โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผังอาสนวิหาร

ดัชนี ผังอาสนวิหาร

ผังของอาสนวิหารอาเมียง ที่ประเทศฝรั่งเศส แสดงให้เห็นเสาใหญ่รับน้ำหนักหอด้านหน้าวัด; แขนกางเขนสั้น; ชาเปล 7 ชาเปล ที่เรียกว่า “chevet” รอบมุขโค้งด้านสกัดออกมาจากจรมุข ผังอาสนวิหาร (Cathedral diagram, Cathedral plan, Cathedral floorplan) แสดงให้เห็นลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก แผนผังจะแสดงกำแพง แนวเสาทำให้เห็นโครงสร้าง เส้นสองเส้นบนกำแพงด้านนอกคือหน้าต่างกระจก เส้น x เป็นสัญลักษณ์สำหรับเพดานโค้ง ตามปกติผังของวัดทางคริสต์ศาสนาจะวางเหมือนการวางแผนที่ ด้านเหนืออยู่บน ด้านตะวันตกถือกันว่าเป็นด้านหน้าของวัด ด้านตะวันออกที่เป็นบริเวณที่ทำคริสต์ศาสนพิธีอยู่ทางขว.

196 ความสัมพันธ์: บริเวณกลางโบสถ์บริเวณร้องเพลงสวดบริเวณคริสต์ศาสนพิธีบักฟาสต์แอบบีย์บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตชาเปลบริเวณมุขโค้งช่องรับแสงชเตฟันสโดมพระราชวังวินด์เซอร์กอทิกอ็องฌ์แว็งการ์โล มาแดร์โนมหาวิหาร (ศาสนาคริสต์)มหาวิหารบัมแบร์กมหาวิหารบูร์โกสมหาวิหารมอนซามหาวิหารวอมส์มหาวิหารวาเวลมหาวิหารตูร์แนมหาวิหารซันมาร์โกมหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเรมหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลามหาวิหารซันตาโกรเชมหาวิหารซันโลเรนโซ ฟลอเรนซ์มหาวิหารซาเคร-เกอร์มหาวิหารซีเอนามหาวิหารปาโดวามหาวิหารนักบุญแอนโทนีแห่งปาดัวมหาวิหารนักบุญเบซิลมหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพงมหาวิหารนักบุญเปโตรมหาวิหารแซ็ง-เดอนีมหาวิหารเวเซอแลมหาวิหารเคอนิจส์แบร์กมุขข้างโบสถ์มุขโค้งด้านสกัดระเบียงเหนือทางเดินข้างวิหารคดสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตกสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์หอล้างบาปหอหลังคาโดมหอฉันหอประชุมนักบวชหน้าบันหน้าต่างกุหลาบห้องเก็บเครื่องพิธีออร์ซันมีเกเลอารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)...อารามฟงต์แนอารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเรอารามมาซ็องอารามรัวโยมงอารามอันเดชส์อารามแซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญอารามเมลค์อารามเอียร์เซอาสนวิหารอาสนวิหารบลัวอาสนวิหารบอร์โดอาสนวิหารบายอนอาสนวิหารชาลง-ซูร์-โซนอาสนวิหารชาทร์อาสนวิหารบาซัสอาสนวิหารบาเยออาสนวิหารชิชิสเตอร์อาสนวิหารบูร์ฌอาสนวิหารกลอสเตอร์อาสนวิหารการ์กาซอนอาสนวิหารกาวายงอาสนวิหารกาออร์อาสนวิหารกิลด์ฟอร์ดอาสนวิหารกูต็องส์อาสนวิหารกงดงอาสนวิหารมากงอาสนวิหารมาร์แซย์อาสนวิหารมูแล็งอาสนวิหารมงเปอลีเยอาสนวิหารยอร์กอาสนวิหารรอแดซอาสนวิหารรูอ็องอาสนวิหารลารอแชลอาสนวิหารลาวาลอาสนวิหารลิงคอล์นอาสนวิหารลูว์ซงอาสนวิหารลีมอฌอาสนวิหารลียงอาสนวิหารล็องอาสนวิหารล็องกร์อาสนวิหารวานอาสนวิหารวินเชสเตอร์อาสนวิหารวุร์สเตอร์อาสนวิหารวีวีเยอาสนวิหารว็องส์อาสนวิหารสทราซบูร์อาสนวิหารออร์เลอ็องอาสนวิหารออลอรงอาสนวิหารอารัสอาสนวิหารอาลบีอาสนวิหารอาวร็องช์อาสนวิหารอาวีญงอาสนวิหารอานซีอาสนวิหารอาแฌ็งอาสนวิหารอาเมียงอาสนวิหารอีลีอาสนวิหารอ็อชอาสนวิหารอ็องกูแลมอาสนวิหารทรูโรอาสนวิหารดอล-เดอ-เบรอตาญอาสนวิหารดักซ์อาสนวิหารดีอาสนวิหารดีฌงอาสนวิหารตูร์อาสนวิหารตูลอาสนวิหารตูลูซอาสนวิหารซอลส์บรีอาสนวิหารซาร์ลาอาสนวิหารซีมีเยอาสนวิหารปัวตีเยอาสนวิหารปามีเยอาสนวิหารปีเตอร์บะระอาสนวิหารนอริชอาสนวิหารนักบุญออลบันอาสนวิหารนัวยงอาสนวิหารนิสอาสนวิหารนีมอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสอาสนวิหารน็องต์อาสนวิหารน็องซีอาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็องอาสนวิหารแก็งแปร์อาสนวิหารแม็สอาสนวิหารแรนอาสนวิหารแร็งส์อาสนวิหารแล็สการ์อาสนวิหารแวร์ซายอาสนวิหารแวร์เดิงอาสนวิหารแวซงอาสนวิหารแอร์อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรีอาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์อาสนวิหารแซ็ง-มาโลอาสนวิหารแซ็งตอแมร์อาสนวิหารแซ็งต์อาสนวิหารแซ็งเตเตียนอาสนวิหารแปร์ปีญ็องอาสนวิหารในสหราชอาณาจักรอาสนวิหารโบแวอาสนวิหารโมเดนาอาสนวิหารโอเติงอาสนวิหารเบอซ็องซงอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลอาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์อาสนวิหารเฮริฟอร์ดอาสนวิหารเดอรัมอาสนวิหารเซอแนซอาสนวิหารเปรีเกออาสนวิหารเนอแวร์อ่างล้างบาปจรมุขจุดตัดกลางโบสถ์ครีบยันลอยคอมบูร์กซันการ์โลอัลเลกวัตโตรฟอนตาเนซันลุยจีเดย์ฟรันเชซีซันตากอสตันซาซันตามาริอาดัลมาร์ (บาร์เซโลนา)ซันตาตรีนีตาซันตาเรปาราตา ฟลอเรนซ์ซันซักกาเรีย เวนิสซันโตสปีรีโต ฟลอเรนซ์ซุ้มกาลิลีประตูปีศาจปนาลีแชร์โตซาดีซันมาร์ตีโนแซ็งต์-ชาแปลโบสถ์กลมโบสถ์หอกลมโบสถ์คริสต์โบสถ์น้อยโบสถ์น้อยบรันกัชชีโบสถ์น้อยกอนตาเรลลีโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนีโบสถ์น้อยซัสเซตตีโบสถ์น้อยซิสทีนโบสถ์โถงโบสถ์เจซูโรงเขียนหนังสือโครงสร้างทรงโค้งโครงสร้างทรงโค้งมีสันเพดานพัดเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เครื่องยอดหลังคา ขยายดัชนี (146 มากกว่า) »

บริเวณกลางโบสถ์

ริเวณกลางโบสถ์แบบกอธิคมองไปสู่บริเวณพิธีทางมุขตะวันออกภายในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์และเซนต์พอลแห่งนองซ์ในประเทศฝรั่งเศส แผนผังแสดงส่วนที่เป็น “บริเวณกลางโบสถ์” ที่เป็นสีชมพู บริเวณกลางโบสถ์ยุคต้นเรอเนสซองซ์ในบาซิลิกาซานโลเร็นโซโดยฟีลิปโป บรูเนลเลสกี - คริสต์ทศวรรษ 1420 บริเวณกลางโบสถ์ (nave) คือช่องทางเดิน (aisle) ที่ตั้งอยู่กลางคริสต์ศาสนสถานที่เริ่มตั้งแต่จากประตูทางเข้าไปสู่บริเวณพิธีและแท่นบูชาเอก ที่บางครั้งก็อาจจะขนาบด้วยช่องทางเดินข้างซ้ายขวาข้างละช่องหรืออาจจะมากกว่าก็ได้ถ้าเป็นวัดใหญ่ๆ เช่นมหาวิหารแซงต์เอเตียนน์แห่งบูร์กที่มีช่องทางเดินทั้งหมดห้าช่องที่ประกอบด้วยบริเวณกลางโบสถ์ที่ขนาบด้วยช่องทางเดินข้างๆ ละสองช่อง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและบริเวณกลางโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

บริเวณร้องเพลงสวด

“บริเวณร้องเพลงสวด” ของมหาวิหารปาเล็นเซียในประเทศสเปน ภาพแสดงให้เห็นที่นั่งของนักบวชสองข้างหน้าแท่นบูชาเอกที่ทำด้วยไม้ที่สลักเสลาอย่างงดงามที่วัดในเมืองบาดชูสเซนรีด ที่เดิมเป็นสำนักสงฆ์ในประเทศเยอรมนี บริเวณร้องเพลงสวด (Choir หรือ quire) ในทางสถาปัตยกรรม “บริเวณร้องเพลงสวด” เป็นบริเวณภายใน คริสต์ศาสนสถาน หรือมหาวิหารที่มักจะตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกของบริเวณพิธี (chancel) ระหว่างทางเดินกลาง (nave) และบริเวณศักดิ์สิทธิ์ (sanctuary) (ที่เป็นที่ตั้งแท่นบูชา) แต่บางครั้ง “บริเวณร้องเพลงสวด” ก็อาจจะตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของทางเดินกลาง ในวัดของสำนักสงฆ์บางแห่งบริเวณนี้ก็จะตั้งอยู่ทางตะวันตกของทางเดินกลางซึ่งเป็นการสมดุลกับบริเวณพิธีและบริเวณศักดิ์สิท.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและบริเวณร้องเพลงสวด · ดูเพิ่มเติม »

บริเวณคริสต์ศาสนพิธี

ริเวณทางขวาของแขนกางเขน (สีเทา) คือบริเวณพิธี บริเวณคริสต์ศาสนพิธี (Chancel) คือบริเวณรอบแท่นบูชาเอกในบริเวณมุขตะวันออกของคริสต์ศาสนสถานซึ่งอาจจะเป็นปลายสุดของมุขโค้งด้านสกัด หลังจากการการประชุมสภาสงฆ์แห่งแลตเตอรันครั้งที่ 4 ในปี ค.ศ. 1215 ก็ได้มีข้อกำหนดออกมาข้อหนึ่งที่ว่านักบวชจะต้องกระทำพิธีศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณที่ได้รับพิทักษ์จากการก่อกวนจากบริเวณสำหรับศาสนิกชนผู้เข้าร่วมพิธี ฉะนั้นบริเวณพิธีของนักบวชในสมัยโบราณจึงถูกกันออกจากบริเวณของฆราวาสด้วยฉาก ความแตกต่างของสองบริเวณนี้กำหนดไว้ในคริสต์ศาสนกฎบัตร ที่ว่าการก่อสร้างและการบำรุงรักษาบริเวณพิธีเป็นหน้าที่ของนักบวช และการก่อสร้างและการบำรุงรักษาบริเวณทางเดินกลางและทางเดินข้างเป็นหน้าที่ของสมาชิกผู้เป็นฆราวาสของวัด ฉะนั้นบางครั้งจึงทำให้บริเวณพิธีและบริเวณฆราวาสก็จะแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดในด้านการตกแต่งและสภาพของบริเวณ นอกไปจากแท่นบูชาแล้วบริเวณพิธีก็มักจะเป็นที่ตั้งของโต๊ะพิธี (credence table) และที่นั่งของนักบวชระดับต่างๆ ของวัดและในวัดอังกลิคันและเมธอดิสต์ก็อาจจะรวมทั้งบริเวณร้องเพลงสวดด้วย ในบางวัดบริเวณนี้ก็อาจจะมีแท่นเทศน์และแท่นอ่าน แต่บางครั้งทั้งสองอย่างนี้ก็อาจจะตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นของฆราวาส บริเวณพิธีมักจะยกขึ้นสูงกว่าบริเวณที่เป็นของฆราวาส และอาจจะแยกออกไปด้วยฉากกางเขน, ราว หรือบริเวณโล่ง ในวัดบางวัดผู้เข้าร่วมพิธีก็อาจจะนั่งรอบสามด้านของบริเวณพิธีเป็นครึ่งวงกลมก็ได้ คำว่า “chancel” มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แผลงมาจากภาษาลาติน “cancelli” ที่แปลว่าฉากโปร่ง (lattice) ที่หมายถึงฉากกางเขน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและบริเวณคริสต์ศาสนพิธี · ดูเพิ่มเติม »

บักฟาสต์แอบบีย์

ักฟาสต์แอบบีย์ (Buckfast Abbey) เป็นอารามคณะเบเนดิกตินนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองบักฟาสต์ลีห์ในเทศมณฑลเดวอน อังกฤษ ที่อุทิศให้พระแม่มารีย์ บักฟาสต์แอบบีย์ก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1018 และเปลี่ยนไปอยู่ภายใต้การบริหารของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1147 จนกระทั่งมาถูกทำลายลงเมื่อมีการยุบอารามในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 เมื่อมาถึงปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและบักฟาสต์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต

นักบุญมินิอัสแห่งฟลอเรนซ์ทางขวาของพระเยซู โดยมีคำจารึกว่า: "S. MINIATUS REX ERMINIE" บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต (Basilica di San Miniato al Monte) เป็นบาซิลิกาที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ทางตอนกลางของประเทศอิตาลี ตัวบาซิลิกาตั้งอยู่บนเนินที่สูงที่สุดของเมืองฟลอเรนซ์ บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตได้ชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ในทัสเคนี บาซิลิกาตั้งอยู่ติดกับสำนักสงฆ์ลัทธิโอลิเวทันส์ที่จะมองเห็นเมื่อขึ้นบันไดไปยังบาซิลิกา นักบุญมินิอัสแห่งฟลอเรนซ์ หรือมินาส (Մինաս, Miniato) เดิมเป็นเจ้าชายชาวอาร์มีเนียผู้รับราชการเป็นทหารในกองทัพโรมันภายใต้จักรพรรดิเดซิอัส มินิอัสถูกประณามว่าเป็นผู้นับถือคริสต์ศาสนาหลังจากที่ไปเป็นนักพรต และถูกนำตัวมาปรากฏต่อหน้าจักรพรรดิ ผู้กำลังตั้งค่ายอยู่หน้าประตูเมืองฟลอเรนซ์ พระจักรพรรดิมีพระบรมราชโองการให้โยนมินิอัสให้สัตว์ป่ากินในสนามกีฬา แต่เมื่อปล่อยเสือดำเข้าไป เสือดำก็ไม่ยอมทำร้ายมินิอัส มินิอัสจึงถูกตัดหัวต่อหน้าพระจักรพรรดิ กล่าวกันว่ามินิอัสไม่ได้เสียชีวิตทันทีแต่ก้มลงยกหัวของตนขึ้นมา แล้วประคองหัวข้ามแม่น้ำอาร์โน จากนั้นก็เดินขึ้นเนินมอนส์ฟิโอเรนตินัสไปยังที่อาศัย ต่อมาก็ได้มีการสร้างสักการะสถานตรงจุดนี้ และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ก็มีชาเปลขึ้นแล้ว การก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้เริ่มขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1013 โดยสังฆราชอาลิบรันโด โดยการอุปถัมภ์ของสมเด็จพระจักรพรรดิไฮนริคที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตเริ่มด้วยการเป็นสำนักสงฆ์ของลัทธิเบ็นนาดิคติน จากนั้นก็เปลี่ยนมือไปเป็นของลัทธิคลูนี และในปี ค.ศ. 1373 ก็ตกไปเป็นของลัทธิโอลิเวตันผู้ซึ่งยังคงใช้คริสต์ศาสนสถานนี้อยู่ นักบวชของสำนักสงฆ์มีชื่อเสียงในการทำสุรา, น้ำผึ้ง และ ชาสมุนไพรที่ขายในร้านที่ตั้งอยู่ติดกับวัด ด้านหน้าวัดที่ทำด้วยหินอ่อนเป็นลวดลายเรขาคณิตอาจจะเริ่มทำขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและบาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต · ดูเพิ่มเติม »

ชาเปลบริเวณมุขโค้ง

ปลบริเวณมุขโค้ง (Absidiole, Apse chapel) เป็นชาเปลขนาดเล็กซึ่งตั้งอยู่บริเวณมุขโค้งด้านสกัด หรือจรมุข โดยปกติมักจะพบมากกว่าหนึ่งแห่ง โดยจำนวนของชาเปลนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของมุขโค้ง (ถ้าเป็นแบบโค้ง) และแถบกำแพง (ในกรณีเป็นเหลี่ยม).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและชาเปลบริเวณมุขโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

ช่องรับแสง

ั้นระหว่างหลังคาบนและหลังคาล่างคือ “ช่องรับแสง” ที่วัดเซนต์นิโคไลที่สตราลซุนด์ (Stralsund) ช่องรับแสง (ˈklɪə(r)stɔəri; Overstorey) หรือที่แปลตรงตัวว่า “ชั้นที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง” (clear storey) เป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างที่หมายถึงชั้นบนของบาซิลิกาโรมัน หรือเหนือทางเดินกลางหรือบริเวณพิธีของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ หรือ สถาปัตยกรรมกอธิคของคริสต์ศาสนสถาน ผนังซึ่งสูงขึ้นไปจากทางเดินข้างและปรุด้วยหน้าต่าง จุดประสงค์ของการมี “ช่องรับแสง” ก็เพื่อให้แสงสว่างสามารถส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างได้.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและช่องรับแสง · ดูเพิ่มเติม »

ชเตฟันสโดม

การขยายอาสนวิหารนักบุญสเทเฟน: The '''หอโรมันและประตูยักษ์''' จากซากไหม้ของโบสถ์แรกใช้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์'''โบสถ์ที่สอง''' สร้างแทนโบสถ์เดิม สี่สิบปีต่อมา ก็เริ่มก่อสร้าง '''Albertine Choir''' แบบกอธิค; ห้าสิบห้าปีหลังจากนั้นก็สร้าง '''ส่วนต่อเติมดยุกรูดอล์ฟที่ 4''' รอบบริเวณ '''โบสถ์ที่สอง''' ที่ต่อมาถูกรื้อทิ้ง เหลือโบสถ์ที่สามให้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (Stephansdom, St.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1147 อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนเป็นสิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนาที่เห็นได้อย่างเด่นชัดจากหลังคากระเบื้องหลากสี.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและชเตฟันสโดม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กอทิกอ็องฌ์แว็ง

นโค้งแบบอ็องฌ์แว็งที่ L'Hôpital Saint-Jean เมืองอ็องเฌ กอทิกอ็องฌ์แว็ง (Gothique Angevin) หรือ กอทิกแพลนแทเจเนต (Gothique Plantagenêt) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กอทิกแบบตะวันตก เป็นสถาปัตยกรรมกอทิกแบบหนึ่งของฝรั่ง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและกอทิกอ็องฌ์แว็ง · ดูเพิ่มเติม »

การ์โล มาแดร์โน

้านหน้ามหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ การ์โล มาแดร์โน (Carlo Maderno; ค.ศ. 1556 - 30 มกราคม ค.ศ. 1629) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี-สวิสเกิดที่ตีชีโน (Ticino) ที่อยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ส่วนที่พูดภาษาอิตาลี การ์โล มาแดร์โนถือกันว่าเป็นบิดาแห่งสถาปัตยกรรมบาโรก งานของมาแดร์โนด้านหน้าของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ วัดซานตาซูซานนา (Santa Susanna) และวัดซานตันเดรอาเดลลาวัลเล (Sant'Andrea della Valle) ถือกันว่าเป็นกุญแจสำคัญของการวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมบาโรกของอิตาลี การ์โล มาแดร์โนมักจะรู้จักว่าเป็นพี่ชายของประติมากรสเตฟาโน มาแดร์โน (Stefano Maderno) แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและการ์โล มาแดร์โน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหาร (ศาสนาคริสต์)

มหาวิหาร (basilica) คำว่า “basilica” มาจากภาษากรีก “Stoa Basileios” ที่เดิมใช้ในการบรรยายสิ่งก่อสร้างสาธารณะในโรมโบราณ (เช่นในกรีซที่ส่วนใหญ่เป็นสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการศาล) ที่มักจะตั้งอยู่ในจัตุรัส (Roman forum) ของเมืองโรมัน ในเมืองกรีกมหาวิหารสาธารณะเริ่มสร้างกันราวสองร้อยปีก่อนคริสต์ศักราช นอกจากนั้น “มหาวิหาร” ก็ยังมีความหมายทางศาสนา ซากมหาวิหารตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ก็มีการพบมหาวิหารนีโอไพธากอเรียนที่ปอร์ตามัจโจเร (Porta Maggiore) ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหาร (ศาสนาคริสต์) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารบัมแบร์ก

มหาวิหารบัมแบร์ก (Bamberger Dom) มีชื่อเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรและนักบุญจอร์จ (Bamberger Dom St. Peter und St. Georg) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลบัมแบร์ก ตั้งอยู่ที่เมืองบัมแบร์ก ในประเทศเยอรมนี สถาปัตยกรรมของมหาวิหารที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ตอนปลายโดยมีหอสี่หอ มหาวิหารแรกก่อสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1004 โดยจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ที่สร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1012 และได้รับการเสกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1012 ต่อมาถูกเพลิงไหม้ไปบางส่วนในปี ค.ศ. 1081 มหาวิหารใหม่สร้างโดยออทโทแห่งบัมแบร์ก และได้รับการเสกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1111 ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มหาวิหารก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์และต่อเติมใหม่จนเป็นรูปทรงเป็นแบบปลายสมัยโรมานเนสก์ที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารบัมแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารบูร์โกส

กทางเหนือจากซ้ายไปขวา ชาเปลคอนดาสเตเบิลเป็นหอแปดเหลี่ยม และหอมียอดแหลมแบบกอธิควิจิตร (Flamboyant gothic) มหาวิหารบูร์โกส (Catedral de Burgos) อุทิศให้แก่พระแม่มารี ตั้งอยู่ที่เมืองบูร์โกส ประเทศสเปน สถาปัตยกรรมของมหาวิหารเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอธิคเป็นส่วนใหญ่ และมีชื่อเสียงว่าเป็นมหาวิหารขนาดใหญ่ที่เป็นสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารบูร์โกส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารมอนซา

อาสนวิหารนักบุญยอห์นแบปติสต์ (Duomo di San Giovanni Battista) หรือ มหาวิหารมอนซา (Duomo di Monza) เป็นคริสต์ศาสนสถานโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองมอนซาไม่ไกลจากมิลานในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารมอนซา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารวอมส์

อาสนวิหารนักบุญเปโตร วอมส์ (Dom St.; Worms Cathedral) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหารที่ตั้งอยู่ที่เมืองวอมส์ในประเทศเยอรมนี อาสนวิหารวอมส์เป็นอาสนวิหารแบบโรมาเนสก์ที่สร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารวอมส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารวาเวล

มหาวิหารวาเวล (Wawel Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า อัครอาสนมหามหาวิหารหลวงนักบุญสตานิสลาฟและนักบุญวาสลาฟบนเนินเขาวาเวล (Bazylika archikatedralna św.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลกรากุฟ ตั้งอยู่บนเนินเขาวาเวลที่เมืองกรากุฟ ประเทศโปแลนด์ เป็นอาสนวิหารที่มีประวัติเก่าแก่ยืดยามมาร่วมหนึ่งพันปี และมักจะเป็นสถานที่พระมหากษัตริย์โปแลนด์ทำพิธีราชาภิเษก สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันที่เป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นอาสนวิหารที่สามที่สร้างขึ้นบนตำแหน่งเดียวกันนี้ อาสนวิหารแรกสร้างขึ้นและถูกทำลายในคริสต์ศตวรรษที่ 11 มหาวิหารที่สองที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถูกทำลายในเพลิงไหม้ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารวาเวล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารตูร์แน

มหาวิหารตูร์แน หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งตูร์แน (Cathédrale Notre-Dame de Tournai; Onze-Lieve-Vrouw van Doornik) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลตูร์แน (Diocese of Tournai) ตั้งอยู่ที่เมืองตูร์แน มณฑลแอโน เขตวัลลูน ในประเทศเบลเยียม โดยสร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่พระนางมารีย์พรหมจารี มหาวิหารแห่งนี้ถือเป็นมหาวิหารแห่งเดียวในประเทศเบลเยียมซึ่งตั้งใจสร้างเพื่อมีฐานะเป็นอาสนวิหาร (Cathedral) ซึ่งจัดเป็นผลงานชิ้นเอกของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบตูร์แน (Gothique tournaisien) ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมช่วงเปลี่ยนผ่านระหว่างโรมาเนสก์กับกอทิกที่พบได้มากในภูมิภาคแถบนี้ มหาวิหารตูร์แนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานสำคัญของภูมิภาควัลลูน (Patrimoine immobilier classé de la Région wallonne) เมื่อปี ค.ศ. 1936 และต่อมาได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 2000.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารตูร์แน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันมาร์โก

มหาวิหารซันมาร์โก หรือชื่อเต็มคือ อัครบิดรอาสนะมหาวิหารซันมาร์โก (Basilica Cattedrale Patriarcale di San Marco, St Mark's Basilica หรือ Saint Mark's Basilica) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ระดับมหาวิหารประจำเขตอัครบิดรเวนิสในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก มหาวิหารซันมาร์โกได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1094 มหาวิหารซันมาร์โกที่เป็นตัวอย่างอันสำคัญของสถาปัตยกรรมไบแซนไทน์ตั้งอยู่ที่จตุรัสซันมาร์โกติดและเชื่อมกับวังดยุกแห่งเวนิส เดิมตัวโบสถ์เป็นโบสถ์น้อยของประมุขผู้ครองเวนิส และมิได้เป็นมหาวิหารของเมือง แต่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซันมาร์โก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร

มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร (Basilica di Santa Maria Maggiore) ในภาษาอังกฤษมักเรียกว่า St.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลา

มหาวิหารซานตามาเรียโนเวลลา (ภาษาอังกฤษ: Basilica of Santa Maria Novella; ภาษาอิตาลี: Santa Maria Novella) เป็นวัดคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอธิคและเรอเนซองส์ตอนต้น มหาวิหารซานตามาเรียโนเวลลามีงานจิตรกรรมฝาผนังสำคัญๆ ของจิตรกรผู้มีชื่อเสียงหลายคนของฟลอเรนซ์ เช่นงานในชาเปลทอร์นาบุโอนิ โดย โดเมนนิโค เกอร์ลันเดา, ในชาเปลสปาโยลิ หรืองานในระเบียงคดโดย เปาโล อูเชลโล และงานศิลปะชนิดอื่นๆ เช่นกางเขนของ ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตาโกรเช

้านหน้าบาซิลิกา ภายใน บาซิลิกาซานตาโครเช (ภาษาอิตาลี: Basilica di Santa Croce; ภาษาอังกฤษ: Basilica of the Holy Cross) เป็นวัดบาซิลิกาชั้นรองของนิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ที่ตั้งแต่เดิมเป็นที่ลุ่มนอกกำแพงเมืองฟลอเรนซ์ ภายในวัดเป็นที่เก็บศพคนสำคัญๆ ของอิตาลีเช่นไมเคิล แอนเจโล, กาลิเลโอ กาลิเลอี, และคนอื่นจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น “Pantheon of the Italian Glories” (จุดยอดของความเลิศของอิตาลี).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซันตาโกรเช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันโลเรนโซ ฟลอเรนซ์

ซิลิกาซานโลเร็นโซ หรือ บาซิลิกาเซนต์ลอว์เรนซ์แห่งฟลอเรนซ์ (Basilica of San Lorenzo, Florence, Basilica di San Lorenzo) เป็นวัดคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นมหาวิหารที่ตั้งอยู่กลางเมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยา บาซิลิกาซานโลเร็นโซเป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณตลาดเก่าในใจกลางเมืองฟลอเรนซ์และเป็นวัดที่ใช้ในการบรรจุศพบุคคลสำคัญๆ หลายคนของตระกูลเมดิชิตั้งแต่โคสิโม เดอ เมดิชิผู้เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1464 มาจนถึงโคสิโม เดอ เมดิชิที่ 3 แกรนดยุคแห่งทัสเคนี (Cosimo III de' Medici, Grand Duke of Tuscany) ผู้เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1723 บาซิลิกาซานโลเร็นโซเป็นวัดหนึ่งที่อ้างตนเองว่าเป็นวัดที่เก่าที่สุดในฟลอเรนซ์ที่เดิมสร้างในปี ค.ศ. 393 นอกกำแพงเมือง และเป็นมหาวิหารแห่งเมืองฟลอเรนซ์อยู่ 300 ปี ก่อนที่จะย้ายไปเป็นวัดซานตาเรพาราตา นอกจากนั้นแล้วบาซิลิกาซานโลเร็นโซก็ยังเป็นวัดประจำตระกูลเมดิชิ ในปี ค.ศ. 1419 จิโอวานนิ ดิ บิชชิ เดอ เมดิชิ (Giovanni di Bicci de' Medici) อาสาออกเงินให้สร้างวัดใหม่แทนวัดโรมาเนสก์เดิมที่สร้างมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 โดยจ้างให้ฟีลิปโป บรูเนลเลสกีผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นผู้ออกแบบ แต่ไม่ได้สร้างเสร็จจนกระทั่งจิโอวานนิเสียชีวิตไปแล้ว บาซิลิกาซานโลเร็นโซเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มคริสต์ศาสนสถานที่เป็นของสำนักสงฆ์ ที่ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างสำคัญๆ อื่นๆ ที่รวมทั้งห้องเก็บสมบัติเก่า (Sagresta Vecchia) โดยฟีลิปโป บรูเนลเลสกี, ห้องสมุดบาซิลิกาซานโลเร็นโซ (Laurentian Library) โดยมีเกลันเจโล, ห้องเก็บสมบัติใหม่โดยมีเกลันเจโล และชาเปลเมดิชิ (Medici Chapel) โดยมัตเตโอ นิเก็ตติ (Matteo Nigetti).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซันโลเรนโซ ฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซาเคร-เกอร์

มหาวิหารพระหฤทัยแห่งมงมาทร์ (Basilique du Sacré-Cœur de Montmartre) เป็นโบสถ์และมหาวิหารรองในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ซึ่งตั้งอยู่บนยอดเขาที่สูงที่สุดของกรุงปารีส หรือที่เรียกกันว่า "มงมาทร์" สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่พระหฤทัยของพระเยซู ปัจจุบันถือเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวหลักของกรุงปารีส โดยถือเป็นอนุสาวรีย์ของทั้งสองด้าน คือการเมือง และวัฒนธรรม โบสถ์ได้ถูกออกแบบโดยโปล อะบาดี ซึ่งเป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศสที่เป็นหนึ่งใน 77 สถาปนิกผู้ชนะการประกวด เริ่มการก่อสร้างในปี..1875 และเสร็จสิ้นในปี..1914 โดยได้รับการแต่งตั้งโดยสมบูรณ์ (วางศิลาฤกษ์) ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี..1919 ในปัจจุบันนักท่องเที่ยวสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ทุกวันตั้งแต่ 06.00 น. จนถึง 22.30 น. โดยสามารถเข้าชมบริเวณโดมได้ตั้งแต่ 09.00 น. จนถึงเวลา 19.00 น. หรือ 18.00 น. ในช่วงฤดูหนาว โบสถ์พระหฤทัยยามค่ำคืน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซาเคร-เกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซีเอนา

อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (cattedrale metropolitana di Santa Maria Assunta) หรือ มหาวิหารซีเอนา (Duomo di Siena) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่เมืองซีเอนาในประเทศอิตาลี เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลซีเอนา-กอลเลดีวัลเดลซา-มอนตัลชีโน มหาวิหารซีเอนาเริ่มออกแบบและสร้างเป็นครั้งแรกระหว่างปี ค.ศ. 1215 ถึง ค.ศ. 1263 บนฐานของโบสถ์หลังเดิม แผนผังมหาวิหารเป็นแบบกางเขนละตินโดยมีส่วนขวางด้านหนึ่งยื่นออกมากว่าปกติ พร้อมกับโดมและหอระฆัง โดมที่ตั้งอยู่บนหอแปดเหลี่ยมมาสร้างเพิ่มโดยจัน โลเรนโซ แบร์นีนี ทางเดินกลางแยกจากทางเดินข้างด้วยซุ้มโค้งครึ่งวงกลม ภายนอกและภายในตกแต่งด้วยแถบหินอ่อนขาวสลับเขียวดำยกเว้นด้านหน้าที่แทรกด้วยหินอ่อนสีชมพูแก่เกือบแดง สีขาวดำเป็นสีสัญลักษณ์ของเมืองเซียนาซึ่งตามตำนานกล่าวว่าเป็นสีของม้าของเซเนียสและอาสเคียสผู้ก่อตั้งเมือง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารปาโดวา

อาสนมหาวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งปาโดวา (Basilica Cattedrale di Santa Maria Assunta) หรือ มหาวิหารปาโดวา (Duomo di Padova) เป็นคริสต์ศาสนสถานของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองปาโดวา ในประเทศอิตาลี สร้างขึ้นเพื่ออุทิสแก่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาคารปัจจุบันเป็นสิ่งก่อสร้างที่สาม สิ่งก่อสร้างแรกสร้างหลังจากพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเมื่อปี ค.ศ. 313 แต่มาถูกทำลายในแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1117 โบสถ์ที่สองสร้างเป็นสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ และมารื้อทิ้งในปี ค.ศ. 1551 เพื่อสร้างใหม่ตามแบบที่ออกโดยมีเกลันเจโล ลักษณะที่ยังเป็นโบสถ์สมัยกลางยังคงเห็นได้จากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยจุสโต เด เมนาบูโออีในหอล้างบาป การสร้างเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยาสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1754 แต่ด้านหน้ายังคงเป็นอิฐเปลือยที่ยังไม่ได้รับการตกแต่ง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารปาโดวา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญแอนโทนีแห่งปาดัว

ซิลิกาซานอันโตนิโอแห่งปาดัว (Basilica of Saint Anthony of Padua, Basilica di Sant'Antonio da Padova) เป็นคริสต์ศาสนสถาน นิกายโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นบาซิลิกา ที่ตั้งอยู่ที่เมืองปาดัวในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยา แม้ว่าจะเป็นคริสต์ศาสนสถานที่มีผู้มาเยี่ยมชมและแสวงบุญมากที่สุดแต่มิได้เป็นมหาวิหาร มหาวิหารของปาดัวเป็นอีกสิ่งก่อสร้างหนึ่ง บาซิลิกาซานอันโตนิโอรู้จักกันในท้องถิ่นว่า “il Santo”.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารนักบุญแอนโทนีแห่งปาดัว · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญเบซิล

มหาวิหารเซนต์บาซิล (Saint Basil's Cathedral; Собор Василия Блаженного) เป็นอาสนวิหารของศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซีย ตั้งอยู่ที่จัตุรัสแดง กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย สร้างโดยซาร์อีวานที่ 4 แห่งรัสเซีย หรือซาร์อีวานจอมโหด เพื่อฉลองชัยชนะเหนือพวกมองโกลที่กรีธาทัพมาเมืองคาซาน เมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารนักบุญเบซิล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง

้านหน้ามหาวิหาร มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง (Basilica di San Paolo fuori le Mura; Basilica of St Paul Outside the Walls/St Paul-without-the-Walls) เป็นหนึ่งในสี่มหาวิหารเอกหรือมหาวิหารสันตะปาปา อีกสามแห่งที่เหลือ ได้แก่ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร และมหาวิหารนักบุญเปโตร.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญเปโตร

มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica of Saint Peter, Basilica Sancti Petri) รู้จักกันโดยชาวอิตาลีว่า Basilica di San Pietro in Vaticano หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่าเซนต์ปีเตอร์สบาซิลิกา (Saint Peter's Basilica) เป็นมหาวิหารเอกหนึ่งในสี่แห่งในกรุงโรม นครรัฐวาติกัน (อีกสามมหาวิหาร คือ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร และมหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารนักบุญเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเวเซอแล

มหาวิหารนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาแห่งเวเซอแล (Basilique Sainte-Marie-Madeleine de Vézelay) เป็นบาซิลิกา ในอดีตเดิมเป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกตินและอารามกลูว์นี (Cluniac) ตั้งอยู่ที่เวเซอแล จังหวัดอียอน แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส ตัวสิ่งก่อสร้างประกอบด้วยการตกแต่งที่ซับซ้อนด้วยรูปสลักเสลาด้านหน้า, เหนือประตูทางเข้า และหัวเสาที่ถือกันว่าเป็นงานฝีมือชั้นเอกของสถาปัตยกรรมและศิลปะโรมาเนสก์ของบูร์กอญ แม้ว่าบางส่วนของงานศิลปะจะถูกทำลายไปในระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส มหาวิหารเวเซอแลและเนินในบริเวณเวเซอแล ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารเวเซอแล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเคอนิจส์แบร์ก

อาสนวิหารเคอนิจส์แบร์ก (Königsberg Cathedral) เป็นอาสนวิหารศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซียที่ตั้งอยู่ที่เมืองคาลินกราด (เดิมเคอนิจส์แบร์กในเยอรมนี) บนเกาะเพรเกิล (เพรโกลยา) ในสหพันธรัฐรัสเซีย หรือเรียกว่าคไนพ์ฮอฟในภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมหาวิหารเคอนิจส์แบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มุขข้างโบสถ์

มุขข้างโบสถ์ หรือ แขนกางเขน (transept) คือเป็นบริเวณทางขวางที่ตัดกับทางเดินกลางของสิ่งก่อสร้างที่มีผังทรงกางเขนในคริสต์ศาสนสถานที่เป็นสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และกอธิค มุขข้างโบสถ์แยกทางเดินกลางจากบริเวณศักดิ์สิทธิ์ที่รวมทั้งมุขตะวันออก บริเวณร้องเพลงสวด ชาเปลดาวกระจาย และบริเวณสงฆ์ มุขข้างโบสถ์ตัดกับทางเดินกลางตรงจุดตัด ที่อาจจะเป็นที่ตั้งของหอสูงเช่นที่มหาวิหารซอลส์บรีหรือโดม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมุขข้างโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

มุขโค้งด้านสกัด

ลักษณะโดยทั่วไปของมุขโค้งสมัยคริสเตียนตอนต้น/ไบแซนไทน์ที่เป็นโค้งครึ่งโดม มุขโค้งสามมุขด้านตะวันออกของบาซิลิกาซานตาจูเลียทางตอนเหนือของอิตาลี มุขด้านตะวันออกของแอบบีแซงต์อูน (Abbey church of Saint-Ouen) แสดงให้เห็น “ชาเปลดาวกระจาย”, รูออง มุขด้านตะวันออกของมหาวิหารมอนริอาเลในซิซิลีที่เต็มไปด้วยลวดลายตกแต่ง มุขโค้งด้านสกัด หรือ มุขตะวันออก (Apse หรือ Apsis) คือส่วนที่เป็นโค้งครึ่งวงกลมที่มีหลังคาครึ่งวงกลมหรือครึ่งโดมที่ยื่นออกมาจากสิ่งก่อสร้าง “มุขโค้งด้านสกัด” มาจากภาษาอังกฤษว่า “Apse” ที่มาจากภาษาละติน “absis” ที่แปลว่า “โค้ง” หรือ “เพดานโค้ง” ในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์, สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์ และ สถาปัตยกรรมกอธิคของแอบบี, มหาวิหาร และคริสต์ศาสนสถานอื่นๆ คำนี้หมายถึงมุขครึ่งวงกลมหรือหลายเหลี่ยมที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของสิ่งก่อสร้างที่ภายในเป็นที่ตั้งของแท่นบูชาเอก และไม่ว่าหลังคาจะเป็นทรงใด: ราบ, ลาด, โดม หรือครึ่งวงกลม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและมุขโค้งด้านสกัด · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียงเหนือทางเดินข้าง

ระเบียงเหนือทางเดินข้างเหนือซุ้มโค้งชั้นล่างและภายใต้ช่องรับแสงที่แอบบีมาล์มสบรีในวิลท์เชอร์ในอังกฤษ เป็นระเบียงที่มีซุ้มโค้งแต่งด้วยโค้งหยักแบบนอร์มัน ภายในโค้งใหญ่ก็มีซุ้มโค้งเล็กรับอีกสี่ซุ้ม แอบบีมาล์มสบรีมองจากด้านนอกแสดงตำแหน่งของระเบียงแคบระหว่างลูกศรที่อยู่เหนือช่องทางเดินข้างและช่องรับแสง ระเบียงเหนือทางเดินข้างผนังเป็นกระจกที่มหาวิหารโคโลญสองข้างช่องตกแต่งเป็นภาพวาดเทวดา ระเบียงเหนือทางเดินข้าง หรือ ระเบียงแนบ (triforiumBritannia.com: triforium) คือระเบียงแคบที่สร้างภายในความหนาของผนังด้านในที่ตั้งอยู่ทางผนังด้านข้างเหนือบริเวณกลางโบสถ์หรือมุขข้างโบสถ์ของคริสต์ศาสนสถาน ตำแหน่งอาจจะเป็นระดับเดียวกับช่องรับแสงหรือเป็นชั้นที่แยกออกมาเป็นชั้นต่างหากอยู่ใต้ช่องรับแสง ระเบียงเหนือทางเดินข้างอาจจะมีผนังเป็นแก้วแทนที่จะเป็นหิน ที่มาของคำว่า “ระเบียงเหนือทางเดินข้าง” ที่มาจากภาษาอังกฤษ “Triforium” ไม่เป็นที่ทราบแต่สันนิษฐานว่าอาจจะมาจากคำว่า “thoroughfarum” เพราะเป็นทางเดินจากหัวตึกไปถึงท้ายตึก อาจจะเป็นคำที่แผลงมาจากภาษาละตินว่า “tres” ที่แปลว่า “สาม” และ “foris” ที่แปลว่า “ประตู” หรือ “ทางเข้า” อาจจะเป็นได้ว่าทางผ่านอาจจะเคยเป็นลักษณะสามเหลี่ยมตามรูปทรงของหลังคาที่ลาดลงมาด้านหนึ่ง (ดูรูประหว่างลูกศร) ตัวอย่างแรกของระเบียงเหนือทางเดินข้างพบในบาซิลิกาของผู้นอกศาสนาที่เป็นระเบียงชั้นบนสำหรับการสนทนาหรือการดำเนินธุรกิจ ในสมัยคริสเตียนยุคแรกและในคริสต์ศาสนสถานของอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ระเบียงเหนือทางเดินข้างมักจะใช้สำหรับสตรี ในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และสถาปัตยกรรมกอธิคระเบียงเหนือทางเดินข้างอาจจะเป็นระเบียงกว้างบนผนังด้านข้างของช่องทางเดินข้างหรืออาจจะเป็นเพียงกว้างเกือบเท่ากับความหนาของผนัง ระเบียงเหนือทางเดินข้างเป็นองค์ประกอบสำคัญของบริเวณกลางโบสถ์ของมหาวิหารหรือคริสต์ศาสนสถานที่เพิ่มความสำคัญให้แก่ซุ้มบริเวณกลางโบสถ์ชั้นล่าง ในด้านการตกแต่งก็อาจจะมีการใช้บัวตกแต่งรอบโค้งหรือรูปแกะสลัก โดยเฉพาะการตกแต่งช่องตกแต่ง (Spandrel) ของส่วนที่เป็นสามเหลี่ยมสองข้างโค้ง เช่นในการตกแต่งระเบียงเหนือทางเดินข้างของมหาวิหารลิงคอล์น ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รูปทรงของหลังคาเหนือช่องทางเดินข้างแบนราบขึ้นที่ทำให้การสร้างระเบียงเหนือทางเดินข้างที่ต้องใช้ความสูงหายไป ระเบียงเหนือทางเดินข้างอาจจะใช้เป็นทางเดินหรือสำหรับผู้สังเกตการณ์ในพิธีที่เกิดขึ้นในมหาวิหาร หรืออาจจะใช้โดยนักบวชในการทำงานที่เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง บางครั้งระเบียงแคบก็มีประโยชน์ในทางโครงสร้างของสถาปัตยกรรมเมื่อมีการใช้ค้ำยันแบบปีกที่ช่วยดึงหรือแบ่งเบาน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างจากผนังที่สร้างผ่านระเบียงแคบและกางออกไปจากตัวสิ่งก่อสร้าง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและระเบียงเหนือทางเดินข้าง · ดูเพิ่มเติม »

วิหารคด

วิหารคดที่วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร วิหารคด คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมพุทธศาสนสถาน มีลักษณะเป็นวิหารล้อมรอบลานด้านในของวิหารหลักและคดเป็นข้อศอกตรงมุม มีลักษณะเทียบได้กับ ระเบียงฉันนบถ ในสถาปัตยกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและวิหารคด · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ท้องพระโรงเวสต์มินสเตอร์ที่เป็นเพดานแบบ “hammerbeam roof” ภาพจากคริสต์ศตวรรษที่ 18 สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ (English Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองขึ้นในอังกฤษระหว่างราวปี ค.ศ. 1180 ถึงราวปี ค.ศ. 1520 ลักษณะของสถาปัตยกรรมกอทิกของอังกฤษก็เช่นเดียวกับสถาปัตยกรรมกอทิกของส่วนอื่น ๆ ในยุโรป ที่บ่งลักษณะได้จากการใช้ซุ้มโค้งแหลม, เพดานโค้งแหลม, ค้ำยัน, หน้าต่างกว้างและสูง และหอหรือหลังคาที่เป็นยอดแหลม (spire) สถาปัตยกรรมกอทิกเข้ามาในอังกฤษจากฝรั่งเศส เมื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีลักษณะที่เรียกว่า “กอทิก” ได้รับการสร้างรวมกันในวัดเดียวที่บาซิลิกาแซงต์เดอนีส์นอกกรุงปารีสเป็นครั้งแรกโดยแอบบ็อตซูแกร์ ที่ได้รับการสถาปนาในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ

มหาวิหารเดอรัมเหนือแม่น้ำเวียร์ ด้านหน้ามหาวิหารเซนต์อัลบัน ปุ่มหินกลางหอประชุมนักบวชในมหาวิหารยอร์ก สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ (Architecture of the medieval cathedrals of England) เป็นช่วงระยะเวลาการก่อสร้างมหาวิหารที่เกิดขึ้นในอังกฤษระหว่าง ค.ศ. 1040 ถึงปี ค.ศ. 1540 กลุ่มสิ่งก่อสร้างยี่สิบห้าปีหลังที่ถือว่ามีเอกลักษณ์ของการก่อสร้างที่เป็นของอังกฤษแท้ แม้ว่าสิ่งก่อสร้างจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แต่สิ่งก่อสร้างทั้งหมดต่างก็มีจุดประสงค์ร่วมกันเพียงจุดประสงค์เดียว ในการเป็นมหาวิหารอันเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นศูนย์กลางของการบริหารมุขมณฑลและเป็นที่ตั้งของคาเทดราJohn Harvey, English Cathedrals แม้ว่าลักษณะของสิ่งก่อสร้างแต่ละสิ่งจะเป็นลักษณะอังกฤษแต่ก็เป็นลักษณะที่ต่าง ๆ กันออกไปทั้งความแตกต่างจากกันและกัน และความแตกต่างภายในมหาวิหารเดียวกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่ต่างจากมหาวิหารสมัยกลางอื่น ๆ เช่นทางตอนเหนือของฝรั่งเศสที่มหาวิหารและแอบบีย์ใหญ่ ๆ เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับกลุ่มชนเดียวกัน และการสืบประวัติของลักษณะสถาปัตยกรรมก็สามารถทำได้โดยศึกษาจากสิ่งก่อสร้างหนึ่งไปยังสิ่งก่อสร้างถัดไปภายในกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่เป็นของอารามเดียวกันAlec Clifton-Taylor, ‘’The Cathedrals of England’’ สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจของมหาวิหารอังกฤษก็คือประวัติของสถาปัตยกรรมสมัยกลางทั้งสมัยสามารถที่จะบรรยายได้จากสิ่งก่อสร้างสิ่งเดียว ที่มักจะประกอบด้วยลักษณะสถาปัตยกรรมเด่น ๆ ของแต่ละยุคโดยไม่มีการพยายามแต่อย่างใดในการพยายามผสานลักษณะที่แตกต่างกันของแต่ละสมัยที่สร้างขึ้นมาก่อนหน้านั้น ฉะนั้นลำดับเหตุการณ์ของการก่อสร้างจากสมัยหนึ่งไปอีกสมัยหนึ่งในมหาวิหารเดียวกันจึงอาจจะย้อนกลับไปกลับมาภายในบริเวณต่างๆ ของสิ่งก่อสร้าง จะมีข้อยกเว้นอยู่ก็แต่มหาวิหารซอลสบรีที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมตระกูลเดียวที่กลมกลืนกันไปทั้งตัวสิ่งก่อสร้าง เพราะเป็นการสร้างรวดเดียวเสร็จBanister Fletcher, ‘’History of Architecture on the Comparative Method.’’.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

