โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1817

ดัชนี พ.ศ. 1817

ทธศักราช 1817 ใกล้เคียงกั.

20 ความสัมพันธ์: พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)พระเจ้าวอนจงแห่งโครยอพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษมหานิกายรัฐบาลโชกุนคะมะกุระรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่นสภาสังคายนาสากลจักรพรรดิคะเมะยะมะจักรพรรดิซ่งกงจักรพรรดิซ่งกงจงจักรพรรดิซ่งตู้จงจักรพรรดิโกะ-อุดะทอมัส อไควนัสคะตะนะซามูไรประเทศจีนใน ค.ศ. 1274โบนาเวนตูราเซ็สโซและคัมปะกุ15 กรกฎาคม

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)

ต่อไปนี้คือรายละเอียดวันที่ และสถานที่ที่จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรีย์ และสมเด็จพระราชินีอัครมเหสี แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ รวมทั้งสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1609 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้จะจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสท์มินสเตอร์เสมอ เว้นแต่กรณีนอกเหนือจากนั้นจะหมายเหตุไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ

ระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ 5 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และพระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ ได้อภิเษกสมรสกับเอลินอร์แห่งคาสตีล และต่อมากับพระนางมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ที่บรัฟบายแซนด์ส คัมเบอร์แลนด์ อังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้รับชัยชนะต่อเวลส์และทรงพยายามปราบปรามสกอตแลนด์แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สภาสังคายนาสากล

ในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาสากล (Ecumenical council หรือ oecumenical council หรือ general council) คือการประชุมบรรดามุขนายกและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์จากคริสตจักรทั่วโลก เพื่อสังคายนาหรือหาข้อตกลงร่วมกันในเรื่องหลักความเชื่อและการปฏิบัติที่ขัดแย้งกันอยู่ในขณะนั้น คำว่า “Οικουμένη” เป็นภาษากรีกแปลว่า “โลกที่อยู่อาศัย” หรือในความหมายแคบคือจักรวรรดิโรมันนั่นเอง เพราะการประชุมในสมัยแรก ๆ ริเริ่มโดยจักรพรรดิโรมัน แต่ต่อมาคำนี้ก็นำมาใช้กันโดยทั่วไปในความหมายที่หมายถึง “คริสตจักร” หรือประชาคมคริสต์ศาสนิกชน “ทั่วโลก” หรือในแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาครั้งสุดท้ายที่เป็นที่ยอมรับจากทั้งฝ่ายโรมันคาทอลิกและออร์ทออดกซ์คือสังคายนาไนเซียครั้งที่สองปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และสภาสังคายนาสากล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคะเมะยะมะ

อนุสาวรีย์ของจักรพรรดิคะเมะยะมะที่จังหวัดฟุกุโอะกะ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 90 อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณี ทรงครองราชย์ในช่วงปี 1803-1817.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และจักรพรรดิคะเมะยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกง

200px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และจักรพรรดิซ่งกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง พระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และจักรพรรดิซ่งกงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตู้จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตู้จง ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และจักรพรรดิซ่งตู้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-อุดะ

ักรพรรดิโกะ-อุดะ (Emperor Go-Uda; 17 ธันวาคม 1810 — 16 กรกฎาคม 1867) จักรพรรดิองค์ที่ 91 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี 1817-1830.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และจักรพรรดิโกะ-อุดะ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส อไควนัส

นักบุญทอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas (ค.ศ. 1225-1274) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน เกิดในตระกูลขุนนางชาวอิตาลี สนใจศึกษาสิ่งต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึ้ง อไควนัสได้พัฒนาแนวความคิดของเขาโดยได้รับอิทธิพลจากอาริสโตเติล ในขณะที่นักคิดคนอื่นมีความเห็นตรงกันข้าม อควีนาสได้ดำเนินการศึกษา สรุปผลที่เป็นแบบตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ โดยไม่มีข้อสงสัยหรือข้อขัดแย้ง ตามแนวความคิดของอไควนัส ระเบียบวิธีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่ออควีนาสเริ่มหันมาสนใจศึกษาค้นคว้าแนวความคิดของอาริสโตเติล และได้มีอิทธิพลตลอดชีวิตการทำงานของอไควนัส จุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่งของอไควนัสคือ การผสมผสานเทววิทยาศาสนาคริสต์ให้เข้ากับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ในที่สุดแนวความคิดของอาริสโตเติลก็กลับมามีชื่อเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง นักคิดชาวตะวันตกก็เริ่มหันมาศึกษางานของอริสโตเติลกันมากขึ้น มีผู้กล่าวว่าอาริสโตเติลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ที่มีความรอบรู้ พระเจ้าพึงพอใจยอมอนุญาตให้เป็นผู้สรุปความรู้ทุกสาขาวิชา เท่ากับยอมรับว่าอาริสโตเติลเป็นเหมือนคัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นนักบวชของศาสนา เป็นตัวบทกฎหมาย และเป็นนักวินัยทางศาสนา เปรียบเสมือนเป็นผู้ที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ กำหนดความรู้ทุกสาขาวิชา งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น วิธีการดังกล่าวเปรียบเสมือนมนุษย์ได้รับการอบรมทางจิต จิตที่อบรมแล้ว จะสั่งการให้ร่างกายกระทำสิ่งต่าง ๆ ตามหน้าที่ในสังคม ดังนั้น การปกครองโดยรัฐบาลที่มีผู้นำเพียงคนเดียวจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด กษัตริย์อันเป็นราชาแห่งปราชญ์คนเดียวจะปกครองประชาชนอย่างยุติธรรม โครงสร้างทางสังคมก็เหมือนกับธรรมชาติที่พระเจ้าปกครอง คนในสังคมจะทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสัมคมมีเอกภาพโดยมีผู้นำเพียงคนเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และทอมัส อไควนัส · ดูเพิ่มเติม »

คะตะนะ

มัยของดาบซามูไร แบ่งออกได้ 4.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และคะตะนะ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1274

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1274 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และประเทศจีนใน ค.ศ. 1274 · ดูเพิ่มเติม »

โบนาเวนตูรา

นักบุญโบนาเวนตูรา (San Bonaventura) (ค.ศ. 1221 – 15 กรกฎาคมค.ศ. 1274) เป็นไฟรอาร์ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ดำรงตำแหน่งอัคราธิการคนที่ 7 ของคณะภราดาน้อย (Order of Friars Minor) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าคณะฟรันซิสกัน ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระคาร์ดินัลบิชอปแห่งอัลบาโน นอกจากนี้ยังเป็นนักปรัชญาและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในสมัยกลาง จนได้รับการยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร มีสมญานามว่า “นักปราชญ์ชั้นเสราฟิม”.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และโบนาเวนตูรา · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1817และ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1274

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »