลานซ์แห่งเบอร์กันดีผู้ทรงมีชู้ เมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1322 บลานซ์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระเจ้าชาร์ลส์ ฉะนั้นพระองค์จึงมีพระราชประสงค์ที่จะหาทางที่จะมีพระราชโอรสผู้ที่จะเป็นผู้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และมารีแห่งลักเซมเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 (Benedict XI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1303 ถึง ค.ศ. 1304 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1783 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 บแนดิกต์ที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเวเนโต.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิข่านจักกาไท

ักรวรรดิข่านจักกาไท (Chagatai Khanate หรือ Chagata, Chugta, Chagta, Djagatai, Jagatai, Chaghtai) เป็นจักรวรรดิมองโกลแต่ต่อมาเปลี่ยนไปเป็นเตอร์กิก จักรวรรดิข่านปกครองโดยข่านจักกาไทพระราชโอรสองค์ที่สองของเจงกีส ข่าน และผู้สืบเชื้อสายต่อจากพระองค์ เดิมจักรวรรดิข่านจักกาไทเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมองโกลแต่ต่อมาแยกตัวมาเป็นอาณาจักรอิสระ ในจุดที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 จักรวรรดิข่านมีอาณาบริเวณตั้งแต่แม่น้ำอามูดาร์ยา (Amu Darya) ทางใต้ของทะเลอารัลไปจนถึงเทือกเขาอัลไตในบริเวณเขตแดนที่ปัจจุบันคือมองโกเลียและจีน จักรวรรดิข่านรุ่งเรืองในรูปใดรูปหนึ่งมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1220 จนกระทั่งถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 แม้ว่าทางครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิจะเสียไปกับตีมูร์ ในคริสต์ทศวรรษ 1360 แต่ครึ่งตะวันออกยังคงอยู่ในมือของข่านจักกาไทที่บางครั้งก็เป็นปฏิปักษ์ต่อหรือบางครั้งก็เป็นพันธมิตรกับผู้ครองจักรวรรดิตีมูร์ต่อมา ในที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จักรวรรดิข่านจักกาไทที่ยังคงเหลือก็ตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของระบบเทวาธิปไตยของ Apaq Khoja และผู้สืบเชื้อสาย, โคจิจัน (Khojijan) ผู้ครองเติร์กสถานตะวันออก (East Turkestan) ภายใต้ดซุงการ์ (Dzungar) และในที่สุดประมุขของแมนจู.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และจักรวรรดิข่านจักกาไท · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1304

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1304 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และประเทศจีนใน ค.ศ. 1304 · ดูเพิ่มเติม »

เปตราก

วาดเปตรากในจินตนาการ ฟรานเชสโก เปตรากา (Francesco Petrarca; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1304 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1374) หรือที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า เปตราก เป็นกวีและนักวิชาการชาวอิตาลี หนึ่งในบรรดานักวิชาการในช่วงแรกๆ ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เขาเป็นที่รู้จักยกย่องในฐานะ "บิดาแห่งมนุษยนิยม" จากงานของเปตรากและส่วนประกอบอื่นๆ Pietro Bembo ได้สร้างรูปแบบของภาษาอิตาลีในปัจจุบันขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 เปตรากได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดประดิษฐ์ซอนเน็ต งานกวีนิพนธ์ซอนเน็ตของเขาได้รับยกย่องและเป็นที่รู้จักทั่วไปในยุโรปตลอดยุคเรอเนซองส์ ซึ่งได้กลายเป็นแบบมาตรฐานสำหรับงานกวีนิพนธ์ในยุคต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และเปตราก · ดูเพิ่มเติม »

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และ19 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1847และ20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1304

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »