เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ดัชนี ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.

สารบัญ

  1. 51 ความสัมพันธ์: ชาญวิทย์ เกษตรศิริพ.ศ. 2459พ.ศ. 2542พ.ศ. 2559พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอกพิภพ ธงไชยกรกันต์ สุทธิโกเศศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยงยุทธ ยุทธวงศ์รายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโกรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซรายนามนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทยรางวัลพานแว่นฟ้ารางวัลรามอน แมกไซไซวิทยากร เชียงกูลวิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศุภชัย พานิชภักดิ์สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516สมคิด ศรีสังคมสล้าง บุนนาคสามัคคีสมาคมสำนักงบประมาณหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านอัมมาร สยามวาลาอดุล วิเชียรเจริญผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยจอน อึ๊งภากรณ์จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอนธนาคารแห่งประเทศไทยถนอม กิตติขจรถนนปรีดี พนมยงค์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต)ทองปานที่สุดในประเทศไทยดุษฎี พนมยงค์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ฉัตรทิพย์ นาถสุภานุกูล ประจวบเหมาะใจ อึ๊งภากรณ์โรงเรียนอัสสัมชัญไกรศรี จาติกวณิชไตรรงค์ สุวรรณคีรีเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรมเสรีไทยเหตุการณ์ 6 ตุลา18 ตุลาคม28 กรกฎาคม... ขยายดัชนี (1 มากกว่า) »

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และชาญวิทย์ เกษตรศิริ

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และพ.ศ. 2459

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และพ.ศ. 2542

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และพ.ศ. 2559

พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก

ัณฑ์ชาวบางกอก หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งใน 27 พิพิธภัณฑ์กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 273 ซอยเจริญกรุง 43 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 เป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่ก่อตั้งโดยเอกชน โดยเจ้าของบ้านมีวัตถุประสงค์ที่จะมอบบ้านของตนให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา และต่อมาได้โอนกรรมสิทธิ์ให้กรุงเทพมหานครดูแล เมื่อ 1 ตุลาคม..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก

พิภพ ธงไชย

งไชย พิภพ ธงไชย เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ที่ อ.ป่าโมก.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และพิภพ ธงไชย

กรกันต์ สุทธิโกเศศ

กรกันต์ สุทธิโกเศศ (ชื่อเล่น: อาร์ม) เกิดวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2531 มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากประกวดร้องเพลง KPN Award Thailand Singing Contest 2009 ครั้งที่ 18 ในฐานะรองชนะเลิศอันดับ 1 และ Popular Vote สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์ดอมินิก แผนการเรียน ศิลป์-คำนวณ และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง เกียรตินิยมอันดับ 2 เมื่อปีการศึกษา 2553 และได้ผ่านการคัดเลือกให้เป็นผู้อัญเชิญพระเกี้ยวประจำงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 67.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และกรกันต์ สุทธิโกเศศ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ยงยุทธ ยุทธวงศ์

ตราจารย์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดลพบุรี) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นสาขาเคมี อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทในการศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและประธานกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และยงยุทธ ยุทธวงศ์

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก

ลสำคัญของประเทศไทยที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ

รายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรายนามผู้ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ

รายนามนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย

วไทยที่ได้รับการอบรมหรือทำงานด้านเศรษฐศาสตร์ ทั้งในสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย หน่วยงานภาครัฐ (เช่น สภาพัฒน์ฯ ธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ) หน่วยงานภาคเอกชน (เช่น ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินต่าง ๆ) หรือเป็นนักวิชาการอิสระ รายชื่อนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทยที่มีชื่อเสียง.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรายนามนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย

รางวัลพานแว่นฟ้า

รางวัลพานแว่นฟ้า เป็นรางวัลการประกวดผลงานเขียน วรรณกรรมการเมือง จัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทยและรัฐสภาไทย เพื่อสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และให้ประชาชนได้ใช้เสรีภาพแสดงออกทางการเมืองและสืบสานวรรณกรรมการเมืองให้มีส่วนปลุกจิตสำนึกประชาธิปไตย จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรางวัลพานแว่นฟ้า