มหาวิหารแซงต์ปิแยร์แห่งอองกูเล็ม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (Romanesque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่นความหนาของกำแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้งประทุนซ้อน การใช้โค้งซุ้มอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละชั้นที่ต่างขนาดกันศิลป พีระศรี, ประวัติศาสตร์และแบบอย่างศิลปะ, (แปลและเรียบเรียงโดย เขียน ยิ้มศิริ) (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2512) เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง (เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะเรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่นสถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาทในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่ และบางแห่งก็ยังใช้เป็นสถานที่สักการะตราบจนทุกวันนี้ Bannister Fletcher, “History of Architecture on the Comparative Method” (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ · ดูเพิ่มเติม »

หอล้างบาป

หอล้างบาปกลมเมืองปีซาตั้งอยู่ข้างตัวมหาวิหาร หอล้างบาปประจำมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน หอล้างบาปที่ฟลอเรนซ์ หอล้างบาป หรือ หอบัพติศมา (Baptistery หรือ BaptistryCatholic Encyclopedia. ''Baptistery''. http://www.newadvent.org/cathen/02276b.htm.) เป็นคริสต์ศาสนสถาน ที่สร้างเป็นอิสระจากสิ่งก่อสร้างอื่นโดยมีอ่างล้างบาปเป็นศูนย์กลาง หอล้างบาปอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของโบสถ์หรืออาสนวิหารซึ่งมีแท่นบูชาและคูหาสวดมนต์ของตนเอง ในศาสนาคริสต์ยุคแรกหอล้างบาปจะเป็นสถานสำหรับผู้จะเข้ารีตเรียนรู้เรื่องศาสนาก่อนจะรับศีลล้างบาป และเป็นที่ทำพิธีล้างบาป การสร้างหอล้างบาปอย่างสวยงามเป็นการแสดงถึงความสำคัญของการล้างบาปในศาสนาคริสต์ หอล้างบาปทรงแปดเหลี่ยมของมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันเป็นหอล้างบาปแรกที่สร้างเพื่อการพิธีนี้โดยเฉพาะ ซึ่งเป็นแบบลักษณะตัวอย่างของหอล้างบาปที่สร้างกันต่อมา ซึ่งบางครั้งจะเป็นสิบสองเหลี่ยม หรือกลมอย่างที่ปิซา ในบริเวณโถงทางเข้าโบสถ์คริสต์เป็นบริเวณที่ใช้สำหรับใช้เรียนคำสอนและสารภาพความศรัทธาก่อนที่จะทำการรับศีลล้างบาป โถงกลางจะมีอ่างล้างบาปป็นหลัก ซึ่งจะเป็นที่ที่ผู้รับศีลจะลงไปใต้น้ำสามหน จากอ่างจะเป็นบันไดสามขั้นลงไปในอ่าง ห้อยอยู่เหนืออ่างอาจจะเป็นนกพิลาปทองหรือเงินซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระวิญญาณบริสุทธิ์ รูปเคารพที่ทำจากโมเสกบนผนัง หรือจิตรกรรมฝาผนังมักจะเป็นฉากชีวิตของนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา อ่างล้างบาปในระยะแรกมักจะทำด้วยหิน แต่ต่อมาก็มีการทำด้วโลหะบ้าง แหล่งน้ำของหอล้างบาปของมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันมาจากน้ำพุธรรมชาติ ก่อนที่จะมาเป็นมหาวิหารสิ่งก่อสร้างเดิมเป็นวังของครอบครัวพลอติอิ แลเตอร์รัน (Plautii Laterani) ผู้เป็นผู้บริหารของจักรพรรดิโรมัน จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เป็นผู้ถวายวังนี้ให้กับบิชอปมิลทิอาเดส (Bishop Miltiades) น้ำพุธรรมชาติเป็นแหล่งน้ำของสิ่งก่อสร้างหลายสิ่งก่อสร้างภายในวัง เมื่อมีการเปลี่ยนศาสนาผู้เปลี่ยนก็ต้องรับล้างบาปทำให้แหล่งน้ำกลายเป็นความจำเป็น คาสสิโอโดรัสนักการเมืองและนักเขียนชาวโรมันบรรยายไว้ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและหอล้างบาป · ดูเพิ่มเติม »

หอหลังคาโดม

หร่าอุคบา หรือ “the Great Mosque of Kairouan” ที่ตั้งอยู่ที่ตูนิเซีย หอหลังคาโดม (Cupola) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโครงสร้างขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนโดมที่ตั้งอยู่ตอนบนของสิ่งก่อสร้าง ที่มักจะใช้สำหรับเป็นที่สังเกตการณ์หรือเป็นช่องระบายอากาศ ที่ตอนบนมักจะเป็นหลังคาหรือโดมที่ใหญ่กว่า “Cupola” มาจากภาษาอิตาลีที่แผลงมาจากภาษาละตินขั้นต่ำ “Cupula” (ภาษาละตินคลาสสิก “Cupella” ที่มาจากภาษากรีก “kypellon”) ที่แปลว่าถ้วยเล็ก (ภาษาละติน “Cupa”) ที่เป็นทรงของเพดานโค้งที่รูปร่างเหมือนถ้วยคว่ำ หอหลังคาโดมมักจะพบในสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดเล็ก ที่อาจจะใช้เป็นหอระฆัง, หอโคม หรือ หอทัศนาเหนือหลังคาหลัก หรือในบางกรณีก็อาจจะใช้ตกแต่งประดับหอ, ยอดแหลม หรือ หอกลมยอดแหลม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและหอหลังคาโดม · ดูเพิ่มเติม »

หอฉัน

ทมาร์ในโปรตุเกส หอฉัน หรือ โรงอาหาร (Refectory หรือ frater house หรือ fratery) คือห้องกินข้าวของคริสต์ศาสนสถาน โดยเฉพาะของสำนักสงฆ์, โรงเรียนประจำ หรือสถาบันการศึกษา สถานที่ที่มักจะใช้กันบ่อยในปัจจุบันคือในสถาบันฝึกนักบวช “หอฉัน” มาจากภาษาอังกฤษว่า “Refectory” ที่แผลงมาจากภาษาละติน “reficere” ที่แปลว่าทำใหม่ ที่มาจากภาษาละตินตอนปลาย “refectorium” ที่แปลว่าสถานที่ที่บุคคลจะไปทำการฟื้นตัว.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและหอฉัน · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมนักบวช

หอประชุมนักบวชที่มหาวิหารลิงคอล์น ที่อังกฤษ แสดงให้เห็นค้ำยันแบบปีกรอบตัวอาคาร หอประชุมนักบวชที่มหาวิหารแคนเทอร์เบอรี ที่อังกฤษ หอประชุมนักบวช (Chapter house) คือสิ่งก่อสร้างหรือห้องที่ติดกับอาสนวิหารหรือโบสถ์หรืออาราม ซึ่งใช้เป็นที่ประชุมของนักบวช ถ้าหอประชุมนักบวชเป็นส่วนหนึ่งของอารามก็มักจะตั้งอยู่ทางตะวันออกของระเบียงฉันนบถ จะเป็นห้องโล่งใหญ่เพื่อให้พอเพียงกับนักพรตที่จำวัดอยู่ในอารามและมักจะตกแต่งอย่างสวยงาม ถ้าเป็นหอประชุมนักบวชเป็นสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์หรือสถาปัตยกรรมกอทิกทางเข้ามักจะเป็น façade เล็กและบนซุ้มโค้งเหนือประตูก็จะมีการตกแต่ง นักพรตในอารามจะประชุมในหอเพื่ออ่านหนังสือศาสนาที่เป็นบท หรือ “Chapter” ฉะนั้นหอประชุมนักบวชในภาษาอังกฤษจึงเรียกว่า “Chapter house” นอกจากอ่านหนังสือศาสนาแล้วก็ยังใช้เป็นที่ประชุมเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับกิจการของอาราม การประชุมมักทำกันตอนเช้าหลังจากพิธีมิสซา นักพรตจะนั่งเรียงติดผนังตามลำดับความสำคัญ เมื่อประชุมเสร็จก็จะสารภาพบาปต่อหน้าที่ประชุม หรือกล่าวประณามผู้ที่ทำผิดโดยไม่กล่าวนาม ระเบียงฉันนบถด้านที่จะสร้างหอประชุมนักบวชจะเป็นด้านที่สร้างก่อนและจะสร้างไม่นานหลังจากที่สร้างโครงสร้างของโบสถ์ ถ้าเป็นหอประชุมนักบวชของมหาวิหาร เคลอจีของมหาวิหารก็จะประชุมกันที่นี่ถ้าเป็นหอประชุมนักบวชของโบสถ์ ดีน Prebendries และนักพรตก็จะประชุมกันที่นี.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและหอประชุมนักบวช · ดูเพิ่มเติม »

หน้าบัน

การตกแต่งหน้าบันวัดราชบุรณราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร หน้าบัน (Tympanum鼓室) คือบริเวณครึ่งวงกลมหรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเข้าที่อยู่ระหว่างทับหลังและโค้ง (arch) ซึ่งจะมีรูปสลักตกแต่งหรือเครื่องตกแต่งอื่นๆ สถาปัตยกรรมเกือบทุกแบบจะมีองค์ประกอบนี้ ผู้คิดค้นการสร้างหน้าบันเป็นคือชาวอียิปต์โบราณประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาก็ปรากฏในสถาปัตยกรรมกรีก สถาปัตยกรรมของคริสต์ศาสนา และ สถาปัตยกรรมของศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและหน้าบัน · ดูเพิ่มเติม »

หน้าต่างกุหลาบ

“หน้าต่างกุหลาบ” ในมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส หน้าต่างกุหลาบ (rose window) โดยทั่วไปหมายถึงหน้าต่างทรงกลมซึ่งมักจะใช้ในการสร้างคริสต์ศาสนสถานโดยเฉพาะที่เป็นสถาปัตยกรรมกอทิก คำว่า “rose window” เริ่มใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 และ พจนานุกรมอ๊อกซฟอร์ดระบุว่า rose ในที่นี้หมายถึง ดอกกุหลาบ คำว่า “หน้าต่างกุหลาบ” มักจะหมายถึงหน้าต่างที่แบ่งเป็นซี่ ๆ ด้วยหิน กระจายออกไปจากเพลาศูนย์กลาง คำว่า “หน้าต่างกลม” มักจะใช้เฉพาะหน้าต่างกลมที่เป็นแบบที่ซับซ้อนซึ่งดูคล้ายกลีบกุหลาบหรือกลีบดาวเรืองซ้อน หน้าต่างกลมที่ไม่มีซี่ที่นิยมทำกันในโบสถ์ในประเทศอิตาลีเรียกว่า “หน้าต่างตา” (Ocular window หรือ oculus) “หน้าต่างกลม” เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกซึ่งจะเห็นได้จากในมหาวิหารทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส แต่แท้ที่จริงแล้วการสร้างหน้าต่างกลมเริ่มตั้งแต่ยุคกลาง การสร้างหน้าต่างกลมหันกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งในสมัยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและหน้าต่างกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเก็บเครื่องพิธี

ห้องเก็บเครื่องพิธี ห้องเก็บเครื่องพิธีภายในมหาวิหารซันตาโกรเชที่ฟลอเรนซ์ ห้องเก็บเครื่องพิธี (Sacristy) คือห้องที่ตั้งอยู่ภายในคริสต์ศาสนสถานที่ใช้เป็นที่เก็บอาภรณ์ศักดิ์สิทธิ์ (Vestment) อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ และบันทึกเอกสารของคริสต์ศาสนสถาน ห้องเก็บเครื่องพิธีมักจะตั้งอยู่ภายในตัวคริสต์ศาสนสถาน แต่ในบางกรณีก็อาจจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างติดกับตัววัด หรือ อาจจะเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระจากตัวโบสถ์ เช่นในบางอาราม ในโบสถ์โบราณห้องเก็บเครื่องพิธีมักจะตั้งอยู่ทางด้านข้างของแท่นบูชา หรืออาจจะตั้งอยู่ทางด้านข้างหรือด้านหลังของบริเวณแท่นบูชาเอก หรือ บริเวณร้องเพลงสวด ในโบสถ์สมัยใหม่ห้องเก็บเครื่องพิธีมักจะตั้งอยู่ในตำแหน่งอื่น เช่นใกล้ประตูทางเข้า คริสต์ศาสนสถานบางแห่งก็จะมีห้องเก็บเครื่องพิธีมากกว่าหนึ่งแต่ละแห่งก็จะมีวัตถุประสงค์ต่างกัน นอกจากนั้นแล้วห้องเก็บเครื่องพิธีก็ยังเป็นสถานที่สำหรับนักบวชและผู้ช่วยใช้ในการเตรียมตัวประกอบคริสต์ศาสนพิธี เมื่อประกอบพิธีเสร็จก็จะกลับมาที่ห้องนี้เพื่อถอดเครื่องแต่งกายออก และ เก็บอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประกอบพิธี ห้องเก็บเครื่องพิธีมักจะมีอ้างล้างมือพิเศษที่เรียกว่า อ่างซาคราเรียม (Piscina หรือ sacrarium) ที่มีท่อระบายที่ให้น้ำจากการประกอบพิธีจากการล้างมือที่ถือเป็นน้ำที่ใช้ในการประกอบพิธีศักดิ์สิทธิ์ไหลลงดินโดยตรงแทนที่จะลงไปในท่อหรือถังน้ำเสีย อ่างซาคราเรียมใช้ในการซักผ้าลินินที่ใช้ในพิธีมิสซาและสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในการประกอบพิธี ส่วนใหญ่แล้วห้องเก็บเครื่องพิธีจะเป็นสถานที่ที่ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้า ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลบริหารห้องเก็บเครื่องพิธีเรียกว่า “Sacristan” หรือ “Sacrist” ผู้มักจะมีหน้าที่ดูและตัวสิ่งก่อสร้างและบริเวณรอบๆ ด้ว.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและห้องเก็บเครื่องพิธี · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ซันมีเกเล

ออร์ซันมีเกเล (Chiesa di Orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์ ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและออร์ซันมีเกเล · ดูเพิ่มเติม »

อารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง)

อารามบอนวาล (Bonneval Abbey) มีชื่อเต็มว่าอารามแม่พระแห่งบอนวาล (Abbaye Notre-Dame de Bonneval) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ที่เมืองเลอแกรอล จังหวัดอาแวรง แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส ในปัจจุบันเป็นของนักพรตหญิงคณะแทรปพิสต.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามบอนวาล (จังหวัดอาแวรง) · ดูเพิ่มเติม »

อารามฟงต์แน

อารามฟงต์แน (Abbaye de Fontenay) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียนที่สมบูรณ์และเก่าแก่ที่สุดของยุโรป ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเมืองมงบาร์ ประเทศฝรั่งเศส อารามฟงต์แนก่อตั้งโดยนักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โวในปี ค.ศ. 1118 เพียงสองสามปีหลังจากที่ออกจากอารามซีโต (Cîteaux Abbey) เพื่อไปก่อตั้งอารามแกลร์โว อารามตั้งอยู่ในป่าโปร่งขนาดย่อมราว 60 กิโลเมตรจากดีฌง (Dijon) และมารุ่งเรืองในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 13 แม้ว่าฟงต์แนได้รับการพิทักษ์จากพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแต่ก็มาถูกปล้นระหว่างสงครามร้อยปีและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส ต่อมาฟงต์แนก็เสื่อมโทรมลง ครัวอาราม (refectory) ถูกรื้อทิ้งในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามฟงต์แน · ดูเพิ่มเติม »

อารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเร

อารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเร (Abbazia territoriale di Monte Oliveto Maggiore, Monte Oliveto Maggiore) เป็นอารามประจำดินแดนของคณะเบเนดิกตินที่ตั้งอยู่ราวสิบกิโลเมตรทางใต้ของเมืองอาชีอาโนในประเทศอิตาลี กลุ่มสิ่งก่อสร้างของ ส่วนใหญ่สร้างด้วยอิฐสีแดงที่โดดเด่นจากภูมิทัศน์รอบข้างที่เป็นสีนวลเทาของดินทรายของบริเวณที่เรียกว่าแคว้นเกรเตเซเนซีซึ่งบริเวณตอนใต้ของเมืองซีเอนา อารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเรเป็นอารามแม่ของคณะโอลิเวตัน ซึ่งเป็นที่มาของชื่ออารามว่าเป็น “Monte Oliveto Maggiore” (อารามโอลีเวโตใหญ่) เพื่อให้ต่างจากอารามย่อยในฟลอเรนซ์, ซานจิมิยาโน, เนเปิลส์ และ อื่น.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามมอนเตโอลีเวโตมัจโจเร · ดูเพิ่มเติม »

อารามมาซ็อง

อารามมาซ็อง (Abbaye de Mazan; Mazan Abbey) เป็นอารามของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านมาซ็อง-ลาเบอี ในจังหวัดอาร์แด็ช แคว้นโรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส อารามมาซ็องก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1120 จากอารามบอนโว และเป็นอารามแม่ของอารามเลอตอรอเน (ค.ศ. 1136), อารามซีลวาแน (ค.ศ. 1136), อารามบอนวาล (ค.ศ. 1147) และอารามเซน็องก์ (ค.ศ. 1148) ระหว่างสงครามร้อยปี อารามมาซ็องถูกปล้นทำลายได้รับความเสียหาย และต่อมาโดยอูเกอโน แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อารามมาซ็องก็ได้รับการฟื้นฟูและสร้างใหม่ อารามมาซ็องถูกยุบในช่วงสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 หินจากสิ่งก่อสร้างของอารามก็ถูกนำไปใช้ในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างอื่น โดยเฉพาะในการก่อสร้างอารามเล็กสมัยใหม่ที่ติดกับตัวอารามเดิม เพราะอารามเดิมมีขนาดใหญ่เกินไปและเยือกเย็น ส่วนที่ยังหลงเหลืออยู่ได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างระมัดระวัง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามมาซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อารามรัวโยมง

อารามรัวโยมง (Abbaye de Royaumont, Royaumont Abbey) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเมืองอาเนียร์ซูว์รวซ (Asnières-sur-Oise) ในจังหวัดวาล-ดวซ แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส ราว 30 กิโลเมตรเหนือกรุงปารีส อารามรัวโยมงสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1228 ถึงปี ค.ศ. 1235 โดยการสนับสนุนของพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส เป็นที่ฝังพระศพของพระราชวงศ์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ เช่น พระราชโอรสธิดาสามพระองค์ และพระราชนัดดาสองพระองค์ของพระเจ้าหลุยส์เอง อารามรัวโยมงถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1791 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส หินจากอารามถูกขนไปใช้สร้างโรงงานแต่ห้องเก็บเครื่องพิธี ระเบียงฉันนบถ และหอฉันไม่ได้รับความเสียหาย เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตระกูล Goüin ทำการซื้อแอบบี และในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามรัวโยมง · ดูเพิ่มเติม »

อารามอันเดชส์

อารามอันเดชส์ (Andechs Abbey) เป็นแอบบีย์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่หมู่บ้านอารามอันเดชส์ในประเทศเยอรมนี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบบาโรกที่มาเปลี่ยนแปลงใน ค.ศ. 1712 อารามอันเดชส์ของคณะเบเนดิกติน เดิมเป็นสถานที่สำหรับการจาริกแสวงบุญตั้งอยู่บนเนินริมทะเลสาบอัมเมอร์เซในบาวาเรียเหนือ แอบบีมีชื่อเสียงในการที่เป็นสิ่งก่อสร้างแบบบาโรก นอกจากจะเป็นแอบบีย์แล้วก็ยังมีชื่อในการผลิตเบียร์ คีตกวีคาร์ล ออร์ฟ (Carl Orff) ถูกบรรจุไว้ชาเปลด้านข้างภายในแอบบี.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามอันเดชส์ · ดูเพิ่มเติม »

อารามแซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์

อารามแซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์ (Abbaye de Saint-Savin-sur-Gartempe) เดิมเป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่แซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์ มณฑลปัวตู ประเทศฝรั่งเศส อารามแซงต์ซาแว็งเริ่มสร้างราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11 ในลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ ความสำคัญของอารามอยู่ที่จิตรกรรมฝาผนังจากคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 ที่ได้รับการอนุรักษ์ให้อยู่ในสภาพที่ดีมาก แผนผังอารามเป็นแบบกางเขนโดยมีหอสี่เหลี่ยมเหนือจุดตัดของกางเขน บริเวณแขนกางเขนเป็นบริเวณแรกที่ได้รับการก่อสร้าง ต่อมาเป็นบริเวณขับเพลงสวด (Choir) พร้อมกับบริเวณจรมุข (ambulatory) โดยมีชาเปลกระจายออกไปด้วยกันห้าโบสถ์น้อยทางมุขตะวันออก ต่อมาตัวอารามก็ได้รับการขยายเพิ่มเติมโดยการเพิ่มทางเดินข้างประกบทางเดินกลาง หอระฆัง และระเบียงทางเข้าหน้าโบสถ์ และในที่สุดก็เพิ่มทางเดินกลางอีกหกช่วง หอระฆังสร้างด้วยหินที่สูงกว่า 80 เมตรที่ต่อเติมในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เพดานโค้งประทุนรองรับด้วยเสาที่มีหัวเสาที่แกะสลักเป็นใบไม้ ภายในคริปต์เป็นที่ฝังศพนักบุญซาแว็งและนักบุญซิเปรียน ผนังเป็นจิตรกรรมฝาผนังที่แสดงภาพชีวิตของนักบุญทั้งสององค์ อารามแซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์ได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามแซ็ง-ซาแว็ง-ซูร์-การ์ต็องป์ · ดูเพิ่มเติม »

อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์

อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ (Abbaye de Saint-Benoît-sur-Loire) หรือ อารามเฟลอรี (Abbaye de Fleury) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ จังหวัดลัวแร ประเทศฝรั่งเศส เป็นหนึ่งในแอบบีย์ที่มีฐานะดีที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาแอบบีย์ของคณะเบเนดิกตินในทวีปยุโรปตะวันตก ชื่อปัจจุบันของแอบบีย์คือ “เฟลอรี-แซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์” ที่มาจากการอ้างว่าพบเรลิกของนักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียที่นั่น ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บนแม่น้ำลัวร์ทำให้ง่ายต่อการติดต่อกับออร์เลอ็องซึ่งเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ต่อเนื่องกันมาอย่างไม่ขาดสายตั้งแต่สมัยโรมัน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ

อารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Beaulieu-sur-Dordogne Abbey) หรือชื่อเต็มคือ อารามแซ็ง-ปีแยร์เดอโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ (Abbaye Saint-Pierre de Beaulieu-sur-Dordogne) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ กอแรซ แคว้นลีมูแซ็ง ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามโบลีเยอ-ซูร์-ดอร์ดอญ · ดูเพิ่มเติม »

อารามเมลค์

แอบบีเมลค์ (Stift Melk, Melk Abbey) เป็นสำนักสงฆ์ของลัทธิเบ็นนาดิคตินของนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่บนเนินเขาเหนือแม่น้ำดานูบเหนือเมืองเมลค์ในประเทศออสเตรีย แอบบีเมลค์เป็นที่ตั้งของสังฆมณฑลเมลค์ แอบบีเมลค์ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1089 เมื่อลีโอโพลด์ที่ 2 มากราฟแห่งออสเตรียถวายปราสาทหลังหนึ่งของตนเองให้แก่นักบวชเบ็นนาดิคตินจากแอบบีแลมบาค ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ก็ได้มีการก่อตั้งสถานศึกษา และห้องสมุดของแอบบีไม่นานก็กลายมามีชื่อเสียงในด้านงานสะสมหนังสือวิจิตรเป็นจำนวนมาก โรงเขียนหนังสือของแอบบีก็เป็นสถานที่สำคัญในการผลิตหนังสือ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แอบบีกลายเป็นศูนย์กลางของขบวนการ “การปฏิรูปเมลค์” ซึ่งเป็นขบวนการที่พยายามฟื้นฟูการดำรงชีวิตแบบระบบสำนักสงฆ์ในออสเตรียและเยอรมนีตอนใต้ ในปัจจุบันตัวอาคารแบบบาโรกอันสง่างามที่เห็นสร้างขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1702 ถึงปี ค.ศ. 1736 ตามแบบที่ออกโดยยาคอป พรันด์เทาเออร์ สิ่งที่น่าสนใจของแอบบีโดยเฉพาะคืองานจิตรกรรมฝาผนังโดยโยฮันน์ มิคาเอล โรทท์เมเยอร์ และห้องสมุดที่มีหนังสือวิจิตรของยุคกลางจำนวนมากมาย ที่รวมทั้งงานสะสมต้นฉบับดนตรีอันมีชื่อเสียง และจิตรกรรมฝาผนังโดยพอล โทรเกอร์ ความมีชื่อเสียงและความสำคัญทางด้านการให้การศึกษาของแอบบีทำให้เมลค์รอดจากการถูกยุบภายใต้สมเด็จพระจักรพรรดิโจเซฟที่ 2 เมื่อแอบบีออสเตรียอื่นๆ ต่างก็ถูกยึดและยุบกันไปตามๆ กันระหว่างปี ค.ศ. 1780 ถึงปี ค.ศ. 1790 และก็สามารถรอดมาได้จากการถูกทำลายอีกหลายครั้งต่อมา ที่รวมทั้งระหว่างสงครามนโปเลียน และระหว่างช่วงเวลาหลังจาก “การผนวกออสเตรีย” โดยนาซีที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1938 เมื่อสถานศึกษาและส่วนใหญ่ของแอบบีถูกยึดครองโดยรัฐ แอบบีได้รับสถานศึกษาคืนหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง และในปัจจุบันสถานศึกษาของแอบบีรับนักเรียนได้เกือบ 900 คนทั้งชายและหญิง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามเมลค์ · ดูเพิ่มเติม »