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และรางวัลรามอน แมกไซไซ

วิทยากร เชียงกูล

วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และวิทยากร เชียงกูล

วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ หรือชื่อเดิมคือ สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีสถานะเทียบเท่าคณะวิชา รับผิดชอบดำเนินการให้การศึกษา อบรม ฝึกฝน การให้บริการแก่ชุมชน และสร้างเสริมประสบการณ์เกี่ยวกับท้องถิ่นชนบทให้แก่ บัณฑิต ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากทุกสาขาวิชา และทุกสถาบัน เพื่อให้มีความสนใจในและเข้าใจปัญหาของชนบท.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และวิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศุภชัย พานิชภักดิ์

ัย พานิชภักดิ์ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ อังก์ถัด (UNCTAD) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ก่อนหน้านั้นเคยรับตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการใหญ่องค์การการค้าโลก (WTO) ศุภชัยมีชื่อเรียกย่อ ๆ ที่รู้จักกันทั่วไปว่า ดร.ซุป.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และศุภชัย พานิชภักดิ์

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

สมคิด ศรีสังคม

ันเอก สมคิด ศรีสังคม (1 สิงหาคม พ.ศ. 2460 – 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560) คือ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุดรธานี และอดีตประธานโครงการรณรงค์เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย (ครป.).

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และสมคิด ศรีสังคม

สล้าง บุนนาค

ล้าง บุนนาค พลตำรวจเอก สล้าง บุนนาค (5 มีนาคม พ.ศ. 2480 — 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) เกิดที่ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ เป็นบุตรของหลวงพินิตพาหนะเวทย์ (พิง) มารดาชื่อ ทองอยู่ (สกุลเดิม ลิมปิทีป) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รับราชการในกรมตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติในปัจจุบัน) ตำแหน่งที่สำคัญได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 ผู้บัญชาการศึกษา ผู้ช่วยอธิบดีตำรวจ และรองอธิบดีกรมตำรวจ ฝ่ายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมพิเศษ ตามลำดับ ปัจจุบันเป็นสมาชิกวุฒิสภา ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฏ และเหรียญจักรพรรดิมาลา พลตำรวจเอกสล้าง มีบุตรกับภรรยาชื่อ สุพรรณวดี (สกุลเดิม ชุมดวง) 3 คน ได้แก่ วันจักร.ต.ท.พลจักร แล.ต.ท.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และสล้าง บุนนาค

สามัคคีสมาคม

ตราสัญลักษณ์ของสามัคคีสมาคมสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Thai Students’ Association in UK)ได้ถือกำเนิดครึ่งในปี..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และสามัคคีสมาคม

สำนักงบประมาณ

ำนักงบประมาณ (Bureau of the Budget) เป็นหน่วยงานราชการ มีฐานะเทียบเท่ากรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นหน่วยกลางในการจัดทำงบประมาณแผ่นดิน เพื่อเสนอนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ก่อนที่รัฐบาลจะนำเสนอรัฐสภา เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ประกาศใช้เป็น พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี สำหรับใช้จ่ายในปีต่อไป.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และสำนักงบประมาณ

หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานวิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ "โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอบศตวรรษ" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

อัมมาร สยามวาลา

ตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 -) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม และการพัฒนา บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และอัมมาร สยามวาลา

อดุล วิเชียรเจริญ

ตราจารย์ อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และอดุล วิเชียรเจริญ

ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยตำแหน่งผู้ว่าการยังดำรงตำแหน่งอื่นเป็น รองประธานคณะกรรมการธปท., ประธานคณะกรรมการนโยบายการเงิน, ประธานคณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน และ ประธานคณะกรรมการระบบการชำระเงิน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ติดต่อกันได้ไม่เกินสองวาระ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจะเป็นผู้สรรหาและเสนอชื่อไปยังคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติรับรองจึงจะทูลเกล้าฯไปยังสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งต่อไป.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

จอน อึ๊งภากรณ์

อน อึ๊งภากรณ์ จอน อึ๊งภากรณ์ (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2490) ที่ปรึกษาศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ หรือเว็บไซด์ http://freedom.ilaw.or.th/ อดีตกรรมการนโยบายองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ด้านประชาสังคม อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานครที่ทำงานอย่างต่อเนื่องด้านสังคมและการสนับสนุนองค์กรพัฒนาเอกชน เป็นผู้ก่อตั้ง มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ และหนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และจอน อึ๊งภากรณ์

จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน

ณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน หรือรู้จักกันในชื่อ จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน เป็นบทความ 2 หน้า ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความต้องการพื้นฐานในชีวิตของผู้เขียน ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงเสียชีวิต แต่งขึ้นโดย อ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และจากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และธนาคารแห่งประเทศไทย

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และถนอม กิตติขจร

ถนนปรีดี พนมยงค์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต)

ถนนปรีดี พนมยงค์ (Thanon Pridi Banomyong) เป็นชื่อถนนสายหนึ่งภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ช่วงระหว่าง ประตูพหลโยธิน 3 และ ถนนตลาดวิชา ทางมหาวิทยาลัยได้ตั้งชื่อถนนสายที่ขนานไปกับถนนป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ ถนนสัญญา ธรรมศักดิ์ ว่า "ถนนปรีดี พนมยงค์" เพื่อเป็นเกียรติแก่นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส, ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8, นายกรัฐมนตรีคนที่ 7, หัวหน้าขบวนการเสรีไทย, และผู้นำพลเรือนในคณะราษฎร ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง และผู้ประศาสน์การ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หมวดหมู่:ถนนในจังหวัดปทุมธานี.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และถนนปรีดี พนมยงค์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต)

ทองปาน

ทองปาน เป็นภาพยนตร์ไทยกึ่งสารคดี ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2519 เรื่องราวเกี่ยวกับชาวนาอีสานที่ได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างเขื่อนผามอง เพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง โครงการนี้เป็นโครงการของสหรัฐอเมริกาโดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก เป็นเขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเมื่อสร้างเสร็จแล้วจะทำให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเลย หนองคาย หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ จมอยู่ใต้น้ำ ฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์ลอนดอน (London Film Festival) และได้รับรางวัลเกียรติยศ Outstanding Film of Southeast Asia เข้ามาฉายในประเทศไทยครั้งแรกช่วงปลายปี..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และทองปาน

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และที่สุดในประเทศไทย

ดุษฎี พนมยงค์

ษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) ศิลปินแห่งชาติ เป็นนักดนตรีแนวคลาสสิก เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาขับร้องคลาสสิกในประเทศไทย มีผลงานผลิตครู อาจารย์ และนักร้องคลาสสิกที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษวิชาสังคีตนิยม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ นอกจากนี้ยังได้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู และยังเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อการใช้ดนตรีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ภาครัฐและเอกชนอย่างสม่ำเสมอ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และดุษฎี พนมยงค์

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา

ตราจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภาขณะดูงานด้านเศรษฐกิจชาวนาที่ประเทศเปรู เพื่อเปรียบเทียบกับชาวนาไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 ศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (5 กันยายน พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และฉัตรทิพย์ นาถสุภา

นุกูล ประจวบเหมาะ

นายนุกูล ประจวบเหมาะ (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 -) อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และนุกูล ประจวบเหมาะ

ใจ อึ๊งภากรณ์

ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ รองศาสตราจารย์ ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ (Giles Ji Ungpakorn; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2496 —) เป็นนักเคลื่อนไหวทางวิชาการและการเมืองสัญชาติไทย-อังกฤษ เดิมเคยเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร เพื่อหลบหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชาน.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และใจ อึ๊งภากรณ์

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และโรงเรียนอัสสัมชัญ

ไกรศรี จาติกวณิช

นายไกรศรี จาติกวณิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากร และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมสรรพากร เกิดวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และไกรศรี จาติกวณิช

ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และไตรรงค์ สุวรรณคีรี

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และเสรีไทย

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และเหตุการณ์ 6 ตุลา

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และ18 ตุลาคม

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และ28 กรกฎาคม

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ดู ป๋วย อึ๊งภากรณ์และ9 มีนาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Puey

9 มีนาคม