อารามเอียร์เซ

อารามเอียร์เซ (Reichsabtei Irsee, Irsee Abbey) เป็นอารามคณะเบเนดิกตินที่ตั้งอยู่เมืองเอียร์เซในบาวาเรียในประเทศเยอรมนี ในปัจจุบันอารามเอียร์เซใช้เป็นสถานที่สำหรับการประชุมสัมมนา และศูนย์ฝึกหัดของเขตบริหารชวาเบี.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอารามเอียร์เซ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบลัว

อาสนวิหารบลัว (Cathédrale de Blois) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งบลัว (Cathédrale Saint-Louis de Blois) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบลัว ตั้งอยู่ในเขตเมืองบลัว จังหวัดลัวเรแชร์ ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารบลัว · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบอร์โด

อาสนวิหารบอร์โด (Cathédrale de Bordeaux) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญอันดรูว์แห่งบอร์โด (Cathédrale Saint-André de Bordeaux) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลบอร์โด ตั้งอยู่ที่เมืองบอร์โด จังหวัดฌีรงด์ แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญอันดรูว์ และได้รับการเสกขึ้นเป็นอาสนวิหารเมื่อปีิ ค.ศ. 1096 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอ็องฌ์แว็งราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีจุดเด่นที่หอระฆังคู่ความสูง 85 เมตร ภายในยังเป็นสถานที่บรรจุเรลิกของนักบุญเลอง เดอ การ็องต็อง อดีตมุขนายกแห่งบายอนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 และยังมีระเบียงคดซึ่งสร้างราว..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารบอร์โด · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบายอน

อาสนวิหารบายอน (Cathédrale de Bayonne) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งบายอน (Cathédrale Sainte-Marie de Bayonne) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบายอน แล็สการ์ และออลอรง ตั้งอยู่ที่เมืองบายอน จังหวัดปีเรเน-อัตล็องติก แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมกอทิก สันนิษฐานว่าเริ่มก่อสร้างราว ค.ศ. 1213 มีจุดเด่นที่หอระฆังคู่ความสูง 85 เมตร ภายในยังเป็นสถานที่บรรจุเรลิกของนักบุญเลอง เดอ การ็องต็อง อดีตมุขนายกแห่งบายอนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 และยังมีระเบียงคดซึ่งสร้างราว..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารบายอน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารชาลง-ซูร์-โซน

อาสนวิหารชาลง-ซูร์-โซน (Cathédrale de Chalon-sur-Saône) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งชาลง-ซูร์-โซน (Cathédrale Saint-Vincent de Chalon-sur-Saône) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลชาลง-ซูร์-โซน ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลโอเติงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองชาลง-ซูร์-โซน จังหวัดโซเนลัวร์ ในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญบิเซนเตแห่งอูเอสกา อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารชาลง-ซูร์-โซน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารชาทร์

อาสนวิหารชาทร์ (Cathédrale de Chartres) หรือ อาสนวิหารแม่พระแห่งชาทร์ (Cathédrale Notre-Dame de Chartres) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลชาทร์ ตั้งอยู่ที่เมืองชาทร์ในประเทศฝรั่งเศส (ราว 80 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้) ของกรุงปารีส เป็นสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศสชิ้นที่งามที่สุดชิ้นหนึ่งของฝรั่งเศส เมื่อมองจากนอกเมืองอาสนวิหารเหมือนกับผุดขึ้นมาจากทุ่งข้าวสาลี จนเมื่อเข้าไปใกล้เข้าจึงเห็นว่าตั้งอยู่เหนือกลุ่มบ้านเรือนที่เกาะกันเป็นกระจุกบนเนินรอบ ๆ ด้านหน้าอาสนวิหารเป็นหอสองหอที่มีลักษณะต่างกัน — หอหนึ่งเป็นหอพีระมิดเรียบ ๆ ที่สร้างราวคริสต์ทศวรรษ 1140 ที่สูง 105 เมตร อีกหอหนึ่งสูง 113 เมตร สร้างราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ตกแต่งอย่างวิจิตรกว่าหอแรก ภายนอกอาสนวิหารเป็นค้ำยันแบบปีกที่กางออกไปรอบตัวอาสนวิหาร อาสนวิหารชาทร์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารชาทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบาซัส

อาสนวิหารบาซัส (Cathédrale de Bazas) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งบาซัส (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste de Bazas) ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลบาซัส ซึ่งต่อมาถูกยุบลงโดยเขตปกครองบางส่วนตกเป็นส่วนหนึ่งของอัครมุขมณฑลบอร์โด และอีกส่วนหนึ่งผนวกเข้ากับมุขมณฑลอาแฌ็งและมุขมณฑลแอร์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองบาซัส จังหวัดฌีรงด์ แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา อาสนวิหารนั้นเริ่มสร้างในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ในรูปแบบของอาสนวิหารขนาดใหญ่ตามแบบสถาปัตยกรรมกอทิกของทางภาคเหนือของฝรั่งเศส สร้างทับบริเวณที่เคยเป็นอาสนวิหารโบราณตั้งแต่ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 4 ภายในอาสนวิหารประกอบด้วยโถงกลาง (บริเวณกลางโบสถ์) ที่กว้างและยาวแต่ไม่พบส่วนแขนกางเขน บริเวณหน้าบันทิศตะวันตกนั้นค่อนข้างเป็นเอกลักษณ์โดยแบ่งเป็นสามระดับตามความสูง ระดับแรกประกอบด้วยซุ้มประตูซึ่งยังคงพบงานปั้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในสภาพดี ระดับที่สองได้แก่หน้าต่างกุหลาบงานสมัยปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารบาซัส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบาเยอ

อาสนวิหารบาเยอ (Cathédrale de Bayeux) หรือ อาสนวิหารแม่พระแห่งบาเยอ (Cathédrale Notre-Dame de Bayeux) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ประจำมุขมณฑลบาเยอ ตั้งอยู่ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบนอร์มัน-โรมาเนสก์ อาสนวิหารบาเยอมีฐานะเป็นอนุสาวรีย์แห่งชาติแห่งฝรั่งเศสด้วย ที่ตั้งของอาสนวิหารเดิมเป็นเทวสถานโรมันโบราณ อาสนวิหารบาเยอที่ได้รับการเสกเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ. 1077 เฉพาะพระพักตร์ของวิลเลียม ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและพระมหากษัตริย์อังกฤษ อาสนวิหารบาเยอเป็นสถานที่ที่ดยุกวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดีบังคับให้ฮาโรลด์ กอดวินสันให้สัตยาบันที่นำไปสู่การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน อาสนวิหารบาเยอได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารบาเยอ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารชิชิสเตอร์

อาสนวิหารชิชิสเตอร์ (Chichester Cathedral หรือ Cathedral Church of the Holy Trinity Diocese of Chichester) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองชิชิสเตอร์ในสหราชอาณาจักร สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์และกอธิคสมัยต้น นักประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมนิโคลัส เพฟเนอร์ (Nikolaus Pevsner) กล่าวถึงอาสนวิหารชิชิสเตอร์ว่าเป็นอาสนวิหารที่มีลักษณะแบบอังกฤษแท้ ทางเดินกลางแปลกกว่าที่อื่นที่ทำเป็นทางเดินกลางคู่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือเป็นอาสนวิหารเดียวในอังกฤษที่มีหอระฆังที่แยกจากตัวอาสนวิหารแบบอิตาลีและสามารถมองเห็นจากทะเล อาสนวิหารชิชิสเตอร์เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารชิชิสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบูร์ฌ

อาสนวิหารบูร์ฌ (Cathédrale de Bourges) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งบูร์ฌ (Cathédrale Saint-Étienne de Bourges) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่เมืองบูร์ฌในประเทศฝรั่งเศส และเป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลบูร์ฌ โดยอุทิศแด่นักบุญสเทเฟน มหาวิหารแห่งนี้ถูกสร้างด้วยความยิ่งใหญ่และกลมกลืนกันทางสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนหน้าบัน รูปปั้นประดับโดยรอบ และงานกระจกสี อาสนวิหารแห่งนี้ได้ถูกละเลยมาเป็นระยะเวลายาวนาน อย่างไรก็ตาม ความสำคัญทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารแห่งนี้ก็โดดเด่นไม่แพ้กับอาสนวิหารชั้นนำที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ ในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารบูร์ฌ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกลอสเตอร์

วิวจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของอาสนวิหารกลอสเตอร์เมื่อปี ค.ศ. 1828 อาสนวิหารกลอสเตอร์ (Gloucester Cathedral) เป็นอาสนวิหารที่ตั้งอยู่ตอนเหนือของเมืองกลอสเตอร์ ประเทศอังกฤษ แต่เดิมเป็นแอบบีย์ที่อุทิศให้นักบุญเปโตร เมื่อราวปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารกลอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารการ์กาซอน

อาสนวิหารการ์กาซอน (Cathédrale de Carcassonne) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมีคาเอลแห่งการ์กาซอน (Cathédrale Saint-Michel de Carcassonne) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลการ์กาซอนและนาร์บอน ตั้งอยู่ที่เมืองการ์กาซอน จังหวัดโอด ในแคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญมีคาเอลอัครทูตสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1886.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารการ์กาซอน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกาวายง

อาสนวิหารกาวายง (Cathédrale de Cavaillon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Véran de Cavaillon) เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาวายงตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ. 1801 จนปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่เมืองกาวายง จังหวัดโวกลูซ ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Saint Véran de Cavaillon) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารกาวายง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกาออร์

อาสนวิหารกาออร์ (Cathédrale de Cahors) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งกาออร์ (Cathédrale Saint-Étienne de Cahors) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาออร์ ตั้งอยู่ที่เมืองกาออร์ จังหวัดล็อต แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน เป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่แสดงให้เห็นถึงช่วงเปลี่ยนผ่านระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์กับสถาปัตยกรรมกอทิกได้อย่างดียิ่ง อาสนวิหารแห่งนี้ยังเป็นสถานที่บรรจุเรลิกสำคัญของพระเยซู ซึ่งเรียกว่า "Sainte Coiffe" ซึ่งเป็นหมวกผ้าคลุมศีรษะเพื่อใช้แต่งพระศพพระเยซูเมื่อตอนสิ้นพระชนม์ ซึ่งเรลิกชิ้นนี้ถูกนำกลับมาจากแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ โดยเฌโร เดอ การ์ดายัก อาสนวิหารแห่งกาออร์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลกโดยยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารกาออร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกิลด์ฟอร์ด

อาสนวิหารกิลด์ฟอร์ด (Guildford Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่าอาสนวิหารพระวิญญาณบริสุทธิ์ (Cathedral Church of the Holy Spirit, Guildford) เป็นอาสนวิหารในนิกายแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองกิลด์ฟอร์ด มณฑลเซอร์รีย์ (Surrey) สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงเป็นอาสนวิหารแองกลิคันอาสนวิหารเดียวที่สร้างใหม่ทางภาคใต้ของสหราชอาณาจักรหลังจากการการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์A Factual Guide to Guildford Cathedral by Anita Basset.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารกิลด์ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกูต็องส์

อาสนวิหารกูต็องส์ (Cathédrale de Coutances) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งกูต็องส์ (Cathédrale Notre-Dame de Coutances) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลกูต็องส์และอาวร็องช์ ตั้งอยู่ในเมืองกูต็องส์ จังหวัดม็องช์ ในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระแม่มารี อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 90 เมตร ซึ่งเป็นจุดสนใจที่สำคัญของตัวเมืองกูต็องส์ อีกทั้งยังสามารถมองเห็นได้จากทะเลอีกด้วย ตามตำนานกล่าวว่าสามารถมองเห็นได้จากเกาะเจอร์ซีย์ ที่อยู่ห่างไปถึง 40 กิโลเมตร เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของอาคารที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนผ่านทางสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์กับองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใหม่กว่าตามแบบกอทิก จะพบว่าด้านข้างของบริเวณกลางโบสถ์และหอสูงซึ่งขนาบทั้งสองข้างของหน้าบันหลักนั้นยังเป็นโครงสร้างแบบโรมาเนสก์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซึ่งยังเห็นได้ชัดเจนจากบริเวณชั้นบนของวิหารในเวลาเยี่ยมชม นอกจากนี้ยังประกอบด้วยยอดสูงถึงสองยอดบริเวณหน้าบันด้านหน้าวิหาร และหอรับแสง (tour-lanterne) ตรงกลางระหว่างหอสูงทั้งสอง และยังถือเป็นตัวอย่างที่สำคัญของสถาปัตยกรรมกอทิกนอร์มัน (gothique normand) ซึ่งโดดเด่นด้วยเส้นสายที่ตรงและสูงชะลูด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแนวดิ่ง อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารกูต็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกงดง

อาสนวิหารกงดง (Cathédrale de Condom) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งกงดง (Cathédrale Saint-Pierre de Condom) ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลกงดง ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลโอชตั้งแต่ปีค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองกงดง จังหวัดแฌร์ ในแคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 12 และต่อมาได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารกงดง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมากง

อาสนวิหารมากง (Cathédrale de Mâcon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งมากง (Cathédrale Saint-Vincent de Mâcon) ในอดีตมีฐานะเป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลมากงซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลโอเติงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองมากง จังหวัดโซเนลัวร์ แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญบิเซนเตแห่งอูเอสกา อาสนวิหารประกอบด้วยสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นผสมผสานของทั้งสองแบบ คือโรมาเนสก์และกอทิก ซึ่งต่อมาได้ถูกทำลายลงเนื่องจากเหตุผลเรื่องความไม่ปลอดภัยทางโครงสร้างในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารมากง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมาร์แซย์

อาสนวิหารมาร์แซย์ (Cathédrale de Marseille) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์องค์ใหญ่แห่งมาร์แซย์ (Cathédrale Sainte-Marie-Majeure de Marseille) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ที่ตั้งอยู่ที่เมืองมาร์แซย์ จังหวัดบุช-ดูว์-โรน แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารมาร์แซย์มีฐานะเป็นอาสนวิหารรองมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1896 และเป็นที่ตั้งอาสนะของอัครมุขมณฑลแห่งมาร์แซย์ (เลื่อนฐานะจากมุขมณฑลในปี ค.ศ. 1948) อาสนวิหารปัจจุบัน (Nouvelle Major) ที่สร้างอย่างใหญ่โตเป็นแบบไบแซนไทน์-โรมาเนสก์สร้างขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1852 ถึงปี ค.ศ. 1896 บนสถานที่ที่เคยเป็นอาสนวิหารแห่งมาร์แซย์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 โดยสถาปนิกเลอง โวดัวเย และอ็องรี-ฌัก แอ็สเปร็องดีเยอ (ค.ศ. 1829–1874) สิ่งก่อสร้างที่มีขนาดย่อมกว่าจากอาสนวิหารเดิม (Vieille Major) ที่ยังคงตั้งอยู่เคียงข้างอาสนวิหารใหม่แต่ก็ถูกบดบังเพราะขนาดอันโอฬารของสิ่งก่อสร้างใหม่ อาสนวิหารมาร์แซย์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารมาร์แซย์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมูแล็ง

อาสนวิหารมูแล็ง (Cathédrale de Moulins) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งมูแล็ง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation de Moulins) เป็นวัดคริสต์ศาสนาของนิกายโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ของอัครมณฑลมูแล็ง เป็นอาสนวิหารเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร ตั้งอยู่ที่เมืองมูแล็ง จังหวัดอาลีเย ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารมูแล็งได้รับการสถาปนาเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ. 1822 สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันโดยทั่วไปเป็นแบบกอทิกวิจิตรและฟื้นฟูกอทิกที่ใช้เวลาสร้างถึงสี่ศตวรรษ ตัวอาคารเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกวิจิตรของปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ทางเดินกลางเป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกที่ออกแบบโดย ลาส์ซุสและมิลเลต์ที่มาเพิ่มเติมในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานศิลปะอันมีค่าของอาสนวิหารคือบานพับภาพโดยฌอง เฮย์ ที่ดุ๊กแห่งบูร์บงจ้างให้ทำราว..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารมูแล็ง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมงเปอลีเย

อาสนวิหารมงเปอลีเย (Cathédrale de Montpellier) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งมงเปอลีเย (Cathédrale Saint-Pierre de Montpellier) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่วิหารประจำอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลมงเปอลีเย ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองมงเปอลีเย จังหวัดเอโร แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตสำคัญคือนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสถานที่ในแบบสถาปัตยกรรมกอทิกที่ใหญ่โตที่สุดในเมืองมงเปอลีเย และเป็นอาสนวิหารที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคล็องก์ด็อก-รูซียงอีกด้วย อาสนวิหารมงเปอลีเยได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารมงเปอลีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารยอร์ก

อาสนวิหารยอร์ก (York Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า "อาสนวิหารและคริสตจักรมหานครแห่งนักบุญเปโตรในกรุงยอร์ก" (The Cathedral and Metropolitical Church of St Peter in York) เป็นคริสต์ศาสนสถานประเภทอาสนวิหารที่สร้างเป็นแบบกอธิคที่ใหญ่ที่เป็นที่สองรองจากอาสนวิหารโคโลญในประเทศเยอรมนี ทางตอนเหนือของทวีปยุโรป อาสนวิหารยอร์กตั้งอยู่ที่เมืองยอร์กในยอร์กเชอร์ ทางตอนเหนือของ สหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของของอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในคริสตจักรแห่งอังกฤษรองจากอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี อาสนวิหารยอร์กถือกันว่าเป็น “high church” ของนิกายแองโกล-คาทอลิก (Anglo-Catholicism) ของคริสตจักรแองกลิคัน อาสนวิหารมีทางเดินกลางที่สร้างแบบกอธิควิจิตร (Decorated Gothic) และหอประชุมนักบวช บริเวณร้องเพลงสวดและทางด้านหลังเป็นแบบกอธิคแบบ กอธิคสูง (Perpendicular Gothic) ทางด้านเหนือของแขนกางเขนเป็นแบบกอธิคอังกฤษตอนต้น ทางเดินกลางมีหน้าต่างเหนือบานประตูที่สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารรอแดซ

อาสนวิหารรอแดซ (Cathédrale de Rodez) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งรอแดซ (Cathédrale Notre-Dame de Rodez) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ของมุขมณฑลรอแดซ ตั้งอยู่ที่เมืองรอแดซในประเทศฝรั่งเศส ด้านหน้าที่มีลักษณะตันเป็นส่วนหนึ่งของกำแพงเมืองรอแดซ.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารรอแดซ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารรูอ็อง

อาสนวิหารรูอ็อง (Cathédrale de Rouen) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระแห่งรูอ็อง (Cathédrale Notre-Dame de Rouen) เป็นอาสนวิหารแบบกอทิก ตั้งอยู่ที่เมืองรูอ็อง ในจังหวัดแซน-มารีตีม แคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลรูอ็อง และอาสนวิหารแห่งนี้ยังอยู่ในฐานะ "Primatial Cathedral" ในตำแหน่ง ไพรเมตแห่งนอร์ม็องดี (Primat de Normandie) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารรูอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลารอแชล

อาสนวิหารลารอแชล (Cathédrale de La Rochelle) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งลารอแชล (Cathédrale Saint-Louise de La Rochelle) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ ตั้งอยู่ที่ในเขตเมืองลารอแชล จังหวัดชาร็องต์-มารีตีม ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ (อดีตพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส) สืบเนื่องจากการผนวกระหว่างมุขมณฑลลารอแชล (ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1648) และมุขมณฑลแซ็งต์ เมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารลารอแชล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลาวาล

อาสนวิหารลาวาล (Cathédrale de Laval) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารพระตรีเอกภาพแห่งลาวาล (Cathédrale de la Sainte-Trinité de Laval) มีฐานะเป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1855 เป็นต้นมา เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลาวาล ตั้งอยู่ในเขตเมืองลาวาล จังหวัดมาแยน แคว้นเปอีเดอลาลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่ตรีเอกภาพ อาสนวิหารลาวาลสร้างในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 และต่อมาได้ผ่านการบูรณะซ่อมแซมและต่อเติมหลายครั้ง ซึ่งเป็นเหตุให้มีความเป็นหลากหลายทางสถาปัตยกรรมอย่างเป็นเอกลักษณ์ และรูปลักษณ์ที่เห็นในปัจจุบันนั้นมีความแตกต่างไปจากแผนผังเดิมที่เคยออกแบบไว้ อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารลาวาล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลิงคอล์น

้านหน้าแบบโรมาเนสก์ อาสนวิหารลิงคอล์น (อังกฤษ: Lincoln Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า “The Cathedral Church of the Blessed Virgin Mary of Lincoln” หรือ “St.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารลิงคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลูว์ซง

อาสนวิหารลูว์ซง (Cathédrale de Luçon) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งลูว์ซง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Luçon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลูว์ซง ตั้งอยู่ในเขตเมืองลูว์ซง จังหวัดว็องเด แคว้นเปอีเดอลาลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นในแบบกอทิก และยังมีองค์ประกอบบางส่วนในแบบโรมาเนสก์ รวมทั้งในยุคที่ใหม่กว่านั้น คือ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (หรือคลาสสิก) ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ นี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906, ค.ศ. 1915 และของระดับแคว้นเมื่อปี ค.ศ. 1992.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารลูว์ซง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลีมอฌ

อาสนวิหารลีมอฌ (Cathédrale de Limoges) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งลีมอฌ (Cathédrale Saint-Étienne de Limoges) เป็นทั้งอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลลีมอฌ ตั้งอยู่ติดกับ "สวนพระสังฆราช" (Jardin de l'Évêché) ในเขตเมืองเก่า "ลาซีเต" (La Cité) ของลีมอฌ จังหวัดโอต-เวียน แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน (ปฐมมรณสักขี) เป็นหนึ่งในอนุสรณ์สถานสำคัญที่สุดในลีมอฌคู่กับสถานีรถไฟลีมอฌ และยังถือเป็นคริสต์ศาสนสถานแห่งเดียวในภูมิภาคลีมูแซ็งที่สร้างในแบบกอธิกที่สมบูรณ์แบบ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารลีมอฌ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลียง

อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟนแห่งลียง (La Primatiale Saint-Jean-Baptiste-et-Saint-Étienne) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์น (Cathédrale Saint-Jean) และ อาสนวิหารลียง (Cathédrale de Lyon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่อยู่ในระดับสูงกว่าอาสนวิหารทั่วไปหรือที่เรียกว่า primatial cathedral เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลลียง โดยตามตำแหน่งแล้ว อัครมุขนายกแห่งลียงยังรั้งตำแหน่งผู้นำแห่งชาวกอลทั้งปวง (Primat des Gaules) อีกด้วย อาสนวิหารตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองลียง จังหวัดโรน แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่สองอัครทูตสำคัญ คือนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟน โดยแต่แรกอาสนวิหารนี้ตั้งใจสร้างเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญสเทเฟน และให้เกียรติแก่ผู้ให้ศีลล้างบาปแก่พระองค์ด้วย นั่นคือนักบุญยอห์น จึงเป็นที่มาของชื่อทั้งสองของอาสนวิหารแห่งนี้ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารลียง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็อง

อาสนวิหารล็อง (Cathédrale de Laon) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งล็อง (Cathédrale Notre-Dame de Laon) สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำแพริชในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารของอดีตมุขมณฑลล็องซึ่งในปัจจุบันอยู่ในการปกครองของมุขนายกประจำมุขมณฑลซัวซง อันเป็นผลจากการควบรวมตามความตกลง ค.ศ. 1801 อาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองล็อง จังหวัดแอน แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นหนึ่งในสถานที่แห่งแรกในแบบสถาปัตยกรรมกอทิกในประเทศฝรั่งเศส โดยสร้างหลังจากอาสนวิหารแซ็ง-เดอนีและอาสนวิหารนัวยง และยังสร้างก่อนอาสนวิหารแม่พระแห่งปารีสอีกด้วย อาสนวิหารล็องได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารล็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็องกร์

อาสนวิหารล็องกร์ (Cathédrale de Langres) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญแมมมิสแห่งล็องกร์ (Cathédrale Saint-Mammès de Langres) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลล็องกร์ ตั้งอยู่ที่เมืองล็องกร์ในจังหวัดโอต-มาร์น แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญแมมมิสแห่งไกซาเรอา มรณสักขีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 ลักษณะเด่นของอาสนวิหารแห่งนี้อยู่ที่ความผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบบูร์กอญกับสถาปัตยกรรมกอทิก อาทิ เพดานแบบโค้งสัน หน้าบันหลักทิศตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารล็องกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวาน

อาสนวิหารวาน (Cathédrale de Vannes) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งวาน (Cathédrale Saint-Pierre de Vannes) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลวาน และยังมีฐานะเป็นมหาวิหารด้วย ตั้งอยู่ที่เมืองวาน จังหวัดมอร์บีอ็อง แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารวานสร้างในแบบสถาปัตยกรรมกอทิก โดยตั้งอยู่บนสถานที่ของอาสนวิหารเดิมซึ่งเป็นแบบโรมาเนสก์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 การก่อสร้างกินเวลายาวนานถึง 500 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และถ้ายังนับรวมกับอายุของหอระฆังเก่าแบบโรมาเนสก์แล้วจะรวมเป็นระยะเวลาทั้งสิ้นถึงกว่า 700 ปีด้วยกัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารวาน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวินเชสเตอร์

อาสนวิหารวินเชสเตอร์ (Winchester Cathedral) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองวินเชสเตอร์ เทศมณฑลแฮมป์เชอร์ สหราชอาณาจักร ตัวอาสนวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารวินเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวุร์สเตอร์

อาสนวิหารวุร์สเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Worcester cathedral) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองวูสเตอร์ บนฝั่งแม่น้ำเซเวิร์น (Severn) ใน สหราชอาณาจักร ชื่อทางการของอาสนวิหารวูสเตอร์ คือ “The Cathedral Church of Christ and the Blessed Virgin Mary” อาสนวิหารวุร์สเตอร์เดิมก่อตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารวุร์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวีวีเย

อาสนวิหารวีวีเย (Cathédrale de Viviers) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งวีวีเย (Cathédrale Saint-Vincent de Viviers) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลวีวีเยตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 เป็นต้นมา ตั้งอยู่ที่เมืองวีวีเย จังหวัดอาร์แด็ช แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญบิเซนเตแห่งอูเอสกา อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารวีวีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารว็องส์

อาสนวิหารว็องส์ (Cathédrale de Vence) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระบังเกิดแห่งว็องส์ (Cathédrale de la Nativité-de-Marie de Vence) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลว็องส์ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลนิสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองว็องส์ในจังหวัดอาลป์-มารีตีม แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่การบังเกิดของพระแม่มารีย์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1944.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารว็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารสทราซบูร์

อาสนวิหารสทราซบูร์ (Cathédrale de Strasbourg; Straßburger Münster) หรือ อาสนวิหารแม่พระแห่งสทราซบูร์ (Cathédrale Notre-Dame de Strasbourg; Liebfrauenmünster zu Straßburg) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองสทราซบูร์ แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส อันเป็นที่ตั้งของอัครมุขมณฑลสทราซบูร์ ส่วนหลักของสถาปัตยกรรมเป็นแบบโรมาเนสก์ แต่ยังมีส่วนประกอบที่สำคัญของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกตอนปลายที่งดงามที่สุดแห่งหนี่ง โดยมีแอร์วีน ฟ็อน ชไตน์บัค สถาปนิกชาวเยอรมัน เป็นผู้ดูแลการออกแบบและก่อสร้างในช่วงปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารสทราซบูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารออร์เลอ็อง

อาสนวิหารออร์เลอ็อง (Cathédrale d'Orléans) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารกางเขนศักดิ์สิทธิ์แห่งออร์เลอ็อง (Cathédrale Sainte-Croix d'Orléans) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งออร์เลอ็อง ตั้งอยู่ที่เมืองออร์เลอ็องในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก อาสนวิหารเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายเพราะความเกี่ยวพันกับนักบุญโยนออฟอาร์คผู้เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศส โยนออฟอาร์คเข้าร่วมพิธีมิสซาที่อาสนวิหารเมื่อค่ำวันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารออลอรง

อาสนวิหารออลอรง (Cathédrale d'Oloron) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งออลอรง (Cathédrale Sainte-Marie d'Oloron) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลออลอรงซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลบายอนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองออลอรง-แซ็งต์-มารี จังหวัดปีเรเน-อัตล็องติก แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1939 และยังเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสซึ่งเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารออลอรง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอารัส

อาสนวิหารอารัส (Cathédrale d'Arras) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญวัสต์แห่งอารัส (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Vaast d'Arras) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลอารัส ตั้งอยู่ที่เมืองอารัส จังหวัดปาดกาแล แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารีและนักบุญวัสต์แห่งอารัส ตัวอาสนวิหารได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 อาสนวิหารเดิมสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1030 และ ค.ศ. 1393 ในสถาปัตยกรรมกอทิกอย่างงดงามที่สุดแห่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จนกระทั่งถูกทำลายลงในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส และส่วนของอารามนักบุญวัสต์ (Abbaye Saint-Vaast) ซึ่งเป็นกลุ่มอาคารที่ติดกันได้ถูกเปลี่ยนเป็นโรงพยาบาลและคลังแสง ซึ่งในปัจจุบันเป็นกลุ่มอาคารพิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งอารัส (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1825) และหอสมุดแห่งอารัส อนึ่ง อาสนวิหารหลังเก่ายังใช้เป็นที่ฝังศพของหลุยส์แห่งบูร์บง เคานต์แห่งแวร์ม็องดัว พระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส กับดัชเชสหลุยส์ เดอ ลา วาเลียร์ (พระสนม) ต่อมาในปี ค.ศ. 1883 ได้มีการสร้างโบสถ์สำหรับอารามแห่งนี้ขึ้นใหม่โดยสร้างต่อเนื่องกันเป็นกลุ่มอาคารในรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก และต่อมาได้ใช้เปลี่ยนสถานะโบสถ์หลังนี้มาเป็นอาสนวิหารตามดำริของพระคาร์ดินัลหลุยส์ เรอเน เอดัวร์ เดอ รออ็อง เพื่อทดแทนอาสนวิหารแบบกอทิกหลังเดิมที่ถูกทำลายลง ต่อมาช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1917 อาสนวิหารและหมู่อาคารของอารามได้ถูกทำลายลงจากผลของสงคราม และได้ถูกสร้างใหม่ในรูปขนาดและรูปแบบเดิม ตั้งแต่ปี..1920 โดยปีแยร์ ปาแก สถาปนิกชำนาญการด้านอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส กินเวลาบูรณปฏิสังขรณ์ทั้งสิ้นรวม 14 ปี ทางเข้าหลักของอาสนวิหารซึ่งรอดจากการถูกทำลายในระหว่างสงคราม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอารัส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาลบี

อาสนวิหารอาลบี ((Cathédrale d'Albi) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารนักบุญเซซีลีอาแห่งอาลบี (Cathédrale Sainte-Cécile d'Albi) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ประจำตำแหน่งอัครมุขนายกแห่งอาลบี ตั้งอยู่ที่เมืองอาลบีในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก ปัจจุบัน อาสนวิหารอาลบีร่วมกับเมืองเก่าอาลบีในนาม นครมุขนายกแห่งอาลบี ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกเมื่อปี ค.ศ. 2010.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอาลบี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาวร็องช์

อาสนวิหารอาวร็องช์ (Cathédrale d'Avranches) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญอันดรูว์แห่งอาวร็องช์ (Cathédrale Saint-André d'Avranches) ก่อนถูกทำลายลงในเดือนเมษายน ค.ศ. 1794 เคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลอาวร็องช์ซึ่งได้ถูกยุบรวมกับมุขมณฑลกูต็องส์ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอาวร็องช์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาวีญง

อาสนวิหารอาวีญง (Cathédrale d'Avignon) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งอาวีญง (Cathédrale Notre-Dame des Doms d'Avignon) คำว่า des Doms มาจากภาษาละตินว่า Domus episcopali แปลตามศัพท์ว่า "จากบ้านของมุขนายก" โดยสันนิษฐานจากสถานที่ตั้งของที่พักประจำตำแหน่งของอัครมุขนายกแห่งอาวีญง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของวิหารเดิมที่สร้างแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 และถูกทำลายลงช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 8 เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลอาวีญง ตั้งอยู่ในเขตพระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญงในเมืองอาวีญง จังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี สร้างในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบพรอว็องส์ โดยสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอาวีญง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอานซี

อาสนวิหารอานซี (Cathédrale d'Annecy) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งอานซี (Cathédrale Saint-Pierre d'Annecy) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลอานซี ตั้งอยู่ที่เมืองอานซีในจังหวัดโอต-ซาวัว แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอานซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาแฌ็ง

อาสนวิหารอาแฌ็ง (Cathédrale d'Agen) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญกาแพรแห่งอาแฌ็ง (Cathédrale Saint-Caprais d'Agen) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลอาแฌ็ง ตั้งอยู่ที่เมืองอาแฌ็ง จังหวัดลอเตการอน แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญกาแพรแห่งอาแฌ็ง อาสนวิหารอาแฌ็งได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งบนเส้นทางแห่งผู้แสวงบุญ (เส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศส) ซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอาแฌ็ง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาเมียง

รูปสลักนักบุญด้านหน้าอาสนวิหาร อาสนวิหารอาเมียง (Cathédrale d'Amiens) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งอาเมียง (Cathédrale Notre-Dame d'Amiens) เป็นอาสนวิหารที่สูงที่สุดในประเทศฝรั่งเศส มีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลอาเมียง มีเนื้อที่ภายในกว้างใหญ่ถึง 200,000 ตารางเมตร หลังคาโค้งกอทิกสูง 42.30 เมตรซึ่งเป็นหลังคาแบบกอทิกที่สูงที่สุดในฝรั่งเศส ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองอาเมียงซึ่งเป็นเมืองสำคัญของแคว้นโอดฟร็องส์ในหุบเขาซอม ห่างจากกรุงปารีสไปทางทิศเหนือประมาณ 100 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอาเมียง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอีลี

อาสนวิหารอีลี (ภาษาอังกฤษ: Ely Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า The Cathedral Church of the Holy and Undivided Trinity of Elyเป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันของสังฆมลฑลของบาทหลวงแห่งอีลี ตั้งอยู่ที่เมืองอีลี, เคมบริดจ์เชอร์, ในสหราชอาณาจักร สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอธิค อาสนวิหารเป็นที่รู้จักกันในท้องถิ่นว่า “เรือแห่งเฟ็น” เพราะอาสนวิหารตั้งเด่นอยู่บนบริเวณที่ราบที่เห็นได้แต่ใกล คริสต์ศาสนสถานเดิมที่สุดก่อตั้งโดยเอเธลเดรดา (Etheldreda) พระธิดาของพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอน เอเธลเดรดาได้ที่ดินมาจากทอนดเบิร์คท์ (Tondberct) สามีคนแรกผู้เป็นหัวหน้ากีเวียนส์ใต้ (South Gyrvians) และหลังจากการแต่งงานครั้งที่สองกับเอกรฟริด (Eegrfrid) เจ้าชายจากนอร์ทธัมเบรียสิ้นสุดลงก็ได้ก่อตั้งสำนักสงฆ์ที่นั่นเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอีลี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอ็อช

อาสนวิหารอ็อช (Cathédrale d'Auch) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งอ็อช (Cathédrale Sainte-Marie d'Auch) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลอ็อช ตั้งอยู่ที่เมืองอ็อช จังหวัดแฌร์ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี อาสนวิหารแห่งนี้ประกอบด้วยบริเวณกลางโบสถ์ถึง 3 ด้าน ด้วยความยาวถึง 102 เมตร และกว้าง 35 เมตร เริ่มการก่อสร้างในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1489 โดยการสนับสนุนของฟร็องซัว เดอ ซาวัว โดยสร้างบนซากปรักหักพังของอาสนวิหารโรมาเนสก์เก่าซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของอาสนวิหารนักบุญอ็อสแต็งด์ และมีการเสกขึ้นเป็นอาสนวิหารเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1548 ในขณะที่งานก่อสร้างทั้งหมดยังไม่เสร็จสิ้น จนกระทั่งอีกราวสองร้อยกว่าปีต่อมา ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นแบบกอธิกวิจิตร (ฟล็องบัวย็อง) ที่ได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ทั้งหมดสร้างเสร็จสมบูรณ์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ด้วยหน้าบันหลัก และมุขทางเข้าตกแต่งด้วยเสาแบบคอรินเทียน ภายในประกอบด้วยชาเปลกว่า 21 หลัง งานตกแต่งภายในมีความโดดเด่นด้วยงานกระจกสีถึง 18 ชิ้น โดยศิลปินอาร์โน เดอ มอล บริเวณร้องเพลงสวดได้รับการประดับประดาด้วยงานไม้ถึง 115 ชิ้น ซึ่งไม่ทราบผู้ออกแบบ ซึ่งต่อเป็นฉากในพระคัมภีร์ไบเบิลซึ่งเล่าเรื่องต่อมาจากงานกระจกสีโดยรอบ อาสนวิหารอ็อชได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906 รวมทั้งยังอยู่ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอ็อช · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอ็องกูแลม

อาสนวิหารอ็องกูแลม (Cathédrale d'Angoulême) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งอ็องกูแลม (Cathédrale Saint-Pierre d'Angoulême) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ประจำมุขมณฑลอ็องกูแลม ตั้งอยู่ที่เมืองอ็องกูแลม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมาเนสก์ อาสนวิหารอ็องกูแลมซึ่งเป็นอาสนวิหารตัวอย่างโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ได้รับการสถาปนาเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ. 1017.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารอ็องกูแลม · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารทรูโร

อาสนวิหารทรูโร อาสนวิหารทรูโร (ภาษาอังกฤษ: Truro Cathedral) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองทรูโร มณฑลคอร์นวอล (Cornwall) ใน สหราชอาณาจักร มีชื่อเป็นทางการว่า “The Cathedral of the Blessed Virgin Mary, Truro” เป็นอาสนวิหารแรกที่สร้างในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ยุคทองของการสร้างอาสนวิหารในยุคกลาง และเป็นอาสนวิหารเดียวที่สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็น สถาปัตยกรรมแบบฟื้นฟูกอธิคซึ่งนิยมกันในสมัยนั้น นอกจากนั้นยังเป็นหนึ่งในสามอาสนวิหารในอังกฤษที่มียอดสามยอด อีกสองอาสนวิหารคือ อาสนวิหารลิคฟิลด์ และ อาสนวิหารเอดินบะระ ศิลาฤกษ์วางเมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารทรูโร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารดอล-เดอ-เบรอตาญ

อาสนวิหารดอล-เดอ-เบรอตาญ (Cathédrale de Dol-de-Bretagne) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญแซมซันแห่งดอล-เดอ-เบรอตาญ (Cathédrale Saint-Samson de Dol-de-Bretagne) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลดอล เป็นมุขมณฑลหนึ่งในเก้าแห่งในแคว้นเบรอตาญในอดีต ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลแรนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองดอล-เดอ-เบรอตาญ จังหวัดอีเลวีแลน ในแคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญแซมซันแห่งดอล อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารดอล-เดอ-เบรอตาญ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารดักซ์

อาสนวิหารดักซ์ (Cathédrale de Dax) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งดักซ์ (Cathédrale Notre-Dame de Dax) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแอร์และดักซ์ ตั้งอยู่ที่เมืองดักซ์ จังหวัดล็องด์ ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของอดีตมุขมณฑลดักซ์ แต่ได้ถูกยุบลงภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งรวมถึงอดีตมุขมณฑลแอร์ซึ่งประสบชะตากรรมเดียวกันด้วย โดยทั้งสองได้ถูกยุบผนวกกับมุขมณฑลบายอนตามความตกลง ค.ศ. 1801 และต่อมาในปี ค.ศ. 1817 ได้มีการแยกออกมาอีกครั้งหนึ่งโดยรวมเป็นหนึ่งมุขมณฑล มีชื่อเรียกว่า มุขมณฑลแอร์และดักซ์ โดยมีที่ตั้งของมุขนายกที่อาสนวิหารแอร์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1833 ได้มีการย้ายที่ตั้งของมุขนายกมาอยู่ที่อาสนวิหารแห่งดักซ์ อนึ่ง อาสนวิหารแอร์ยังคงเป็นอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1884 ในบริเวณซุ้มประตูอัครทูต (Portail des Apôtres) และอาคารส่วนที่เหลือ ค.ศ. 1946.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารดักซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารดี

อาสนวิหารดี (Cathédrale de Die) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งดี (Cathédrale Notre-Dame de Die) ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำอดีตมุขมณฑลดี ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลวาล็องส์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองดี จังหวัดโดรม แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ต่อมาได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารดี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารดีฌง

อาสนวิหารดีฌง (Cathédrale de Dijon) หรือ อาสนวิหารนักบุญเบนีญแห่งดีฌง (Cathédrale Saint-Bénigne de Dijon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลดีฌง ตั้งอยู่ที่เมืองดีฌง จังหวัดโกต-ดอร์ ในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเบนีญแห่งดีฌง โดยในสมัยแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 6 มีสถานะเป็นเพียงโบสถ์แห่งนักบุญเบนีญ และต่อมาในปี ค.ศ. 1731 ในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศสได้เป็นที่ตั้งของมุขมณฑลดีฌง และภายหลังได้ปรับยกสถานะเป็นอัครมุขมณฑลดีฌงในปี ค.ศ. 2002 ส่วนหลักของสถาปัตยกรรมเป็นแบบกอทิกซึ่งบูรณะราวปี ค.ศ. 1280 จนถึง ค.ศ. 1393 ซึ่งสร้างทับบนตัวโบสถ์เก่าที่ถูกทำลายลงจากอัคคีภัย โดยโบสถ์เก่าสร้างครอบห้องเก็บศพใต้โบสถ์ที่เป็นห้องบรรจุโลงศพหินของนักบุญเบนีญ ซึ่งตัวอาคารเป็นแบบโรมาเนสก์ทรงกลม (rotunda) ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 17 เมตร สร้างราวค.ศ. 1002 ซึ่งในปัจจุบันแทบไม่เหลือหลักฐานแล้ว ห้องเก็บศพดั้งเดิมเป็นแบบโรมาเนสก์ ก่อสร้างราวปีค.ศ. 511 เพื่อใช้เป็นที่บรรจุโลงศพหินของนักบุญเบนีญ หลังคาอาสนวิหารที่เห็นในปัจจุบัน เป็นหลังคากระเบื้องเคลือบสลับสีแบบบูร์กอญ อาสนวิหารแห่งนี้ยังเป็นที่ฝังศพของฟิลิปที่ 3 ดยุกแห่งเบอร์กันดี อีกด้วย ในปัจจุบัน อาสนวิหารดีฌงได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารดีฌง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารตูร์

อาสนวิหารตูร์ (Cathédrale de Tours) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญกาเซียงแห่งตูร์ (Cathédrale Saint-Gatien de Tours) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลตูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองตูร์ จังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญกาเซียงแห่งตูร์ อดีตมุขนายกผู้ก่อตั้งมุขมณฑลตูร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 อาสนวิหารแห่งตูร์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารตูล

อาสนวิหารตูล (Cathédrale de Toul) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งตูล (Cathédrale Saint-Étienne de Toul) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน (ปฐมมรณสักขี) ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของตูล จังหวัดเมอร์เตมอแซล ในแคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลน็องซี-ตูลร่วมกับอาสนวิหารแม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์แห่งน็องซี อาสนวิหารแห่งนี้เป็นหนึ่งตัวอย่างของอาคารกอทิกที่สวยงามและสมบูรณ์ โดยเฉพาะหน้าบันทางเข้าทิศตะวันตก อีกทั้งยังเป็นงานสถาปัตยกรรมชิ้นเอกแบบกอทิกแบบฟล็องบัวย็องซึ่งรวมถึงระเบียงคดแบบกอทิก ซึ่งถือว่าเป็นระเบียงคดแห่งที่ใหญ่ที่สุดอันดับสองในประเทศฝรั่งเศส นอกจากนั้นยังมีชาเปลแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาอีก 2 แห่งด้วย อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840 (รายชื่อครั้งที่ 1).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารตูล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารตูลูซ

อาสนวิหารตูลูซ (Cathédrale de Toulouse) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งตูลูซ (Cathédrale Saint-Étienne de Toulouse) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลตูลูซ ตั้งอยู่ที่กร็อง-รง (Grand-Rond) ในเขตเมืองตูลูซ จังหวัดโอต-การอน ในแคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน ปีที่ก่อสร้างนั้นยังไม่พบหลักฐานที่ชัดเจน จากหลักฐานพบการกล่าวถึงโบสถ์แห่งหนึ่งในที่ตั้งเดียวกันในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารตูลูซ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารซอลส์บรี

อาสนวิหารซอลส์บรี (Salisbury Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า อาสนวิหารเซนต์แมรี (Cathedral of Saint Mary) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองซอลส์บรี มณฑลวิลท์เชอร์ในสหราชอาณาจักร เริ่มสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารซอลส์บรี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารซาร์ลา

อาสนวิหารซาร์ลา (Cathédrale de Sarlat) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญซาแซร์โดสแห่งซาร์ลา (Cathédrale Saint-Sacerdos de Sarlat) ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลซาร์ลา ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลอ็องกูแลม ตั้งแต่ปีค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ซึ่งไม่นานต่อมาได้ยุบรวมเข้ากับมุขมณฑลเปรีเกอ ตั้งอยู่ที่เมืองซาร์ลา-ลา-กาเนดา จังหวัดดอร์ดอญ ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญซาแซร์โดสแห่งลีมอฌ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารซาร์ลา · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารซีมีเย

อาสนวิหารซีมีเย (Cathédrale de Cimiez) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งซีมีเย (Cathédrale Sainte-Marie de Cimiez) เป็นอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกประจำอดีตมุขมณฑลซีมีเย มุขมณฑลในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 เป็นต้นมาจนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับมุขมณฑลนิสเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารซีมีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารปัวตีเย

อาสนวิหารปัวตีเย (Cathédrale de Poitiers) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งปัวตีเย (Cathédrale Saint-Pierre de Poitiers) เป็นทั้งอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกและไมเนอร์บาซิลิกา (minor basilica) ในสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 10 (ตั้งแต่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1912) เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลปัวตีเย ตั้งอยู่ที่เมืองปัวตีเย จังหวัดเวียน แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เป็นที่น่ารู้จักน้อยกว่าโบสถ์แม่พระองค์ใหญ่แห่งปัวตีเย (Notre-Dame la Grande de Poitiers) อย่างไรก็ตาม ยังคงเป็นสิ่งก่อสร้างที่ทำจากหินที่ใหญ่ที่สุดในเมืองและสามารถมองเห็นได้จากในเมืองโดยรอบ สร้างโดยความสนับสนุนจากเอลินอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ และพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารปัวตีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารปามีเย

อาสนวิหารปามีเย (Cathédrale de Pamiers) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญอ็องตอแน็งแห่งปามีเย (Cathédrale Saint-Antonin de Pamiers) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก อันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลปามีเย กูเซอร็อง และมีร์ปัว ตั้งอยู่ที่เมืองปามีเย จังหวัดอาเรียฌ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสำคัญประจำเมือง คือ นักบุญอ็องตอแน็ง อาสนวิหารปามีเยได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารปามีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารปีเตอร์บะระ

อาสนวิหารปีเตอร์บะระห์ หรือ อาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์ (Peterborough Cathedral หรือ Cathedral Church of St Peter, St Paul and St Andrew) มีชื่อเต็มว่า "อาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์, เซนต์พอล และเซนต์แอนดรูว์" ที่อุทิศให้แก่นักบุญปีเตอร์ นักบุญพอล และนักบุญแอนดรูว์ นักบุญทั้งสามองค์มีรูปปั้นอยู่บนจั่วสามจั่วด้านหน้าของอาสนวิหาร อาสนวิหารปีเตอร์บะระห์เป็นคริสต์ศาสนสถานระดับอาสนวิหาร ของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ของสังฆมณฑลปีเตอร์บะระห์ในสังฆเขตแคนเตอร์บรีที่ตั้งอยู่ที่เมืองปีเตอร์บะระห์ในอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมาเนสก์ และ กอธิค อาสนวิหารปีเตอร์บะระห์เดิมก่อตั้งขึ้นในสมัยแซ็กซอนสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่เป็นแบบนอร์มันหลังจากการก่อสร้างใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปีเตอร์บะระห์ก็เช่นเดียวกับอาสนวิหารเดอแรม และ อาสนวิหารอีลีที่เป็นสิ่งก่อสร้างจากคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในอังกฤษที่ไม่ได้รับการเปลี่ยนแปลงทางสถาปัตยกรรมมากนักแม้ว่าจะได้รับการขยายต่อเติมและการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อมาหลายครั้งก็ตาม อาสนวิหารปีเตอร์บะระห์มีชื่อเสียงว่ามีด้านหน้าที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมกอธิคอังกฤษตอนต้นอย่างเด่นชัด ที่มีประตูโค้งใหญ่มหึมาที่ไม่มีสิ่งก่อสร้างใดที่สร้างเช่นเดียวกันนั้นมาก่อน หรือสร้างตามมา ลักษณะที่ปรากฏเป็นเชิงที่ไม่สมมาตร เพราะหอหนึ่งในสองหอที่สูงขึ้นมาหลังด้านหน้านสร้างไม่เสร็จ แต่จะมองเห็นได้ก็จากระยะทางไกลจากตัวอาสนวิหารเท่านั้น.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารปีเตอร์บะระ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนอริช

อาสนวิหารนอริช อาสนวิหารนอริช (ภาษาอังกฤษ: Norwich Cathedral) เป็นอาสนวิหาร นิกายอังกลิคัน ตั้งอยู่ที่เมืองนอริช มณฑลนอร์โฟล์ค (Norfolk) ใน สหราชอาณาจักร เริ่มสร้างเมื่อ ค.ศ. 1145 ลักษณะโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นแบบโรมาเนสก์ สร้างโดยบาทหลวงเฮอร์เบิร์ต เดอ โลซินยา (Bishop Herbert de Losinga) ประมาณปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ประมาณ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารนอริช · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนักบุญออลบัน

อาสนวิหารนักบุญออลบัน (St Albans Cathedral) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองนักบุญออลบัน ทางตะวันตกเฉียงเหนือของลอนดอนในสหราชอาณาจักร อาสนวิหารตั้งตามชื่อของนักบุญออลบันผู้เป็นนักบุญผู้พลีชีพองค์แรกของอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก อาสนวิหารนักบุญออลบันมีทางเดินกลางยาว 348 ฟุตซึ่งเป็นทางเดินกลางที่ยาวที่สุดในอาสนวิหารในอังกฤษสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่เป็นแบบโรมาเนสก์ อาสนวิหารนักบุญออลบันได้เลื่อนขึ้นเป็นอาสนวิหารเมื่อปี ค.ศ. 1877 และเป็นอาสนวิหารที่ยาวที่สุดเป็นที่สองของอังกฤษ อาสนวิหารเป็นที่รู้จักกันในท้องถิ่นว่า “แอบบี” แม้ว่าอาสนวิหารปัจจุบันจะเป็นแต่เพียงส่วนของแอบบีลัทธิเบ็นนาดิคตินเดิม อาสนวิหารนักบุญออลบันแตกต่างจากอาสนวิหารอื่นตรงที่เป็นอาสนวิหารที่ใช้เป็นวัดประจำท้องถิ่นด้วย โดยมีดีนเป็นเร็คเตอร์ของวัด เป็นผู้ที่มีอำนาจ, ความรับผิดชอบ, และ หน้าที่เช่นหน้าที่ของพระประจำวัดประจำท้องถิ่น.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารนักบุญออลบัน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนัวยง

อาสนวิหารนัวยง (Cathédrale de Noyon) หรือชื่อทางการว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งนัวยง (Cathédrale Notre-Dame de Noyon) ในอดีตเป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกของอดีตมุขมณฑลนัวยง ตั้งอยู่ที่เมืองนัวยงในจังหวัดอวซ แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารนัวยงเดิมเป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งนัวยง ต่อมาถูกยุบรวมกับมุขมณฑลโบแวตามความตกลง ค.ศ. 1801 ในปัจจุบันจึงมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตในสังกัดมุขมณฑลโบแว ตัวอาสนวิหารสร้างบนสถานที่เดิมเป็นโบสถ์ที่ถูกเพลิงไหม้ไปในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารนัวยง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนิส

อาสนวิหารนิส (Cathédrale de Nice) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเรปาราตาแห่งนิส (Cathédrale Sainte-Réparate de Nice) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขนายกแห่งนิส ตั้งอยู่ที่ในเขตเมืองเก่าของนิส (Vieux Nice) จังหวัดอาลป์-มารีตีม ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์และนักบุญเรปาราตา ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 อาสนวิหารถูกสร้างขึ้นตอนแรกโดยหันหน้าทางทิศเหนือเป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ต่อมาได้สร้างใหม่ตามต้นแบบของโบสถ์ซานตาซูซานาที่กรุงโรม เป็นทรงกางเขนหันหน้าทางทิศตะวันออก พร้อมทั้งหอหลังคาโดมที่มุงด้วยกระเบื้องเคลือบแบบเจนัวตั้งอยู่ตรงกลางวิหาร สถาปัตยกรรมของตัววิหารเป็นแบบบาโรก ภายหลังมีการปรับปรุงเพิ่มเติม รวมถึงหอระฆังซึ่งสร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารนิส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนีม

อาสนวิหารนีม (Cathédrale de Nîmes) หรือ อาสนวิหารแม่พระและนักบุญกัสตอร์แห่งนีม (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Castor de Nîmes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลนีม จนถึงปี ค.ศ. 1877 มุขมณฑลจึงเปลี่ยนชื่อมาเป็นมุขมณฑลนีม อาแล็ส และอูว์แซ็ส อาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองนีม จังหวัดการ์ แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารนี้สถาปนาขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารีและนักบุญกัสตอร์แห่งอัปต์ ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 นีม หมวดหมู่:คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ หมวดหมู่:คริสต์ศาสนสถานแบบกอทิก หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดการ์ หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 12 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารนีม · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส

"ครีบยันลอย" (flying buttress) ที่ยื่นออกไปรอบบริเวณร้องเพลงด้านหลังโบสถ์ อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส (Cathédrale Notre-Dame de Paris) เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลปารีส ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส คำว่า Notre Dame แปลว่า แม่พระ (Our Lady) ซึ่งเป็นคำที่ชาวคาทอลิกใช้เรียกพระนางมารีย์พรหมจารี ปัจจุบันอาสนวิหารก็ยังใช้เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งคาเทดราของอาร์ชบิชอปแห่งปารีส อาสนวิหารน็อทร์-ดามถือกันว่าเป็นโบสถ์ที่สวยงามที่สุดในลักษณะกอทิกแบบฝรั่งเศส โบสถ์นี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก ผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส การก่อสร้างเป็นแบบกอทิก นับเป็นอาสนวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอทิก ประติมากรรม และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ ทำให้แตกต่างจากศิลปะโรมาเนสก์ที่สร้างก่อนหน้านั้น น็อทร์-ดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ "ครีบยันลอย" ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบอาสนวิหาร "บริเวณร้องเพลงสวด" หรือ รอบบริเวณกลางโบสถ์ เมื่อเริ่มสร้างกำแพงโบสถ์สูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง เพราะสถาปนิกสมัยกอทิกจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง เมื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม "กำแพงค้ำยัน" ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัวโบสถ์เอาไว้ เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น ฉะนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของโบสถ์ที่สร้างแบบกอทิกไปในตัว ในปี ค.ศ. 1793 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส โบสถ์ก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก อาสนวิหารได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำล.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็องต์

อาสนวิหารน็องต์ (Cathédrale de Nantes) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลแห่งน็องต์ (Cathédrale Saint-Pierre-et-Saint-Paul de Nantes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลน็องต์ ตั้งอยู่ที่ปลัสแซ็ง-ปีแยร์ (Place Saint-Pierre) ในเขตเมืองน็องต์ จังหวัดลัวรัตล็องติก ในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่สองอัครทูตสำคัญ คือ นักบุญเปโตรและนักบุญเปาโล อาสนวิหารน็องต์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารน็องต์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็องซี

อาสนวิหารน็องซี (Cathédrale de Nancy) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์แห่งน็องซี (Cathédrale Notre-Dame-de-l’Annonciation et Saint-Sigisbert de Nancy) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นทั้ง ไมเนอร์บาซิลิกา (Minor Basilica) และ ไพรเมต (Primate) เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลน็องซี-ตูลร่วมกับอาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งตูล ตั้งอยู่ในเขตเมืองน็องซี จังหวัดเมอร์เตมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์ (พระเจ้าซีฌแบร์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง) อาสนวิหารน็องซีได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารน็องซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง

อาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง (Cathédrale de Clermont-Ferrand) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งแกลร์มง-แฟร็อง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Clermont-Ferrand) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองแกลร์มง-แฟร็องในจังหวัดปุย-เดอ-โดมในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งแกลร์มง สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิกที่สร้างด้วยหินภูเขาไฟสีดำทั้งหลังที่ทำให้เป็นเอกลักษณ์จากอาสนวิหารอื่นและมองเห็นแต่ไกลจากหอสูงสองหอที่สูง 96.2 เมตรเหนือสิ่งก่อสร้างอื่นใดของตัวเมือง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแกลร์มง-แฟร็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแก็งแปร์

อาสนวิหารแก็งแปร์ (Cathédrale de Quimper) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญกอร็องแต็งแห่งแก็งแปร์ (Cathédrale Saint-Corentin de Quimper) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำมุขมณฑลแก็งแปร์และเลอง ตั้งอยู่ในเขตเมืองแก็งแปร์ จังหวัดฟีนิสแตร์ ในแคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญกอร็องแต็งแห่งแก็งแปร์ ซึ่งเป็นมุขนายกองค์แรกของแก็งแปร์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 อาสนวิหารแห่งแก็งแปร์นี้สร้างขึ้นบนสักการสถานโบราณแบบโรมาเนสก์นามว่า "โบสถ์แม่พระ" ซึ่งสร้างสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 และอาสนวิหารแห่งใหม่นี้ยังจัดเป็นอาสนวิหารแบบกอทิกที่เก่าแก่ที่สุดหนึ่งในสามแห่งของแคว้นเบรอตาญ อีกสองแห่งได้แก่ อาสนวิหารเทรกุยเย และอาสนวิหารแซ็ง-ปอล-เดอ-เลอง อาสนวิหารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแก็งแปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแม็ส

อาสนวิหารแม็ส (Cathédrale de Metz) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งแม็ส (Cathédrale Saint Étienne de Metz) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแม็ส ตั้งอยู่ที่เมืองแม็ส จังหวัดมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสำคัญคือนักบุญสเทเฟน ห้องเก็บสมบัติของอาสนวิหารได้สะสมของมีค่ามานานนับพันปี โดยเป็นของสะสมของมุขมณฑลแม็สที่รวมถึงผ้าคลุมแท่นบูชาและสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ใช้ในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ อาสนวิหารแม็สถือเป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่มีโถงทางเดินโบสถ์ที่สูงที่สุดแห่งหนี่งของโลก และยังมีชื่อเล่นว่า "โคมไฟแห่งพระผู้เป็นเจ้า" (La Lanterne du Bon Dieu) อันเนื่องมาจากมีโครงสร้างหน้าต่างที่เป็นงานกระจกสีมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกJolin J.L. (2001) La lanterne du Bon Dieu.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแม็ส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแรน

อาสนวิหารแรน (Cathédrale de Rennes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแรน (Cathédrale Saint-Pierre de Rennes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลแรน ตั้งอยู่ในเขตเมืองแรนในจังหวัดอีเลวีแลน แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแรน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแร็งส์

อาสนวิหารแร็งส์ (Cathédrale de Reims) หรือชื่อทางการว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งแร็งส์ (Cathédrale Notre-Dame de Reims) เป็นอาสนวิหารสำคัญของเมืองแร็งส์ จังหวัดมาร์น ประเทศฝรั่งเศส ที่เคยใช้ในพิธีสวมมงกุฎกษัตริย์ของประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารที่เห็นในปัจจุบันสร้างบนฐานของวิหารเดิมที่ถูกเพลิงไหม้ไปเมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแร็งส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแล็สการ์

อาสนวิหารแล็สการ์ (Cathédrale de Lescar) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งแล็สการ์ (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Lescar) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแล็สการ์ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลบายอนและมุขมณฑลอาแฌ็งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองแล็สการ์ จังหวัดปีเรเน-อัตล็องติก แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแล็สการ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแวร์ซาย

อาสนวิหารแวร์ซาย (Cathédrale de Versailles) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งแวร์ซาย (Cathédrale Saint-Louis de Versailles) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งคาเทดราของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวร์ซาย ตั้งอยู่ในเมืองแวร์ซาย ชานกรุงปารีส จังหวัดอีฟว์ลีน แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างตามพระบัญชาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะโบสถ์ประจำเขตแพริช ในสถาปัตยกรรมแบบโรโกโกอันวิจิตร เมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแวร์เดิง

อาสนวิหารแวร์เดิง (Cathédrale de Verdun) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งแวร์เดิง (Cathédrale Notre-Dame de Verdun) เป็นอาสนวิหารในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่เมืองแวร์เดิง แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส และเป็นที่ตั้งคาเทดราของมุขมณฑลแห่งแวร์เดิง อาสนวิหารแวร์เดิงเป็นอาสนวิหารที่เก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคลอแรน ได้เฉลิมฉลองครบรอบหนึ่งพันปีเมื่อปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแวร์เดิง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแวซง

อาสนวิหารแวซง (Cathédrale de Vaison) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระเมืองนาซาเร็ธแห่งแวซง (Cathédrale Notre-Dame-de-Nazareth de Vaison) เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวซงจนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ. 1801 ตั้งอยู่ที่เมืองแวซง-ลา-รอแมน จังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ในอดีตอาสนวิหารเคยเป็นศูนย์กลางของเมืองเก่าตั้งแต่สมัยยุคกลาง (ซึ่งไม่เหลือร่อยรอยในปัจจุบัน) สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตามผังแบบบาซิลิกา ซึ่งได้มีการบูรณะต่อเติมในอีกในช่วงหนึ่งร้อยปีต่อมา รูปเแบบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารแห่งนี้ถือเป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบพรอว็องส์ที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งในปัจจุบัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแวซง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแอร์

อาสนวิหารแอร์ (Cathédrale d'Aire) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งแอร์ (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste d'Aire) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) นิกายโรมันคาทอลิก สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา ในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแอร์ซึ่งต่อมาถูกยุบลงในปี ค.ศ. 1801 ตามสนธิสัญญาความตกลง ค.ศ. 1801 โดยเสียพื้นที่ปกครองให้กับมุขมณฑลบายอน อาสนวิหารจึงถูกลดฐานะเป็นเพียงโบสถ์ประจำเขต ต่อมาได้มีการฟื้นฟูฐานะมุขมณฑลนี้กลับขึ้นมาอีกในปี ค.ศ. 1822 และในปี ค.ศ. 1857 ได้มีการผนวกเพื้นที่เข้ากับพื้นที่ของอดีตมุขมณฑลดักซ์ กลายเป็นมุขมณฑลแอร์และดักซ์ อาสนวิหารแห่งนี้จึงมีฐานะเป็นอาสนวิหารร่วมจนถึงปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่เมืองแอร์-ซูร์-ลาดูร์ จังหวัดล็องด์ แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี

อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี (Canterbury Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองแคนเทอร์เบอรี ในสหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี ซึ่งเป็นผู้นำคริสตจักรแห่งอังกฤษและผู้นำเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียน และเป็นที่ตั้งอาสนะของนักบุญออกัสติน (Chair of St. Augustine) ชื่อที่เรียกกันเป็นทางการของอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรีคือ “อาสนวิหารและคริสตจักรมหานครของพระคริสต์ เมืองแคนเทอร์เบอร์รี” (Cathedral and Metropolitical Church of Christ at Canterbury).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale de Saint-Flour) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saint-Flour) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลมุขมณฑลแซ็ง-ฟลูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-ฟลูร์ จังหวัดก็องตาล ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เป็นหนึ่งในอาสนวิหารทั้งหมดสี่แห่งของภูมิภาคโอแวร์ญ ตั้งอยู่กลางใจเมืองเก่าของแซ็ง-ฟลูร์ และเป็นอาสนวิหารที่สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมกอทิกสร้างเสร็จในคริสต์ศตวรรษที่ 15 บนที่ตั้งของบาซิลิกาแบบโรมาเนสก์เดิม หินที่ใช้สร้างมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับสิ่งก่อสร้างทางคริสต์ศาสนาในแถบนี้ ซึ่งเป็นหินภูเขาไฟมีสีดำสนิทอันเป็นเอกลักษณ์สำคัญของอาสนวิหาร ต่อมาภายหลังอาสนวิหารได้ถูกปล่อยให้ชำรุดทรุดโทรมลงมากในช่วงของการปฏิวัติฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็ง-มาโล

อาสนวิหารแซ็ง-มาโล (Cathédrale de Saint-Malo) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญบิเซนเตแห่งแซ็ง-มาโล (Cathédrale Saint-Vincent de Saint-Malo) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-มาโล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1146 ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของอัครมุขมณฑลแรน, มุขมณฑลวาน และมุขมณฑลแซ็ง-บรีเยอตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-มาโล จังหวัดอีเลวีแลน ในแคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญบิเซนเตแห่งอูเอสกา อาสนวิหารนี้มีความหลากหลายทางสถาปัตยกรรมตั้งแต่โรมาเนสก์ กอทิก และฟื้นฟูศิลปวิทยา ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแซ็ง-มาโล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็งตอแมร์

อาสนวิหารแซ็งตอแมร์ (Cathédrale de Saint-Omer) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารแม่พระแห่งแซ็งตอแมร์ (Cathédrale Notre-Dame de Saint-Omer) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็งตอแมร์ในแคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส เดิมเป็นตั้งอาสนะของบิชอปแห่งแซ็งตอแมร์ แต่มุขมณฑลแซ็งตอแมร์ก็ไม่ได้รับการฟื้นฟูหลังสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสตามการตกลง ค.ศ. 1801 ซึ่งเป็นการตกลงระหว่างจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 ในการยืนยันและฟื้นฟูฐานะของคริสตจักรโรมันคาทอลิกในฝรั่งเศส แต่กลับถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลอารัส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิก อาสนวิหารแซ็งตอแมร์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแซ็งตอแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็งต์

อาสนวิหารแซ็งต์ (Cathédrale de Saintes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็งต์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saintes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในฐานะของอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) ประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแซ็งต์ จังหวัดชาร็องต์-มารีตีม ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของมุขมณฑลแซ็งตงฌ์จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1802 ถูกยุบรวมเข้ากับมุขมณฑลลารอแชล จึงได้ถูกลดฐานะเป็นเพียงแค่โบสถ์ประจำเขต ซึ่งต่อมาได้ถูกยกฐานะอีกครั้งเป็นอาสนวิหารร่วมประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 เมื่อ 22 มกราคม ค.ศ. 1852 อาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์แซ็งต์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1862 และบริเวณวิหารคดได้รับการขึ้นทะเบียนเมื่อ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1937.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแซ็งต์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็งเตเตียน

อาสนวิหารแซ็งเตเตียน (Cathédrale de Saint-Étienne) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญคาร์โล บอร์โรเมโอ แห่งแซ็งเตเตียน (Cathédrale Saint-Charles-Borromée de Saint-Étienne) มีฐานะเป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแซ็งเตเตียนตั้งแต่การก่อตั้งมุขมณฑลเมื่อ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1970 สร้างขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1912–ค.ศ. 1923 ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็งเตเตียน จังหวัดลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญคาร์โล บอร์โรเมโอ.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแซ็งเตเตียน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง (Cathédrale de Perpignan) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งแปร์ปีญ็อง (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste de Perpignan; Catedral de Sant Joan Baptista de Perpinyà) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งอาสนะของมุขนายกประจำมุขมณฑลแปร์ปีญ็อง-แอลน์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแปร์ปีญ็อง จังหวัดปีเรเน-ออรีย็องตาล แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอาสนวิหารจากการย้ายอาสนะของมุขนายกจากมุขมณฑลแอลน์ (เดิมอาสนะตั้งอยู่ที่อาสนวิหารแอลน์) มารวมอยู่ที่มุขมณฑลแปร์ปีญ็องเมื่อปี ค.ศ. 1602 ตามพระบัญชาของสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 อาสนวิหารแปร์ปีญ็องได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารแปร์ปีญ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารในสหราชอาณาจักร

อาสนวิหารซอลสบรี อาสนวิหาร (Cathedral) ในสหราชอาณาจักร มีทั้งที่ยังใช้เป็นอาสนวิหารหรือโบสถ์ประจำเขตแพริชอยู่ และที่ยกเลิกไปแล้ว.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารโบแว

อาสนวิหารโบแว (Cathédrale de Beauvais) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งโบแว (Cathédrale Saint-Pierre de Beauvais) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลโบแว นัวยง และซ็องลิส ตั้งอยู่ที่เมืองโบแว จังหวัดอวซ แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร เป็นอาสนวิหารแบบกอธิกที่มีบริเวณร้องเพลงสวดที่สูงที่สุดในโลก (48.50 เมตร) อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสถานที่แบบสถาปัตยกรรมกอทิกแห่งหนึ่งที่แสดงถึงความสำเร็จสูงสุดและความกล้าหาญทางสถาปัตยกรรม โดยตัวอาคารมีเพียงแขนกางเขน (คริสต์ศตวรรษที่ 16) และบริเวณร้องเพลงสวด พร้อมทั้งมุขโค้งและชาเปลจำนวน 7 หลัง (คริสต์ศตวรรษที่ 13) ซึ่งสามารถเข้าถึงได้จากทางจรมุข นอกจากนี้ยังพบโบสถ์เล็กแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์สร้างราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 เรียกว่า "บาเซิฟวร์" (Basse Œuvre) ซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะจนอยู่ในสภาพดีตั้งอยู่บริเวณที่จะเป็นที่ตั้งของบริเวณกลางโบสถ์อีกด้วย อาสนวิหารโบแวได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารโบแว · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารโมเดนา

อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์และนักบุญเจมีนีอานุส (Cattedrale Metropolitana di Santa Maria Assunta in Cielo e San Geminiano) หรือ มหาวิหารโมเดนา (Modena Cathedral) เปฺ็นคริสต์ศาสนสถานระดับอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองโมเดนาในประเทศอิตาลี และเป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกโมเดนา-โนนันโตลา อาคารสร้างเป็นสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ “มหาวิหารโมเดนา” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารโมเดนา · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารโอเติง

อาสนวิหารโอเติง (Cathédrale d'Autun) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญลาซารัสแห่งโอเติง (Cathédrale Saint-Lazare d'Autun) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลโอเติง ตั้งอยู่ที่เมืองโอเติง จังหวัดโซเนลัวร์ แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญลาซารัสแห่งแอ็กซ์ สร้างขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 12 เพื่อเป็นอาสนวิหารหลังใหม่ทดแทน "อาสนวิหารนักบุญนาซาริอุสแห่งโอเติง" อาสนวิหารหลังเก่าซึ่งสร้างมาตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 อาสนวิหารโอเติงเป็นหนึ่งในตัวอย่างของอาสนวิหารแบบโรมาเนสก์ที่ประกอบด้วยทั้งงานสถาปัตยกรรมและศิลปะตกแต่งภายในช่วงที่สมัยที่ศิลปะโรมาเนสก์มีความเจริญถึงขีดสุด และยังเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ในประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารโอเติง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเบอซ็องซง

อาสนวิหารเบอซ็องซง (Cathédrale de Besançon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นแห่งเบอซ็องซง (Cathédrale Saint-Jean de Besançon) เป็นทั้งอาสนวิหารและบาซิลิกาในนิกายโรมันคาทอลิก รวมทั้งเป็นอาสนวิหารสำคัญประจำราชวงศ์การอแล็งเฌียงและภูมิภาคฟร็องช์-กงเต เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลเบอซ็องซง ตั้งอยู่ที่เมืองเบอซ็องซง จังหวัดดู แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร อาสนวิหารแห่งนี้ประกอบด้วยสามสถาปัตยกรรมหลัก ๆ กล่าวคือโรมาเนสก์, กอธิก และบาโรก ซึ่งสร้างในครั้งแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 และต่อมาได้รับการบูรณะต่อเติมเรื่อยมา โดยเฉพาะครั้งใหญ่ ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 11 สิ่งที่มีความโดดเด่นและไม่เหมือนที่อื่นของอาสนวิหารแห่งนี้ก็คือ บริเวณร้องเพลงสวดมีถึง 2 ด้านตั้งอยู่ตรงข้ามกัน งานภาพเขียนกว่า 30 ชิ้นซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนในฐานะอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ นาฬิกาดาราศาสตร์ซึ่งได้จัดว่าเป็นงานชิ้นเอกของนาฬิกาประเภทนี้ และแท่นบูชาแบบวงกลมทำจากหินอ่อนสีขาวบริสุทธิ์ เรียกกันว่า กุหลาบแห่งนักบุญยอห์น (la rose de Saint-Jean) งานสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 ฐานะทางการปกครองทางมุขมณฑลของอาสนวิหารแห่งนี้ถูกตั้งคำถามบ่อยครั้ง อันเนื่องมาจากความสำคัญของโบสถ์อีกแห่งหนึ่ง (โบสถ์นักบุญเปโตรแห่งเบอซ็องซง) ซึ่งมีความเก่าแก่ไม่แพ้กัน รวมทั้งการสนับสนุนนักบวชของแต่ละฝ่าย ซึ่งฐานะอาสนวิหารแห่งมุขมณฑลแห่งนี้ก็ถูกสลับไปมาอยู่เป็นครั้งคราว แต่ในที่สุดสมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 2 ก็ได้ประกาศตัดสินอย่างเป็นทางการให้อาสนวิหารแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการปกครองของมุขมณฑล และยังถือว่าอยู่ในฐานะ maison-mère อีกด้วย อาสนวิหารแห่งนี้ยังเป็นที่ฝังศพของบุคคลสำคัญต่าง ๆ ในอดีต อาทิ เคานต์แห่งบูร์กอญและอัครมุขนายกในอดีต อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1875.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเบอซ็องซง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale du Puy-en-Velay) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation du Puy-en-Velay) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ. 1856 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และศิลปะโรมาเนสก์ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งตะวันตกของคริสตจักร และยังเป็นหนึ่งในสถานที่แสวงบุญของชาวคริสต์มาตั้งแต่สมัยก่อนจักรพรรดิชาร์เลอมาญ อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862 รวมทั้งยังอยู่ในมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์

อาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์ (Westminster Cathedral) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่าอาสนวิหารพระโลหิตศักดิ์สิทธิ์ (Cathedral of the Most Precious Blood) ตั้งอยู่ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์แม่ของคริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกในอังกฤษและเวลส์ และยังเป็นโบสถ์มหานคร รวมถึงเป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งเวสต์มินสเตอร์ อาสนวิหารตั้งอยู่ที่ SW1 ถนนวิกตอเรีย นครเวสต์มินสเตอร์ โดยเป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่ใหญ่ที่สุดในอังกฤษและเวลส์ ซึ่งชื่อของอาสนวิหารนี้อาจทำให้หลายคนสับสนกับเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ของคริสตจักรแห่งอังกฤษ อาร์ชบิชอปแห่งเวสต์มินสเตอร์องค์ปัจจุบัน คือ อาร์ชบิชอปวินเซนต์ นิโคล.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเฮริฟอร์ด

อาสนวิหารเฮริฟอร์ด อาสนวิหารเฮริฟอร์ด (Hereford Cathedral) เป็นอาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองเฮริฟอร์ดในสหราชอาณาจักร อาสนวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเฮริฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเดอรัม

อาสนวิหารเดอรัม คริสตจักรอาสนวิหารของพระคริสต์ พระนางมารีย์พรหมจารี และเซนต์คัธเบิร์ตแห่งเดอรัม (The Cathedral Church of Christ, Blessed Mary the Virgin and St Cuthbert of Durham) เรียกโดยย่อว่าอาสนวิหารเดอรัม เป็นอาสนวิหารแองกลิคัน ตั้งอยู่ที่เมืองเดอรัมใน สหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1093 มีชื่อเต็มว่า The Cathedral Church of Christ, Blessed Mary the Virgin and St Cuthbert of Durham ลักษณะโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นแบบโรมาเนสก์ มีหอคอยสูง 66 เมตร มีบันไดขึ้นทั้งหมด 325 ขั้น อาสนวิหารเป็นที่เก็บเรลิกของคัธเบิร์ตแห่งลินเดสฟาร์น (Cuthbert of Lindisfarne) นักบุญจากศตวรรษที่ 7 นอกจากนั้นยังเป็นที่เก็บศีรษะของนักบุญออสวอลด์แห่งนอร์ธัมเบรีย (St Oswald of Northumbria) และร่างของนักบุญบีด มุขนายกแห่งเดอรัมเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจมากมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตำแหน่งของมุขนายกแห่งเดอรัมถือว่ามีความสำคัญเป็นที่สี่ของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ในปัจจุบันก็ยังมีป้ายของมณฑลเดอรัมว่าเป็นดินแดนของ Prince Bishops อาสนวิหารได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก พร้อมกับปราสาทเดอรัมซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกันเหนือแม่น้ำเวียร์ (River Wear).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเดอรัม · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเซอแนซ

อาสนวิหารเซอแนซ (Cathédrale de Senez) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งเซอแนซ (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Senez) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลเซอแนซซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลดีญตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองเซอแนซ จังหวัดอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์ ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่พระแม่มารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเซอแนซ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเปรีเกอ

อาสนวิหารเปรีเกอ (Cathédrale de Périgueux) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญฟรอนโตแห่งเปรีเกอ (Cathédrale Saint-Front de Périgueux) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลเปรีเกอ ตั้งอยู่ที่เมืองเปรีเกอ แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาสนวิหารแห่งเมืองเปรีเกอมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1669 หรืออาจจะหมายถึงอาสนวิหารก่อนหน้านั้นคือ "อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งนครเปรีเกอ" (Cathédrale Saint-Étienne-de-la-Cité de Périgueux) อาสนวิหารทั้งสองเดิมเป็นที่ตั้งของบิชอปแห่งเปรีเกอหรือบิชอปแห่งเปรีเกอและซาร์ลาที่เป็นชื่อมุขมณฑลมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเปรีเกอ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเนอแวร์

อาสนวิหารเนอแวร์ (Cathédrale de Nevers) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารนักบุญไซริกัสและนักบุญจูลิตตาแห่งเนอแวร์ (Cathédrale Saint-Cyr-et-Sainte-Julitte de Nevers) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่เมืองเนอแวร์ในแคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเตในประเทศฝรั่งเศส และเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งมุขนายกแห่งเนอแวร์ อาสนวิหารเนอแวร์อุทิศแด่นักบุญไซริกัสและจูลิตตา อาสนวิหารนี้สร้างระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 16 ประกอบด้วยมุขสองมุขทั้งด้านหน้าและหลังของตัววัด มุขหนึ่งและแขนกางเขนทางด้านตะวันตกยังคงเป็นสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ ขณะที่อีกมุขหนึ่งทางตะวันออกและทางเดินกลางเป็นสถาปัตยกรรมกอทิกของคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ทางตะวันออกไม่มีแขนกางเขน ซุ้มทางด้านใต้สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หอขนาดมหึมาที่ตกแต่งอย่างแพรวพราวสร้างเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอาสนวิหารเนอแวร์ · ดูเพิ่มเติม »

อ่างล้างบาป

อ่างล้างบาปที่มหาวิหารวอมส์ ประเทศเยอรมนี อ่างล้างบาปสมัยกลาง จากเมือง Norrköping ประเทศสวีเดน อ่างล้างบาป (Baptismal font) คือภาชนะที่ใช้ทำพิธีบัพติศมาสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ “พิธีบัพติศมา” ก็มีหลายแบบ -- พรมน้ำ รดน้ำ หรือจุ่มลงไปในน้ำทั้งตัว อย่างคำในภาษากรีกว่า βαπτιζω คำนี้แปลว่าดำลงไป แต่อ่างล้างบาปโดยทั่วไปจะเล็กเกินกว่าที่จะใช้วิธีนี้ได้นอกจากกับเด็กทารก.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและอ่างล้างบาป · ดูเพิ่มเติม »

จรมุข

รมุข (Ambulatory) “Ambulatory” มาจากภาษาลาตินกลาง “Ambulatorium” ที่แปลว่าสถานที่สำหรับการเดิน จากคำว่า “ambulare” ที่แปลว่าเดิน คือบริเวณภายในสิ่งก่อสร้างที่คลุมด้วยหลังคาในระเบียงคด หรือบางครั้งก็หมายถึงทางเดินของขบวนนักแสวงบุญรอบมุขตะวันออกของคริสต์ศาสนสถานที่เป็นมหาวิหารหรือวัดขนาดใหญ่ที่อยู่หลังแท่นบูชาเอก บางครั้งรอบทางเดินครึ่งวงกลมก็อาจจมีมุขโค้งด้านสกัดก็อาจจะมีชาเปลย่อยที่กระจายออกไปจากมุข ซึ่งทำให้ผู้เดินรอบแท่นบูชาเดินได้โดยไม่ต้องรบกวนนักบวชหรือผู้เข้าร่วมพิธีที่ทำพิธีอยู่ในชาเปลย่อย จรมุขมักจะปรากฏในคริสต์ศาสนสถานขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่มีองควัตถุของนักบุญ เพื่อใช้เป็นที่สำหรับนักแสวงบุญจำนวนมากสามารถเดินเวียนมาสักการะวัตถุที่ต้องการได้.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและจรมุข · ดูเพิ่มเติม »

จุดตัดกลางโบสถ์

แผนผังคริสต์ศาสนสถานที่แสดง “จุดตัด” เป็นสีเทา จุดตัด (crossing) ในคริสต์ศาสนสถานคือจุดที่ช่องทางเดินกลางตัดกับแขนกางเขนของวัดที่มีผังเป็นรูปกางเขน ถ้าเป็นวัดตั้งตามหลักตะวันตก-ตะวันออกโดยเฉพาะวัดแบบโรมาเนสก์ และกอธิค) แล้ว “จุดตัด” ก็จะเป็นจุดที่เป็นทางไปสู่ช่องทางเดินกลางทางตะวันตก (ด้านหน้าวัด) มุขข้างโบสถ์เหนือและใต้ และบริเวณร้องเพลงสวดทางตะวันออก เหนือกางเขนบางครั้งก็จะมีหอหรือโดม หอจุดตัดเป็นสิ่งที่นิยมสร้างกันในสถาปัตยกรรมการก่อสร้างมหาวิหารของสถาปัตยกรรมกอธิคอังกฤษ เมื่อมาถึงสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาสิ่งตกแต่งเหนือจุดตัดก็มักจะนิยมสร้างเป็นโดม หอเหนือจุดตัดอาจจะเป็น “หอโคม” (lantern tower) ที่ยกสูงขึ้นไปและเปิดข้างเพื่อให้แสงส่องลงมายังบริเวณจุดตัด การที่จุดตัดเปิดออกไปทั้่งสี่ด้านทำให้น้ำหนักของหอหรือโดมเหนือจุดตัดหนักลงมาตรงมุมรอบหอหรือโดม ฉะนั้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่มั่นคงและสามารถรับน้ำหนักของหอได้โดยไม่พังทลายลงมาจึงขึ้นอยู่กับความสามารถของสถาปนิก เรื่องหอพังทลายลงมาเกิดขึ้นหลายครั้งในประวัติศาสตร์ ซึ่งอาจจะเกิดจากความทะเยอทะยานในการสร้างหอที่สูงใหญ่แต่หนักเกินกว่าที่โครงสร้างจะรับได้ หรือจากการทรุดของพื้นดินที่อยู่ภายใต้ตัวอาคาร หรือจากภัยธรรมชาติเช่นแผ่นดินไหวเป็นต้น.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและจุดตัดกลางโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

ครีบยันลอย

กำแพงครีบยันแบบปึกนอกหอประชุมสงฆ์ที่มหาวิหารลิงคอล์น กำแพงครีบยันแบบปึกที่มหาวิหารบาธที่อังกฤษ 5 ใน 6 ครีบยันที่เห็นรับน้ำหนักทางเดินกลาง (nave) อันที่ 6 รับน้ำหนักแขนกางเขน (transept) ครีบยันลอยที่มหาวิหารอาเมียง ครีบยันลอย (flying buttress, arc-boutant) ในทางสถาปัตยกรรม ครีบยันลอยเป็นครีบยัน (Buttress) ประเภทหนึ่งที่มักจะใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถาน โดยเฉพาะกับสถาปัตยกรรมกอทิก เพื่อแบ่งรับน้ำหนักจากหลังคามาสู่ครีบยันที่กระจายออกไปเป็นระยะ ๆ ซึ่งอาจจะเป็นช่องทางเดินข้าง (aisle) คูหาสวดมนต์ หรือระเบียงนอกสิ่งก่อสร้าง ครีบยันลอยต่างกับครีบยันตรงที่จะมีลักษณะที่กางออกไปจากตัวสิ่งก่อสร้างแทนที่จะเป็นส่วนหนึ่งหรือแนบกับตัวสิ่งก่อสร้างของครีบยัน การใช้ครีบยันลอยทำให้ทุ่นการรับน้ำหนักหรือแรงกดดันกำแพงที่แต่เดิมต้องรับน้ำหนักและความกดดันทั้งหมด จึงทำให้สามารถทำหน้าต่างได้กว้างขึ้นได้ ซึ่งถ้าทำเช่นนั้นโดยไม่มีครีบยันลอยก็จะทำให้กำแพงไม่แข็งแรง จุดประสงค์ของครีบยันลอยก็เพื่อช่วยลดน้ำหนักกดดันของกำแพงทางเดินกลาง แรงกดดันและน้ำหนักส่วนใหญ่จะอยู่ส่วนบนของครีบยันฉะนั้นเมื่อทำครีบยันเป็นครึ่งซุ้มโค้งก็ทำให้สามารถรับน้ำหนักได้เท่า ๆ กับครีบยันที่ตัน นอกจากนั้นยังทำให้ครีบยันเบาขึ้นและราคาถูกกว่าที่จะสร้าง ฉะนั้นกำแพงจึง “บิน” (flying) ออกไปจากสิ่งก่อสร้างแทนที่จะเป็นกำแพงทึบ จึงทำให้เรียกกันว่า “ครีบยันลอย” วิธีการก่อสร้างที่ใช้ครีบยันมีมาตั้งแต่สมัยสถาปัตยกรรมโรมันและต้นโรมาเนสก์แต่สถาปนิกมักจะพรางครีบยันโดยการซ่อนไว้ใต้หลังคา เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปนิกเมื่อมีการวิวัฒนาการการสร้างครีบยันลอยกันขึ้น นอกจากสถาปนิกจะเห็นถึงความสำคัญของครีบยันที่ใช้แล้ว ก็ยังหันมาเน้นการใช้ครีบยันเป็นสิ่งตกแต่งสิ่งก่อสร้างเช่นที่มหาวิหารชาทร์ มหาวิหารเลอม็อง (Le Mans Cathedral) มหาวิหารโบแว (Beauvais Cathedral) มหาวิหารแร็งส์ และมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเอง บางครั้งเมื่อเพดานสูงมากๆ สถาปนิกก็อาจจะใช้ครีบยันลอยซ้อนกันสองชั้นหรือบางครั้งการจ่ายน้ำหนักก็จะกระจายออกไปกับครีบยันสามสี่อัน ตามปกติแล้วน้ำหนักของครีบยันก็จะเพิ่มน้ำให้กับตัวอาคารพอสมควร ฉะนั้นครีบยันจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างที่สำคัญ การใช้ครีบยันดิ่งเป็นระยะ ๆ ทำให้เพิ่มการรับน้ำหนักและแรงกดทับได้ดีขึ้นกว่าที่จะสร้างตลอดแนวกำแพง ครีบยันดิ่งที่ใช้ในการก่อสร้างมหาวิหารลิงคอล์น แอบบีเวสต์มินสเตอร์อยู่ภายนอกหอประชุมสงฆ์ ครีบยันดิ่งมักจะใช้ยอดแหลม (pinnacle) เหนือครีบยันในการสร้างแรงต่อต้านการรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้น วิธีการก่อสร้างนี้ถูกนำไปใช้โดยสถาปนิกชาวแคนาดาวิลเลียม พี แอนเดอร์สันในการสร้างประภาคารเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและครีบยันลอย · ดูเพิ่มเติม »

คอมบูร์ก

แอบบีคอมบวร์ก (Comburg) เป็นคริสต์ศาสนสถานนิกายโรมันคาทอลิกที่เป็นสำนักสงฆ์ของลัทธิเบ็นนาดิคตินที่ตั้งอยู่ใกล้เมืองชเวบิสชฮอลล์ในประเทศเยอรมนี แอบบีคอมบวร์กเป็นที่ตั้งของสังฆมณฑลคอมบวร์ก แอบบีคอมบวร์กก่อตั้งขึ้นโดยเคานท์แห่งคอมบวร์ก-โรเตนบวร์กในคริสต์ทศวรรษ 1070 บนที่ที่เป็นปราสาทของตนเอง เคานท์แห่งคอมบวร์ก-โรเตนบวร์กมีตำแหน่งเป็น Vogt ที่ดำรงต่อมาจนตระกูลสิ้นสุดลงในสมัยราชวงศ์เสตาเฟอร์ นักบวชรุ่นแรกมาจากแอบบีเบราไวเลอร์ แต่เมื่อมาถึงคริสต์ทศวรรษ 1080 เจ้าอาวาสก็ได้รับการแต่งตั้งมาจากแอบบีเฮอร์เซาที่เป็นการนำคอมเบิร์กเข้ามามีส่วนในการปฏิรูปเฮอร์เซา นักบวชทั้งหมดของแอบบีคอมบวร์กเป็นนักบวชที่มาจากตระกูลขุนนาง ฉะนั้นจึงมีทัศนคติที่ต่อต้านการปฏิรูปเบ็นนาดิคติน (การปฏิรูปของแอบบีเมลค์ของคริสต์ศตวรรษที่ 15 จากความกดดันแอบบีก็กลายเป็น “Kollegiatstift” ในปี ค.ศ. 1488 แทนที่จะยอมรับนักบวชที่ไม่ได้มาจากตระกูลขุนนางเข้าเป็นสมาชิก ในปี ค.ศ. 1587 คอมบวร์กก็ถูกเวนคืนตามการปฏิรูปดินแดนในเยอรมนีโดยเวือร์ทเทมแบร์กซึ่งทำให้การมีฐานะเป็นราชสังฆาจักรยุติลง เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1803 แอบบีก็ถูกยุบเลิกการเป็นสำนักสงฆ์ หอสมุดของแอบบีกลายเป็นหอสมุดแห่งรัฐแห่งเวือร์ทเทมแบร์ก แต่สมบัติของคริสต์ศาสนสถานถูกหลอมที่โรงกษาปณ์ที่ลุดวิกสบวร์ก ตัวสิ่งก่อสร้างถูกใช้หลายอย่าง จนกระทั่งเมื่อปี ค.ศ. 1909 ก็ใช้เป็นที่พำนักของทหารพิการ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองที่ตั้งของแอบบีก็ใช้เป็นสถานที่ฝึกต่างๆ และในช่วงหนึ่งใช้เป็นค่ายนักโทษสงคราม หลังสงครามแล้วก็ใช้เป็นที่พักของผู้พลัดถิ่นอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แต่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1947 เป็นต้นมาแอบบีก็ใช้เป็นสถาบันฝึกหัดครู.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและคอมบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ซันการ์โลอัลเลกวัตโตรฟอนตาเน

วัดซานคาร์โลอัลเลควอตโตรฟอนตาเน หรือ วัดเซนต์ชาร์ลส์ที่มุมสี่น้ำพุ (Church of Saint Charles at the Four Fountains) บางครั้งก็เรียกว่า วัดซานคาร์ลิโน เป็นคริสต์ศาสนสถานที่มีฐานะเป็นวัดของนิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่กรุงโรมในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมของสิ่งก่อสร้างเป็นแบบบาโรก วัดซานคาร์โลออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาลีคนสำคัญฟรานเซสโก บอโรมินิและเป็นงานอิสระของบอโรมินิชิ้นแรกที่ถือว่าเป็นงานที่เป็นสัญลักษณ์ของสถาปัตยกรรมแบบบาโรกที่สร้างขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสิ่งก่อสร้างของสำนักสงฆ์บนเนินควิรินัลสำหรับนิกายตรีเอกานุภาพสเปน (Trinitarian) บอโรมินิได้รับสัญญาว่าจ้างในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันการ์โลอัลเลกวัตโตรฟอนตาเน · ดูเพิ่มเติม »

ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซี

ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซี (Chiesa di San Luigi dei francesi; Church of Saint Louis of France) เป็นนักบุญหลุยส์ผู้เป็นพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสมาก่อนเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะแบบฝรั่งเศสเห็นได้ชัดในการออกแบบด้านหน้าของวัดที่เป็นที่ตั้งของประติมากรรมหลายรูปที่ทำให้รำลึกถึงประวัติศาสตร์ที่รวมทั้งชาร์เลอมาญ พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 นักบุญโคลทิลด์, นักบุญเดนีส์ และ นักบุญฌานแห่งวาลัว ภายในตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังบรรยายเรื่องราวของนักบุญหลุยส์ (โดยชาร์ลส์-โจเซฟ นาตัวร์ (Charles-Joseph Natoire)), นักบุญเดนีส์ และพระเจ้าโคลวิสที่ 1 (Clovis I) โบสถ์ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซีได้รับเลือกให้เป็นที่บรรจุศพของนักบวชคนสำคัญ ๆ และบุคคลที่เป็นสมาชิกของชุมชนฝรั่งเศสที่อยู่ในกรุงโรมที่รวมทั้วพอลลีน เดอ โบมองต์ที่เสียชีวิตด้วยวัณโรคในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันลุยจีเดย์ฟรันเชซี · ดูเพิ่มเติม »

ซันตากอสตันซา

ซันตากอสตันซา (Santa Costanza) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่กรุงโรมในประเทศอิตาลี โบสถ์ซันตากอสตันซาสร้างขึ้นโดยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เพื่อเป็นที่ฝังพระศพเจ้าหญิงคอนสแตนตินาและเฮเลนาพระราชธิดา ต่อมาคอนสแตนตินาได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นนักบุญ ที่มีชื่อในภาษาอิตาลีว่าคอนสแตนซา ที่เป็นชื่อของวัดดังกล่าว.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันตากอสตันซา · ดูเพิ่มเติม »

ซันตามาริอาดัลมาร์ (บาร์เซโลนา)

ซันตามาริอาดัลมาร์ (Santa Maria del Mar) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ในแขวงลาริเบราของเมืองบาร์เซโลนา ในประเทศสเปน ซันตามาริอาดัลมาร์เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1329 ถึงปี ค.ศ. 1383 ระหว่างยุคอันรุ่งเรืองทางการเดินเรือและการค้าทางทะเลของกาตาลุญญา สถาปัตยกรรมเป็นแบบอันเป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบกาตาลาที่แสดงความกลมกลืนอันเห็นได้ยากในสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ของยุคกลางCirici, Alexandre.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันตามาริอาดัลมาร์ (บาร์เซโลนา) · ดูเพิ่มเติม »

ซันตาตรีนีตา

ซันตาตรีนีตา หรือโบสถ์พระตรีเอกภาพ (Santa Trinita; Church of the Holy Trinity) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ โบสถ์ซันตาตรีนีตาเป็นโบสถ์แม่คณะวัลลุมโบรซัน (Vallumbrosan Order) ที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1092 โดยขุนนางชาวฟลอเรนซ์ งานศิลปะที่มีชื่อเสียงและสำคัญที่สุดภายในวัดเป็นงานจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลซาสเซ็ตติ (Sassetti Chapel) โดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาผู้ถือกันว่าเป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันตาตรีนีตา · ดูเพิ่มเติม »

ซันตาเรปาราตา ฟลอเรนซ์

วัดซานตาเรพาราตา (Santa Reparata) เป็นคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกที่เดิมมีฐานะเป็นมหาวิหาร ที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เป็นวัดที่อุทิศให้แก่นักบุญเรพาราต.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันตาเรปาราตา ฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซันซักกาเรีย เวนิส

ซันซักกาเรีย เวนิส (San Zaccaria) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองเวนิสในประเทศอิตาลี เป็นโบสถ์ที่อุทิศแก่นักบุญเศคาริยาห์ผู้เป็นบิดาของนักบุญยอห์นผู้ให้รับบัพติสมาและเชื่อกันว่าเป็นที่ฝังศพของนักบุญเศคาริยาห์องด้วย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบผสมระหว่างกอธิค และ ฟื้นฟูศิลปวิทยาที่สร้างระหว่าง ค.ศ. 1444 ถึง ค.ศ. 1515 โดยมีอันโตนิโอ กัมเบลโลเป็นสถาปนิกเอกแต่ด้านหน้าสร้างโดยมอโร โคดุซซิ โบสถ์เดิมสร้างโดยดยุกจุสตินาโน พาร์ติชิอาโนในคริสต์ศตวรรษที่ 9 โบสถ์ซันซักกาเรียเป็นที่ฝังศพของดยุกแห่งเวนิส 8 องค์ วัดโรมาเนสก์เดิมมาได้รับการสร้างใหม่เมื่อราวคริสต์ทศวรรษ 1170 เมื่อมีการสร้างหอระฆังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน และมาสร้างเป็นแบบกอธิคในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ตัววัดตั้งติดกับอารามของคณะเบเนดิกตินที่ดยุกแห่งเวนิสมาทำพิธีเทศกาลอีสเตอร์ประจำปีทุกปีที่รวมทั้งพิธีการมอบหมวกดยุก (cornu) ด้วย ซึ่งเป็นพิธีที่เริ่มขึ้นหลังจากนักบวชจากโบสถ์มอบที่ดินสำหรับการขยายจตุรัสซันมาร์โกในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ภายในตัวโบสถ์เป็นมุขโค้งด้านสกัดที่ล้อมด้วยจรมุขประดับด้วยหน้าต่างกอธิคสูง ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบตอนเหนือของยุโรปโดยทั่วไป ซึ่งกลายมาเป็นเอกลักษณ์ของโบสถ์นี้ใน เวนิส ผนังทางด้านทางเดินประดับด้วยภาพเขียนโดยทินโทเรตโต อันเจโล เทรวิซานี จุยเซปเป ซาลวิอาติ โจวันนี เบลลินี อันโตนีโอ บาเลสตรา, โจวันนี โดเมนนิโก ตีเอโพโล, พาลมาผู้อาวุโส และ แอนโทนี แวน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันซักกาเรีย เวนิส · ดูเพิ่มเติม »

ซันโตสปีรีโต ฟลอเรนซ์

ซันโตสปีรีโต หรือ บาซิลิกาซันตามาเรียเดลซันโตสปีรีโต (Santo Spirito, Florence หรือ Basilica of Santa Maria del Santo Spirito) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นบาซิลิกา ที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยา โบสถ์ซันโตสปีรีโตสร้างบนซากโบสถ์เดิมที่เคยเป็นคอนแวนต์ของคณะออกัสติเนียนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 แต่มาถูกทำลายโดยเพลิงไหม้ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซันโตสปีรีโต ฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุ้มกาลิลี

ซุ้มกาลิลี (Galilee (church architecture)) คือมุขทางเข้า หรือ ชาเปลด้านตะวันตกของบางคริสต์ศาสนสถานที่มีไว้สำหรับผู้สำนึกบาปมารอก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้เข้าไปภายในตัววัดได้ หรือเป็นที่ใช้ในการพบปะเมื่อนักบวชมีธุรกิจกับสีกา หลักฐานแรกที่กล่าวถึงปฏิมณฑลชนิดนี้อาจจะพบใน “Consuetudines cluniacensis” โดยอัลริค หรือใน “Consuetudines cenobii cluniacensis” โดยเบอร์นาร์ดแห่งคลูนี แต่คำนิยามของปฏิมณฑลชนิดนี้ค่อนข้างกำกวม ฉะนั้นลักษณะโครงสร้างจึงไม่อาจจะบอกได้ว่าเป็นการบรรยายของคลูนีได้อย่างแน่นอน ตัวอย่างซุ้มกาลิลีที่ยังมีให้เห็นคือที่มหาวิหารเดอแรม มหาวิหารอีลี และ มหาวิหารลิงคอล์น.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและซุ้มกาลิลี · ดูเพิ่มเติม »

ประตูปีศาจ

รอดเฮ็มพสตันในเดวอนในอังกฤษ Worth, West Sussex, has a Devil's door ประตูปีศาจ (Devil's door) เป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถานที่เป็นประตูบนผนังด้านเหนือของตัวสิ่งก่อสร้างของสถาปัตยกรรมยุคกลาง และคริสต์ศาสนสถานที่สร้างก่อนหน้านั้นในสหราชอาณาจักร ประตูปีศาจนิยมสร้างกันในสมัยโบราณในมณฑล ซัสเซ็กซ์ที่มีวัดที่มีประตูปีศาจด้วยกันกว่า 40 วัด องค์ประกอบดังว่านี้มีต้นตอมาจากสมัยคริสเตียนยุคแรก เมื่อการสักการะตามวัฒนธรรมก่อนคริสเตียนยังคงนิยมปฏิบัติกันอยู่ และประตูดังกล่าวก็มักจะเป็นเพียงโครงสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์เท่านั้น แต่ก็มีบางครั้งก็จะเป็นทางเข้าจริง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและประตูปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปนาลี

ปนาลี บนวิหารนอเตอร์ดามในฝรั่งเศส ปนาลี หรือ การ์กอยล์ (Gargoyle; gargouille) ความหมายของปนาลีทางสถาปัตยกรรมหมายถึงหินที่แกะเป็นรูปอัปลักษณ์ (grotesque) ยื่นออกไปจากสิ่งก่อสร้างที่มีรางและช่องให้น้ำจากหลังคาไหลห่างจากตัวสิ่งก่อสร้าง คำว่า “gargoyle” มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “gargouille” ซึ่งแปลว่าคอหอย ซึ่งมาจากภาษาละติน “gurgulio, gula” หรือคำที่มีรากมาจาก “gar” ที่แปลว่า กลืน ซึ่งคล้ายเสียงน้ำไหลในท่อ (ตัวอย่าง: ภาษาสเปน “garganta” แปลว่าคอหอย จึงใช้คำว่า “garganta” สำหรับ “gargoyle”) รูปอัปลักษณ์ที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำแต่ใช้เป็นสิ่งตกแต่ง ตามภาษาสามัญก็ยังเรียกว่าปนาลี ถึงแม้ว่าทางสถาปัตยกรรมจะแยกการใช้ระหว่างคำว่าปนาลี และคำว่ารูปอัปลักษณ์ ปนาลีจะเป็นคำที่ใช้สำหรับรูปอัปลักษณ์ที่ใช้เป็นรางน้ำ และคำว่ารูปอัปลักษณ์จะหมายถึงรูปสลักที่มิได้ใช้เป็นรางน้ำ ปนาลีจะเป็นรูปสลักตามมุมต่าง ๆ ของสถาปัตยกรรมในแบบกอธิคในยุโรป โดยมากจะสลักเป็นรูปมังกรหรือปีศาจในท่วงท่าต่าง ๆ โดยท่าที่รู้จักมากที่สุดคือท่านั่งยอง ๆ ตามองไปทางข้างหน้า ปนาลีเชื่อว่าเดิมเป็นมังกร ชาวยุโรปในยุคกลางเชื่อว่าการ์กอยล์เมื่อตอนกลางวันจะเป็นรูปสลัก ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นมังกรบินไปทั่วหมู่บ้านหรือเมืองที่อาศัย เพื่อปกป้องดูแลมิให้มีสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ เข้ามารังควาน.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและปนาลี · ดูเพิ่มเติม »

แชร์โตซาดีซันมาร์ตีโน

แชร์โตซาดีซันมาร์ตีโน (Certosa di San Martino) หรือชาร์เตอร์เฮาส์ (อาราม) แห่งเซนต์มาร์ติน (St.) เดิมเป็นอาราม ของคณะคาร์ทูเซียนในคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองเนเปิลส์ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี แต่ในปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ อารามเป็นสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นอยู่บนเนินโวเมโรที่มองเห็นได้แต่ไกล และจากตัวสิ่งก่อสร้างก็จะเป็นทิวทัศน์ของอ่าว อารามนี้สร้างเสร็จและทำการเปิดใช้ในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีโจนที่ 1 แห่งเนเปิลส์ในปี ค.ศ. 1368 เป็นคริสต์ศาสนสถานที่อุทิศให้แก่นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์ ระหว่างครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 16 อารามก็ได้รับการขยายต่อเติม ต่อมาในปี ค.ศ. 1623 ก็ได้รับการขยายเพิ่มขึ้นในรูปทรงที่ใกล้เคียงกับที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1800 อารามก็ถูกปิดลงตามคำสั่งของคณะ ในปัจจุบันตัวสิ่งก่อสร้างเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สำหรับแสดงศิลปะของสมัยบูร์บองและสเปน และเป็นที่แสดงงานสะสมงานศิลปะ “ฉากการประสูติของพระเยซู” (Nativity scene หรือ presepe) ที่ถือว่าเป็นงานสะสมชุดที่ดีที่สุดชุดหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและแชร์โตซาดีซันมาร์ตีโน · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งต์-ชาแปล

แซ็งต์-ชาแปล (La Sainte-Chapelle, The Holy Chapel) เป็นโบสถ์น้อยของนิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่กรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างแบบสถาปัตยกรรมกอทิก แซ็งต์-ชาแปลอาจจะถือกันว่าเป็นงานชิ้นที่งดงามที่สุดของสถาปัตยกรรมแรยอน็องซึ่งเป็นสมัยหนึ่งของสถาปัตยกรรมกอทิก.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและแซ็งต์-ชาแปล · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กลม

“วัดกลม” ที่บอว์มอร์ในสกอตแลนด์ วัดกลม (Round church) เป็นสถาปัตยกรรมคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่มีผังเป็นทรงกลมทั้งหลัง วัดกลมมักจะพบในสวีเดน และเดนมาร์ก (โดบเฉพาะบนเกาะบอร์นโฮล์ม) และเป็นทรงที่นิยมกันในสแกนดิเนียเวียระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 ตัวอย่างของวัดกลมก็ได้แก่วัดเฮดวิกเอเลโอโนราในสตอกโฮล์มในสวีเดน ในอังกฤษก็มีวัดกลมด้วยกันห้าวัดที่รวมทั้ง วัดโฮลีเซพัลเครอ, เคมบริดจ์ และ วัดเท็มเพิลในลอนดอน วัดกลมไม่ควรจะสับสนกับสิ่งก่อสร้างที่มีรูปทรงคล้ายคลึงกันเช่นวัดหอกลมที่เฉพาะหอที่ติดกับตัววัดเท่านั้นที่กลม ที่ส่วนใหญ่จะพบในบริเวณอีสต์แองเกลีย โดยเฉพาะในมณฑลนอร์โฟล์ค และ มณฑลซัฟโฟล.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์กลม · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์หอกลม

วัดเซนต์ปีเตอร์, Bruisyard, ซัฟโฟล์ค โบสถ์หอกลม (Round-tower church) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่ส่วนใหญ่ปรากฏในอังกฤษโดยเฉพาะในอีสต์แองเกลีย ที่ยังคงมีเหลืออยู่ด้วยกันทั้งสิ้นราว 185 แห่ง ในมณฑลนอร์โฟล์คมี124 แห่ง ในมณฑลซัฟโฟล์คมี 38 แห่งในมณฑลเอสเซ็กซ์มี 6 แห่ง ในมณฑลซัสเซ็กซ์มี 3 แห่ง และอีกมณฑลละ 2 แห่งในเคมบริดจ์เชอร์ และในบาร์คเชอร์ ในเยอรมนีมีหลักฐานว่ามีอยู่ราว 280 ที่มีรูปทรงคล้ายกับที่ปรากฏในอีสต์แองเกลีย ประเทศที่มีโบสถ์หอกลมก็รวมทั้งอันดอร์รา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส อิตาลี สวีเดน นอร์เวย์ โปแลนด์ และแอฟริกาใต้ ลักษณะอันเป็นเอกลักษณ์ของคริสต์ศาสนสถานดังกล่าวที่เห็นได้ชัดคือการมีหอกลม แต่สาเหตุที่สร้างที่ส่วนใหญ่โดยแซ็กซอนยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ ข้อสันนิษฐานที่เสนอกันมาก็ได้แก่.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์หอกลม · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อย

น้อยในประเทศเบลเยียม โบสถ์น้อย หรือ วัดน้อย (chapel) เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่างๆ ตั้งแต่ใหญ่ขนาดมหาวิหารย่อย ๆ ไปจนถึงโบสถ์น้อยเล็ก ๆ ข้างทาง เช่นเดียวกับถ้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างขนาดก็ขึ้นอยู่กับฐานะของผู้สร้าง โบสถ์น้อยที่เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร, โบสถ์ใหญ่ ๆ, ปราสาท, วัง, คฤหาสน์, วิทยาลัย, โรงพยาบาล คุก หรือสุสาน บางครั้งโบสถ์น้อยที่สร้างในมหาวิหารจะสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น "โบสถ์น้อยแม่พระ" ที่มักจะสร้างเป็นโบสถ์น้อยที่อยู่ทางตะวันออกสุดของโบสถ์ หรือ "โบสถ์น้อยศีลศักดิ์สิทธิ์" ที่ตั้งติดกับโบสถ์และใช้เป็นที่เก็บไวน์ และขนมปังที่ใช้ในพิธีศีลมหาสนิท ถ้าโบสถ์น้อยมีขนาดค่อนข้างเล็กที่สร้างเป็นคูหาภายในทางด้านข้างหรือทางด้านหลังของมหาวิหารหรือโบสถ์ก็อาจจะเรียกว่า "คูหาสวดมนต์" ความหมายเป็นนัยยะของโบสถ์น้อยคือเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลไม่ใช่สถาบันศาสนา เช่น โบสถ์น้อยของปราสาท หรือโบสถ์น้อยส่วนตัวภายในมหาวิหารเป็นต้น.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยบรันกัชชี

ปลบรันคาชชิ (Brancacci Chapel, Capella dei Brancacci) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยมาซาชิโอ ที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิ ที่เขียนให้แก่พ่อค้าไหมเฟลิเช บรันคาชชิหลานของเปียโตร บรันคาชชิผู้สร้างชาเปล ความงามของงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลนี้ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ชาเปลซิสตินแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้น” ใน และเป็นงานเขียนที่มีอิทธิพลมากที่สุดชิ้นหนึ่งของสมัยที่ว่านี้ เปียโตร บรันคาชชิสร้างชาเปลนี้ในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์น้อยบรันกัชชี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยกอนตาเรลลี

ปลคอนทราเรลลิ (Contarelli Chapel) เป็นชาเปลหรือคูหาสวดมนต์ภายในวัดซานลุยจิเดอิฟรานเชซิที่ตั้งอยู่ที่จตุรัสนาโวนาในกรุงโรมในประเทศอิตาลี เป็นวัดที่สร้างในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่ออกแบบโดย จาโคโม เดลลา พอร์ตา (Giacomo della Porta) และสร้างโดยสถาปนิกโดเมนิโค ฟอนทานา (Domenico Fontana) ระหว่างปี ค.ศ. 1518 ถึงปี ค.ศ. 1589 เพื่อเป็นวัดประจำชาติของฝรั่งเศสในกรุงโรม ชาเปลคอนทราเรลลิมีความสำคัญในการเป็นที่ตั้งของภาพเขียนสามภาพโดยคาราวัจโจจิตรกรคนสำคัญของยุคบาโรกระหว่างปี ค.ศ. 1599 ถึงปี ค.ศ. 1600 ที่เป็นฉากชีวิตของนักบุญแม็ทธิวที่รวมทั้งภาพ: “พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว”, “แรงบันดาลใจของนักบุญแม็ทธิว” และ “การพลีชีพของนักบุญแม็ทธิว” ชาเปลสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่คาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสขื่อแม็ทธิว ควงแทรล (Matthieu Cointrel) หรือ “คอนทราเรลลิ” ในภาษาอิตาลีผู้ที่ก่อนเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์น้อยกอนตาเรลลี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

ปลทอร์นาบุโอนิ (Tornabuoni Chapel, Cappella Tornabuoni) เป็นชาเปลหลักหรือชาเปลของบริเวณร้องเพลงสวดอยู่ภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ที่เขียนโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาและห้องเขียนภาพระหว่างปี ค.ศ. 1485 ถึงปี ค.ศ. 1490.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซัสเซตตี

ปลซาสเซ็ตติ (ภาษาอังกฤษ: Sassetti Chapel; ภาษาอิตาลี: Cappella Sassetti) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตาทรินิตาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซ.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์น้อยซัสเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซิสทีน

“พระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม” ''God creates Adam'' โดย มีเกลันเจโลหลังจากการปฏิสังขรณ์ สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 โบสถ์น้อยซิสทีน (Sistine Chapel; Cappella Sistina) เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์โถง

วัดโถง (Hall church) คือคริสต์ศาสนสถานที่เพดานของทางเดินกลางและทางเดินข้างมีความสูงเท่าๆ กัน ที่มีหลังคาร่วมกันเป็นหลังคาใหญ่หลังคาเดียว คำว่า “Hall church” ใช้เป็นครั้งแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักประวัติศาสตร์ศิลป์เยอรมันวิลเฮล์ม ลืบค์ (Wilhelm Lübke).

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์โถง · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์เจซู

ซู (Chiesa del Gesù) เป็นโบสถ์แม่ของคณะเยสุอิตในนิกายโรมันคาทอลิก มีชื่อเป็นทางการว่าโบสถ์พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซู (Chiesa del Santissimo Nome di Gesù all'Argentina) หรือภาษาอังกฤษว่า “Church of the Most Holy Name of Jesus” ด้านหน้าของโบสถ์เป็นสถาปัตยกรรมแบบบาโรกที่แท้จริงเป็นแห่งแรก โบสถ์ใช้เป็นตัวอย่างในการก่อสร้างโบสถ์เยสุอิตต่อมาอีกมากมายทั่วโลกโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา โบสถ์เจซูตั้งอยู่ที่จตุรัสเจซูในกรุงโรม นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลาผู้ก่อตั้งคณะเยสุอิตเป็นผู้ริเริ่มความคิดในการก่อสร้างในปี ค.ศ. 1551 และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการการปฏิรูปคาทอลิก โบสถ์เจซูเป็นสำนักงานกลางของมหาธิการคณะเยสุอิตจนกระทั่งถูกยุบในปี ค.ศ. 1773.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโบสถ์เจซู · ดูเพิ่มเติม »

โรงเขียนหนังสือ

ลจิตรกรรมโดย Jean Miélot จากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15Christopher De Hamel, ''Scribes and Illuminators'', (Toronto: U Toronto Press, 1992), 36. เป็นภาพของนักเขียนที่กำลังทำงานรวบรวม “ปาฏิหาริย์แห่งโนเทรอดาม” ที่มีภาพนี้รวมอยู่ด้วย โรงเขียนหนังสือ หรือ โรงคัดหนังสือ (Scriptorium) แปลตรงตัวว่า “สถานที่สำหรับเขียนหนังสือ” มักจะใช้สำหรับห้องหรือโถงในสำนักสงฆ์ที่ใช้ในการก็อปปีหนังสือโดยนักคัด (scribe) ของสำนักสงฆ์ จากหลักฐานที่บันทึกไว้ และจากสิ่งก่อสร้างที่ยังคงมีให้เห็น หรือจากการขุดค้นทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่าตรงกันข้ามกับความเชื่อโดยทั่วไปว่าเป็นห้องที่มักจะมีในสำนักสงฆ์นั้นแทบจะไม่มีกันเท่าใดนัก การเขียนหรือคัดหนังสือในสำนักสงฆ์จึงมักจะทำกันในคอกเช่นคอกที่ลึกเข้าไปในผนังของระเบียงคดหรือในห้องเล็กที่เป็นที่พำนักของนักบวชเอง การพูดถึง “โรงเขียนหนังสือ” โดยนักวิชาการในปัจจุบันโดยทั่วไปมักจะหมายถึงการเขียนหรือผลิตงานของสำนักสงฆ์แทนที่จะกล่าวถึงโครงสร้างที่เป็น “โรงเขียน” จริงๆ “โรงเขียนหนังสือ” เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องมีสำหรับห้องสมุด ถ้าที่ใดมีห้องสมุดก็สรุปได้ว่าต้องมี “โรงเขียนหนังสือ” หรือ “โรงคัดหนังสือ” “โรงเขียนหนังสือ” ตามธรรมเนียมแล้วหมายถึงห้องที่กำหนดไว้ให้ใช้ในการเขียนหนังสือและก็คงจะมีอยู่ไม่นานนัก เมื่อผู้ใดหรือสถาบันใดต้องการจะคัดหนังสือสำหรับการสะสมในห้องสมุดก่อนที่จะมีการพิมพ์ เมื่อห้องสมุดมีหนังสือพอเพียงแล้วโรงเขียนก็ยุบเลิก เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เกิดร้านบริการคัดหนังสือโดยฆราวาสขึ้น นักคัดอาชีพก็อาจจะมีห้องพิเศษที่ใช้ในการคัดหนังสือ แต่โดยทั่วไปแล้วก็อาจจะเป็นเพียงโต๊ะใกล้หน้าต่างในบ้านของตนเอง.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโรงเขียนหนังสือ · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างทรงโค้ง

กอทิกของโบสถ์แซ็ง-เซเวอแร็งแห่งปารีส โครงสร้างทรงโค้ง (Vault; voûte; Gewölbe; volta) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโค้ง (arch) ที่เป็นช่องใต้เพดานหรือหลังคา | url.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโครงสร้างทรงโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างทรงโค้งมีสัน

รงสร้างทรงโค้งมีสันที่มหาวิหารแร็งส์ โครงสร้างทรงโค้งมีสัน โครงสร้างทรงโค้งมีสัน (rib vault; croisée d'ogives) เป็นโครงสร้างทรงโค้งแบบหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณจุดที่ตัดกันระหว่างโครงสร้างทรงโค้งประทุน (barrel vault) จำนวนสองหรือสามส่วนเข้าด้วยกัน ซึ่งจะทำให้เกิดสันซึ่งมักจะตกแต่งด้วยบริเวณโค้งสันด้วยหินแกะสลักเป็นลายต่าง ๆ เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับโครงสร้างทรงโค้งสันทแยงมุม (groin vault) ซึ่งเป็นโครงสร้างของเพดานโค้งในยุคที่เก่ากว่า โดยกลไกคือการถ่ายเทน้ำหนักของบริเวณเพดานลงออกด้านข้างไปยังบริเวณเสาโดยรอบ ซึ่งเหมือนกันกับแบบโค้งสัน เพียงแต่แบบใหม่นี้สามารถทำให้สถาปนิกสามารถสร้างสรรค์ความอลังการได้มากกว่าโดยเฉพาะในสมัยสถาปัตยกรรมกอทิกในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซึ่งในขณะนั้นถือว่าเป็นเทคโนโลยีแบบใหม่ ซึ่งมักจะคู่กันกับครีบยันลอย ซึ่งต่างกับสมัยโรมาเนสก์ที่ใช้เพียงครีบยันธรรมดาและกำแพงอันหนาเพื่อรับแรงโดยตรงจากโครงสร้างทรงโค้งแบบครึ่งวงกลม ในสถาปัตยกรรมกอทิก โครงสร้างทรงโค้งมีสันนี้เป็นวิธีที่กระจายน้ำหนักรวมลงที่ปลายเสาโดยตรงโดยไม่ผ่านผนังหรือกำแพง ซึ่งทำให้สามารถสร้างกำแพงที่บาง สูง และยังเป็นบานหน้าต่างขนาดใหญ่เพื่อใส่งานกระจกสีได้อย่างง่ายดาย และจากบริเวณปลายเสาก็ถ่ายเทน้ำหนักลงที่ครีบยันลอย โครงสร้างทรงโค้งมีสันในสมัยแรกซึ่งฝังอยู่ในโครงสร้างของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบตัวอย่างได้ที่บริเวณทางเดินข้างของบริเวณร้องเพลงสวดของมหาวิหารเดอรัม และที่โบสถ์แซ็ง-เอเตียนแห่งก็อง ซึ่งทั้งสองที่นี้เป็นวิหารในยุคแรก ๆ ที่มีการใช้โครงสร้างทรงโค้งมีสันเข้ากับสถาปัตยกรรมโรมาเนสก.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและโครงสร้างทรงโค้งมีสัน · ดูเพิ่มเติม »

เพดานพัด

นพัดในระเบียงคดที่มหาวิหารกลอสเตอร์ อังกฤษทำจากหินที่พบในท้องถิ่นเดิมสร้างเมื่อค.ศ. 1608 เพดานพัดที่มหาวิหารบาธ อังกฤษทำจากหินที่พบในท้องถิ่นเดิมสร้างเมื่อค.ศ. 1608 และบูรณะเมื่อราวค.ศ. 1860 ระหว่างสมัยวิคตอเรีย เพดานพัด (Fan vault) เป็นเพดานที่ใช้ในสถาปัตยกรรมกอธิคเพอร์เพ็นดิคิวลาร์ ซึ่งเป็นสมัยหนึ่งของสถาปัตยกรรมกอธิคอังกฤษซึ่งสันของเพดานแยกออกไปเป็นแฉกคล้ายรูปพัด ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่มีเฉพาะในอังกฤษ เพดานพัดพบครั้งแรกเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและเพดานพัด · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องยอดหลังคา

รื่องยอดหลังคา (flèche) คือส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างหรือส่วนประกอบของของคริสต์ศาสนสถานที่มีลักษณะเป็นยอดแหลมที่มักจะตั้งบนหลังคาหรือสันของสิ่งก่อสร้าง หรือบนจุดตัดของมหาวิหาร ในภาษาอังกฤษหมายถึงยอดแหลมที่เป็นโครงไม้คลุมด้วยตะกั่ว เครื่องยอดหลังคามักจะมีขนาดไม่ใหญ่นัก แต่บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เช่นเครื่องยอดหลังคาของมหาวิหารอาเมียงหรือของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส “flèche” มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า “ลูกศร”.

ใหม่!!: ผังอาสนวิหารและเครื่องยอดหลังคา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Cathedral diagramCathedral planแผนผังมหาวิหารแผนผังวัดคริสต์ศาสนาแผนผังอาสนวิหารแผนผังคริสต์ศาสนสถาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »