สารบัญ
259 ความสัมพันธ์: ชะมดแผงสันหางดำชะมดแผงหางปล้องชะมดแปลงชะนีมือขาวชะนีมือดำชะนีมงกุฎชะนีดำชะนีคิ้วขาวตะวันตกชะนีแก้มเหลืองชะนีเซียมังบัวดอยชิมแปนซีบุญส่ง ชเลธรบุญส่ง เลขะกุลช้างร้องไห้ช้างอินเดียพญากระรอกพญากระรอกดำพญากระรอกเหลืองพญาสัตบรรณพังพอนเล็กกบชะง่อนผาภูหลวงกบทูดกระรอกบินกระรอกสีสวยกระจ้อนกระทิงกระต่ายกระแตใต้กระเล็นกวนอูกอบเพลิงกะท่างการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการทำลายป่าการป่าไม้กิ้งกือกระสุนกิ้งก่าบินกิ้งก่าบินปีกจุดกิ้งก่าจระเข้ภูมิศาสตร์ไทยมหานิกายมะจอเต๊ะมัจจุราชมืดโหดมฤตยูมาร์เทินมนุษย์นกฮูกม็อบหน้าขน ซนซ่าป่วนเมืองยิ้มกลางสายฝนยุคหินกลาง (แอฟริกา)รองเท้านารีอินทนนท์... ขยายดัชนี (209 มากกว่า) »
ชะมดแผงสันหางดำ
มดแผงสันหางดำ (Large-spotted civet) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง มีรูปร่างและลักษณะคล้ายคลึงกับชะมดแผงหางปล้อง (V. zibetha) แต่ต่างกันที่บริเวณหาง โดยหางของชะมดแผงสันหางดำจะมีลายขวางสีดำบริเวณด้านบนของหางลากยาวมาจากโคนหางถึงปลายหาง ทำให้ปล้องหางไม่แยกขาดจากกันเหมือนชะมดแผงหางปล้อง ปลายหางมีสีดำและมีลายจุดสีดำกระจายไปทั่วตัว มีความยาวลำตัวและส่วนหัว 72-85 เซนติเมตร ความยาวส่วนหาง 30-36.9 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 8-9 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถอาศัยอยู่ได้ในป่าหลากหลายประเภท ทั้งป่าสมบูรณ์ และตามสวนเกษตรกรรมต่าง ๆ เช่น สวนยางพารา หรือสวนปาล์มน้ำมัน แต่ส่วนมากมักพบเห็นตามพื้นที่ที่มีความสูงตั้งแต่ 80-200 เมตร จากระดับน้ำทะเล โดยปกติแล้วมักอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือเลี้ยงดูลูกอ่อน จะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535.
ชะมดแผงหางปล้อง
มดแผงหางปล้อง (Large indian civet;; อีสาน: เหง็นแผงหางก่าน) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง มีลำตัวสีเทาค่อนข้างดำ มีลายสีดำข้างลำตัว ข้างลำคอมีเส้นสีดำสามแถบพาดผ่านในแนวขวาง มีจุดเด่น คือ ส่วนหางมีลายสีดำสลับกับขาวเป็นปล้อง ๆ 5-6 ปล้อง มีขนสีดำสนิทพาดตั้งแต่กึ่งกลางหลังจนถึงโคนหาง เท้ามีสีดำ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย จัดเป็นชะมดที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีความยาวลำตัวและหัว 75-85 เซนติเมตร ความยาวหาง 38-46 เซนติเมตร น้ำหนักตัว 8-10 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, อินโดจีน, ประเทศจีน, ฮ่องกง, มาเลเซีย และสิงคโปร์ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ในป่าหลากหลายประเภท แม้กระทั่งใกล้ชุมชนของมนุษย์ หากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้หลากหลาย โดยจับเหยื่อจะใช้ฟันกัดและสะบัดอย่างแรงจนเหยื่อตายมากกว่าจะใช้เล็บตะปบ ตอนกลางวันจะนอนหลับตามโพรงไม้หรือโพรงหินหรือในถ้ำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
ชะมดแปลง
มดแปลง (Asiatic linsang) เป็นสกุลของสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์ชะมดและอีเห็น (Viverridae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Prionodon (/ไพร-โอ-โน-ดอน/) ในวงศ์ย่อย Prionodontinae (หรือแยกออกมาเป็นวงศ์ต่างหาก คือ Prionodontidae) ชะมดแปลง เป็นชะมดจำพวกหนึ่งที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับชะมดส่วนใหญ่ทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียว มีหางยาว ความยาวลำตัวไม่เกิน 30 เซนติเมตร อาศัยและหากินส่วนใหญ่บนต้นไม้ ด้วยรูปร่างที่เพรียวยาวจึงทำให้ดูเผิน ๆ เหมือนงูไต่ตามต้นไม้มากกว่าจะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อุ้งตีนมีซองเก็บเล็บได้เหมือนสัตว์ตระกูลแมว มีสีขนตามลำตัวเป็นจุดหรือลายแถบคดเคี้ยวแตกต่างไปตามชนิด ส่วนหางเป็นปล้อง ๆ ไม่มีขนแผงคอหรือขนที่สันหลัง และมีลักษณะเด่นเฉพาะ คือ ไม่มีต่อมผลิตกลิ่น เหมือนชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ จึงได้ชื่อว่า ชะมดแปลงหน้า 82-84, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน.
ชะนีมือขาว
นีมือขาว หรือ ชะนีธรรมดา (Common gibbon, White-handed gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอันดับวานร (Primates) ชนิดหนึ่ง จัดเป็นลิงไม่มีหางชนิดหนึ่ง จำพวกชะนี (Hylobatidae).
ชะนีมือดำ
นีมือดำ (Agile gibbon, Black-handed gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates agilis จัดเป็นหนึ่งในสี่ชนิดของชะนีที่สามารถพบได้ในประเทศไทย ชะนีมือดำดั้งเดิมเคยถูกจัดให้เป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาวหรือชะนีธรรมดา (H.
ชะนีมงกุฎ
thumb thumb thumb thumb ชะนีมงกุฎ หรือ ชะนีเอี๊ยมดำ (Pileated gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates pileatus เดิมเคยถูกจัดเป็นชนิดย่อยของชะนีมือขาว (H.
ชะนีดำ
นีดำ (Black-cheeked gibbon) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nomascus concolor มีรูปร่างหน้าตาคล้ายชะนีมงกุฎ (Hylobates pileatus) และชะนีมือขาว (H.
ดู ป่าและชะนีดำ
ชะนีคิ้วขาวตะวันตก
นีคิ้วขาวตะวันตก หรือ ชะนีฮูล็อกตะวันตก (Hoolock gibbon, Hoolock, Western hoolock gibbon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) จัดเป็นชะนีชนิดหนึ่ง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกรองลงมาจากเซียมมัง หรือชะนีดำใหญ่ ที่พบในป่าดิบในแหลมมลายูและเกาะสุมาตรา เมื่อมีความสูงเมื่อยืนด้วยสองขาหลังได้ถึง 90 เซนติเมตร น้ำหนักเกือบ 10 กิโลกรัม แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวเมื่ออยู่บนต้นไม้ ชะนีคิ้วขาวตะวันตก เดิมเคยถูกจัดให้เป็นชะนีฮูล็อกเพียงชนิดเดียว (โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hylobates hoolock) แต่ต่อมาได้ถูกจัดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ในปี ค.ศ.
ชะนีแก้มเหลือง
นีแก้มเหลือง (Yellow-cheeked gibbon, Golden-cheeked gibbon, Buff-cheeked gibbon) เป็นชะนีชนิดหนึ่ง มีลักษณะ ขนาดและรูปร่างใกล้เคียงกับชะนีแก้มขาว (N. leucogenys) และชะนีดำ (N.
ชะนีเซียมัง
นีเซียมัง หรือ เซียมมัง หรือ ชะนีดำใหญ่ (มลายู: Siamang; แปลว่า "ลิงสยาม") สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์จำพวกชะนี ซึ่งเป็นชะนีชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดเป็นเพียงชนิดเดียวในสกุล Symphalangus มีรูปร่างคล้ายชะนีทั่วไป แต่มีรูปร่างและลำตัวใหญ่กว่ามาก ขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัวและหัว 75-90 เซนติเมตร น้ำหนักในเพศผู้ 10.9 กิโลกรัม ตัวเมีย 10.6 กิโลกรัม ขนมีสีดำทั้งตัวทั้งตัวผู้และตัวเมีย มีลักษณะเด่นคือ บริเวณลำคอมีถุงสีเทาปนชมพู โดยถุงดังกล่าวจะป่องออกขณะที่ส่งเสียงร้อง โดยชะนีเซียมังจัดเป็นชะนีที่ร้องได้ดังที่สุด มีการกระจายพันธุ์ในเขตใต้สุดของไทย, มาเลเซียและเกาะสุมาตรา มี 2 ชนิดย่อย คือ S.
บัวดอย
ัวดอย หรือ ผู้เฒ่าลืมไม้เท้า เป็นพืชล้มลุกวงศ์ Convallariaceae พบในป่าดิบเขาที่ขึ้นปกคลุมและการกระจายอยู่ตามภูเขาสูงที่มีความสูงจากระดับทะเล ประมาณ 1,400- 2,000 เมตร ในประเทศไทย สำรวจพบต้นบัวดอย ได้แก่ ดอยอ่างขาง (ไม่รวมพันธุ์ที่นำเข้ามาปลูกจากต่างประเทศ) ดอยผ้าห่มปก ดอยเชียงดาว ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ และดอยปุย (อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์) ปางตอง จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
ดู ป่าและบัวดอย
ชิมแปนซี
มแปนซี (Chimpanzee; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pan troglodytes) เป็นลิงไม่มีหางที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที.
บุญส่ง ชเลธร
นายบุญส่ง ชเลธร ปัจจุบันเป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จบการศึกษาระดับปริญญาตรีการศึกษาเบื้องต้น จากวิทยาลัยครูสวนสุนันทา, ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นายบุญส่ง มีชื่อเสียงมาจากการเป็นนักศึกษาที่ทำกิจกรรมทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.
บุญส่ง เลขะกุล
น.พ.บุญส่ง เลขะกุล บนปกนิตยสารเอเชียวีก นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล (15 ธันวาคม พ.ศ. 2450 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หมอบุญส่ง เป็นแพทย์ ช่างภาพ จิตรกร นักเขียน และอาจารย์ มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นผู้บุกเบิกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้และสัตว์ป่าของประเทศไท.
ช้างร้องไห้
้างร้องไห้ หรือ ช้างไห้ เป็นปาล์มหนึ่งในสองชนิดที่อยู่ในสกุลช้างร้องไห้ (Borassodendron) กระจายพันธุ์ในตอนใต้ของพม่า ไทย และคาบสมุทรมลายู ปัจจุบันมีจำนวนลดลงเนื่องจากมีการรุกล้ำป่าไม้และการทำเหมืองหินปูน.
ช้างอินเดีย
้างอินเดีย (Indian elephant) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในวงศ์ Elephantidae หรือช้าง เป็นช้างที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไพลโอซีนหรือประมาณ 5 ล้านปีก่อนมาแล้ว.
พญากระรอก
ญากระรอก (Oriental giant squirrels) เป็นสัตว์ฟันแทะจำพวกกระรอกที่มีขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง โดยจัดอยู่ในวงศ์ย่อย Ratufinae และใช้ชื่อสกุลว่า Ratufa (/รา-ตู-ฟา/) พบทั้งหมด 4 ชนิด แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียไปจนถึงตอนใต้ของจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพฤติกรรมอาศัยและหากินบนต้นไม้ใหญ่ในป่าดิบ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยของลำตัวไม่รวมหางประมาณ 1 ฟุต ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ เชื่อว่าพญากระรอกมีความหลากหลายทางชนิดมากกว่านี้ เพราะมีสัตว์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันอยู่ในยุคกลางไมโอซีน (ประมาณ 16-15.2 ล้านปีก่อน) พบในเยอรมนี.
พญากระรอกดำ
ญากระรอกดำ (Black giant squirrel, Malayan giant squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ย่อยพญากระรอก (Ratufinae) เป็นกระรอกชนิดหนึ่งที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นกระรอกชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย หางยาวเป็นพวง ขนตามลำตัวและหางสีดำสนิท บางตัวอาจมีสะโพก หรือโคนหางออกสีน้ำตาล ขนบริเวณแก้มและท้องสีเหลือง เท้าหน้ามี 4 นิ้ว เท้าหลังมี 5 นิ้ว เล็บยาวและโค้งช่วยในการยึดเกาะต้นไม้ และสะดวกในการเคลื่อนไหวไปมา ขนาดโตเต็มที่มีความยาวลำตัวและหัว 33-37.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 42.5-46 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-1.6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในแคว้นอัสสัม ของอินเดีย, ภาคตะวันออกของเนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบาหลี มีทั้งหมด 10 ชนิดย่อย มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่ในป่าที่มีเรือนยอดไม้สูง เช่น ป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง มักพบเห็นอยู่ตามเรือนยอดไม้ที่รกทึบและใกล้ลำห้วย หากินในเวลากลางวันและหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน มีความปราดเปรียวว่องไว สามารถกระโดดไปมาบนยอดไม้ได้ไกลถึง 22 ฟุต ปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่อาจเห็นเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 2 ปี ตั้งท้องนาน 28 วัน ออกลูกครั้งละ 1-2 ตัว โดยที่ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 3 คู่ รังสร้างขึ้นโดยการนำกิ่งไม้สดมาขัดสานกันคล้ายรังนกขนาดใหญ่ และอาจจะมีรังได้มากกว่าหนึ่งรัง ปัจจุบันมีผู้สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ที่เลี้ยงได้แล้ว และนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง พญากระรอกดำ ยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "กระด่าง" ในภาษาใต้เรียก "พะแมว".
พญากระรอกเหลือง
ญากระรอกเหลือง (Cream-coloured giant squirrel) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง เป็นกระรอกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากพญากระรอกดำ (R.
พญาสัตบรรณ
ญาสัตบรรณ หรือ สัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 12-20 เมตร อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีถิ่นดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย ประไพรัตน์ สีพลไกร.
พังพอนเล็ก
ังพอนเล็ก หรือ พังพอนธรรมดา (Small asian mongoose, Small indian mongoose) เป็นสัตว์กินเนื้อชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Herpestidae มีขนาดเล็ก ขนบนหัวมีสีน้ำตาลแดงจนถึงน้ำตาลเข้ม ขามีสีเดียวกับลำตัวหรือเข้มกว่าเล็กน้อย หางยาวประมาณ 2 ใน 3 ของลำตัว เมื่อตกใจจะพองขนทำให้ดูตัวใหญ่กว่าปกติ เพศเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 35-41 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 25-29 เซนติเมตร พังพอนเล็กมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมากตั้งแต่อิหร่าน, ปากีสถาน, อินเดีย, พม่า, เนปาล, รัฐสิกขิม, บังกลาเทศ, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซียและเกาะชวา จึงทำให้มีชนิดย่อยมากถึง 12 ชนิด (ดูในเนื้อหา) มีพฤติกรรมชอบอาศัยตามป่าโปร่งหรือทุ่งหญ้ามากกว่าป่าดิบทึบ ดังนั้นจึงมักเห็นพังพอนเล็กอาศัยอยู่แม้แต่ในเขตเมือง มักอาศัยอยู่ตามลำพังในโพรงดินที่ขุดไว้ หรือโพรงไม้ ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่อาจอยู่เป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ อาหารได้แก่ สัตว์ทั่วไปขนาดเล็ก หรือบางครั้งอาจล่าเหยื่อที่มีขนาดใหญ่กว่าลำตัว เช่น ไก่ป่า กินได้ ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน พังพอนเล็กจัดเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไวมาก อีกทั้งมีนิสัยที่ไม่กลัวใคร จึงเป็นที่ทราบกันดีว่าชอบที่จะสู้กับงูพิษ โดยเฉพาะงูเห่าเมื่อเผลอจะโดดกัดคองูจนตาย มีฤดูผสมพันธุ์ที่ไม่แน่นอน มักจะผสมกันในโพงดิน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 สัปดาห์ สมัยก่อนในบางบ้านจะเลี้ยงพังพอนไว้สำหรับจับหนูหรือสัตว์ที่ทำรังควานในบ้านชนิดอื่น ๆ แทนแมว ซึ่งได้ผลดีกว่าแมวเสียอีก พังพอนเล็กแม้เป็นสัตว์ดุ แต่หากเลี้ยงตั้งแต่เล็กก็จะเชื่องกับเจ้าของ ในสถานที่เลี้ยงพบว่ามีอายุยืนประมาณ 6 ปี ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
กบชะง่อนผาภูหลวง
กบชะง่อนผาภูหลวง (Phu Luang cliff frog; ชื่อวิทยาศาสตร์: Huia aureola) เป็นกบเฉพาะถิ่นชนิดใหม่ที่ค้นพบใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย ค้นพบโดย นายธัญญา จั่นอาจ จากองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ขนาดตัวยาว 63-96.5 มิลลิเมตร หัวแคบเรียว มีขนาดด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง จุดกลางหน้าผาก เห็นได้ชัดเจนแผ่นหูเห็นได้ชัดเจน มีถุงใต้คางที่บริเวณมุมของคอ ปลายนิ้วขยายออกเป็นแผ่นขนาดใหญ่ ผิวหนังเรียบ ยกเว้นที่ผิวใต้ต้นขา มีตุ่มหยาบไม่มีต่อมที่โคนขาหน้า สันต่อมที่เหนือแผ่นหูเห็นไม่ชัด ไม่มีสันต่อมที่ขอบหลัง หัวและลำตัวด้านหลังสีเขียว ด้านข้างของหัวและสีข้างสีน้ำตาลเข้ม ผิวด้านท้ายของต้นขาหน้า ครึ่งด้านท้องของสีข้าง ผิวของต้นขา แข้ง และตีนดำพร้อมด้วยลวดลายสีเหลืองสด ขอบปากบนมีเส้นสีเหลือง ขอบปากล่างดำ ใต้คอมีแต้มสีน้ำตาล ถุงใต้คอดำ ท้องขาว แผ่นพังผืดที่ยึดระหว่างนิ้วตีนสีน้ำตาลอมม่วงพบอาศัยเฉพาะในบริเวณลำธารต้นน้ำในป่าดิบเขาของจังหวัดเลย ตัวเมียใหญ่กว่าตัวผู้ ประมาณ 10 มิลลิเมตร อาศัยบนต้นน้ำสูงเกิน 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล พบตัวเมียน้อยกว่าตัวผู้.
กบทูด
กบทูด หรือ กบภูเขา หรือ เขียดแลว (Kuhl's creek frog, Giant asian river frog; ชื่อวิทยาศาสตร์: Limnonectes blythii) เป็นกบขนาดใหญ่ที่สุดในที่พบได้ในประเทศไทย ความยาวจากปลายปากถึงก้น ประมาณ 1 ฟุต น้ำหนักกว่า 5 กิโลกรัม มีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณป่าต้นน้ำบนภูเขาสูง อยู่ตามลำห้วยป่าดิบเฉพาะแห่ง โดยพบภาคตะวันตกของไทย ตั้งแต่ภาคเหนือจรดภาคใต้ไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซีย เช่นในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา, อุทยานแห่งชาติเขาสก เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังพบได้ในกัมพูชา, ลาว และเวียดนาม มีลักษณะ ปลายปากเรียวแหลมจนเห็นได้ชัด ส่วนลำตัวอ้วนใหญ่ ผิวเป็นตุ่มเล็ก ๆ ไม่สะดุดตาดูคล้ายเป็นผิวหนังเรียบ เมื่อโตเต็มที่ลำตัวจะมีสีน้ำตาลแดง ริมฝีปากดำ มีขีดดำจากท้ายตาลากมาจนถึงเหนือวงแก้วหู บริเวณสีข้างอาจมีลาย หรือจุดสีดำ น้ำตาลเข้ม ส่วนขามีลายเข้มคาด เป็นระยะ ๆ นอกจากนี้ ยังพบว่าสามารถปรับเปลี่ยนสีผิวไปตามที่อยู่อาศัย เช่น ลำตัวจะมีสีน้ำตาลแดงเมื่ออาศัยอยู่ตามพงหญ้าแห้ง หรือมีสีดำเมื่อหลบซ่อนอยู่ในโพรงไม้ กบทูดเป็นสัตว์ที่มีนิสัยหากินตอนกลางคืน ชอบสภาพอากาศค่อนข้างเย็น เวลากลางวันมักหลบซ่อนอยู่ตามที่มืดทึบ เช่น โพรงไม้, หลุม, พงหญ้า บริเวณเหล่านี้ล้วนมีสภาพชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากกบทูดไม่สามารถอาศัยอยู่ในที่แห้งแล้งหรือร้อนจัดได้นาน เพราะสภาพเช่นนี้จะทำให้ผิวหนังแห้ง อาจทำให้ตายได้ ความแตกต่างเพศผู้เพศเมีย สามารถดูได้จากระยะห่างระหว่างตากับวงแก้วหู ตัวผู้จะมีระยะห่างดังกล่าวนี้ยาวกว่าตัวเมีย นอกจากนี้ ยังสังเกตได้จากเขี้ยว ซึ่งตัวผู้จะเห็นได้เด่นชัดมากกว่าตัวเมียที่มีลักษณะคล้ายตุ่มเล็ก ๆ และโดยส่วนใหญ่แล้ว กบทูดตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ฤดูผสมพันธุ์ของกบทูดอยู่ระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม เมื่อช่วงฤดูวางไข่ ตัวผู้จะขุดหลุมสำหรับตัวเมียวางไข่ เวลาผสมพันธุ์ตัวผู้ลงไปอยู่ในหลุมที่ตัวเองขุด แล้วจะส่งเสียงร้องเรียกตัวเมีย ตัวเมียที่พร้อมผสมพันธุ์ก็จะลงไปในหลุมนั้น หลังจากผสมพันธุ์เสร็จ ตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันกลบหลุมไข่ ซึ่งมีลักษณะเป็นกองหินนูนขึ้นมา ทั้งตัวเมียและตัวผู้จะผลัดกันเฝ้าหลุมไข่พร้อมกับออกหาอาหาร กบทูด จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
ดู ป่าและกบทูด
กระรอกบิน
กระรอกบิน เป็นกระรอกจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในเผ่า Pteromyini หรือ Petauristini มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากกระรอกจำพวกอื่น คือ มีแผ่นหนังลักษณะคล้ายพังผืดที่บริเวณข้างลำตัวตั้งแต่ขาหน้าถึงขาหลัง สำหรับกางเพื่อร่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยมีหางและกระดูกอ่อนพิเศษที่ยื่นออกมาจากข้อเท้าหน้าเพื่อช่วยในการควบคุมทิศทาง กระรอกบินมีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากกระรอกในกลุ่มอื่น คือ หากินในเวลากลางคืน มีดวงตากลมโตสีดำสะท้อนแสงไฟ กระรอกบินจะอาศัยอยู่เฉพาะในป่าดิบที่อุดมสมบูรณ์ อาหารหลัก คือ แมลง หากินหลักอยู่บนต้นไม้ แต่ก็สามารถลงมาหากินบนพื้นดินได้ในบางครั้ง แม้จะได้ชื่อว่า กระรอกบิน แต่แท้ที่จริงแล้วกระรอกบินก็ทำได้เพื่อแค่ร่อน หรือโต้อากาศโดยใช้พังผืดนี้อยู่กลางอากาศได้เพียงสั้น ๆ เท่านั้น โดยการกระโจนจากต้นไม้อีกต้นไปยังอีกต้นหนึ่งเท่านั้น กระรอกบินมีทั้งหมด 44 ชนิด ใน 15 สกุล พบได้ในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรปตอนเหนือและทวีปเอเชีย บางชนิดจัดเป็นกระรอกขนาดใหญ่เทียบเท่าพญากระรอก เช่น พญากระรอกบินสีดำ (Aeromys tephomelas) บางชนิดอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์แล้ว เช่น กระรอกบินเล็กแก้มขาว (Hylopetes phayrei) เป็นต้น ในประเทศไทยพบทั้งหมด 13 ชนิด จาก 6 สกุล ได้แก.
กระรอกสีสวย
กระรอกสีสวย (Beautiful squirrels) เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ จำพวกกระรอก ในสกุล Callosciurus (/คาล-โล-ซิ-อู-รัส/) มีลักษณะโดยทั่วไป คือ หัวกลม ใบหูกลม ตาโต ขนหางฟูเป็นพวง มีความยาวโดยเฉลี่ยส่วนหัวและลำตัว 13-27 เซนติเมตร (5.1-11 นิ้ว) ความยาวหางประมาณ 13-27 เซนติเมตร (5.1-11 นิ้ว) เช่นกัน ส่วนใหญ่มีสีเขียวมะกอกหรือสีเทา มีลายขีดหรือลายแถบสีคล้ำบริเวณด้านข้างลำตัว ส่วนท้องเป็นสีขาวหรือสีเหลืองนวล แต่ส่วนใหญ่มักจะมีสีสันที่หลากหลายมาก เช่น อาจจะมีสีขาว, สีแดงสด หรือสีน้ำตาล บริเวณด้านข้างลำตัวได้ หรืออาจจะเป็นสีขาวล้วนทั้งตัวก็ได้ เป็นกระรอกที่แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ จนถึงตอนใต้ของจีน และเกาะไต้หวัน แพร่กระจายพันธุ์ไปในหลายภูมิประเทศตั้งแต่ป่าดิบทึบ จนถึงสวนสาธารณะในชุมชนเมือง ส่วนใหญ่จะหากินตามลำพังเพียงตัวเดียว หากินบนต้นไม้ในเวลากลางวันเป็นหลัก กินผลไม้, ลูกไม้, ยอดอ่อนของต้นไม้ หรือใบไม้ต่าง ๆ เป็นหลัก และอาจกินแมลง, หนอน, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก หรือขโมยไข่นกเป็นอาหารได้ด้วย สร้างรังบนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 1-5 ตัว ตัวเมียมีเต้านม 2-3 คู่ แบ่งออกได้เป็น 15 ชนิด และหลากหลายมากมายชนิดย่อยและสีสัน โดยมีกระรอกสามสี เป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุด และกระรอกหลากสี มีความหลากหลายทางสีสันจึงแบ่งเป็นชนิดย่อยมากที.
กระจ้อน
กระจ้อน หรือ กระรอกดินข้างลาย (Indochinese ground squirrel, Berdmore's ground squirrel; ชื่อวิทยาศาสตร์: Menetes berdmorei) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์ฟันแทะ เป็นกระรอกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง พบเห็นได้ทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย และทุกสภาพภูมิประเทศ แม้แต่ในสวนใจกลางเมือง ไม่ชอบอยู่อาศัยในป่าดิบทึบ ชอบหากินอยู่ตามพื้นดิน มีลำตัวสีน้ำตาลมีแถบสีดำสลับสีอ่อนอยู่ด้านข้างลำตัว จัดเป็นกระรอกดินชนิดหนึ่ง เป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Menetes พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความยาวเต็มที่รวมหาง ประมาณ 15-20 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.
กระทิง
กระทิง หรือ เมย เป็นวัวป่าชนิด Bos gaurus ในวงศ์ Bovidae.
ดู ป่าและกระทิง
กระต่าย
กระต่ายสายพันธุ์เนเธอร์แลนด์ดวอฟ ซึ่งเป็นกระต่ายสายพันธุ์เล็ก และนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงกันมากที่สุดชนิดหนึ่ง กระต่าย (Rabbit) เป็นสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับกระต่าย (Lagomorpha) ในวงศ์ Leporidae กระต่ายแม้จะมีฟันแทะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก เนื่องมีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน เพราะกระต่ายมีฟันแทะที่ขากรรไกรบน 2 แถว เรียงซ้อนกันแถวละ 2 ซี่ ฟันกรามบนข้างละ 6 ซี่ และฟันกรามล่างข้างละ 5 ซี่ เมื่อเวลาเคี้ยวอาหาร กระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 ด้านเคี้ยวสลับกันไป ต่างจากสัตว์ฟันแทะโดยทั่วไปที่เคี้ยวเคลื่อนหน้าเคลื่อนหลัง ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า (1\tfrac, C\tfrac, P\tfrac, M\tfrac) X 2.
กระแตใต้
กระแตใต้ หรือ กระแตธรรมดา (common treeshrew, southern treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับกระรอก มีขนสีน้ำตาลแกมเขียว ส่วนใบหน้าแหลมยาว มีนิ้วที่เท้าหน้า 5 นิ้ว หางเรียวยาวเป็นพู่ มีเส้นขีดที่ไหล่ ลำตัวยาวประมาณ 17-24 เซนติเมตร หางยาว 17-24 เซนติเมตร ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้า กระแตใต้ เป็นหนึ่งในกระแตที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่คอคอดกระลงไปตลอดแหลมมลายู จนถึงอินโดนีเซีย เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืช, เมล็ดพืช, ผลไม้ และแมลงชนิดต่าง ๆ หากินได้ทั้งบนพื้นดิน, โคนต้นไม้ และบนต้นไม้ พบได้ในภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งป่าดิบทึบ และสวนสาธารณะหรือสวนผลไม้ในชุมชนของมนุษ.
กระเล็น
กระเล็น หรือ กระถิก หรือ กระถึก เป็นสกุลหนึ่งของสัตว์ฟันแทะ จำพวกกระรอก ใช้ชื่อสกุลว่า Tamiops กระเล็นจัดว่าเป็นกระรอกขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย ขนาดโดยเฉลี่ยรวมความยาวทั้งลำตัว, หัว และหางแล้วประมาณ 20 เซนติเมตร มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวสีน้ำตาล มีลายสีขาวดำพาดขนานตามยาวของลำตัวเห็นเด่นชัด ตั้งแต่จมูกถึงโคนหาง คล้ายกับลายของชิพมังค์ (Tamias spp.) ซึ่งเป็นกระรอกขนาดเล็กเช่นกัน แต่พบในทวีปอเมริกาเหนือ ส่วนหางของกระเล็นจะไม่เป็นพวงฟูเหมือนกระรอกทั่วไป ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 6 เต้า กระเล็นหากินในเวลากลางวัน หากินบนต้นไม้สูง ๆ เป็นหลัก กินอาหารได้หลากหลายเหมือนกระรอกทั่วไป พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้, ตอนใต้ของจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบทั้งหมด 4 ชนิด ในประเทศไทยพบได้ 2 ชนิด พบได้ทั่วไปทั้งในป่าทึบหรือในชุมชนเมือง โดยที่ไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าสงวนแต่ประการใ.
กวนอู
กวนอู เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เกิดเมื่อวันที่ 24 เดือนมิถุนายน จีนศักราชเอี่ยงฮี ปี พ.ศ.
ดู ป่าและกวนอู
กอบเพลิง
แมวกอบเพลิงจากสมุดข่อยโบราณ แมวกอบเพลิง เป็นแมวที่ชอบอยู่ตามลำพังตามยุ้งข้าว ตามป่า ไม่ค่อยจะพบคน เวลาพบคนมักกระโดดหนี ชอบทำตัวลึกลับ ให้โทษแก่ผู้ที่นำมาเลี้ยง.
กะท่าง
กะท่าง (Himalayan newt) เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก เป็นสัตว์จำพวกนิวต์ หรือ ซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้ำ เพียงชนิดเดียวที่พบได้ในประเทศไท.
ดู ป่าและกะท่าง
การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย
ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..
ดู ป่าและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย
การทำลายป่า
การทำลายป่าฝนอะเมซอน จากภาพถ่ายดาวเทียม จะเห็นถนนในป่ามีลักษณะเป็นรูปก้างปลา ("fishbone" pattern) การทำลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจำหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทำการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้งถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยพืช พื้นที่ป่าที่ถูกทำลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักด้อยคุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทำประโยชน์มิได้.
การป่าไม้
ป่าดิบชื้น การป่าไม้ หรือ วนศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ ศิลป์ และการปฏิบัติว่าด้วยการศึกษาและจัดการป่าไม้ พื้นที่เพาะปลูก และทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง โดยมีสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้แก่ การจัดการทรัพยากรป่าไม้ วิทยาศาสตร์ชีวภาพป่าไม้ เช่น ชีววิทยาป่าไม้ วนวัฒนวิทยา วิทยาศาสตร์สัตว์ป่าและทุ่งหญ้า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้ หรือวนผลิตภัณฑ์เป็นต้น นิเวศวิทยาป่าไม้ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของชีวภูมิ (biosphere) และการป่าไม้ได้กลายมาเป็นสาขาที่ขาดไม่ได้ในวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ศิลป์ และเทคโนโลยี.
กิ้งกือกระสุน
กิ้งกือกระสุน (Pill millipede) เป็นสิ่งมีชีวิตใดๆ ที่อยู่ในสามอันดับของกิ้งกือ ซึ่งมักจะถูกจัดให้อยู่ในอันดับใหญ่ Oniscomorpha ชื่อของอันดับใหญ่ หมายถึงกิ้งกือที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับตัวกะปิ แต่ในความเป็นจริงตัวกะปิกับกิ้งกือกระสุนไม่ได้มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกันเลย และถูกจัดให้อยู่ในไฟลัมย่อยกุ้ง-กั้ง-ปูและไมเรียโพดา ตามลำดับ กื้งกือกระสุนมีลักษณะอ้วนป้อม เมื่อตกใจขดตัวจะเป็นก้อนกลมเหมือนกระสุน จึงได้ชื่อว่า "กิ้งกือกระสุน" และยังมีชื่อภาษาถิ่นอื่นอีกเช่น "แมงมดชิด" พวกมันชอบอาศัยตามที่ชื้นแฉะ หรือป่าดิบชื้น กินเศษพืชที่เน่าเปื่อยเป็นอาหาร กิ้งกือกระสุนแต่ละชนิดมีสีเปลือกที่แตกต่างกัน เพื่อใช้ในการหลบซ่อน หรือพรางตัวจากศัตรูและผู้ล่า สิ่งแวดล้อมหรือถิ่นที่อยู่อาศัยที่ต่างกัน มีผลทำให้มีสีเปลือกที่แตกต่างกันไป ซึ่งสีของเปลือกของกิ้งกือกระสุนมีความแตกต่างกัน เช่น ในแถบภาคเหนือมักพบกิ้งกือกระสุนดำ ส่วนกิ้งกือกระสุนสีน้ำตาลมักพบอย่างกว้างขวางทั่วไป.
กิ้งก่าบิน
ำหรับ Draco ที่หมายถึงกลุ่มดาว ดูที่: กลุ่มดาวมังกร กิ้งก่าบิน (Flying dragon, Flying lizard) หรือ กะปอมปีก ในภาษาอีสานและลาว เป็นสกุลของกิ้งก่าในวงศ์ Agaminae ในวงศ์ใหญ่ Agamidae ใช้ชื่อสกุลว่า Draco กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีประสิทธิภาพในการร่อนมากที่สุด ด้วยมีแผ่นหนังขนาดใหญ่อยู่ทางด้านข้างลำตัวและได้รับการค้ำจุนด้วยกระดูกซี่โครง 5-7 ซี่ โดยมีกล้ามเนื้ออิลิโอคอสทาลิสทำหน้าที่ดึงกระดูกซี่โครง 2 ซี่แรกไปทางด้านหน้า แต่กระดูกซี่โครงชิ้นอื่นได้เชื่อมต่อกับกระดูกซี่โครงสองซี่แรกด้วยเส้นเอ็น สามารถทำให้แผ่นหนังทั้งหมดกางออกได้ เมื่อเริ่มร่อน ตัวของกิ้งก่าในระยะแรกจะทำมุม 80° ช่วงนี้กิ้งก่าจะยกหางขึ้น ต่อมาจึงลดหางลงและแผ่กางแผ่นหนังด้านข้างลำตัวและทำมุมที่ลงสู่พื้นเหลือ 15° เมื่อลงสู่พื้นหรือเกาะบนต้นไม้ จะยกหางขึ้นอีกครั้งและหมุนตัว กิ้งก่าบินที่ทิ้งตัวจากต้นไม้สูง 10 เมตร สามารถร่อนได้เป็นระยะทางไกลกว่า 60 เมตร และลงเกาะบนต้นไม้หรือพื้นที่ที่อยู่ต่ำลงได้จากเดิมได้ 2 เมตร กิ้งก่าบินจัดได้ว่าเป็นกิ้งก่าขนาดเล็ก มีความยาวลำตัวส่วนมากไม่เกิน 20 เซนติเมตร แต่หางจะมีความยาวมากกว่าลำตัว พบกระจายพันธุ์ในป่าของเอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์ เช่น ภาคอีสานในประเทศไทย และพบได้ชุกชุมในป่าดิบของแหลมมลายู มีทั้งหมด 31 ชนิด พบได้ในประเทศไทยหลายชนิด อาทิ กิ้งก่าบินปีกส้ม (D.
กิ้งก่าบินปีกจุด
กิ้งก่าบินปีกจุด หรือ กิ้งก่าบินปีกส้ม (Spotted flying dragon, Orange-winged flying lizard) เป็นกิ้งก่าบินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Draco maculatus อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เป็นกิ้งก่าบินขนาดเล็ก ใต้คางมีเหนียงคู่หนึ่งรูปร่างกลมมน ซึ่งกึ่งกลางเหนียงตรงนี้สามารถยกขึ้นลงได้ ในตัวผู้จะมีขนาดโตเห็นชัดเจน ข้างลำตัวระหว่างขาคู่หน้าและขู่หลัง มีแผ่นหนังขนาดใหญ่ที่ใช้ในการร่อน ลำตัวมีสีน้ำตาลแดง มีลายประสีเหมือนลายไม้ จึงสามารถพรางได้เป็นอย่างดีบนต้นไม้ แผ่นหนังด้านข้างนี้ออกสีส้ม มีลายพาดตามยาวสีจาง ใต้ท้องมีสีน้ำตาลอ่อนกว่า ใต้แผ่นหนังข้างลำตัวจะมีจุดสีดำ 2-3 จุด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวจากหัวจรดโคนหาง 60-65 มิลลิเมตร ส่วนหางมีความยาวกว่าคือ 93-110 มิลลิเมตร พบแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัมของอินเดีย จนถึงเกาะไหหลำในจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตอนเหนือของมาเลเซีย พบได้ในป่าหลากหลายประเภท รวมถึงบ้านเรือนของมนุษย์ที่ปลูกใกล้ชายป่าด้วย หากินในเวลากลางวันจนถึงพลบค่ำ โดยมากจะหากินและอยู่ตามลำพังตัวเดียว ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ไว้ในหลุมดินที่ขุดไว้ ในที่ ๆ มีแสงแดดส่องถึง ครั้งละ 3-5 ฟอง วางไข่ในฤดูฝน จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
กิ้งก่าจระเข้
ระวังสับสนกับ จิ้งเหลนจระเข้ กิ้งก่าจระเข้(Chinese crocodile lizard; 中国鳄蜥; พินอิน: zhōngguó è xī) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Shinisaurus crocodilurus จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Shinisauridae และสกุล Shinisaurus (บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Xenosauridae ที่พบในเม็กซิโกและกัวเตมาลา) เป็นกิ้งก่าที่มีรูปร่างลักษณะรวมถึงเกล็ดคล้ายคลึงกับจระเข้ มีเกล็ดเป็นตุ่มนูนไปจนถึงหาง ตัวผู้ตามบริเวณข้างลำตัวและใต้ท้องจะมีสีแดงปรากฏขึ้นมากกว่าตัวเมีย ในขณะที่ตัวเมียจะมีสีขึ้นประปราย มีความเต็มที่จรดปลายหาง 40-46 เซนติเมตร จะพบได้เฉพาะในป่าดิบที่มีอุณหภูมิต่ำ ตั้งแต่ -2 องศาเซลเซียส จนถึง 35 องศาเซลเซียส ในช่วงฤดูร้อน เฉพาะเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง, หูหนาน, กุ้ยโจว ในประเทศจีนเท่านั้น โดยอาศัยในแหล่งน้ำในป่า โดยปรกติจะอยู่นิ่ง ๆ ในน้ำ แต่ก็สามารถปีนขึ้นมาอาบแดดได้บนต้นไม้ที่มีความสูงประมาณ 1 เมตร กินอาหารจำพวก ปลา, ลูกอ๊อด, หนอน และตัวอ่อนของแมลงปอ รวมถึงสัตว์บก เช่น หนูขนาดเล็กได้ ออกหากินในเวลากลางวัน หน้า 395, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา (พ.ศ.
ภูมิศาสตร์ไทย
แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.
มหานิกาย
มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ.
มะจอเต๊ะ
วามหมายอื่น ดูที่: สาลิกาลิ้นทอง มะจอเต๊ะ หรือ ไทรไข่มุก หรือ สาริกาลิ้นทอง เป็นไม้ทรงพุ่มขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ไทร (Moraceae) โดยที่ชื่อ "มะจอเต๊ะ" เป็นภาษายาวี ทั้งนี้เนื่องจากยังไม่มีการกำหนดชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไท.
มัจจุราชมืดโหดมฤตยู
มัจจุราชมืดโหดมฤตยู ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์สัญชาติอเมริกัน ในชื่อภาษาอังกฤษว่า The Ghost and the Darkness ที่สร้างมาจากนิยายผจญภัยในป่าแอฟริกา เรื่อง The Man-Eaters of Tsavo ที่เขียนโดย ผู้พันจอห์น เฮนรี่ แพ็ตเตอร์สัน ที่นำเค้าโครงมาจากประสบการณ์จริงของตนเองเกี่ยวกับสิงโตกินคนที่ซาโว นำแสดงโดย วัล คิลเมอร์, ไมเคิล ดักลาส, ทอม วิลคินสัน กำกับโดย สตีเฟ่น ฮ็อปกินส์ ความยาว 135 นาที ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม ประจำปี ค.ศ.
มาร์เทิน
มาร์เทิน หรือ หมาไม้ (marten) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) อันเป็นวงศ์เดียวกับนาก, เพียงพอน, หมาหริ่ง และวุลเวอรีน ใช้ชื่อสกุลว่า Martes มาร์เทิน มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาว ส่วนใบหน้าคลายกับสุนัข ใบหูมีขนาดกลมเล็ก หางยาวเป็นพวง มีอุ้งเท้าที่หนาและมีกรงเล็บที่แหลมคม ขนหนานุ่มมีสีขนที่หลากหลาย ตั้งแต่สีเหลืองจนถึงสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ แตกต่างไปกันตามชนิดและแต่ละภูมิภาคที่อาศัย มีขนาดลำตัวและน้ำหนักพอ ๆ กับแมว ปกติเป็นสัตว์ที่หากินและอาศัยเพียงลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ มาร์เทิน เป็นสัตว์ที่คล่องแคล่วว่องไวปราดเปรียว ส่วนมากมักหากินในเวลากลางคืน สามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ ปีนต้นไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, เอเชียเหนือ, ไซบีเรีย, เอเชียตะวันออก, ตอนใต้ของอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถปรับตัวให้เข้ากับภูมิประเทศที่หลากหลายได้ทั้งป่าดิบ, ป่าละเมาะ จนถึงชุมชนของมนุษย์ใกล้กับชายป.
มนุษย์นกฮูก
มิวนาน สถานที่พบเห็น มนุษย์นกฮูก (Owlman) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่มีผู้อ้างว่าพบเห็นในประเทศอังกฤษ ในยุคทศวรรษที่ 70 ที่มีรูปร่างคล้ายมนุษย์ผสมกับนกฮูกหรือนกเค้าแมวขนาดใหญ่ คล้ายกับมอธแมน ในเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา บางครั้ง มนุษย์นกฮูก ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น มนุษย์นกฮูกคอร์นิช (Cornish Owlman) หรือ มนุษย์นกฮูกแห่งมิวนาน (Owlman of Mawnan).
ม็อบหน้าขน ซนซ่าป่วนเมือง
ม็อบหน้าขน ซนซ่าป่วนเมือง (Furry Vengeance) เป็นภาพยนตร์ครอบครัวแนวตลก สัญชาติอเมริกา ที่ออกฉายในปี ..
ดู ป่าและม็อบหน้าขน ซนซ่าป่วนเมือง
ยิ้มกลางสายฝน
้มกลางสายฝน เป็นบทเพลงหนึ่งของคาราวาน ที่เขียนขึ้นเมื่อเข้าสู่ป่าหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา แต่งเนื้อร้อง โดย สุรชัย จันทิมาธร เป็นเพลงช้า ความหมายลึกซึ้ง โดยเปรียบเทียบห่ากระสุนปืนที่สาดใส่เหมือนสายฝน ยิ้มกลางสายฝน ได้ถูกนำกลับมาทำดนตรีใหม่และขับร้องใหม่อีกหลายครั้ง เช่น อรวี สัจจานนท์, พงษ์สิทธิ์ คำภีร.
ยุคหินกลาง (แอฟริกา)
ในสาขาบรรพมานุษยวิทยาและชีววิทยาวิวัฒนาการเป็นต้น ยุคหินกลาง (Middle Stone Age ตัวย่อ MSA) เป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของแอฟริการะหว่างยุคหินต้น (Early Stone Age) และยุคหินหลัง ๆ (Later Stone Age) โดยทั่วไปพิจารณาว่าเริ่มประมาณ 280,000 ปีก่อนและยุติประมาณ 50,000-25,000 ปีก่อน จุดเริ่มต้นของเครื่องมือหินแบบ MSA อาจเริ่มตั้งแต่ 550,000-500,000 ปีก่อน และดังนั้น นักวิจัยบางคนพิจารณาว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นของ MSA MSA บ่อยครั้งเข้าใจผิดว่าเท่ากับยุคหินเก่ากลาง (Middle Paleolithic) ของยุโรป เพราะมีระยะเวลาเกือบเหมือนกัน แต่ยุคหินเก่ากลางของยุโรปสัมพันธ์กับสปีชีส์มนุษย์ที่ต่างกัน ซึ่งก็คือ ''Homo neanderthalensis'' เปรียบเทียบกับแอฟริกาที่ไม่มีมนุษย์สปีชีส์นี้ในช่วง MSA นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีในแอฟริกายังได้ให้หลักฐานเป็นจำนวนมากที่แสดงว่า พฤติกรรมและลักษณะทางประชานของมนุษย์ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาขึ้นในแอฟริกาช่วง MSA ก่อนกว่าที่พบในยุโรปช่วงยุคหินเก่ากลางอย่างมาก อนึ่ง ราชบัณฑิตยสถานแปลคำว่า Mesolithic period (12,000-7,000 ปีก่อนในยุโรป และ 22,000-11,500 ปีก่อนในลิแวนต์) ว่า "ยุคหินกลาง" ซึ่งอาจซ้ำกับคำแปลของ Middle Stone Age (280,000-25,000 ปีก่อนในแอฟริกา) ได้เหมือนกัน แต่ให้สังเกตว่าคำแต่ละคำหมายเอาสิ่งที่ต่างกันแทบสิ้นเชิง MSA สัมพันธ์กับทั้งมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern humans) สปีชีส์ Homo sapiens และกับมนุษย์โบราณ (archaic Homo sapiens) ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Homo helmei ด้วย หลักฐานที่เป็นรูปธรรมยุคต้น ๆ ของ MSA มาจากโบราณสถานต่าง ๆ ใน Gademotta Formation ในเอธิโอเปีย, หมวดหินแคปธิวริน (Kapthurin Formation) ในประเทศเคนยา และ Kathu Pan ในแอฟริกาใต้ เครื่องมือยุคหินกลางแอฟริกา (MSA) จากถ้ำบลอมโบส์ แอฟริกาใต้.
รองเท้านารีอินทนนท์
รองเท้านารีอินทนนท์ เป็นกล้วยไม้อยู่ในสกุลรองเท้านารี มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม สาธารณรัฐอินเดีย จนถึงทางตอนใต้ของประเทศจีน.
รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย
รัฐบาฮากาลิฟอร์เนีย (Baja California) เป็นรัฐเหนือสุดและตะวันตกสุดของประเทศเม็กซิโก ก่อนที่เป็นรัฐในปี..
รัฐเมฆาลัย
รัฐเมฆาลัย (Meghalaya) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีเขตติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศใต้และตะวันตก และรัฐอัสสัมทางทิศเหนือและตะวันออก ในปัจจุบันหนึ่งในสามของรัฐยังคงปกคลุมไปด้วยป่าไม้ นอกจากนี้แล้ว รัฐเมฆาลัยยังถือเป็นสถานที่ ๆ ฝนตกชุกที่สุดในโลกและเป็นสถานที่ ๆ ชื้นแฉะที่สุดในโลกอีกด้ว.
รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2559
รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..
ดู ป่าและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2559
รายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะ
ทความนี้รวบรวม รายชื่อผลงานของ ณเดชน์ คูกิมิยะ นักแสดงและนายแบบชาวไท.
ดู ป่าและรายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะ
ราเมือก
ราเมือกสายพันธุ์ ''Trichia varia'' ราเมือก (Slime mold) คือชื่ออย่างไม่เป็นทางการของสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายประเภทที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกัน ซึ่งสามารถอาศัยในรูปเซลล์เดียวได้อย่างอิสระ แต่รวมกันเพื่อสร้างเป็นโครงสร้างคล้ายสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เดิมราเมือกถูกจัดให้เป็นพวกเห็ดรา แต่ไม่ได้เป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนั้น แม้ว่าราเมือกแต่ละพวกจะไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บางครั้งพวกมันก็ถูกจับกลุ่มรวมกันภายในอาณาจักรโพรทิสตา ราเมือกมีมากกว่า 900 สายพันธุ์ทั่วโลก ชื่อสามัญของมันหมายถึงช่วงชีวิตของมัน ซึ่งครั้งหนึ่งอยู่ในรูปคล้ายเมือกวุ้น ซึ่งลักษณะนี้เป็นกับพวกไมโซแกสเตรียมากที่สุด อันเป็นราเมือกขนาดใหญ่เพียงประเภทเดียวเท่านั้น ราเมือกส่วนใหญ่มีขนาดเล็กไม่กี่เซนติเมตรหรือน้อยกว่า แต่บางสายพันธุ์ก็อาจจะยืดตัวเองได้หลายเมตร และมีมวลได้มากถึง 30 กรัม ราเมือกส่วนมาก ซึ่งเป็น "เซลล์" ราเมือก ไม่ได้ใช้ชีวิตอยู่ในลักษณะนี้ เท่าที่ยังมีอาหารอยู่เพียงพอ ราเมือกเหล่านี้จะอยู่ในสถานะสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เมื่ออาหารมีปริมาณจำกัด ราเมืองหลายตัวจะเริ่มรวมตัวกัน และเคลื่อนที่ไปพร้อมๆ กัน ในสถานะนี้ พวกมันจะไวต่อสารประกอบในอากาศ และสามารถตรวจหาแหล่งอาหารได้ พวกมันสามารถเปลี่ยนรูปร่าง การทำงานในแต่าละส่วนได้ง่าย และอาจจะรวมกันเป็นอวัยวะที่เรียกว่า ดอกเห็ด แล้วจะปล่อยสปอร์มาเป็นจำนวนมาก ซึ่งเบาพอที่จะลอยไปตามอากาศหรือพ่วงไปกับสัตว์ที่ผ่านมา พวกมันกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเป็นอาหาร ซึ่งสิ่งมีชีวิตเหล่านี้มาจากพืชที่ตายแล้ว พวกมันทำให้เกิดการย่อยสลายของพืชผักเหล่านั้น และเป็นอาหารให้กับแบคทีเรีย ยีสต์ และเห็ดรา ด้วยเหตุนี้ ทำให้พบราเมือกที่ตามดิน สนามหญ้า และตามไม้ที่กำลังผลัดใบในป่า ถึงกระนั้น ในพื้นที่เขตร้อน ราเมือกก็พบได้ตามช่อดอก ผลไม้ หรือสถานที่ที่อากาศถ่ายเท (เช่น บนยอดต้นไม้) ในชุมชนเมือง พวกมันพบได้ในบริเวณที่มีการคลุมด้วยหญ้า หรือกระทั่งบนใบไม้ที่ขึ้นราในรางน้ำฝน ราเมือกยังเจริญเติบโตได้ในเครื่องปรับอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อท่อระบายน้ำถูกขวางกั้นไว้ หนึ่งในราเมือกที่ถูกพบได้มากที่สุด คือ Physarum polycephalum มีสีเหลือง พบได้ตามธรรมชาติในป่า และบริเวณที่มีอากาศอบอุ่นสบาย เช่นเดียวกันกับในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ หมวดหมู่:อะมีบอยด์ ราเมือก.
ลิงอ้ายเงียะ
ลิงอ้ายเงียะ, ลิงอัสสัม หรือ ลิงภูเขา (Assam macaque) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งที่อยู่ในอันดับวานร (ไพรเมต) มีรูปร่างอ้วนเทอะทะ แขนและขาสั้น ขนตามลำตัวมีสีเหลืองปนเทา บางตัวอาจมีสีเข้มมากจนดูคล้ายสีน้ำตาลดำ ส่วนหัวไหล่ ศีรษะ และแขนจะมีสีอ่อนกว่าสีขนบริเวณอื่น ๆ ของร่างกาย ขนบริเวณหัวและหางมักมีสีเทา ขนที่ไหล่มีความยาวมากกว่า 8.5 เซนติเมตร ในบางฤดูกาลผิวหนังใต้ขนจะเปลี่ยนเป็นสีเทาอมฟ้า มีความยาวลำตัวและหางรวม 51-63.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 20-38 เซนติเมตร น้ำหนัก 5-10 กิโลกรัม มักอาศัยในป่าบนภูเขาสูงหรือตามที่ราบสูงซึ่งมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500-3,500 เมตร ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ซึ่งมีเรือนยอดไม้สูงจากพื้นดินประมาณ 10-15 เมตร จากการศึกษาพบว่ามักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกประมาณ 40- 60 ตัว ในระหว่างการหากินจะมีสมาชิกบางตัวทำหน้าที่ระวังภัยให้ฝูง โดยจะนั่งสังเกตการณ์อยู่บนต้นไม้ซึ่งสูงที่สุด และหากมีอันตรายเข้ามาใกล้จะส่งเสียงร้องเตือนให้หลบหนี โดยจะร้องเสียงดัง "ปิ้ว" ลิงอ้ายเงียะจัดเป็นลิงนิสัยดุร้าย สามารถกระดิกหางได้เหมือนสุนัข เริ่มผสมพันธุ์ได้เมื่อมีอายุ 3-4 ปี ระยะตั้งท้องนาน 5-6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน กินอาหารประกอบไปด้วย ผลไม้ ยอดไม้อ่อน แมลง และสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า เป็นต้น มีการกระจายพันธุ์พบในเนปาล ภูฏาน สิกขิมและรัฐอัสสัมของอินเดีย ภาคใต้ของจีน ภาคเหนือของพม่า ภาคเหนือของเวียดนาม ภาคตะวันตกและภาคอีสานของไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย 2 ชนิดได้แก่ ลิงอ้ายเงียะตะวันออก (M.
ลิงจมูกยาว
ลิงจมูกยาว หรือ ลิงจมูกงวง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานรชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล NasalisWilson, D.
ลิงจมูกเชิด
ลิงจมูกเชิด หรือ ค่างจมูกเชิด (Snub-nosed monkey; 金丝猴) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinopithecus จัดเป็นค่าง (Colobinae) สกุลหนึ่ง กระจายพันธุ์ในป่าทึบบนภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเลหลายพันเมตร ในแถบตอนเหนือของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน จนถึงตอนล่างของจีนที่ติดต่อกับพรมแดนประเทศอื่น ๆ เช่น รัฐคะฉิ่นของพม่า และเวียดนาม ลิงจมูกเชิด มีลักษณะเด่นโดยทั่วไป คือ ไม่มีกระดูกดั้งจมูก และรูจมูกเชิดขึ้นด้านบน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก จัดเป็นลิงที่มีขนาดใหญ่พอสมควร เพราะโตเต็มที่ อาจมีขนาดใหญ่ได้ถึง 51-83 เซนติเมตร ความยาวหาง 55-97 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก แต่ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่ากันถึงครึ่งเท่าตัว มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินใบไม้และดอกไม้ต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยสามารถที่จะกินพืชชนิดต่าง ๆ ได้ถึง 60 ชนิด ลูกลิงขนาดเล็ก จะมีสีขนที่อ่อนไม่เหมือนตัวเต็มวัย โดยจะอาศัยอยู่กับแม่จนกว่าจะโต เมื่ออายุได้ราว 6-7 ปี มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 200 วัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น ปัจจุบัน พบทั้งหมด 5 ชนิด โดยชนิดที่พบล่าสุด พบในประเทศพม่า ทุกชนิดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสภาพใกล้สูญพันธุ์และใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต โดยเฉพาะชนิดที่พบในประเทศจีน มีจำนวนประชากรในธรรมชาติไม่เกิน 2,000 ตัว.
ลิงเลซูลา
ลิงเลซูลา (Lesula) ลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานในปี..
ลิงเสน
ลิงเสน หรือ ลิงหมี (Stump-tailed macaque, Bear macaque) เป็นลิงชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macaca arctoides จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae).
ดู ป่าและลิงเสน
ลู่ตูง
ลู่ตูง (Lutung) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร (Primates) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Trachypithecus จัดอยู่ในจำพวกค่าง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) โดยชื่อสามัญคำว่า "Lutung" มาจากภาษามลายู เนื่องจากมีความแตกต่างจากค่างสกุลที่พบในอนุทวีปอินเดี.
ดู ป่าและลู่ตูง
ลีเมอร์
ลีเมอร์ (Lemur) เป็นอันดับฐานของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับไพรเมตหรือลิง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lemuriformes ลักษณะโดยรวมของลีเมอร์ คือ มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับลิง แต่ทว่ามีส่วนหัวคล้ายหมาจิ้งจอก คือ มีจมูกและปากแหลมยาว มีดวงตากลมโต ขนหนาฟู มีหางยาวเป็นพวงเหมือนกระรอก โดยลีเมอร์เป็นไพรเมตที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม Prosimian ซึ่งรวมถึงลิงลม, กาเลโก และทาร์เซีย เพราะมีสายวิวัฒนาการที่ใกล้เคียงกัน จากการศึกษาทางดีเอ็นเอ ซึ่งคำว่า "Prosimian" นั้น มีความหมายว่า "ก่อนลิง" คำว่า "ลีเมอร์" แปลงมาจากคำว่า Lemures ในเทพปกรณัมโรมันหมายถึง "ดวงวิญญาณ, ผี หรือปีศาจ" ขนาดโดยทั่วไปโดยเฉลี่ยของลีเมอร์ขนาดเท่าแมว น้ำหนักตัวประมาณ 9 กิโลกรัม โดยที่ชนิดที่มีขนาดเล็กมีรูปร่างใกล้เคียงกับหนู มีการกระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะมาดากัสการ์ทางชายฝั่งแอฟริกาตะวันออกที่เดียวเท่านั้น เหตุเพราะสันนิษฐานว่า ที่เกาะแห่งนี้ห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ ทำให้สัตว์หลายชนิดมีการวิวัฒนาการเป็นของตัวเองโดยเฉพาะ และไม่มีสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่คอยคุกคาม โดยอาศัยอยู่ในป่าดิบ บนต้นไม้ใหญ่ หากินในเวลากลางวัน และนอนหลับในเวลากลางคืน โดยที่สันนิษฐานอีกว่า บรรพบุรุษของลีเมอร์ เดินทางมายังเกาะมาดากัสการ์ด้วยกอพรรณพืชหรือต้นไม้เมื่อ 60 ล้านปีก่อน โดยลีเมอร์ได้วิวัฒนาการตัวเองแยกมาเป็นชนิดต่าง ๆ จากถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน เนื่องด้วยสภาพแวดล้อมที่แตกต่าง อันเป็นผลจากการที่น้ำท่วมเกาะ ก่อให้เกิดเป็นเกาะแก่งต่าง ๆ มากมาย และลีเมอร์ชนิดต่าง ๆ ต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยวและถูกจำกัดในเรื่องอาหาร จากพายุไซโคลนที่พัดถล่มในมหาสมุทรอินเดีย โดยเฉพาะชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก โดยเชื่อว่าบรรพบุรุษของลีเมอร์นั้นแรกเริ่มมีขนาดเล็ก และอาจเกาะกับต้นไม้ลอยน้ำมาในรูปแบบของการจำศีลMadagascar, "Mutant Planet" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.
วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร
วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร (180px) เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 55, ตอน 0 ง, 8 สิงหาคม 2481, หน้า 1476 ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลำพูน มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 28 ไร่ 3 งาน 26 ตารางว.
ดู ป่าและวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร
วัดอัมพวัน (ลพบุรี)
วัดอัมพวัน เป็นวัดในตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.
วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)
วัดท่าถนน เดิมชื่อ วัดวังเตาหม้อ อยู่ตรงข้ามสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ ประดิษฐานหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ 1 หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ทั้งองค์ ในบริเวณวัดมีอาคารศิลปะแบบตะวันตก สร้างเมื่อ พ.ศ.
ดู ป่าและวัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)
วัดเส้าหลิน
วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.
วัดเขาวงพระจันทร์
วัดเขาวงพระจันทร์ เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใน ตำบลห้วยโป่ง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันมี พระมงคลภาวนาวิกรม พระราชาคณะชั้นสามัญ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ซึ่งชาวลพบุรีจะเรียนท่านว่า หลวงปู่ฟัก.
วงศ์ชะมดและอีเห็น
มดและอีเห็น เป็นสัตว์จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกหนึ่ง.
วงศ์พังพอน
ระวังสับสนกับ: วงศ์เพียงพอน วงศ์พังพอน (mongoose; ไทยถิ่นเหนือ: จ่อน) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Herpestidae เดิมเคยถูกรวมเป็นวงศ์เดียวกับ วงศ์ Viverridae หรือ วงศ์ชะมดและอีเห็น.
วงศ์กระต่าย
วงศ์กระต่าย (Hare, Rabbit) เป็นวงศ์ของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับกระต่าย (Lagomorpha) ในวงศ์ Leporidae สัตว์ที่อยู่ในวงศ์นี้แม้จะมีฟันแทะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก เนื่องมีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน เพราะกระต่ายมีฟันแทะที่ขากรรไกรบน 2 แถว เรียงซ้อนกันแถวละ 2 ซี่ ฟันกรามบนข้างละ 6 ซี่ และฟันกรามล่างข้างละ 5 ซี่ เมื่อเวลาเคี้ยวอาหาร กระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 ด้านเคี้ยวสลับกันไป ต่างจากสัตว์ฟันแทะโดยทั่วไปที่เคี้ยวเคลื่อนหน้าเคลื่อนหลัง ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า (1\tfrac,C\tfrac,P\tfrac,M\tfrac) X 2.
วงศ์กระแต
วงศ์กระแต (Treeshrew) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ในอันดับกระแต (Scandentia) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tupaiidae มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับกระรอก ซึ่งอยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ซึ่งเป็นสัตว์ต่างอันดับกัน แต่ไม่มีฟันเป็นฟันแทะเหมือนกระรอก มีส่วนหน้าและจมูกยื่นแหลมยาวกว่า นิ้วเท้าหน้ามีทั้งหมด 5 นิ้ว และมีลักษณะคล้ายกับนิ้วของไพรเมต (Primate) หรือลิงมากกว่ากระรอก ใช้ประโยชน์ในการหยิบจับได้ดีกว่า มีพฤติกรรมการเลี้ยงลูกที่แปลก คือ หลังจากออกลูกแล้ว กระแตตัวแม่จะให้นมลูกอ่อนจนตัวด้วยเป่งไปน้ำนม ซึ่งมากถึงร้อยละ 50 ของน้ำหนักตัว หลังจากนั้นก็จะทิ้งลูกไปนานถึง 48 ชั่วโมงก่อนที่จะวกกลับมาให้นมจนเป่งแบบเดิมอีก นมของกระแตมีสัดส่วนไขมันสูงเป็นพิเศษ (ราวร้อยละ 26) ซึ่งทำให้ลูกกระแตรักษาอุณหภูมิร่างกายไว้ได้ที่ 37 องศาเซลเซียส โดยไม่ต้องพึ่งความอบอุ่นจากแม่ นอกจากนี้ยังมีโปรตีนมากถึงร้อยละ 10 ลูกกระแตสามารถออกจากรังได้ขณะที่มีอายุเพียง 4 สัปดาห์ มีการกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หากินทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็ก พบได้ทั้งในป่าดิบ, ชุมชนของมนุษย์ พื้นที่เกษตรกรรม เช่น สวนผลไม้ หรือสวนสาธารณะ ปัจจุบันมีการแบ่งออกเป็นทั้งหมด 4 สกุล (ดูในตาราง) พบทั้งหมด 19 ชนิด ในประเทศไทยพบได้ 4 ชนิด คือ กระแตเหนือ (Tupaia belangeri), กระแตเล็ก (T.
วงศ์กวางชะมด
กวางชะมด (Musk deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์เคี้ยวเอื้องในวงศ์ Moschidae และสกุล Moschus.
วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน
วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน (Chameleon) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว.
ดู ป่าและวงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน
วงศ์ย่อยกิ้งก่า
วงศ์ย่อยกิ้งก่า (Agamid lizards, Old world arboreal lizards; ชื่อวิทยาศาสตร์: Agaminae) เป็นวงศ์ย่อยของกิ้งก่าในวงศ์ Agamidae เป็นวงศ์ย่อยที่มีจำนวนสมาชิกหลากหลายที่สุดของวงศ์นี้ มีประมาณ 52 สกุล 421 ชนิด มีลักษณะโดยรวม คือ มีช่องเปิดบริเวณแอ่งเบ้าตาใหญ่ และมีช่องเปิดบริเวณกล่องหูใหญ่ มีความยาวของลำตัวแตกต่างกันมากตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตรจนถึง 1.1 เมตร บางชนิดก็มีส่วนหางที่ยาวมาก รูปร่างมีแตกต่างกันตั้งแต่อ้วนป้อมและขาสั้นในสกุล Moloch และเรียวยาวและขายาวในสกุล Sitana เกล็ดปกคลุมลำตัวในหลายชนิดเปลี่ยนสภาพเป็นโครงสร้างอื่น เช่น กิ้งก่าแผงคอ (Chlamydosaurus kingii) ที่เป็นแผงคอที่สามารถกางแผ่ออกได้เมื่อตกใจหรือขู่ศัตรูให้กลัว หรือเป็นหนามในสกุล Moloch และ Acanthosaura โครงสร้างเหล่านี้เป็นลักษณะแตกต่างระหว่างเพศของหลายชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บนพื้นดินหรือบนต้นไม้หรือแม้แต่ใช้ชีวิตแบบครึ่งบกครึ่งน้ำ อย่าง ตะกอง (Physignathus cocincinus) ที่มีพฤติกรรมอาศัยในป่าดิบชื้นที่ใกล้แหล่งน้ำในป่า เช่น ลำธารหรือน้ำตก ว่ายน้ำเก่งมาก แต่ไม่มีชนิดใดที่อาศัยอยู่ในโพรงดิน ในสกุล Draco ที่พบในป่าดิบในแหลมมลายู ที่มีแผ่นหนังข้างลำตัวกางออกเพื่อร่อนได้ในอากาศ ส่วนใหญ่หากินในเวลากลางวัน และเปลี่ยนอุณหภูมิในร่างกายให้อบอุ่นขึ้นด้วยการนอนผึ่งแดด บางสกุล เช่น Agama มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นสังคม และมีการจัดลำดับในสังคมด้วย กินอาหารโดยเฉพาะสัตว์ขาปล้องเป็นอาหาร โดยรอให้เหยื่อเข้ามาหาเอง ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ในโพรงดินหรือทราย แต่ในสกุล Phrynocephalus ตกลูกเป็นตัว.
วงศ์ย่อยลิงโลกเก่า
วงศ์ย่อยลิงโลกเก่า (Old world monkey) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cercopithecinae จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Cercopithecidae หรือ ลิงโลกเก่า ลิงที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ั มีประมาณ 71 ชนิด 12 สกุล โดยจะปรับตัวให้อาศัยในแต่ละภูมิประเทศ ภูมิอากาศ บางชนิดมีหางยาวเหมาะกับการอาศัยบนต้นไม้ บางชนิดมีหางสั้นหรือกระทั่งไม่มีหางเลย แต่ทุกชนิดมีหัวแม่มือที่วิวัฒนาการมาเพื่อใช้สำหรับหยิบจับของต่าง ๆ และปีนป่าย รวมถึงบางชนิดสามารถเปลี่ยนสีตัวเองให้เข้มหรือสวยขึ้นได้ด้วยในฤดูผสมพันธุ์ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และมีลำดับชั้นในฝูงตามลำดับอาวุโส อาศัยอยู่ในหลายภูมิประเทศ หลายภูมิอากาศ ทั้งป่าดิบ, ป่าฝน, สะวันนา, ภูเขาสูง หรือกระทั่งพื้นที่เป็นหิมะหรือน้ำแข็งอันหนาวเย็นในประเทศญี่ปุ่น ส่วนใหญ่กินอาหารได้หลากหลายทั้ง ผลไม้, ใบไม้, เมล็ดพืช, เห็ด, แมลง ตลอดจนแมงมุมขนาดเล็กและสัตว์ขนาดเล็ก ทุกชนิดมีถุงที่ข้างแก้มใช้เก็บอาหาร ระยะเวลาตั้งท้องเป็นเวลาประมาณ 6-7 เดือน หย่านมเมื่ออายุได้ 3-12 เดือน และโตเต็มที่ภายใน 3-5 ปี อายุขัยโดยเฉลี่ยบางชนิดอาจสูงได้ถึง 50 ปี Groves, C.
วงศ์หนู
วงศ์หนู (Rat, Mice, Mouse; วงศ์: Muridae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Muridae นับเป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี และนับเป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะที่มีความหลากหลายและจำนวนสมาชิกมากที่สุดด้วย ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 700 ชนิด ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิลจนถึงปลายสุดของทวีปอเมริกาใต้ โดยยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง).
วงศ์งูแสงอาทิตย์
วงศ์งูแสงอาทิตย์ (Sunbeam snakes) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenopeltidae มีทั้งหมดเพียง 2 ชนิด และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Xenopeltis คือ งูแสงอาทิตย์ (X.
วงศ์ปูบก
ปูบก (Land crab) เป็นวงศ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกปูวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gecarcinidae ปูในวงศ์ปูบก มีรูปร่างลักษณะทั่วไปคล้ายกับปูทั่วไป เพียงแต่จะไม่มีหนามรอบกระดอง และรอบดวงตา มีขาเดินที่แข็งแรง และมีกรงเล็บขนาดใหญ่ เนื่องจากดำรงชีวิตอยู่บนบก จึงมีอวัยวะช่วยหายใจแตกต่างไปจากปูวงศ์อื่น โดยจะหายใจจากอากาศโดยตรง จึงมีเหงือกเป็นขุย มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงจำนวนมากคล้ายกับถุงลมในสัตว์บก และมีระบบขับถ่ายที่แตกต่างไปจากปูวงศ์อื่น คือ มีกระบวนการเปลี่ยนของเสียจากแอมโมเนีย ให้กลายเป็นกรดยูริก เก็บไว้ในเนื้อเยื่อ แตกต่างไปจากปูทั่วไปที่จะถ่ายลงน้ำ แต่การขยายพันธุ์ ปูตัวเมียก็จะไปวางไข่ทิ้งไว้ในน้ำ และลูกปูจะเลี้ยงตัวเองและพัฒนาตัวในน้ำในระยะต้น ก่อนที่จะขึ้นมาใช้ชีวิตอยู่บนบก ปูบก ดำรงชีวิตอยู่ในป่า หรือป่าชายหาดใกล้ชายหาด กินเศษซากอินทรีย์วัตถุต่าง ๆ รวมถึง ใบไม้และสัตว์ขนาดเล็กเป็นอาหารได้ด้วย ปูบก สามารถแบ่งได้เป็นสกุลต่าง ๆ ได้ 6 สกุล ดังนี้ (บางข้อมูลแบ่งเพียง 3).
วงศ์นกแสก
วงศ์นกแสก (Barn-owl, วงศ์: Tytonidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับนกเค้าแมว (Strigiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Tytonidae นับเป็นวงศ์ของนกเค้าแมววงศ์หนึ่ง นอกเหนือจากวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนาดใหญ่กว่านกในวงศ์นกเค้าแมว ใบหน้ากลมแบน มีขนสีขาวเต็มหน้า ทำให้คล้ายรูปหัวใจ ตามีสีดำ อยู่ด้านหน้า และมีขนาดเล็กกว่าวงศ์นกเค้าแมว ปากเป็นจะงอยงุ้ม สีเหลืองเทา ชมพู หลังและปีกสีน้ำตาลอ่อน มีสีน้ำตาลเทาเป็นส่วน ๆ คอ อก ท้อง สีขาว ขาวนวล มีจุดสีน้ำตาลเข้มทั่วไป ปีกยาว หางสั้น ขนปีกและหางมีลายขวางสีเหลืองสลับน้ำตาลอ่อน ขาใหญ่ มีขนคลุมขา ตีนสีชมพู นิ้วมีเล็บยาว รูปร่างลักษณะตัวผู้และตัวเมียจะคล้ายกัน โดยตัวเมียจะโตกว่าเล็กน้อย ลำตัวตั้งตรง มีพฤติกรรมการหากินและเป็นอยู่คล้ายกับนกในวงศ์นกเค้าแมว โดยแบ่งออกได้เป็น 2 สกุล 16 ชนิด และยังมีอีก 4 สกุล ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ในหลายภูมิประเทศ ทั้งในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล จนถึงชุมชนเมืองของมนุษย์ สำหรับในประเทศไทย พบได้ 3 ชนิด คือ นกแสก (Tyto alba) นกแสกทุ่งหญ้า (Tyto capensis) และนกแสกแดง (Phodilus badius) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า และพบได้เฉพาะในป่าเท่านั้น.
วงศ์นกแต้วแร้ว
วงศ์นกแต้วแร้ว หรือ วงศ์นกแต้วแล้ว (Pittas) เป็นวงศ์ของนกที่มีขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในอันดับ Passeriformes เช่นเดียวกับนกกระจอก (Passeridae) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pittidae โดยทั่วไปแล้ว นกแต้วแร้วจะมีลำตัวอ้วนสั้น มีสีสันฉูดฉาดสะดุดตาหลายสี เช่น น้ำเงิน, เขียว, แดง, น้ำตาล หรือเหลือง รวมอยู่ในตัวเดียวกัน คอและหางสั้น ขายาว มักกระโดดหรือวิ่งบนพื้นดิน เป็นนกที่ขี้อาย ขี้ตื่นตกใจ มีพฤติกรรมชอบอยู่ลำพังตัวเดียวหรือเป็นคู่ หากจะบินก็จะบินเป็นระยะสั้น ๆ หรือเตี้ย ๆ ในบริเวณที่เป็นที่อยู่อาศัย โดยมักจะอาศัยอยู่ในพุ่มไม้ นกแต้วแร้วมักอาศัยอยู่ในป่าที่มีความชุ่มชื้นหรือใกล้แหล่งน้ำ ด้วยหากินที่อยู่ในบริเวณนั้น เช่น หอยทาก, ไส้เดือนดิน หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำและสัตว์เลื้อยคลาน เป็นอาหาร โดยทั่วไปแล้วจะมีขนาดลำตัวประมาณ 15–25 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 42–218 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, อนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เอเชียตะวันออก และโอเชียเนีย วางไข่ครั้งละ 6 ฟองบนต้นไม้หรือพุ่มไม้ หรือบางครั้งก็บนพื้นดิน พ่อแม่นกจะช่วยกันดูแลลูกอ่อน โดยรังจะสานจากกิ่งไม้หรือใบไม้ หรือฟางที่หาได้ มีหลายชนิดที่มีการอพยพย้ายถิ่นฐาน ลูกนกเมื่ออยู่รัง พ่อแม่นกจะช่วยกันดูแลและคาบอาหารมาให้ ส่วนมากเป็นแมลง บางครั้งอาจจะเป็นแมง เช่น ตะขาบ หรือสัตว์อย่างอื่น เช่น ไส้เดือนดิน แล้วแต่จะหาได้ ลูกนกเมื่อจะถ่าย จะหันก้นออกนอกรังแล้วขับถ่ายมูลออกมา ซึ่งถูกห่อหุ้มอยู่ในถุงขนาดใหญ่ พ่อแม่นกต้องคาบไปทิ้งให้ไกลจากรัง เพราะกลิ่นจากมูลลูกนกจะเป็นสิ่งที่บอกที่อยู่ให้แก่สัตว์นักล่าได้ เดิมได้รับการอนุกรมวิธานออกเพียงสกุลเดียว คือ Pitta แต่ปัจจุบันได้แยกออกเป็น 3 สกุล (ดูในตาราง) ทั้งหมดราว 31 ชนิด สำหรับนกแต้วแร้วในประเทศไทยนั้น พบทั้งหมด 12 ชนิด เช่น นกแต้วแร้วธรรมดา หรือนกแต้วแร้วสีฟ้า (Pitta moluccensis), นกแต้วแร้วป่าโกงกาง หรือนกแต้วแร้วป่าชายเลน (P.
วงศ์นกเค้าแมว
วงศ์นกเค้าแมว หรือ วงศ์นกเค้าแมวแท้ (True owl, Typical owl, วงศ์: Strigidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับ Strigiformes หรือนกเค้าแมว ใช้ชื่อวงศ์ว่า Strigidae ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ (อีกวงศ์หนึ่ง นั่นคือ Tytonidae ซึ่งเป็นวงศ์ของนกแสก) มีลักษณะทั่วไปที่เป็นลักษณะเด่นชัด คือ มีตากลมโตสีเหลือง และมีตาอยู่ด้านหน้า ในบางสกุลหรือบางชนิด จะมีขนหูตั้งขึ้นต่อจากคิ้ว ตาสองข้างอยู่ด้านหน้า เหนือปาก เป็นเหมือนรูปจมูก มีเส้นสีที่แสดงเขตใบหน้าอย่างชัดเจน จะงอยปากงุ้มแหลมคม ปากงุ้มแหลม ปากและขาสีเนื้อ มีเล็บนิ้วยาวสำหรับฉีกเหยื่อที่จับได้ สีขนส่วนใหญ่ของหลัง-ปีก-อก และท้อง จะเป็นสีน้ำตาล-น้ำตาลเข้ม และมีลายน้ำตาลเข้ม-ดำ อก และท้องจะมีสีอ่อน กว่าหลังและปีก หางจะไม่ยาว แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ลวดลายของอกและท้องรวมทั้งสีขนจะแตกต่างกันในแต่ละชนิด นอกจากนี้แล้ว นกในวงศ์นี้ ยังสามารถหมุนคอได้เกือบรอบตัวได้ถึง 270 องศา เนื่องจากมีกระดูกสันหลังตรงคอ 14 ชิ้น ซึ่งมากกว่าสัตว์ชนิดใด ๆ ในโลก โดยมากแล้วเป็นนกที่หากินในเวลากลางคืน โดยอาหารหลักได้แก่ หนู และสัตว์ชนิดอื่น เช่น สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นต้น มีพฤติกรรมการกินอาหารที่มักกลืนเหยื่อเข้าไปทั้งตัว และจะสำรอกส่วนที่ย่อยไม่ได้เช่น กระดูกหรือก้อนขน ออกมาเป็นก้อนทีหลัง อาจมีบางชนิดที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ นกเค้าเอลฟ์ (Micrathene whitneyi) ที่มีน้ำหนักเพียง 40 กรัม ความยาวลำตัวเพียง 14 เซนติเมตร ความยาวปีก 20 เซนติเมตร จนถึง นกเค้าอินทรียูเรเชีย (Bubo bubo) ที่มีความยาวปีกยาวกว่า 75 เซนติเมตร น้ำหนัก 4.20 กิโลกรัม นับเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์และอันดับนี้ ปัจจุบัน พบทั้งหมดราว 200 ชนิด แบ่งได้เป็น 25 สกุล ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว 4 (ดูในตาราง) พบได้ทุกทวีปทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่บริเวณขั้วโลกเหนือ พบได้ในหลากหลายภูมิประเทศ ตั้งแต่ในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 200 เมตร จนถึงชุมชนมนุษย์ในเมืองใหญ่ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั้งหมด 17 ชน.
วงศ์เหี้ย
วงศ์เหี้ย (Monitor lizard, Goanna) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata ใช้ชื่อวงศ์ว่า Varanidae (/วา-รา-นิ-ดี้/).
วนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน
วนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน เป็นวนอุทยานในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าดอยนางนอน ตั้งอยู่ในตำบลโป่งผา อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ 5,000 ไร่ จัดตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..
ดู ป่าและวนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน
วนอุทยานเขากระโดง
วนอุทยานเขากระโดง ตั้งอยู่ที่บ้านน้ำซับ ตำบลเสม็ด อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว มีปากปล่องทะลุเห็นได้ชัดเจน รอบบริเวณแวดล้อมด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่าขนาดเล็ก โดยเฉพาะนกนานาชนิด บนเขากระโดงยังมีโบราณสถานสมัยขอม รอยพระพุทธบาทจำลอง และพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เป็นที่เคารพสักการะของคนในท้องถิ่น นักท่องเที่ยวนิยมขึ้นไปชมทิวทัศน์ของตัวเมืองบุรีรัมย์ และไหว้พระเพื่อเป็นสิริมงคล ป่าเขากระโดงมีพื้นที่ 6,212 ไร่ กรมป่าไม้ได้ประกาศให้เป็นวนอุทยานเขากระโดงเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม (วันปิยะมหาราช) พ.ศ.
ว็อลฟส์บวร์ค
ว็อลฟส์บวร์ค (Wolfsburg) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐโลว์เออร์แซกโซนี ประเทศเยอรมนี มีฐานะเป็นเมืองอิสระ (kreisfreie Stadt) ตามการบริหารเขตปกครองของเยอรมนี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของรัฐ ปัจจุบันมีประชากรราว 123,000 คน ถือเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 5 ของรัฐโลว์เออร์แซกโซนีหากเรียงตามจำนวนประชากร เมืองนี้เป็นที่รู้จักในฐานะที่ตั้งสำนักงานใหญ่โฟล์กสวาเกนกรุ๊ป ก่อตั้งเมื่อ..
สกุลวูลเปส
กุลวูลเปส (Fox, True fox) เป็นสกุลของหมาจิ้งจอกสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Vulpes จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ ซึ่งคำว่า "Vulpes" เป็นภาษาลาตินหมายถึง "หมาจิ้งจอก" สกุลวูลเปส นับเป็นสกุลที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดของหมาจิ้งจอก คือ มีทั้งหมด 12 ชนิด โดยมี หมาจิ้งจอกแดง (Vulpes vulpes) เป็นต้นแบบของสกุล พบกระจายพันธุ์ไปแทบทุกส่วนของโลก ทั้ง ป่า, ชายป่าใกล้ชุมชนมนุษย์, ทะเลทราย, ที่ราบสูง หรือแม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ.
สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์
รชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ มีชื่อเดิมว่า สุรชัย แซ่ด่าน เป็นนักเคลื่อนไหว และอดีตนักโทษการเมืองคดีคอมมิวนิสต์คนสุดท้ายของประเทศไทย เป็นอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มแดง.
ดู ป่าและสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 1
นฉินสื่อหวง (ฉินสื่อหวงปิงหมาหย่ง แปลว่า หุ่นทหารและม้าของฉินสื่อหวง) คือ ฮวงซุ้ยของจักรพรรดิจีนฉินสื่อหวงแห่งราชวงศ์ฉิน ตั้งอยู่ที่ตำบลหลินถง ห่างจากเมืองซีอาน มณฑลฉ่านซี ประเทศจีน สุสานฉินสื่อหวงได้ค้นพบโดยบังเอิญเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ.
ดู ป่าและสุสานจักรพรรดิฉินที่ 1
สีเผือก คนด่านเกวียน
ีเผือก คนด่านเกวียน นักร้องนำของวงคนด่านเกวียน วงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งของไทย มีชื่อจริงว่า อิศรา อนันตทัศน์ (ชื่อเดิม: สำรอง อนันตทัศน์) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.
หมาหริ่ง
ระวังสับสนกับ: หมูหริ่ง หมาหริ่ง หรือ หมาหรึ่ง (badger, ferret-badger; 鼬獾屬) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ในสกุล Melogale ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดเล็ก จัดเป็นแบดเจอร์สกุลหนึ่ง มีลำตัวยาวประมาณ 33-39 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 15-21 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม มีช่วงขาที่สั้น เล็บนิ้วกางแยกออกจากกันและมีกรงเล็บที่แหลมคม สีขนเป็นสีน้ำตาลแกมเทาจนถึงสีดำ ส่วนหัวมีสีเข้มกว่าลำตัว มีลายแถบสีขาวระหว่างตาแถบหนึ่ง ซึ่งเห็นได้ชัดเจน และมีแถบสีขาวข้างแก้มและเหนือตาจากผ่านตามแนวสันคอจรดถึงหัวไหล่ เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวรุนแรง เนื่องจากมีต่อมผลิตกลิ่นอยู่ที่อยู่ที่บริเวณใกล้ก้น ซึ่งจะผลิตกลิ่นเหม็นออกจากเมื่อถูกคุกคามหรือตกใจ จัดเป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้หลากหลายประเภท ตั้งแต่ป่าดิบ, ทุ่งหญ้า, นาข้าว จนถึงพื้นที่เกษตรกรรมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในตอนกลางวันจะนอนหลับพักผ่อนในโพรงดินหรือโพรงไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน ซึ่งกินได้ทั้งพืชและสัตว์ต่าง ๆ อาทิ ผลไม้, ลูกไม้, สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดเล็ก, แมลง, หนู, หอยทาก เป็นต้น ซึ่งบางครั้งอาจปีนต้นไม้ขึ้นไปหากินได้ ฤดูผสมพันธุ์จะอยู่ในช่วงฤดูร้อน โดยจะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ตั้งท้องนานประมาณ 3 เดือน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว ในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งในบางครั้งอาจพบอยู่ด้วยกันในโพรงเดียวประมาณ 4-5 ตัว พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์และเอเชียตะวันออก ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว ในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.
หมี
หมี จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ จัดอยู่ในวงศ์ Ursidae ออกลูกเป็นตัว ตาและใบหูกลมเล็ก ริมฝีปากยื่นแยกห่างออกจากเหงือก สามารถยืนและเดินด้วยขาหลังได้ ประสาทการดมกลิ่นดีกว่าประสาทตาและหู กินได้ทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร.
ดู ป่าและหมี
หมีควาย
หมีควาย หรือ หมีดำเอเชีย (Asian black bear, Asiatic black bear) จัดเป็นหมี 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งคือ หมีหมา (U. malayanus)).
หมีแว่น
หมีแว่น หรือ หมีแอนดีน (Spectacled bear, Andean bear) เป็นหมีขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบได้ในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นหมีเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Tremarctos หมีแว่นมีขนสีดำกับสีเบจมีลักษณะสีที่โดดเด่น เกือบทั่วใบหน้าและส่วนบนของหน้ามีขนสีขาวอมเหลือง โดยเฉพาะรอบดวงตาเป็นวงกลมคล้ายสวมแว่นอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หมีแว่นตัวผู้ขนาดโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 100–200 กิโลกรัม (220–440 ปอนด์) ขณะที่ตัวเมียมีน้ำหนักประมาณ 35–82 กิโลกรัม มีความสูงตั้งแต่ 120–200 เซนติเมตร (47–79 นิ้ว) ขณะที่ความยาวหางประมาณ 7 เซนติเมตร (2.8 นิ้ว) ความกว้างของบ่าตั้งแต่ 60–90 เซนติเมตร (24–30 นิ้ว) จัดเป็นสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ หมีแว่น อาศัยอยู่ในป่าเมฆและป่าดิบ หรือที่ราบสูงของทวีปอเมริกาใต้แถบเทือกเขาแอนดีส เช่น โบลิเวีย, เอกวาดอร์, เวเนซุเอลา, เปรู, ปานามา และอาร์เจนตินา โดยพบได้ในพื้นที่สูงถึง 4,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ปริมาณในธรรมชาติในปัจจุบันเหลืออยู่ประมาณ 2,000–3,000 ตัว เป็นหมีที่หากินและอยู่อาศัยบนต้นไม้เป็นหลัก แม้จะมีน้ำหนักตัวมากก็สามารถปีนป่ายต้นไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว โดยใช้กรงเล็บที่แหลมคม ซึ่งประกอบด้วยสารเคอราตินที่แข็งแกร่ง รวมถึงสามารถกระโดดจากต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งได้ด้วย แต่หมีวัยอ่อนกว่าจะมีความชำนาญน้อยกว่าหมีที่มีอายุมากกว่า ขณะที่จะปีนลงต้นไม้นอกจากจะใช้การไต่ลงด้วยกรงเล็บแล้วยังใช้ประโยชน์จากแรงโน้มถ่วงอีกด้วย ตัวเมียมีลูกคราวละ 1–2 ตัว ลูกหมีจะอาศัยอยู่กับแม่จนกระทั่งอายุได้ 8 เดือน โดยมักจะเกาะหลังแม่ไปไหนมาไหนตลอด หมีแว่น เป็นหมีที่กินผลไม้เป็นอาหารหลัก ที่ชื่นชอบมากที่สุดคือ พืชในวงศ์มะม่วง และพืชในวงศ์สับปะรดที่เกาะอยู่ตามกิ่งไม้ในยอดไม้ โดยเฉพาะส่วนของก้านใบที่สดช่ำ และก็กินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง เป็นอาหารเสริมได้ด้วยIn Too Deep, สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: ศุกร์ที่ 8 มีนาคม 2556 นอกจากนี้แล้วยังมีคำกล่าวอ้างจากชาวพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในถิ่นที่อยู่ของหมีแว่น ยืนยันว่า หมีแว่นเป็นสัตว์ที่ล่าสัตว์อื่นกินเป็นอาหารด้วย เช่น ปศุสัตว์ต่าง ๆ รวมถึงแมวป่าด้วย จึงทำให้หมีแว่นถูกล่าจากเหตุนี้ รวมถึงการถูกล่าเพื่อนำไปเป็นอาหารและการค้าด้วยจุดประกาย 7 WILD, สวัสดี...หมีแว่น จากมังสวิรัติสู่นักล.
หลวงพ่อเพ็ชร (วัดท่าถนน)
หลวงพ่อเพ็ชร์ เป็นพระพุทธรูปเนื้อโลหะสำริด ปางมารวิชัย (ขัดสมาธิเพชร) ศิลปะเชียงแสนสิงห์หนึ่ง หน้าตักกว้าง 32 นิ้ว มีพุทธลักษณะงดงามมาก ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วิหารวัดท่าถนน ชาวอุตรดิตถ์นับถือว่า เป็นพระพุทธรูปสำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ มีงานนมัสการประจำปีในวันกลางเดือนสี่ของทุกปี.
ดู ป่าและหลวงพ่อเพ็ชร (วัดท่าถนน)
หนูฟาน
หนูฟาน (Rajah rat, Spiny rat, สกุล: Maxomys) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Maxomys จัดอยู่ในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae หนูฟาน มีลักษณะทั่วไปเหมือนกับหนูในสกุล Rattus คือ หนูที่พบได้ตามบ้านเรือนทั่วไป มีขนาดปานกลางถึงขนาดเล็ก พบได้ทั่วไปในหลากหลายภูมิประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในบ้านเรือน, ชุมชนใกล้ชายป่า, ป่าทึบ, ป่าละเมาะ หรือพื้นที่เกษตรกรรม เช่น นาข้าว หรือยุ้งฉาง ในอดีต หนูฟานเคยถูกจัดให้เป็นสกุลย่อยของสกุล Rattus แต่ปัจจุบันได้ถูกจัดให้เป็นสกุลของตนเองร่วมกับสกุล Niviventer และสกุล Leopoldamys โดยนักอนุกรมวิธานในปี ค.ศ.
ดู ป่าและหนูฟาน
หนูฟานเหลือง
หนูฟานเหลือง (Red spiny rat, Yellow rajah rat) เป็นหนูชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Murinae ในวงศ์ใหญ่ Muridae หนูฟานเหลือง เป็นหนูขนาดกลาง มีจมูกยาว ขนมีความอ่อนนุ่ม ด้านหลังมีขนแข็งแซมสีดำ ทำให้ขนบริเวณหลังมีสีน้ำตาลเหลืองปนดำ ด้านท้องสีขาว หางมีสีค่อนข้างดำ ปลายหางสีขาว ตัวเมียมีเต้านม 4 คู่ มีขนาดความยาวตั้งแต่หัวจรดโคนหาง 18.8 เซนติเมตร และความยาวหาง 18.5 เซนติเมตร มีน้ำหนักราว 155 กรัม หนูฟานเหลือง จัดได้ว่าเป็นหนูที่มีความเชื่องช้า หากินตามพื้นดินในเวลากลางคืน โดยไม่ขึ้นต้นไม้ กินอาหารแทบทุกอย่างที่พบได้ตามพื้นดิน ผสมพันธุ์และออกลูกในช่วงฤดูฝนครั้งละ 4-6 ตัว ตั้งท้องนาน 28 วัน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ในป่าดิบ, ป่าละเมาะ และแม้แต่สวนผลไม้ แต่จะหาได้ยากตามบ้านเรือน ในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภูม.
หนูผี
หนูผี (Shrews) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Soricidae ครั้งหนึ่ง หนูผีเคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) หนูผี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหนู ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ซึ่งเป็นสัตว์คนละอันดับมาก แต่ทว่ามีขนาดเล็กกว่ามาก มีฟันที่แหลมคมที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด สามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ตามลำตัวมีขนที่อ่อนนุ่มสีคล้ำปกคลุม ตาและใบหูมีขนาดเล็กมากฝังอยู่ในขน ดังนั้นตาและหูของหนูผีใช้การไม่ค่อยดี จึงอาศัยประสาทการดมกลิ่นจากจมูกเป็นหลัก โดยมักจะกระดุกกระดิกจมูกสอดส่ายหากลิ่นตามพื้นดิน หรือบางครั้งก็ชูขึ้นสูดกลิ่นในอากาศ หนูผี โดยขุดรูตื้น ๆ อยู่ในดินหรือซุกซ่อนในพงหญ้า กินอาหารหลักจำพวก แมลง และอาจมีเมล็ดพืชบ้าง หนูผีเป็นสัตว์ที่มีระบบการเผาผลาญอาหารสูงมาก ดังนั้น จึงจะหากินอยู่ตลอดเวลา ด้วยการหากิน 3 ชั่วโมง และนอนหลับ 3 ชั่วโมง เป็นเช่นนี้สลับกันไปตลอด หากไม่เช่นแล้ว อาจทำให้ถึงตายได้ หนูผี เป็นสัตว์ที่มีอุปนิสัยดุร้าย มักกัดกันเองเสมอ ๆ โดยหากเมื่อต่อสู้กันแล้ว มักจะขู่ศัตรูด้วยการยืนด้วยสองขาหลังส่งเสียงร้องแหลมเล็กให้หนีไป หากได้กัดแล้ว จะกัดด้วยการกัดที่หางและขาหลังของกันและกันเป็นวงกลมเช่นนี้ต่อไปเรื่อย ๆ พร้อมกับเสียงดังข่มขู่กันตลอด หนูผี บางชนิดเมื่อกัดแล้วมีพิษ และถือเป็นสัตว์ที่มีต่อมน้ำพิษที่มีกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรงอยู่ใต้ผิวหนัง ดังนั้น หนูผีจึงมักไม่ค่อยตกเป็นอาหารของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ ยกเว้นนกเค้าแมว หนูผี ทำรังด้วยใบไม้และฟาง ออกลูกครอกละ 5-8 ตัว ปีหนึ่ง ๆ อาจออกได้หลายครอก ลูกอ่อนจะสามารถหาเลี้ยงตัวเองได้เมื่อมีอายุได้ 5 สัปดาห์ แต่หนูผีมักมีอายุสั้นไม่เกินหนึ่งปี กระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทุกทวีปของโลก พบในหลากหลายภูมิประเทศ รวมถึงในบ้านเรือนของมนุษย์ หนูผีที่พบในบ้านจะไม่ทำลายข้าวของเหมือนเช่นหนูบ้านทั่วไป เนื่องด้วยไม่ใช่สัตว์ฟันแทะ แต่อาจจะมีขโมยเศษอาหารได้ ทำให้เกิดกลิ่นเหม็บสาบรุนแรง และอาจจะจับแมลงสาบกินได้ และกลิ่นเหม็นอันรุนแรงของหนูผีจะไล่หนูบ้านออกไปได้ นอกจากนี้แล้ว หนูผียังสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เก่งกว่าหนูมาก โดยสามารถกลั้นหายใจใต้น้ำได้นานถึง 20 วินาที เพื่อจับสัตว์น้ำต่าง ๆ เช่น หอย หรือตัวอ่อนของแมลงปอ กินเป็นอาหาร หนูผี ในปัจจุบันนี้พบแล้วกว่า 385 ชนิด ใน 26 สกุล แบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยได้ 3 วงศ์ (ดูในตาราง)สำหรับชนิดที่พบได้ในประเทศไทยมีหลายชนิด อาทิ หนูผีบ้าน (Suncus murinus), หนูผีจิ๋ว (S.
ดู ป่าและหนูผี
หนูผีป่า
หนูผีป่า หรือ หนูเหม็น (Gymnures, Moonrats) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับเฮดจ์ฮอก (Erinaceomorpha) ในวงศ์ Erinaceidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galericinae เป็นวงศ์ที่แยกออกมาจากวงศ์ย่อยเฮดจ์ฮอก (Erinaceinae) ด้วยมีรูปร่างลักษณะที่ต่างกันหลายประการ สัตว์ที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างโดยทั่วไปแลคล้ายหนู ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) มีส่วนหัวใหญ่ ปลายจมูกและจะงอยปากแหลมยาว มีฟันที่แหลมคมและมีขนาดใหญ่ คิดเป็นสัดส่วน 1/3 ของร่างกายทั้งหมด มีขนปกคลุมร่างกายทั้งหมด หางเรียวยาวไม่มีขน เพื่อควบคุมสมดุลของร่างกายและอุณหภูมิภายในร่างกาย มีความไวในประสาทการรับกลิ่นเป็นอย่างดีมาก หนูผีป่า เป็นสัตว์ที่มีเอกลักษณ์ คือ มีกลิ่นเหม็นมากเหมือนกลิ่นแอมโมเนียโดยมีต่อมผลิตกลิ่น ปกติเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ตามลำพัง ยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน โดยหากินสัตว์ขนาดเล็กที่อยู่ตามพื้นดินเป็นหลัก เช่น แมลง เป็นอาหารหลัก และอาจกินสัตว์ได้อย่างอื่นได้ด้วย เช่น สัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ หรือสัตว์ฟันแทะขนาดเล็ก บางครั้งอาจกินผลไม้หรือเห็ดรา พบกระจายพันธุ์แต่เฉพาะในป่าดิบของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยไม่พบในเมือง เช่น อินโดจีน, สุมาตรา, จีนและคาบสมุทรมลายู มีทั้งหมด 5 สกุล (ดูในตาราง) 8 ชนิด โดยชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ หนูเหม็น (Echinosorex gymnura) หรือสาโท ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ด้ว.
หนูจี๊ด
หนูจี๊ด (อังกฤษ: Polynesian rat, Pacific rat; ชื่อวิทยาศาสตร์: Rattus exulans) เป็นหนูชนิดหนึ่งในวงศ์ Muridae วงศ์ย่อย Murinae เป็นหนูที่มีขนาดเล็กที่สุดที่อยู่ในสกุล Rattus มีขนสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ ขนชั้นนอกแข็ง หางมีสีดำเรียบสนิทมีความยาวกว่าความยาวลำตัวและหัวรวมกันเสียอีก และไม่มีขน ส่วนท้องสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 10.5 เซนติเมตร หางยาว 12.8 เซนติเมตร น้ำหนัก 36 กรัม ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 4 คู่ 2 คู่แรกอยู่ที่หน้าอก อีก 2 คู่อยู่ที่หน้าท้อง สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี โดยตั้งท้องนานประมาณ 21-22 วัน ตกลูกครั้งละ 7-12 ตัว ปีหนึ่งสามารถออกลูกได้ราว 5-6 ครอก อายุขัยมากที่สุดที่พบประมาณ 6 ปี หนูจี๊ด เป็นหนูที่สามารถพบได้ทั่วไปตามบ้านเรือน พื้นที่เกษตรกรรมเช่น โรงนา, ยุ้งฉาง แต่กลับไม่พบในที่นา และสามารถพบได้ในป่าและถ้ำ เป็นหนูที่มีพฤติกรรมว่องไวมาก ทำรังโดยไม่ขุดรู สามารถปีนป่ายและกระโดดได้เก่ง สามารถไต่ไปตามเส้นลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางแคบ ๆ ได้เป็นระยะทางหลายเมตร โดยใช้หางที่ยาวนั้นช่วยทรงตัวและเกาะเกี่ยว ว่ายน้ำเก่ง กินอาหารได้แทบทุกชนิด และกินอาหารตามที่มนุษย์กินได้ด้วย โดยกินมากเป็นน้ำหนักประมาณ 10 เท่าของน้ำหนักตัวต่อวัน พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์จนถึงภูมิภาคออสตราเลเชีย, โอเชียเนีย จนถึงฮาวายและโพลินีเซีย โดยมีชื่อเรียกในภาษาเมารีว่า kiore จัดเป็นหนูชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ตามบ้านเรือนเช่นเดียวกับ หนูท้องขาว (R.
หน่วยพิทักษ์ป่าห้วยชมพู-ผาเทวดา
หน่วยพิทักษ์ป่าห้วยชมพู-ผาเทวดา ตั้งอยู่ที่ ต.สันโค้ง อ.ดอกคำใต้ ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 11 กม.ได้กำหนดเส้นทางเดินทางไกลและผจญภัยเนื่องจากลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงผาชัน ทอดยาวจากทิศเหนือไปทิศใต้ ตลอดเส้นทางจะพบเห็นสภาพป่า 3ชนิดคือ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแห้ง รวมทั้งน้ำตกห้วยชมพู และถ้ำน้อยใหญ่ที่สวยงามเรียงรายตามเทือกเขาผาเทวดา หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย.
ดู ป่าและหน่วยพิทักษ์ป่าห้วยชมพู-ผาเทวดา
อะโอะกิงะฮะระ
อะโอะกิงะฮะระ อะโอะกิงะฮะระ หรือมีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า นทีแห่งไม้ (樹海, Sea of Trees) เป็นชื่อเรียกป่าบริเวณเชิงภูเขาฟูจิด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ในประเทศญี่ปุ่น อะโอะกิงะฮะระเป็นสถานที่ที่ชาวญี่ปุ่นมาฆ่าตัวตายบ่อยครั้ง โดยนับตั้งแต่ ค.ศ.
อัลมาส์
อัลมาส์ หรือ อัลมาตี (อังกฤษ: Almas; Almasty, Almasti; บัลแกเรีย: Алмас; เชเชน; Алмазы, ตุรกี: Albıs; มองโกล: Алмас; ภาษามองโกลแปลว่า "คนป่า") สิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่เชื่อว่ามีรูปร่างคล้ายมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ พบตามเทือกเขาและป่าในภูมิภาคเอเชียกลาง รวมถึงไซบีเรีย มีลักษณะคล้าย เยติ ในเทือกเขาหิมาลัย และ บิ๊กฟุต ในทวีปอเมริกาเหนือ.
อันดับบ่าง
อันดับบ่าง (Colugo, Flying lemur) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้นย่อยยูเทอเรีย (Eutheria) อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dermoptera (/เดอ-มอป-เทอ-รา/ แปลว่า "ปีกหนัง") และถือเป็นอันดับที่อยู่ถัดมาจากอันดับโพรซีเมียน (Prosimian) ถือว่า บ่างเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใกล้เคียงกับสัตว์ในอันดับไพรเมต อันได้แก่ ทาร์เซีย, ลิงและเอป ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ด้วย และเชื่อกันว่า บ่างเป็นต้นบรรพบุรุษของค้างคาว ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงจำพวกเดียวที่บินได้ ซึ่งอยู่ในอันดับ Chiroptera ด้วย ลักษณะของสัตว์ในอันดับนี้ คือ มีรูปร่างคล้ายกับกระรอกบินหรือค้างคาวหรือลีเมอร์ แต่มีจุดเด่น คือ มีแผ่นหนังบาง ๆ ที่เชื่อมติดกันระหว่างคอ, ขาหน้า, ขาหลัง และหาง รวมถึงนิ้วทุกนิ้วอีกด้วย โดยที่ไม่มีหัวแม่มือ ซึ่งเมื่อกางออกจะเป็นแผ่นคล้ายว่าว ทำให้สามารถร่อนถลาได้เหมือนกระรอกบินหรือชูการ์ไกลเดอร์ ซึ่งเป็นสัตว์ต่างอันดับกัน บ่าง เป็นสัตว์ที่มีดวงตากลมโตสีแดง ส่วนจมูกและใบหน้าแหลม รวมทั้งมีสีขนที่เลอะ เพื่อแฝงตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ทำให้แลดูน่าเกลียดน่ากลัว แต่เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร ได้แก่ ยอดไม้, ดอกไม้ รวมถึงแมลง และลูกไม้เนื้ออ่อน เป็นอาหาร มีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า มีส่วนหางที่สั้น มีเล็บที่นิ้วที่แหลมคมใช้สำหรับในการปีนต้นไม้และเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ รวมถึงสามารถห้อยหัวลงมาได้เหมือนค้างคาว บ่างจะหากินในเวลากลางคืนหรือโพล้เพล้ ส่วนในเวลากลางวันจะนอนหลับอยู่ตามโพรงไม้หรือคอมะพร้าว บ่าง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว เนื่องจากแม่บ่างสามารถรับน้ำหนักได้เพียงแค่นี้ ลูกบ่างจะเกาะติดกับหน้าอกแม่ดูดนมจากเต้านมแม่ซึ่งมี 2 คู่ แม้แต่เมื่อหากินหรือระหว่างร่อน ใช้เวลาโตเต็มที่ประมาณ 2-3 ปี บ่างแรกเกิดมักมีการพัฒนาไม่มากนักคล้ายสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้อง (Marsupialia) แม่บ่างจะเลี้ยงลูกไว้โดยให้เกาะที่ท้อง เวลาเกาะอยู่กับต้นไม้ โดยใช้ผังผืดระหว่างขาช่วงล่างสุดห่อคล้ายร่มหรือถุงเหมือนสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ในช่วงที่แม่บ่างเลี้ยงลูกจะยังไม่มีลูกใหม่ จนกว่าลูกตัวเดิมจะแยกตัวออกไปหากินเอง ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี แม่บ่างจะเลียฉี่และมูลของลูก ขณะที่ลูกบ่างจะกินมูลของแม่ด้วย ซึ่งภายในมีแบคทีเรียที่ช่วยในการย่อยอาหารซึ่งได้แก่ พืช ส่วนต่าง ๆ แต่พฤติกรรมการผสมพันธุ์ยังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่ชัดบ่าง, "สีสันสัตว์โลก สเปเชี่ยล", สารคดีทางช่อง 9: 17 ธันวาคม 2556 บ่างอาศัยอยู่ในป่าดิบที่มีความอุดมสมบูรณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ใน 2 สกุล และมีอีก 1 สกุล ซึ่งมี 2 ชนิด ที่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว.
อันดับกระแต
ฟันของกระแต กระแต (1920.) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Scandentia กระแต มีลักษณะโดยรวมคล้ายกับกระรอก ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) รวมทั้งมีพฤติกรรมความเป็นอยู่ที่คล้ายกัน หากแต่กระแตมีปากยื่นยาวกว่ากระรอก มีฟันเล็กหลายซี่ ไม่ได้เป็นฟันแทะ แบ่งออกเป็นฟันตัด 4 ซี่ ที่ขากรรไกรบน และ 6 ซี่ที่ขากรรไกรล่าง สามรถเขียนเป็นสูตรได้ว่า จึงไม่สามารถที่จะกัดแทะผลไม้หรือไม้เปลือกแข็งอย่างกระรอกได้ และมีนิ้วที่ขาคู่หน้า 5 นิ้ว ที่เจริญและใช้ในการหยิบจับได้ดี เหมือนเช่นสัตว์ในอันดับไพรเมต (Primate) หรืออันดับวานร กระแตมีขนปกลุมลำตัวสีเขียวหรือสีน้ำตาลเหมือนกระรอก มีหางยาวประมาณ 12-19 เซนติเมตร กระแต นั้นหากินทั้งบนพื้นดิน โคนต้นไม้ และบนต้นไม้ กินได้ทั้งพืช และสัตว์เล็ก ๆ อย่าง แมลง หรือหนอน เป็นอาหาร โดยมากจะหากินในเวลากลางคืน และอาศัยอยู่ตามลำพังเพียงตัวเดียว แต่บางครั้งก็พบอยู่ด้วยกัน 2-3 ตัว เป็นฝูงเล็ก ๆ ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว โดยที่ก็ตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่กว่า เช่น ชะมด หรืออีเห็น, แมวป่า หรือนกล่าเหยื่อ อย่าง เหยี่ยว หรืออินทรี ด้วย กระแต กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในป่าทวีปเอเชียแถบเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีทั้งหมด 19 ชนิด 5 สกุล แบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ (ดูในตาราง) พบในประเทศไทย 5 ชนิด คือ กระแตเหนือ (Tupaia belangeri) และกระแตใต้ หรือกระแตธรรมดา (T.
อันตีโปโล
นครอันตีโปโล (ตากาล็อก: Lungsod ng Antipolo) หรือ อันตีโปโลซิตี เป็นนครศูนย์กลางของจังหวัดรีซัล ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี..
อำเภออมก๋อย
อมก๋อย (30px) เป็นอำเภอหนึ่งใน 25 อำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางใต้สุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน และตาก อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสวยงามหลายแห่ง เช่น ดอยม่อนจอง ดอยมูเซอ วัดแสนทอง ซึ่งเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองอมก๋อย เป็นต้น.
อินทรีดำ
อินทรีดำ (Black eagle, Indian black eagle) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดใหญ่จำพวกอินทรี และจัดเป็นนกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ictinaetus (แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย-ดูในตาราง) มีขนปกคลุมลำตัวสีดำสนิท ขนคลุมทั้งจมูก และตีนมีสีเหลือง หางมีลายแถบสีอ่อนคาด ขณะบินปีกกว้าง ปลายปกแตกเป็นรูปนิ้วมือชัดเจน หางยาวมาก ขณะที่ยังเป็นนกที่โตไม่เต็มวัยจะมีสีน้ำตาลหม่น ปากสั้นปลายแหลม มีเล็บนิ้วเท้าแหลมคมและแข็งแรงมาก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 69-81 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่อนุทวีปอินเดียและภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยจะพบได้ตามป่าในแนวเขาตั้งแต่เหนือจรดใต้ได้ไม่ยากนัก โดยเฉพาะทางป่าตะวันตก แต่ปัจจุบันก็มีจำนวนลดน้อยลงจากเดิมเนื่องจากถิ่นที่อยู่ถูกทำลาย อินทรีดำ มีพฤติกรรมล่าเหยื่อที่แตกต่างไปจากอินทรีหรือเหยี่ยวชนิดอื่น คือ การบินมาเกาะใกล้รังนกเล็กหรือกระรอก แล้วไต่กิ่งไปล่าเหยื่อในรัง รวมทั้งไข่นก นอกเหนือจากจากโฉบเหยื่อที่เป็นพฤติกรรมโดยปกติ จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว
อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำปาด ท้องที่ตำบลม่วงเจ็ดต้น ตำบลนาขุม ตำบลบ้านโคก อำเภอบ้านโคก ตำบลห้วยมุ่น อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตำบลบ่อภาค อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก เป็นพื้นที่ที่มีสภาพป่าค่อนข้างสมบูรณ์ปกคลุมไปด้วยป่าธรรมชาติที่สวยงาม เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ยอดสูงสุดของภูสอยดาวสูงจากระดับน้ำทะเล 2,102 เมตร ซึ่งสูงเป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย อุทยานแห่งนี้มีจุดเด่นที่น่าสนใจและเป็นที่ดึงดูดใจของนักท่องเที่ยว ได้แก่ น้ำตกภูสอยดาว เป็นน้ำตก 5 ชั้น และการผจญภัยขึ้นสู่ลานสนสามใบอันสวยงาม มีเนื้อที่กว้างประมาณ 1,000 ไร่ มีความสวยงามมาก มีถนนลาดยาง เข้าถึงพื้นที่ทำให้สะดวกสบายในการเดินทางพักผ่อนหย่อนใจ อุทยานแห่งชาติภูสอยดาวมีเนื้อที่ 125,110 ไร่ หรือ 200.18 ตารางกิโลเมตร.
ดู ป่าและอุทยานแห่งชาติภูสอยดาว
อุทยานแห่งชาติวีรูงกา
อุทยานแห่งชาติวีรูงกา (Virunga National Park; Parc National des Virunga) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มีเนื้อที่กว่า 8,090 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งขึ้นเป็นอุทยานแห่งชาติขึ้นเมื่อปี..
ดู ป่าและอุทยานแห่งชาติวีรูงกา
อุทยานแห่งชาติออบหลวง
อุทยานแห่งชาติออบหลวง เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในพื้นที่อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 100 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 553 ตารางกิโลเมตร (345,625 ไร่) พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานเป็นภูเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน มีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ แหล่งน้ำหลักคือลำน้ำแม่แจ่ม ซึ่งมีลักษณะเป็นเกาะแก่งเมื่อไหลผ่านหุบเขา ในอุทยานมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ จำแนกได้หลายประเภท สามารถพบสัตว์ป่าได้หลายชนิด เช่น เลียงผา เสือ หมี เป็นต้น นอกจากนี้ภายในอุทยานแห่งชาติยังมีน้ำพุร้อน น้ำตก ถ้ำ และแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร.
ดู ป่าและอุทยานแห่งชาติออบหลวง
อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี
ียนสีก่อนประวัติศาสตร์ ถ้าผีหัวโต อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี อยู่ใน อ.อ่าวลึก ต.เขาทอง อ.เมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ มีพื้นที่ประมาณ 121 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยภูเขาหินปูน ป่าดิบ ป่าชายเลน และเกาะในทะเล.
ดู ป่าและอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี
อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา
ปากทางเข้าถ้ำ หินงอกหินย้อยบริเวณปากถ้ำ อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา (Puerto Princesa Subterranean River National Park; Pambansang Liwasang Ilog sa Ilalim ng Lupa ng Puerto Princesa) เป็นอุทยานแห่งชาติของประเทศฟิลิปปินส์ ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อปี..
ดู ป่าและอุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซา
อุทยานโอลิมปิกลอนดอน
อุทยานโอลิมปิกลอนดอน (London Olympic Park) เป็นศูนย์กีฬาและสวนสาธารณะซึ่งจัดสร้างขึ้น สำหรับกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 และการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012 ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกของลอนดอน ประเทศอังกฤษ ติดกับพื้นที่ขยายของย่านสแตรตเฟิร์ด (Stratford) ภายในมีหมู่บ้านนักกีฬาโอลิมปิก และสนามกีฬานานาชนิด รวมทั้งสนามกีฬาโอลิมปิกและศูนย์กีฬาทางน้ำ หลังจากโอลิมปิกผ่านไป อุทยานแห่งนี้จะเปลี่ยนชื่อเป็น “อุทยานโอลิมปิกราชินีเอลิซาเบธ” (Queen Elizabeth Olympic Park) เพื่อเป็นอนุสรณ์ในวโรกาส พระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรStaff (7 October 2010).
อีเห็นหน้าขาว
อีเห็นหน้าขาว หรือ อีเห็นหูด่าง (Small-toothed palm civet) เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctogalidia trivirgata มีรูปร่างหน้าตาคล้ายอีเห็นเครือ (Paguma larvata) แต่มีขนาดเล็กกว่า มีสีขนที่แตกต่างหลากหลายออกไป ในบางตัวอาจมีสีน้ำตาลแดง บางตัวเป็นสีน้ำตาลดำ มีลักษณะเด่นคือ ขอบใบหูจะมีสีขาว บริเวณหลังมีแถบสีดำ 3 เส้นพาดเป็นทางยาวจนถึงโคนหาง บางตัวอาจมีลายเส้นสีขาวพาดยาวมาจรดปลายจมูก หางมีความยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ ตัวเมียจะมีเต้านม 2 คู่ และมีต่อมกลิ่นด้วย มีความยาวลำตัวและหัว 43-53 เซนติเมตร ความยาวหาง 51-56 เซนติเมตร น้ำหนัก 2-2.5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว มีชนิดย่อยทั้งหมด 14 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าดิบชื้น, ป่าเบญจพรรณ ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ตามลำพังและหากินบนต้นไม้เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อนที่จะอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ออกหากินในเวลากลางคืน มีความปราดเปรียวว่องไวกว่าอีเห็นธรรมดา (Paradoxurus hermaphroditus) มาก โดยมักล่าสัตว์ที่อยู่บนต้นไม้เป็นอาหาร เช่น หนู, กระรอก, นก และช่วยควบคุมปริมาณกระรอกที่ทำลายสวนมะพร้าวไม่ให้มีมากไป สามารถผสมพันธุ์ได้ทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 45 วัน ออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
อีเห็นเครือ
อีเห็นเครือ (Masked palm civet) สัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Paguma larvata จัดเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ในสัตว์จำพวกนี้ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีจุดหรือลวดลายใด ๆ บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าส่วนหลัง หลังหูและหลังคอมีสีเข้ม ม่านตามีสีน้ำตาลแดง มีหนวดเป็นเส้นยาวบริเวณจมูกและแก้ม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ขนาดลำตัวและหัวยาว 50.8-76.2 เซนติเมตร ความยาวหาง 50.8-63.6 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, ปากีสถาน, ตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ไต้หวัน, ตะวันออกของจีน, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว, ตะวันตกของพม่า, สิกขิม, ภูฐาน, เนปาล มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ป่าเบญจพรรณ, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ติดกับพื้นที่ทำการเกษตรกรรม สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และจะใช้เวลาส่วนใหญ่บนต้นไม้ โดยจะกินทั้งพืชและสัตว์ แต่ในบางครั้งอาจมาหากินบนพื้นดินด้วย จากการศึกษาในเนปาลพบว่า มีการผสมพันธุ์กันในฤดูร้อน โดยในช่วงปลายฤดูฝนอีเห็นเครือตัวเมียจะสร้างรังในโพรงไม้ เพื่อใช้เลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว อีเห็นเครือถูกสันนิษฐานว่าเป็นสัตว์ที่เป็นต้นตอแพร่เชื้อของโรคซาร์สที่ระบาดในฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ.
องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล
ัญลักษณ์กองทุนสัตว์ป่าโลกสากล กองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (World Wide Fund for Nature - WWF) เป็นองค์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ โดยยับยั้งการทำลายสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนให้มนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติ และใช้พลังงานทดแทน ปัจจุบันเน้นการทำงานในด้าน ป่าไม้ ระบบนิเวศวิทยาของพื้นน้ำ มหาสมุทรรวมทั้งชายฝั่งทะเล สัตว์ใกล้สูญพันธุ์ การบำบัดสารพิษที่เกิดจากสารเคมี องค์การแห่งนี้เป็นองค์กรอนุรักษ์อิสระใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีผู้สนับสนุนมากกว่า 5 ล้านรายจากทั่วโลก ดำเนินโครงการอนุรักษ์ต่างๆ 12,000 โครงการ ใน 153 ประเทศ องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากลมีสถานะเป็นมูลนิธิ ใน..
ดู ป่าและองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล
ผักกูด
ผักกูด เป็นชื่อของผักชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลเฟิร์นที่อยู่ในวงศ์ Athyriaceae ซึ่งมนุษย์สามารถนำมาปรุงเป็นอาหารได้ นอกจากจะนำมาเป็นอาหารได้แล้วยังนำมาเป็นสมุนไพรได้อีกด้วย ผักกูดมักจะขึ้นอยู่ตามริมน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ มากกว่าในป่าทึบ มักพบบ่อยเพราะเป็นช่วงเจริญเติบโตในฤดูฝน มีเหง้าสูงได้ 1 เมตร ใบเป็นแผงรูปขนนก ตอนอายุยังน้อยจะแตกเป็นรูปขนนกชั้นเดียวคู่ขนานกันไปตั้งแต่โคนใบถึงปลายใบ เมื่ออายุมากขึ้นใบจะเปลี่ยนเป็นรูปขนนก 2 ชั้น ยอดอ่อนและปลายยอดม้วนงอแบบก้นหอย พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ใบของผักกูดใช้ต้มน้ำดื่มหรือกินสด ช่วยแก้ไข้ตัวร้อน, แก้พิษอักเสบ, บำรุงสายตา, บำรุงโลหิต, แก้โลหิตจาง ป้องกันเลือดออกตามไรฟันและขับปัสสาวะเด็ดขาดมาก ลดความดันโลหิตสูง ลดคอเลสเตอรอลในเม็ดเลือด มีสารบีตา-แคโรทีนและธาตุเหล็กสูง ส่วนใหญ่จะนำใบอ่อน ช่ออ่อน ทำแกงกับปลาเนื้ออ่อนน้ำจืด เช่นปลาช่อนหรือลวกจิ้มน้ำพริกชนิดต่างๆ ยำผักกูด, ผักกูดผัดน้ำมันหอย, แกงกะทิกับปลาย่าง, ลวกกะทิ แต่ไม่นิยมกินสด ๆ กันเพราะจะมียางเป็นเมือกอยู่ที่ก้าน นอกจากนี้แล้ว ผักกูดยังเป็นดัชนีชี้วัดถึงสภาพแวดล้อมให้ได้รู้ว่า บริเวณไหนอากาศไม่ดี ดินไม่บริสุทธิ์ มีสารเคมีเจือปนอยู่ ผักกูดจะไม่ขึ้นหรือแตกต้นในบริเวณนั้นเด็.
ดู ป่าและผักกูด
ผีฉมบ
ผีฉมบ คือ ผีของผู้หญิงที่ตายในป่า มักปรากฏตัวเป็นแสงหรือเงาวูบวาบให้เห็น แต่ไม่ปรากฏเป็นตัวตน และไม่ทำอันตรายต่อผู้คน หมวดหมู่:ผีไทย.
ดู ป่าและผีฉมบ
จระเข้
ระเข้ (Crocodile, อีสาน: แข้) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ ใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Crocodylidae อยู่ในอันดับจระเข้ (Crocodilia) มีลักษณะโดยรวมคือ ส่วนปลายของหัวแผ่กว้างหรือเรียวยาว ขากรรไกรยาวและกว้าง เมื่อหุบปากแล้วจะเห็นฟันซี่ที่ 4 ของขากรรไกรล่างเนื่องจากขอบปากบนตรงตำแหน่งนี้เป็นรอยหยักเว้า ส่วนปลายของขากรรไกรล่างข้างซ้ายและข้างขวาเชื่อมต่อกันเป็นพื้นที่แคบ กระดูกเอนโทพเทอรีกอยด์อยู่ชัดกับแถวของฟันที่กระดูกแมคซิลลา กระดูกพาลามีนมีก้านชิ้นสั้นอยู่ทางด้านหน้าและไม่ถึงช่องในเบ้าตา พื้นผิวด้านบนของลิ้นไม่มีสารเคอราติน ต่อมขจัดเกลือบนลิ้นมีขนาดใหญ่ มีก้อนเนื้อที่ปลายปากนูนสูงที่ช่องเปิดรูจมูกเรียกว่า "ก้อนขี้หมา" หรือ "หัวขี้หมา" ซึ่งจะแตกต่างออกไปตามชนิดและเพศหรือขนาด โคนหางเป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่และแข็งแรงเรียกว่า "บ้องตัน" ใช้ในการฟาดเพื่อป้องกันตัว หางแบนยาวใช้โบกว่ายน้ำ จระเข้ ถือเป็นสัตว์ที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาาหร เนื่องจากเป็นสัตว์ผู้ล่ากินเนื้อขนาดใหญ่ ที่ไม่มีศัตรูตามธรรมชาติ ยกเว้นจระเข้ในวัยอ่อน ที่ตกเป็นอาหารของสัตว์ขนาดใหญ่กว่าชนิดต่าง ๆ ได้ จระเข้ตัวโตเต็มวัยจะมีพฤติกรรมกินอาหารแบบหมุนตัว กล่าว คือ เมื่อจับเหยื่อที่มีขนาดใหญ่ขณะอยู่ใต้น้ำและต้องการกินเหยื่อจะใช้ปากงับไว้และหมุนตัวเองเพื่อฉีกเนื้อเหยื่อออกเป็นชิ้น ส่วนเหยื่อที่มีขนาดเล็กถูกบดให้แหลกด้วยลิ้นขนาดใหญ่โดยใช้ลิ้นดันเหยื่ออัดแน่นกับเพดานของอุ้งปาก นอกจากนี้แล้วจระเข้ยังกลืนก้อนกรวดหรือก้อนหินเข้าไปในกระเพาะเพื่อช่วยในการบดอาหารด้วย แบ่งออกได้เป็น 3 สกุล 14 ชนิด พบได้ในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของทุกทวีปทั่วโลก นับว่ามีจำนวนสมาชิกมากและหลากหลายที่สุดของอันดับจระเข้ที่ยังพบคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ มักอาศัยบริเวณป่าริมน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ เพราะหากินในน้ำเป็นหลัก บางชนิดหรือบางพื้นที่อาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยหรือป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำใกล้ทะเล ในประเทศไทยพบ 3 ชนิด คือ จระเข้บึง หรือ จระเข้น้ำจืด (Crocodylus siamensis), อ้ายเคี่ยม หรือ จระเข้น้ำเค็ม (C.
ดู ป่าและจระเข้
จังหวัดอ่างทอง
ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.
จังหวัดแม่สอด
อาคารเทศบาลนครแม่สอด ที่เสนอเมื่อ พ.ศ. 2547 เพื่อจะใช้เป็นศาลากลางจังหวัดแม่สอด แม่สอด เป็นแนวคิดในการรวม 5 อำเภอชายแดนฝั่งตะวันตกของ จังหวัดตาก อันประกอบด้วย อำเภอแม่สอด อำเภออุ้มผาง อำเภอแม่ระมาด อำเภอท่าสองยาง และอำเภอพบพระ เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเป็นป่าเขา ยากต่อการดูแลของเจ้าหน้าที่ระดับสูง ดังนั้นจึงได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้ 5 อำเภอชายแดน เป็นจังหวัดแม่สอด ตั้งแต่ปี 2547 แต่ไม่ผ่านเกณฑ์เนื่องจากจำนวนประชากรไม่ถึงจำนวนที่กำหนด และความเจริญของตำบลโดยรอ.
จังหวัดเพชรบุรี
ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.
ธงชาติบราซิล
งชาติบราซิล (Bandeira do Brasil) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนสีเหลือง ภายในรูปดังกล่าวมีวงกลมสีน้ำเงิน บรรจุรูปแผนที่ของกลุ่มดาวขนาดต่างๆ กลางวงกลมนั้นมีแถบสีขาวพาดผ่าน บรรจุข้อความเขียนด้วยตัวอักษรโรมันพิมพ์ใหญ่สีเขียวว่า "Ordem e Progresso" (แปลว่า "ความเป็นระเบียบและความก้าวหน้า") ธงนี้ในบางครั้ง มักมีการเรียกชื่อว่า Auriverde ซึ่งแปลว่า " (ธง) สีทองและเขียว" แบบธงชาติซึ่งเป็นต้นแบบของธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.
ธงชาติกาบอง
งชาติกาบอง เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 4 ส่วน ซึ่งสัดส่วนที่กล่าวมานั้นใกล้เคียงกันรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสมาก ภายในแบ่งเป็น 3 แถบตามแนวนอน สีเขียว-สีขาว-สีฟ้า เรียกจากบนลงล่าง ทุกแถบมีความกว้างเท่ากัน เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อได้รับอิสรภาพจากฝรั่งเศสในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.
ธงชาติกินี-บิสเซา
23px ธงชาติกินี-บิสเซา สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติกินี-บิสเซา (Bandeira da Guiné-Bissau.) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อประเทศได้รับอิสรภาพจากสาธารณรัฐโปรตุเกสในวันที่ มีลักษณะเป็นธงสามสี พื้นธงแบ่งเป็นสามส่วน ส่วนแรกเป็นแถบสีแดงแนวตั้งอยู่ที่ด้านติดคันธง ความกว้างเป็น 1 ใน 3 ของความยาวธงทั้งหมด ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีดำ พื้นธงที่เหลืองแบ่งครึ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวนอน ครึ่งบนสีเหลือง ครึ่งล่างสีเขียว สีเหล่านี้เป็นสีพันธมิตรแอฟริกา โดยดัดแปลงมาจากธงชาติกานา ความหมายของสีในธงชาตินั้น สีแดงหมายถึงเลือดของผู้สละชีพเพื่อเอกราชชาติ สีเขียวหมายถึงป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์และความหวัง สีเหลืองความมั่งคั่งด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และดาวสีดำหมายถึงเอกภาพของทวีปแอฟริก.
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี
23px ธงชาติอิเควทอเรียลกินี สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิเควทอเรียลกินี มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในธงนั้น ที่ด้านติดคันธงมีรูปสามเหลี่ยมสีฟ้า ฐานยาวเท่าความกว้างของธง ความยาวเป็น 1 ใน 3 ของด้านยาวธง ส่วนที่เหลือแบ่งพื้นที่ภายในตามแนวนอนเป็น 3 แถบ ประกอบด้วยแถบสีเขียว สีขาว และสีแดง เรียงจากบนลงล่าง ทุกแถบนั้นกว้างเท่ากัน ที่ใจกลางแถบสีขาวนั้น มีภาพตราแผ่นดินของอิเควทอเรียลกินี ซึ่งเป็นรูปต้นฝ้ายในโล่สีเทา เบื้องบนมีรูปดาว 6 ดวงเรียงเป็นแถวโค้ง เบื้องล่างมีแพรแถบแสดงคำขวัญประจำชาติเป็นภาษาสเปนว่า Unidad Paz Justicia แปลว่า "เอกภาพ สันติภาพ ยุติธรรม" ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ป่าและธงชาติอิเควทอเรียลกินี
ธงชาติแคเมอรูน
งชาติแคเมอรูน ที่ใช้ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นธงสามสีมีสามแถบแบ่งตามแนวตั้ง แต่ละแถบประกอบด้วยสีเขียว สีแดง และสีเหลือง เรียงลำดับจากด้านคันธงไปด้านปลายธง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน กลางแถบสีเขียวนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่20 พฤษภาคม พ.ศ.
ธงชาติแซมเบีย
งชาติแซมเบีย เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีแถบแนวตั้ง 3 แถบ เรียงกันเป็นสีแดง สีดำ และสีแสด แถบเหล่านี้แต่ละแถบกว้างเป็น 1 ใน 9 ส่วนของด้านยาวธง และยาวเป็น 2 ใน 3 ของความกว้างของธง ที่ตอนบนของแถบสีดังกล่าวมีรูปนกอินทรีสีแสดอยู่ในท่ากางปีกจะบิน ธงนี้ออกแบบโดย นางกาเบรียล เอลลิสัน (Mrs Gabriel Ellison) ผู้มีผลงานในการออกแบบภาพตราแผ่นดินของแซมเบีย และตราไปรษณียากรอีกจำนวนมากของประเทศ และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.
ทรัพยากรสิ้นเปลือง
ทรัพยากรสิ้นเปลือง (Nonrenewable resources) คือ ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ธรรมชาติไม่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่เพื่อทดแทนของเก่าที่หมดไปเองได้ เช่น ป่าไม้ น้ำมัน สัตว์ป่า เป็นต้น หมวดหมู่:การอนุรักษ์ หมวดหมู่:ธรรมชาติ no:Ikke-fornybare ressurser.
ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่างมากมาย และยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่ แบ่งออกเป็น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรแร่ธาต.
ดู ป่าและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย
ทะเลสาบแทนกันยีกา
ทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม), แทนซาเนีย, แซมเบีย และบุรุนดี เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจากทะเลสาบวิกตอเรีย นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและภูเขาไฟระเบิด เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็นทะเลสาบแห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนวเกรตริฟต์แวลลีย์ โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจากภาษาสวาฮิลีสองคำ คือ "tangan" หมายถึง "เรือใบ" และ "nyika" หมายถึง "ป่า" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาร" ก็ได้ ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 กิโลเมตร แต่มีความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 ตารางกิโลเมตร ความยาวรอบชายฝั่งวัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกเป็นอันดับสองของโลกรองจากทะเลสาบไบคาล ในไซบีเรีย มีดินแดนติดกับคองโกราวร้อยละ 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ น้ำในทะเลสาบไหลสู่แม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีป และจะไหลไปลงทะเลที่ตอนแอฟริกาตะวันตกที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของอุณหภูมิที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมีภูเขาไฟ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 ฟาเรนไฮต์ โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำอยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH) ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้.
ทัชชกร ยีรัมย์
ทัชชกร ยีรัมย์ มีชื่อจริงโดยกำเนิดว่า วรวิทย์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น พนม (นามสกุลเดิม) เกิดวันที่ 5 กุมภาพัน..
ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน
ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน (Philippine tarsier; เซบัวโน: mawmag; mamag; เดิมเคยใช้ชื่อสกุลว่า Carlito) เป็นสัตว์เลี้ยงด้วยนมขนาดเล็ก จำพวกไพรเมตชนิดหนึ่ง ในกลุ่มทาร์เซียร์ ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน เป็นสัตว์ที่พบได้ในหมู่เกาะฟิลิปปิน ได้แก่ เกาะโบฮอล, เกาะมินดาเนา, เกาะเลย์เต และเกาะซามาร์ เป็นต้น ตัวเต็มวัยมีความยาวลำตัวเพียง 10 เซนติเมตรกว่า น้ำหนักเพียง 120 กรัมเท่านั้น จัดเป็นไพรเมตที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน อาศัยอยู่ในป่าดิบ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะกินเนื้อสัตว์เป็นอาหารเท่านั้น เช่น แมลง เป็นอาหารหลัก รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานตัวเล็ก ๆ เช่น จิ้งจก, กิ้งก่าบิน เป็นต้น ทาร์เซียร์ฟิลิปปินโดยปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพังหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวพักผ่อนในโพรงไม้หรือตามซอกไม้ตามต้นไม้ใหญ่ แต่สามารถกระโดดได้อย่างว่องไวเหมือนกบในเวลากลางคืน อันเป็นเวลาหากิน ซึ่งทาร์เซียร์ฟิลิปปินจะร้องส่งเสียงเพื่อเป็นการสื่อสารกันเอง ซึ่งจากการศึกษาพบว่า เป็นสัตว์ที่ส่งเสียงออกมาในย่านความถี่อัลตร้าสูงมากถึง 2,000 เฮิรตซ์ หรือ 20 กิโลเฮิรตซ์ อันเป็นย่านความถี่ที่หูมนุษย์ไม่ได้ยิน แต่โดยปกติแล้วเสียงร้องของทาร์เซียร์ร์ฟิลิปปินส่วนใหญ่มีความถี่อยู่ที่ระดับ 70 เฮิร์ตซ์ โดยมีช่วงต่ำสุดและสูงสุด 67-79 กิโลเฮิรตซ์ นอกจากนี้แล้วยังมีความเป็นไปได้ว่า อาจใช้ระบบเอคโคโลเคชั่นในการหาตำแหน่งของอาหารเหมือนค้างคาวด้วยหรือไม่ เนื่องจากแม้ทาร์เซียร์ฟิลิปปินจะมีดวงตาที่กลมโต แต่ทว่าไม่มีทาพีตัม ลูซิเดี่ยม เหมือนสัตว์หากินตอนกลางคืนจำพวกอื่น ๆ ที่จะช่วยรวบรวมแสงในที่มืดทำให้มองเห็นได้ดียิ่งขึ้น สถานภาพปัจจุบันของทาร์เซียร์ฟิลิปปินอยู่ในภาวะถูกคุกคาม อันเกิดจากการถูกทำลายถิ่นที่อยู่ แต่ปัจจุบันทางการฟิลิปปินส์ได้ทำการอนุรักษ์ และใช้เป็นตัวประชาสัมพันธ์ในเรื่องการท่องเที่ยวThe Real Gremlin, "Nick Baker's Weird Creatures".
ทาแมนดัว
ทาแมนดัว เป็นตัวกินมดสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tamandua ซึ่งคำว่า tamanduá นี้เป็นภาษาตูเปียนแปลว่า "ตัวกินมด" ทาแมนดัว เป็นตัวกินมดที่มีขนาดกลาง มีความยาวเต็มที่ตั้งแต่ปลายปากจรดหางราว 100 เซนติเมตร หรือ 1 เมตร ทาแมนดัวมีลิ้นที่เรียวยาวสามารถยืดหดเข้าไปในปากได้อย่างรวดเร็ว เพื่อตวัดเอาแมลงขนาดเล็กกินเป็นอาหาร ทาแมนดัว มีขนปกคลุมตลอดทั้งลำตัวและมีผิวหนังที่หนาเพื่อป้องกันตัวจากการถูกกัดหรือโจมตีโดยแมลงที่เป็นอาหาร แต่ปลายหางของทาแมนดัวนั้นเป็นเกล็ดขนาดเล็ก ๆ ซึ่งปลายหางนั้นสามารถใช้เกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้หรือต้นไม้ได้เป็นอย่างดี เมื่อแลมองไกล ๆ จะเหมือนกับว่ามีแขนที่ 5 เนื่องจากทาแมนดัวเป็นตัวกินมดที่หากินและใช้ชีวิตอยู่บนต้นไม้เป็นหลัก มีกรงเล็บตีนหน้าที่แหลมคม ใช้สำหรับขุดคุ้ยหาแมลงกิน และใช้ในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งทาแมนดัวเมื่ออาศัยหรือเข้าไปหากินในพื้นที่ใด ๆ ลิงหลายชนิดก็จะไม่เข้าใกล้ และจะหนีไป เนื่องจากทาแมนดัวเป็นตัวกินมดที่หากินบนต้นไม้เป็นหลัก ดังนั้นอาหารที่กินส่วนใหญ่จะเป็น มด มากกว่าจะเป็นปลวก ซึ่งเป็นแมลงที่ทำรังบนพื้นดินมากกว่า และถึงแม้ว่าทาแมนดัวจะไม่มีฟัน แต่เมื่อถูกคุกคามหรือถูกจับด้วยมนุษย์ ก็จะหันมากัดด้วยกราม ซึ่งทำให้นักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาทาแมนดัวต้องสวมเครื่องป้องกันตลอดทั้งแขน นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่จะยืนด้วย 2 ขาหลังได้ โดยยกกรงเล็บตีนหน้าขึ้นเพื่อการป้องกันตัว ทาแมนดัว เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ในป่าดิบตั้งแต่อเมริกากลาง จนถึงทวีปอเมริกาใต้ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนเป็นหลัก แต่ก็สามารถหากินในเวลากลางวันได้ด้วยเช่นกัน โดยปกติเป็นสัตว์ที่พบเห็นตัวได้ยาก เนื่องจากค่อนข้างเก็บตัวและขี้อาย และจากการค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ พบว่า ทาแมนดัวยังใช้กรงเล็บหน้าในการผ่าลูกปาล์มที่เพิ่งสุกแยกออก เพื่อใช้ลิ้นตวัดกินน้ำและเนื้อผลของลูกปาล์มกินเป็นอาหารได้อีกด้วย ซึ่งพฤติกรรมนี้เชื่อว่าเป็นพฤติกรรมที่มาจากการเรียนรู้ หรือสั่งสอนกันมาจากรุ่นต่อรุ่น เพื่อเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม.
ที่สุดในโลก
ติที่สุดในโลก ในเรื่องต่าง.
ที่ดิน
ที่ดิน คือทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพย์สินที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ การครอบครองที่ดิน ต้องมีหลักฐานเอกสารต่างๆ ที่ออกให้โดยหน่วยงานราชการ เช่น โฉนดที่ดิน, นส.
ดู ป่าและที่ดิน
ดัม-มะ-ชา-ติ (อัลบั้ม)
ัม-มะ-ชา-ติ เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 6 ของวงร็อค บอดี้สแลม และเป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ที่ออกกับค่ายจีนี่เรคอร์ดส ใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อัลบั้มนี้มี พูนศักดิ์ จตุระบุล (อ๊อฟ บิ๊กแอส) เป็นโปรดิวเซอร.
ดู ป่าและดัม-มะ-ชา-ติ (อัลบั้ม)
ดัค
ัค (Douc, Douc langur; เป็นภาษาเวียดนามหมายถึง "ลิง") เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pygathrix อยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นค่างจำพวกหนึ่ง ที่มีสีสันตามลำตัวสวยงาม โดยเฉพาะหน้าแข้งที่เป็นสีแดงเข้ม พบกระจายพันธุ์ในป่าดิบพรมแดนระหว่างประเทศลาวและเวียดนาม หางมีความยาว มีพฤติกรรมกินใบไม้และดอกไม้เป็นอาหารหลักได้หลากหลายถึง 450 ชนิด และพบได้ในพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 200-1,400 เมตร แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด โดยจำแนกตามลักษณะสีขนที่แตกต่างออกไป (ในข้อมูลบางแหล่งจัดให้มีมากถึง 5 ชนิด แต่ปัจจุบันถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rhinopithecus และในข้อมูลเก่าจัดให้มีเพียงชนิดเดียวแต่แบ่งเป็นชนิดย่อยของกันและกัน) ได้แก.
ดู ป่าและดัค
ดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionária
อะเมซิ่ง เรซ: A Corrida Milionária (The Amazing Race: The Million Dollar Race; ดิ อะเมซิ่ง เรซ: การแข่งขันสู่เงินล้าน) เป็นเวอร์ชันบราซิลของรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ โดยมีพิธีกรประจำรายการคือโรนี่ เซิร์ฟเวอร์โร่ รายการนี้มีการผลิตและออกอากาศเป็นอิสระ ในช่วงที่ต้องมีการซื้อเวลาของเครือข่ายโทรทัศน์บราซิล RedeTV! สำหรับรายการนี้เริ่มออกอากาศในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ป่าและดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionária
ด้วงกว่าง
้วงกว่าง หรือ กว่าง หรือ แมงกว่าง หรือ แมงกวาง หรือ แมงคาม เป็นแมลงในวงศ์ย่อย Dynastinae จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Scarabaeidae ในอันดับแมลงปีกแข็ง (Coleoptera).
ด้วงกว่างญี่ปุ่น
้วงกว่างญี่ปุ่น (Japanese rhinoceros beetle, Japanese horned beetle, Korean horned beetle, カブトムシ, โรมะจิ: Kabutomushi) เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Allomyrina dichotoma อยู่ในวงศ์ด้วงกว่าง (Dynastinae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Allomyrina นับเป็นด้วงกว่างอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะเด็ก ๆ ชาวญี่ปุ่น ซึ่งสามารถใช้ขวิดต่อสู้กันได้ ด้วงกว่างญี่ปุ่นมีจุดเด่น คือ เขาล่างมีความใหญ่กว่าเขาด้านบน โดยที่ปลายเขาจะมีแขนงแตกออกเป็น 2 แฉกด้วย มีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและป่าเบญจพรรณในทวีปเอเชีย เช่น อนุทวีปอินเดีย และจะพบมากที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, จีนแผ่นดินใหญ่, เกาหลี, ภาคเหนือของเวียดนาม เป็นต้น ในประเทศไทยพบได้ทางภาคเหนือของประเทศ อาทิ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย, อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง เป็นต้น (มีทั้งหมด 7 ชนิดย่อย แตกต่างกันที่ลักษณะของเขา–ดูในตาราง) ตัวผู้มีขนาดลำตัวใหญ่กว่าตัวเมียอย่างเห็นได้ชัด โดยตัวผู้มีขนาด 38.5-79.5 มิลลิเมตร ขณะที่ตัวเมียมีขนาด 42.2-54.0 มิลลิเมตร และไม่มีเขา หากินในเวลากลางคืนโดยกินยางไม้จากเปลือกของต้นไม้ใหญ่ในป่า ชอบเล่นไฟ แต่การต่อสู้กันของด้วงกว่างญี่ปุ่นจะแตกต่างไปจากด้วงกว่างชนิดอื่น ๆ คือ จะใช้เขาล่างในการงัดกันมากกว่าจะใช้หนีบกัน ผสมพันธุ์และวางไข่ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศ คือ มีมูลสัตว์และซากไม้ผุผสมอยู่ ใช้เวลาฟักเป็นตัวหนอนราว 1 เดือน จากระยะตัวหนอนใช้เวลา 6-8 เดือนจึงจะเข้าสู่ช่วงดักแด้ซึ่งจะมีช่วงอายุราว 19-28 วัน จึงจะเป็นตัวเต็มวัยออกมาจากดิน ซึ่งตัวเต็มวัยมีอายุราว 2-3 เดือนเท่านั้น รวมช่วงชีวิตแล้วทั้งหมดประมาณ 1 ปี นับได้ว่าใกล้เคียงกับด้วงกว่างโซ้ง (Xylotrupes gideon) ซึ่งเป็นด้วงกว่างชนิดที่พบได้มากที่สุดในประเทศไทย โดยเมื่อตัวเต็มวัยจะปริตัวออกจากเปลือกดักแด้ ช่องดักแด้ในดินมักจะอยู่ในแนวตั้งเพื่อมิให้ไปกดทับปีกที่จะกางออก ซึ่งต้องใช้เวลาอีกหลายชั่วโมงกว่าปีกจะแข็งและสีของลำตัวจะเข้มเหมือนตัวเต็มวัยที่โตเต็มที่ ในช่วงฤดูร้อนของประเทศญี่ปุ่น (ราวกลางเดือนมิถุนายน-กันยายน) จะตรงกับด้วงกว่างญี่ปุ่นเป็นตัวเต็มวัยพอดี บางท้องที่ เช่น ทาซากิ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือราว 130 กิโลเมตร จากกรุงโตเกียว ถึงกับมีเทศกาลของด้วงกว่างชนิดนี้ โดยราคาซื้อขายมีตั้งแต่ 500-28,000 เยน (190-10,000 บาท) ด้วงกว่างญี่ปุ่นเป็นแมลงปีกแข็งที่เป็นนิยมอย่างมากในวัฒนธรรมร่วมสมัยของญี่ปุ่นหลายประการ อาทิ อะนิเมะเรื่อง มูชิคิง ตำนานผู้พิทักษ์ป่า (Mushiking: Battle of the Beetles, 甲虫王者ムシキング) เป็นต้น และถูกอ้างอิงถึงในอีกหลายเรื่องด้วยกัน ซึ่งในภาษาญี่ปุ่น ด้วงกว่างญี่ปุ่นจะถูกเรียกว่า "คาบูโตะมูชิ" ซึ่งคำว่า "คาบูโตะ" (甲虫) หมายถึง หมวกเกราะอันเป็นส่วนหนึ่งของชุดเกราะญี่ปุ่นแบบโบราณ.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem.) ที่แตกต่างหลากหลายบนจักรวาล ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุ์ต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสายพันธุ์ต่างๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่พันธุ์เนื้อ ไก่พันธุ์ไข่ดก วัวพันธุ์นม และวัวพันธุ์เนื้อ เป็นต้น ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และวัวแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลำเลียง (vascular plant) ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงนี้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาศัยแตกต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถิ่นที่อยู่อาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ 'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ทำหน้าที่ดูดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น.
ดู ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพ
คางคกบ้าน
งคกบ้าน (Asian common toad, Black-spined toad) หรือ ขี้คันคาก ในภาษาอีสานและภาษาลาว หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า คางคก เป็นสัตว์ในวงศ์คางคก (Bufonidae) ชนิดหนึ่ง จัดว่าเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ มีผิวหนังที่แห้งและมีปุ่มปมทั้งตัว ที่เป็นปุ่มพิษ โดยเฉพาะหลังลูกตา มีรูปทรงกลมคล้ายเมล็ดถั่วขนาดยาวประมาณ 25 มิลลิเมตร กว้าง 10 มิลลิเมตร แผ่นหูมีลักษณะเห็นได้ชัดเจน ขนาดเล็กกว่าลูกตาเล็กน้อย มีสีผิวหนังเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทาตลอดทั้งลำตัว บริเวณรอบปุ่มพิษจะมีสีเข้มกว่าบริเวณอื่น ๆ ใต้ท้องเป็นสีน้ำตาลเหลืองอ่อน ในขณะที่ยังเป็นวัยอ่อนจะเป็นสีขาวซีดกว่า มีขนาดวัดจากปลายปากจนถึงก้นประมาณ 68-105 มิลลิเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในวงกว้างในทวีปเอเชีย ตั้งแต่แนวเทือกเขาหิมาลัย, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ และพบได้ทั่วไปในทุกสภาพแวดล้อม ทั้งในเมืองใหญ่และในป่าดิบ เป็นสัตว์ที่ไม่อยู่ใกล้กับแหล่งน้ำยกเว้นการผสมพันธุ์และวางไข่ จะมีฤดูผสมพันธุ์และวางไข่ในช่วงฤดูร้อนจนถึงปลายฤดูฝน (มีนาคม-กันยายน) เป็นสัตว์ที่กินแมลงและอาหารได้หลากหลายมาก พบชุกชุมในช่วงฤดูฝน คางคก มักเป็นสัตว์ที่มีผู้นิยมรับมารับประทานทั้ง ๆ ที่มีพิษ มักมีผู้เสียชีวิตบ่อย ๆ จากการรับประทานเข้าไป โดยเชื่อว่าเป็นยาบำรุงและรักษาโรคต่าง ๆ ได้ โดยพิษของคางคกนั้นไม่สามารถทำให้หายไปได้ด้วยความร้อน.
คางคกซูรินาม
งคกซูรินาม (Surinam toad, star-fingered toad; Aparo, Rana comun de celdillas) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์กบเล็บ (Pipidae) มีลักษณะเด่น คือ ลำตัวมีลักษณะแบนคล้ายสี่เหลี่ยม ส่วนหัวเป็นสามเหลี่ยม มีสีเทาถึงสีน้ำตาลเข้ม ขนาดใหญ่ได้ถึง 20 เซนติเมตร แต่โดยทั่วไปจะมีขนาด 10-13 เซนติเมตร ทำให้แลดูเผิน ๆ เหมือนใบไม้แห้ง หรือกบที่ถูกทับแบน มีพังพืดเชื่อมระหว่างนิ้วตีนหน้าขนาดเล็ก ทำให้นิ้วตีนแยกจากกันจนมีลักษณะคล้ายนิ้วแยกเป็นแฉกเหมือนดาว แต่ปลายนิ้วไม่มีเล็บ พบกระจายพันธุ์อยู่ในแหล่งน้ำในป่าดิบที่ราบต่ำของทวีปอเมริกาใต้ตอนบน โดยจะอาศัยหากินอยู่ในน้ำตลอดเวลา เนื่องจากไม่มีลิ้น จึงจะใช้ปากงับกินปลาหรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ เป็นอาหาร ลูกคางคกที่ฝังอยู่ในผิวหนังแม่ ตัวที่มีลำตัวสีเทา คางคกซูรินามมีพฤติกรรมที่เป็นที่น่าสนใจ คือ ตัวเมียเมื่อผสมพันธุ์กับตัวผู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวผู้จะว่ายขึ้นสู่ด้านบนของหลังตัวเมีย เพื่อนำไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิแล้ววางลงบนหลังตัวเมีย ซึ่งจะมีไข่ทั้งหมดราว 60-100 ฟอง ไข่จะฝังลงบนหลังของตัวเมีย ผ่านไป 10 วัน ไข่จะฟักเป็นลูกอ๊อด แต่ยังไม่ออกมาจากหลัง จนกระทั่งผ่านไปราว 10-20 สัปดาห์ที่พัฒนาเหมือนตัวเต็มวัยที่มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จะผุดโผล่มาจากหลังตัวเมียจนผิวบนหลังเป็นรูพรุนเต็มไปหมด และแยกย้ายออกไปใช้ชีวิตเอง ด้วยลักษณะและพฤติกรรมที่แปลกเช่นนี้ ทำให้คางคกซูรินามได้รับความนิยมในการถ่ายทำเป็นสารคดี และเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในตู้ปล.
คู่ซี้ต่างพันธุ์
ู่ซี้ต่างพันธุ์ (One A Stormy Night) ออกฉายเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับแพะและหมาป่าที่เป็นมิตรกัน.
ค่างแว่นถิ่นใต้
งแว่นถิ่นใต้ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Trachypithecus obscurus) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกค่าง ลักษณะทั่วไปคล้ายค่างแว่นถิ่นเหนือ (T.
ค่างแว่นโฮส
งแว่นโฮส (Miller's grizzled langur, Hose's langur, Gray leaf monkey) เป็นค่างชนิด Presbytis hosei มีขนบริเวนใบหน้าสีดำและมีขนปุกปุยสีขาวคล้ายสวมเสื้อคลุมตั้งแต่คางลงไปตลอดหน้าท้อง จมูกและริมฝีปากสีชมพู มีสีขาวเป็นวงรอบดวงตาคล้ายสวมแว่นตา มีหางยาว มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ค่างแว่นโฮสเป็นสัตว์ที่ตกอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยในธรรมชาติถูกทำลายลงจากการบุกรุกตัดไม้ทำลายป่าของมนุษย์และไฟป่า รวมทั้งฆ่าเพื่อเอาหินบีซอร์ที่อยู่ในกระเพาะเพื่อใช้ในทำพิธีกรรมทางเวทมนตร์ตามความเชื่อ อันเนื่องจากค่างจะกินหินบีซอร์ลงไปเพื่อช่วยในการย่อยอาหาร โดยจะพบได้เฉพาะทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา และคาบสมุทรมลายูเท่านั้น ในต้นปี ค.ศ.
ค้างคาวหน้ายักษ์กุมภกรรณ
้างคาวหน้ายักษ์กุมภกรรณ (lesser great leaf-nosed bat หรือ lesser roundleaf bat; ชื่อวิทยาศาสตร์: Hipposideros turpis) เป็นสายพันธุ์ค้างคาวในวงศ์ค้างคาวหน้ายักษ์ ซึ่งพบในประเทศญี่ปุ่น, ไทย และเวียดนาม ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของพวกมันคือป่าเขตอบอุ่น และค้างคาวชนิดนี้ได้ถูกคุกคามโดยการทำลายถิ่นฐานธรรมชาต.
ดู ป่าและค้างคาวหน้ายักษ์กุมภกรรณ
ค้างคาวผลไม้
้างคาวผลไม้ (Megabat, Fruit bat) เป็นอันดับย่อยของค้างคาวอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Megachiroptera โดยแบ่งออกไปได้เพียงวงศ์เดียว คือ Pteropodidae ลักษณะโดยรวมของค้าวคาวในอันดับและวงศ์นี้ ก็คือ มีความยาวได้ถึง 16 นิ้ว ระยะกางปีกสามารถกว้างได้ถึง 5 ฟุต มีจมูกยาว หูเล็ก ดวงตาที่โต ใบหน้าคล้ายกับหมาจิ้งจอก มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ลูกค้างคาวจะถือกำเนิดขึ้นในช่วงต้นของฤดูร้อน ตัวเมียหนึ่งตัวจะให้กำเนิดลูกค้างคาวหนึ่งตัว มักจะอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นอาณานิคมใหญ่ โดยปกติแล้วตัวผู้หนึ่งตัวจะอาศัยอยู่ร่วมกับตัวเมียได้ถึง 8 ตัว ออกหากินในเวลากลางคืน บินเป็นเส้นตรง เนื่องจากใช้สายตาเป็นเครื่องนำทาง มูลที่ถ่ายออกมาไม่เป็นก้อน เพราะกินพืชเป็นหลัก มักพบในพื้นที่ป่าทึบ หรือป่าที่ใกล้กับชุมชน หากินในเวลากลางคืน โดยที่จะห้อยหัวอยู่กับกิ่งไม้ในเวลากลางวัน โดยกินอาหาร คือ ผลไม้และน้ำหวานจากดอกไม้ และจะกินใบไม้หากผลไม้และดอกไม้นั้นขาดแคลน เป็นค้างคาวที่พบได้ทั่วทุกภูมิภาคของโลก ยกเว้นแถบขั้วโลก ในประเทศไทยชนิดที่รู้จักกันดี ก็คือ ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Pteropus vampyrus) จัดเป็นศัตรูพืชของเกษตรกรชนิดหนึ่ง.
ค้างคาวขอบหูขาวเล็ก
้างคาวขอบหูขาวเล็ก (อังกฤษ: Lesser Short-nosed Fruit Bat, Common Short-nosed Fruit Bat) ค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynopterus brachyotis อยู่ในวงศ์ค้างคาวผลไม้ (Pteropodidae) เป็นค้างคาวขนาดเล็ก มีจุดเด่นคือขอบใบหูทั้งสองข้างมีขอบสีขาวอันเป็นที่มาของชื่อ มีใบหน้าคล้ายสุนัข จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ค้างคาวหน้าหมา" (Lesser Dog-faced Fruit Bat) ขนตามลำตัวหลากหลายมีตั้งแต่สีเทาจาง, น้ำตาลจาง ๆ จนถึงน้ำตาลเข้ม มีน้ำหนักตัวตั้งแต่ 28-40 กรัม ค้างคาวตัวเมียตกลูกครั้งละ 1 ตัว พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่อินเดีย, ศรีลังกา, หมู่เกาะนิโคบาร์ในทะเลอันดามัน, จีนตอนใต้, เอเชียอาคเนย์ พบได้ในภูมิประเทศที่มีความหลากหลายมาก ตั้งแต่ป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,600 เมตร จนถึงชุมชนในเมืองใหญ่ และสวนผลไม้ต่าง ๆ โดยมักจะอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ตามต้นไม้ใหญ่หรือต้นผลไม้ กินอาหารจำพวก ผลไม้ เช่น มะม่วง และน้ำหวานจากเกสรดอกไม้ จึงนับเป็นศัตรูของผลไม้ด้วยชนิดหนึ่ง แต่ก็มีประโยชน์ในการผสมพันธุ์และแพร่กระจายละอองเกสรดอกไม้และผลไม้ สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภูมิภาค ยกเว้นภาคเหนือตอนบนและภาคอีสาน จากการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวาง ทำให้มีชนิดย่อยมากมายด้วยกันถึง 7 ชนิดย่อย คือ C.b.
ค้างคาวแวมไพร์
ำหรับแวมไพร์ที่หมายถึง ผีตามความเชื่อของชาวยุโรปยุคกลาง ดูที่: แวมไพร์ ค้างคาวแวมไพร์ หรือ ค้างคาวดูดเลือด (Vampire bat) เป็นค้างคาวกลุ่มหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้และอเมริกากลาง มีพฤติกรรมดูดเลือดสัตว์ชนิดอื่นเป็นอาหาร จากพฤติกรรมของทำให้ได้ชื่อว่าเป็นค้างคาวแวมไพร์ หรือค้างคาวดูดเลือด เหมือนแวมไพร์ ในความเชื่อของชาวยุโรปยุคกลาง ค้างคาวแวมไพร์ เป็นค้างคาวขนาดเล็กมีทั้งหมด 3 ชนิด ใน 3 สกุล จัดอยู่ในวงศ์ค้างคาวจมูกใบไม้โลกใหม่ (Phyllostomidae) เป็นค้างคาวที่ถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อ 26 ล้านปีก่อน โดยมีความสัมพันธ์กับค้างคาวกินแมลง มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ในถ้ำในป่าดิบ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะกินแต่เพียงเลือดของสัตว์เลือดอุ่นขนาดใหญ่กว่าเป็นอาหารเท่านั้น (บางชนิดจะกินนกเป็นอาหาร) โดยมีฟันแหลมคมซี่หน้าคู่หนึ่งกัด โดยมากสัตว์ที่ถูกดูดกิน จะเป็นปศุสัตว์ เช่น หมู หรือวัว เป็นต้น ซึ่งสายตาของค้าวคาวแวมไพร์จะมองเห็นเป็นภาพอินฟาเรด จากความร้อนของอุณหภูมิในร่างกายของเหยื่อ ทำให้มองเห็นในเวลากลางคืนได้ดีมาก และเป็นตัวนำไปสู่การเลือกตำแหน่งที่กัด ซึ่งจะเป็นอวัยวะส่วนต่าง ๆ เช่น ใบหู, ข้อศอก หรือหัวนม และขณะที่กัด ด้วยความคมของฟันประกอบกับมักจะกัดในเวลาที่เหยื่อนอนหลับ ทำให้เหยื่อไม่รู้ตัว และขณะที่ดูดเลือดอยู่นั้น ค้างคาวจะขับปัสสาวะไปด้วย เนื่องจากจะดูดเลือดในปริมาณที่มาก ทำให้ไม่สามารถบินได้ โดยปริมาณเลือดที่ค้างคาวดูดไปนั้น หากคำนวณว่าดูดเลือดหมูทุกคืน ภายในเวลา 5 เดือน จะมีปริมาณเท่ากับน้ำหนัก 5 แกลลอน ซึ่งเลือดที่ไหลออกมานั้นจะไหลผ่านลิ้นของค้างคาวที่มีร่องพิเศษช่วยให้เลือดไหลผ่านหลอดเลือดฝอยได้โดยง่าย และในน้ำลายค้างคาวจะมีเอนไซม์ทำให้เลือดไม่แข็งตัว ซึ่งค้างคาวแวมไพร์ก็อาจดูดเลือดมนุษย์ได้ด้วยเช่นกันในเวลาหลับ และถึงแม้จะน่ากลัว แต่ค้างคาวแวมไพร์ก็มีความผูกพันกับลูก พ่อและแม่ค้างคาวจะเลี้ยงดูลูกค้างคาวที่ยังบินไม่ได้นานถึง 9 เดือน โดยจะนำเลือดที่ดูดเหลือกลับมาฝาก และฝากไปยังค้างคาวตัวอื่น ๆ ในฝูงที่หากินได้ไม่อิ่มพอด้วย นอกจากนี้แล้ว ค้างคาวแวมไพร์ยังเป็นพาหะนำโรคกลัวน้ำ หรือโรคพิษสุนัขบ้า ที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตได้ด้ว.
ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดา
้างคาวแวมไพร์ธรรมดา หรือ ค้างคาวดูดเลือดธรรมดา (Common vampire bat, Vampire bat) เป็นค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Desmodus rotundus (/เดส-โม-ดัส /โร-ทัน-ดัส/) จัดเป็นค้างคาวเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Desmodus เป็นค้างคาวแวมไพร์หรือค้างคาวดูดเลือด 1 ใน 3 ชนิดที่มีในโลก แต่ถือเป็นเพียงชนิดเดียวที่ดูดเลือดของสัตว์อื่นที่มีขนาดใหญ่กว่ากินเป็นอาหารเท่านั้น จัดว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่กินเลือดเป็นอาหาร กระจายพันธุ์ในป่าดิบตั้งแต่อเมริกากลาง จนถึงทั่วไปในหลายพื้นที่ของทวีปอเมริกาใต้ ลักษณะทั่วไปของค้าวคาวแวมไพร์ธรรมดา คือ จะมีปากสั้นรูปกรวย ไม่มีปีกจมูกทำให้เผยเห็นโพรงจมูกเป็นรูปตัวยู และมีอวัยวะพิเศษ เรียกว่า "Thermoreceptors" ติดอยู่ที่ปลายจมูก สำหรับใช้ช่วยตรวจหาบริเวณที่มีเลือดไหลได้ดีใต้ผิวหนังของเหยื่อ อีกทั้งยังมีสายตาที่มองเห็นเป็นภาพอินฟาเรด จากอุณหภูมิความร้อนของตัวเหยื่อ และทำให้เห็นดีมากในเวลากลางคืน ซึ่งเป็นเวลาออกหากิน ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้Delpietro V.
งูเขียวหัวจิ้งจก
งูเขียวหัวจิ้งจก หรือ งูเขียวปากจิ้งจก (Oriental whipsnake) เป็นงูที่มีพิษอ่อนมากชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ahaetulla prasina ในวงศ์ Colubridae มีลักษณะลำตัวเรียวยาว หัวหลิม ปลายปากแหลม ขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 2 เมตร พื้นลำตัวโดยมากเป็นสีเขียว มักจะมีเส้นสีขาวข้างลำตัวบริเวณแนวต่อระหว่างเกล็ดตัวกับเกล็ดท้อง เส้นขาวยาวตั้งแต่บริเวณคอ จนถึงโคนหาง ท้องขาว ส่วนหางตั้งแต่โคนหางถึงปลายหางจะมีสีน้ำตาลหรือสีชมพู ตามีขนาดใหญ่ ม่านตาอยู่ในแนวนอน อาศัยอยู่ตามต้นไม้ พบทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ในป่าทุกประเภท แม้กระทั่งสวนสาธารณะหรือสวนในบริเวณบ้านเรือนของผู้คนที่อยู่ในเมือง มีพิษอ่อนมาก โดยพิษจะสามารถทำอันตรายได้เฉพาะสัตว์เล็กที่เป็นอาหาร เช่น จิ้งจก, กิ้งก่า, นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เป็นต้น ขณะที่ลูกงูจะกินแมลงเป็นอาหาร โดยเป็นงูที่ออกลูกเป็นตัว ระยะเวลาการตั้งท้อง 4 เดือน ออกลูกได้ครั้งละ 6-10 ตัว การผสมพันธุ์จะเริ่มขึ้นในช่วงต้นฤดูฝน งูเขียวหัวจิ้งจก มีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกับงูอีก 2 ชนิด ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน คือ งูเขียวปากแหนบ (A.
ตะกวด
ตะกวด, จะกวด หรือ จังกวด (อีสาน, ลาว, ใต้, เหนือ: แลน; เขมร: ตฺรอกวต) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลังชั้นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายเหี้ย (V.
ดู ป่าและตะกวด
ตะกวดบิตาตาวา
ตะกวดบิตาตาวา (Bitatawa monitor, Northern Sierra Madre Forest monitor lizard) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในวงศ์เหี้ย (Varidae) ที่เพิ่งค้นพบเมื่อปี..
ตะกอง
ตะกอง หรือ ลั้ง หรือ กิ้งก่ายักษ์ (Chinese water dragon) เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย มีรูปร่างทั่วไปคล้ายอีกัวน่าที่พบในอเมริกากลางและอเมริกาใต้.
ดู ป่าและตะกอง
ตำบลมหาวัน
"ตำบลมหาวัน" เดิมเป็นหมู่บ้านหมู่หนึ่งของ ตำบลแม่กุ อำเภอแม่สอด มีผู้มาอยู่คนแรก ชื่อ นายมหาวัน ไม่ปรากฏนามสกุล ประมาณ..
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ
ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.
ดู ป่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ
ตุ๊กแก
ตุ๊กแก (Geckos, Calling geckos, Tropical asian geckos, True geckos) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Gekkoninae ในวงศ์ใหญ่ Gekkonidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gekko (/เก็ก-โค/) โดยสัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้ จะอาศัยอยู่ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ส่วนใหญ่มีสีสันและลวดลายบนลำตัว วางไข่ครั้งละ 2 - 7 ฟอง พบได้ทั้งในบ้านเรือนของมนุษย์และในป่าดิบ โดยปกติแล้วจะมีขนาดความยาวมากกว่า 10 เซนติเมตร มีรูปร่างที่แตกต่างกันหลากหลาย ส่วนใหญ่หากินบนต้นไม้และใต้นิ้วเท้ามีแผ่นหนังเรียงต่อกัน ที่มีเส้นขนจำนวนมาก ซึ่งแต่ละเส้นยาวประมาณ 60-90 ไมครอน ส่วนปลายของเส้นขนแตกแขนงและขยายออกเป็นตุ่ม เรียกว่า "เซต้า" ใช้สำหรับยึดเกาะติดกับผนังได้โดยแรงวานเดอร์วาลส์ โดยชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ตุ๊กแกบ้าน (G.
ดู ป่าและตุ๊กแก
ตุ๊กแกบิน
ตุ๊กแกบิน (Flying geckos, Parachute geckos, Gliding geckos) เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่อยู่ในอันดับ Squamata ในวงศ์ตุ๊กแกและจิ้งจก (Gekkonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ptychozoon.
ตุ๊กแกบินหางแผ่น
ตุ๊กแกบินหางแผ่น (Kuhl's flying gecko; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ptychozoon kuhli) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งจำพวกตุ๊กแก มีรูปร่างคล้ายจิ้งจกบ้านทั่วไป แต่มีขนาดใหญ่กว่า มีความลำตัวประมาณยาว 9.5 เซนติเมตร หางยาว 9.5 เซนติเมตร มีพังผืดยึดระหว่างนิ้วเท้า ใต้เท้ามีแผ่นยึดเกาะเรียงเป็นแถวเดี่ยว ปลายนิ้วมีเล็บ มีแผ่นหนังแผ่กว้างออกมาจากข้างแก้มและลำตัวทำหน้าที่เหมือนปีกเครื่องร่อน หางแบนขอบหางหยัก ปลายหางแผ่เป็นแผ่นกว้างขอบเรียบและกว้างกว่าหาง ส่วนที่เป็นหยัก สันหางมีตุ่ม ลำตัวสีน้ำตาลหรือเทา มีแถบเข้มพาดขวางบนหลัง 4 แถบ หางมีลายพาด พบในป่าดิบในภาคใต้ของไทย ตั้งแต่จังหวัดนครศรีธรรมราช, จังหวัดปัตตานี พบได้จนถึงภาคเหนือของมาเลเซียจนถึงสิงคโปร์, หมู่เกาะนิโคบาร์ในอินโดนีเซีย นอกจากนี้ยังพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียที่ติดกับพม่า และพบที่อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ทางภาคเหนือของไทยอีกด้วย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานเช่นเดียวกับตุ๊กแกบินหางเฟิน (P.
ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น
กะโหลกซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น (Japanese giant salamander; オオサンショウウオ, ハンザキ–โอซานโชอูโอ, ฮานซะกิ) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Andrias japonicus จัดอยู่ในวงศ์ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ (Cryptobranchidae).
ดู ป่าและซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น
ซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีน
ซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีน (Chinese giant salamander; จีนตัวย่อ: 娃娃鱼; พินอิน: wāwāyú–หว่าหว้าหวี่ หมายถึง "ปลาทารก") เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน มีลักษณะรูปร่างหัวกลมแบนใหญ่ ลำตัวแบน ตาเล็กมาก ปากกว้างมาก ภายในปากมีฟันขนาดเล็กจำนวนมาก ที่สามารถใช้ขบกัดได้เป็นอย่างดี หางยาวมีแผ่นหนังคล้ายครีบ ขาสั้น 4 ข้าง มีนิ้ว 4 นิ้ว ลำตัวสีน้ำตาลกระหรือดำและสามารถเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อม โดยถือว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยู่บนโลกเป็นเวลากว่า 300 ล้านปีมาแล้ว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึงเกือบ 2 เมตร อาศัยอยู่เฉพาะลำธารน้ำที่มีคุณภาพน้ำในเกณฑ์ดี สภาพน้ำไหลแรง มีอุณหภูมิต่ำในป่าดิบทางตอนกลางและตอนใต้ของจีนเท่านั้น เช่น มณฑลส่านซี, มณฑลชิงไห่, มณฑลเสฉวน, มณฑลกวางตุ้ง, มณฑลเจียงซู และมณฑลกวางสี เป็นต้น หากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวก ปลาและสัตว์มีกระดองชนิดต่าง ๆ โดยปกติแล้วเป็นสัตว์ที่อยู่อย่างสงบ แต่สามารถจะฉกกัดได้อย่างรุนแรงและดุร้ายเมื่อถูกรบกวน มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน วางไข่ได้ครั้งละ 500 ฟอง โดยที่ตัวผู้เป็นผู้ดูแล ไข่มีใช้เวลาฟักประมาณ 50-60 วัน และมีอายุยืนได้ถึง 30 ปี ซึ่งบางตัวพบมีสภาพเป็นอัลบิโน่ด้วย ในปลายปี..
ประวัติศาสนาพุทธ
นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.
ประเทศฟีจี
ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.
ประเทศพม่า
ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ประเทศปาปัวนิวกินี
ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).
ปลาพลวงทอง
ปลาพลวงทอง (Golden mahseer, Gold soro brook carp) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในกลุ่มปลามาห์เซียร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Neolissochilus soroides อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะคล้ายปลาพลวงหิน (N.
ปลากัดอัลบิ
ปลากัดอัลบิ เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) จัดเป็นปลากัดประเภทอมไข่ มีรูปร่างยาว หัวมีขนาดใหญ่ มีจุดเด่น คือ สีตลอดทั้งลำตัวเป็นสีแดงเข้ม มีลักษณะคล้ายกับปลากัดชานอยเดส (B.
ปลากดเกราะ
ปลากดเกราะ (Atipa, Brown hoplo) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในอันดับปลาหนัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hoplosternum littorale ในวงศ์ปลาแพะ (Callichthyidae) มีลำตัวป้อม ค่อนข้างแบนข้าง ส่วนหัวกลมมน มีหนวดสองคู่ ลำตัวปกคลุมด้วยแผ่นกระดูกสองแถวเรียงสานกัน ลำตัวด้านบนสีเทาอมเขียว ด้านหลังสีเทาอมสีเหลืองทอง ครีบทั้งหมดเป็นสีเทาดำ ครีบอกสีเหลืองทองโดยส่วนเงี่ยงจะมีสีเหลืองเข้มกว่าก้านครีบ มีความยาวสูงสุดราว 24 เซนติเมตร เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางมากในทวีปอเมริกาใต้ โดยสามารถพบได้ในลุ่มแม่น้ำในกรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ภาคเหนือของเวเนซุเอลา ตลอดจนพบเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในรัฐฟลอริดา ของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย เป็นปลาที่หากินบริเวณพื้นน้ำ อาหารได้แก่ หนอนแดงและซากอินทรีย์สาร แต่จะเปลี่ยนไปกินแมลงและสัตว์มีกระดองขนาดเล็กในช่วงฤดูแล้ง ปลาจะเริ่มผสมพันธุ์ในช่วงต้นฤดูฝน โดยจะสร้างหวอดคล้ายกับปลากัด ซึ่งทั้งเพศผู้และเพศเมียจะร่วมกันสร้างขึ้นมา ด้วยการเสียดสีร่างกายของกันและกัน หลังจากวางไข่แล้ว ปลาเพศผู้จะทำหน้าที่ดูแลปกป้องไข่ จนกระทั่งฟักออกเป็นตัวแล้วประมาณสองวันถัดมา จึงปล่อยให้หากินตามลำพัง เป็นปลาที่มักพบในแหล่งน้ำที่มีอุณหภูมิประมาณ 18-26 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรด-ด่างประมาณ 5.9-7.2 (pH) ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำและบึง ที่เป็นแหล่งน้ำนิ่งซึ่งมีปริมาณออกซิเจนละลายอยู่ค่อนข้างต่ำ หรือในป่าที่มีน้ำท่วมเกือบทั้งปี ปลากดเกราะ ถือเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่งในทวีปอเมริกาใต้ นิยมบริโภคกันทั่วไป ในตรินิแดดและเฟรนช์เกียนา มีการเพาะเลี้ยงกันด้วย อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า Camboatám และ Tamboatá.
ปลาผีตุ่น
ปลาผีตุ่น (White knifefish, Oddball knifefish, White trumpet knifefish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแบล็คโกสต์ (Apteronotidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Orthosternarchus โดยที่ปลาชนิดนี้ถูกค้นพบโดย จอร์จ อัลเบิร์ต บุลเลเยอร์ ในปี ค.ศ.
ปลาจาดแถบดำ
ปลาจาดแถบดำ หรือ ปลาตะเพียนสมพงษ์ เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Poropuntius melanogrammus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวสั้น ปากเรียวเล็ก ริมฝีปากล่างเป็นขอบแข็งและคม ลำตัวสีเงินแวววาว ด้านบนสีคล้ำหรืออมม่วง ครีบมีสีแดงเรื่อ ๆ ครีบหางเว้าลึกมีขอบด้านบนสีคล้ำหรือสีแดงส้ม ครีบหลังสูง มีขนาดความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เป็นปลาที่เพิ่งถูกอนุกรมวิธานในปี พ.ศ.
ปลาตะพัดพม่า
ปลาตะพัดพม่า หรือ ปลาตะพัดลายงู (Blue arowana, Myanmar arowana, Batik myanmar arowana) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae).
ปลาตะพากเหลือง
ปลาตะพากเหลือง หรือ ปลาตะพากทอง (Golden-bellied barb) เป็นปลาน้ำจืดจำพวกปลาตะพากชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาตะพากชนิดที่พบได้หลากหลายและเป็นที่รู้จักกันดีที.
ปลาตะเพียนจุด
ปลาตะเพียนจุด (Spotted barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่าง คือ ลำตัวแบนข้าง สันหลังโค้งเล็กน้อย หัวมีขนาดปานกลาง ปากแคบ มีหนวดยาว 2 คู่ โดยอยู่ที่จะงอยปาก 1 คู่ มุมปาก 1 คู่ ลำตัวมีสีเงินแวววาว มีจุดสีดำเป็นทรงกลมที่ครีบหลังและคอดหางแห่งละ 1 จุด เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร พบทั่วไปได้ที่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ตั้งแต่ พม่า, ไทย, มาเลเซีย ไปจนถึงอินโดนีเซีย สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ง่ายบริเวณแหล่งน้ำที่เป็นลำธารหรือน้ำตกในป่าดิบ เช่น จังหวัดเชียงใหม่, นครศรีธรรมราช, จันทบุรี, ตราด, ชุมพร, เกาะช้าง และเกาะสมุย เป็นต้น มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินตะไคร่น้ำและอินทรียสารตามโขดหินและพื้นน้ำ รวมทั้งแมลงน้ำขนาดเล็ก นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่ออยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN Red List) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ หรือ LC.
ปลาตะเพียนแคระ
ปลาตะเพียนแคระ (Pygmy barb) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายคล้ายกับปลาตะเพียน แต่ลำตัวเรียวยาวกว่า ตาโต ปากมีขนาดเล็ก ไม่มีหนวด เกล็ดมีขนาดใหญ่ ลำตัวใสมีสีเหลืองหรือสีน้ำตาลอ่อน ครีบใส ปลายครีบมีสีดำคล้ำ ตัวผู้มีครีบหลังใหญ่กว่าตัวเมีย ครีบก้นมีแต้มสีดำ ด้านหลังมีสีจาง ๆ มีขนาดความยาว 3-4 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นอย่างหนาแน่นในป่าที่ราบต่ำหรือป่าพรุ พบในภาคตะวันออกและภาคใต้ไทย โดยพบได้ตั้งแต่ตอนเหนือของแหลมมลายู จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย กินอหารจำพวก สัตว์น้ำหน้าดินและอินทรียสารต่าง ๆ เป็นอาหาร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.
ปลาซิวตาเขียว
ปลาซิวตาเขียว หรือ ปลาซิวเขียว (Yellow neon rasbora, Green neon rasboara) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลำตัวสั้นและแบนข้างมากกว่าปลาซิวทั่ว ๆ ไป ตามีขนาดกลมโต ไม่มีหนวด เกล็ดมีขนาดเล็กสีเงินแววาวอมเหลืองอ่อน ตามีสีเหลือบเขียวอ่อน ลำตัวค่อนข้างใส ครีบใส ครีบหางมีขอบสีคล้ำ มีขนาดโดยทั่วไป 2-3 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ใกล้กับบริเวณผิวน้ำ โดยพบได้เฉพาะในลำธารในป่าดิบ ในบริเวณที่เป็นคุ้งน้ำใส เดิมทีเคยพบได้เฉพาะในพื้นที่จังหวัดระนองและตลอดจนภาคใต้ฝั่งอันดามันของไทย แต่ปัจจุบันได้มีการนำไปปล่อยในแม่น้ำแควน้อย, แม่น้ำซองกาเลีย และแม่น้ำกษัตริย์ อันเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างไทยกับพม่า ในแถบจังหวัดตากและกาญจนบุรี ซึ่งปลาสามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ได้และขยายเผ่าพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ.
ปลาซิวใบไผ่ยักษ์
ปลาซิวใบไผ่ยักษ์ (Giant danio) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Devario (/เด-วา-ริ-โอ/) ปลาซิวในสกุลนี้ เคยถูกรวมเป็นสกุลเดียวกันกับปลาซิวสกุล Danio หรือ ปลาซิวใบไผ่ หรือ ปลาจุกกี มาก่อน แต่ปลาซิวที่อยู่ในสกุลปลาซิวใบไผ่ใหญ่นี้ จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า โดยจะมีความยาวลำตัวเฉลี่ย 5-15 เซนติเมตร และมีลวดลายสีสันต่าง ๆ ในบริเวณข้างลำตัว โดยก็ถูกเรียกชื่อสามัญว่า "ปลาซิวใบไผ่" หรือ "ปลาซิวใบไผ่ใหญ่" พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำโดยเฉพาะแหล่งน้ำที่เป็นลำธารหรือน้ำตกในป่าดิบ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอาจจะมีบางชนิดที่เป็นชื่อพ้องกันหน้า 28-29, Genus Devario - ปลาซิวใบไผ่ใหญ่ (Giant danio), "Mini Attlas" โดย สุริศา ซอมาดี.
ปลาซิวใบไผ่แม่แตง
ปลาซิวใบไผ่แม่แตง (Fire bar danio) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกปลาซิว อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะลำตัวแบนข้าง ส่วนหางเรียวยาว มีหนวดสั้น ๆ ที่มุมปาก ตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์มีสีสันสดใส โดยท้องและครีบก้นมีสีแดงอมส้ม แต้มบนลำตัวจะเห็นเด่นชัดขึ้น มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 4-5 เซนติเมตร โดยเป็นปลาที่ถูกค้นพบและอนุกรมวิธานไปเมื่อปี พ.ศ.
ปลาน้ำจืด
วงศ์นี้ล้วนแต่เป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด ปลาน้ำจืด (Freshwater fish) หมายถึง ปลาที่อาศัยอยู่ได้ในเฉพาะแหล่งน้ำที่เป็นน้ำจืด คือ น้ำที่มีปริมาณเกลือหรือความเค็มละลายน้อยกว่าร้อยละ 00.5 เท่านั้น โดยอาศัยอยู่ในแม่น้ำ, คลอง พื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ที่เป็นน้ำจืด เช่น ทะเลสาบน้ำจืด, บึง หนอง หรือลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือในป่าดิบ โดยโครงสร้างของปลาน้ำจืดนั้น จะมีแรงดันออสโมซิสในเลือดอยู่ในระดับสูงกว่าน้ำที่อาศัยอยู่มาก จึงทำให้มีการไหลของน้ำเข้าสู่ร่างกายและเกลือแร่แพร่ออกสู่น้ำภายนอกได้ง่าย โดยไม่ให้น้ำซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายและออกจากร่างกายได้ แต่ทว่ากระบวนการดังกล่าวก็ยังไม่ดีพอ เพราะเหงือกซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่ปลาใช้หายใจมีน้ำไหลผ่าน เมื่อมีเหงือก น้ำก็มีโอกาสไหลผ่านเข้าสู่ภายในร่างกายได้ จึงกำจัดน้ำส่วนที่เกินที่ถูกดูดเข้าสู่ร่างกายออกสู่นอกร่างกายได้วิธีการขับถ่ายนำเอาปัสสาวะซึ่งมีความดันออสโมซิสต่ำกว่าเลือดออกสู่ภายนอกร่างกาย ร่างกายส่วนใหญ่ของปลาน้ำจืดจะปกคลุมด้วยผิวหนังและเกล็ดซึ่งไม่ยอมให้น้ำซึมผ่านนอกจากบริเวณที่เป็นเหงือกแลกเปลี่ยนก๊าซหายใจเท่านั้นที่น้ำผ่านได้ และโดยธรรมชาติปลาน้ำจืดไม่ดื่มน้ำเลย ซึ่งแตกต่างจากปลาทะเล เพราะการดื่มน้ำจะทำให้ร่างกายมีน้ำมากเกินความจำเป็น ซึ่งจะมีน้ำบางส่วนไหลผ่านบริเวณปากและเหงือกเพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซหายใจก็จะมีโอกาสซึมเข้าไปในร่างกายได้บ้าง และเกลือแร่จากเลือดก็จะแพร่ออกมาทางเหงือกได้มากพอดู ปลาน้ำจืดจึงมีไตขับน้ำส่วนเกินออกไปเป็นปัสสาวะ และมีกลุ่มเซลล์พิเศษอยู่บริเวณเหงือกคอยดูดเอาเกลือแร่ต่าง ๆ ที่จำเป็นกลับสู่ร่างก.
ปูไก่
ำหรับปูขนอย่างอื่นที่นิยมรับประทานกันเป็นอาหารจีน ดูที่: ปูก้ามขน ปูไก่ (Hairy leg mountain crab) เป็นปูชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปูบก (Gecarcinidae) มีกระดองเป็นรูปไข่ ด้านหน้าโค้งมนกลม เหนือเบ้าตามีปุ่มเล็ก ๆ ข้างละปุ่ม กระดองตอนหน้าระหว่างขอบตาแคบ ตัวผู้มีก้ามใหญ่และแข็งแรง ก้ามซ้ายมีขนาดใหญ่ ปลายก้ามหนีบอันบนยาวกว่าอันล่างขาเดินมี 4 คู่ ข้อสุดท้ายมีปลายแหลม ขอบหยักเป็นฟันเลื่อย ขาเดินทุกคู่ มีขนสีดำกระดองสีน้ำตาลปนเหลือง ก้ามสีน้ำตาลปนส้ม โคนขาเดินสีส้ม มีความยาวประมาณ 8-20 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในป่าใกล้ลำธารหรือน้ำตก หรือตามป่าชายหาด กินเศษซากต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก จนถึงอินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะโคโคส, ตูอาโมตัสทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบได้ตามเกาะต่าง ๆ ทางภาคใต้ เช่น หมู่เกาะสิมิลันและเกาะภูเก็ต แต่ปัจจุบันพบได้ยาก สามารถใช้เนื้อในการรับประทานได้ แต่ไม่เป็นที่นิยมนักเนื่องจากในเนื้อมีกลิ่นกรดยูริกและแอมโมเนียจากของเสียจากระบบขับถ่ายของปู นอกจากนี้แล้วปูไก่ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น "ปูขน" หรือ "ปูภูเขา" และเหตุที่ได้ชื่อว่าปูไก่ เนื่องจากมีเสียงจากการกระทบกันของกล้ามปูเสียงดังคล้ายเสียงร้องของไก.
ดู ป่าและปูไก่
ป่าชายหาด
ป่าชายหาดที่มีสนทะเลขึ้น ที่รัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย ป่าชายหาด (Beach Forest) เป็นลักษณะของป่าประเภทหนึ่ง จัดเป็นป่าละเมาะหรือป่าโปร่งไม่ผลัดใบขึ้นอยู่ตามบริเวณหาดชายหรือเนินทรายริมทะเล หรือชายฝั่ง เป็นป่าที่มีขนาดเล็กเกิดขึ้นด้านหลังของสันทรายตามแนวชายฝั่ง น้ำทะเลท่วมไม่ถึง สภาพดินเป็นดินทรายและมีความเค็มสูง เป็นป่าที่มีความแตกต่างจากป่าทั่ว ๆ ไปอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ไม่มีความอุดมสมบูรณ์ สภาพโดยทั่วไปแห้งแล้ง ใบไม้ในป่าจะเป็นลักษณะหงิกงอ แต่นี่คือลักษณะของป่าชายหาดที่สมบูรณ์ ป่าชายหาดเป็นป่าที่ได้รับอิทธิพลจากกระแสลม, กระแสคลื่น รวมถึงไอเค็มจากทะเล, แสงแดดร้อนจัด, สภาพความชื้นสุดขั้วทั้งชื้นจัด, ชื้นน้อย และชื้นปานกลาง ระบบนิเวศจึงประกอบด้วยเนินทรายหรือหาดทรายและมีพืชประเภท ไม้เถาหรือไม้เลื้อย, ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นที่มีลำต้นคดงอ และมีความสูงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออยู่ห่างจากชายหาดออกไป ไม้ที่เป็นประเภทหญ้าหรือไม้เลื้อยได้แก่ หญ้าลิงลม, ผักบุ้งทะเล, หญ้าทะเล, เตย ซึ่งรากของไม้เหล่านี้จะช่วยในการยึดเกาะพื้นทรายทำให้พื้นทรายมีความแน่นหนาแข็งแรงมากขึ้น เพื่อที่จะให้รากของไม้ที่ใหญ่กว่า เช่น ไม้พุ่มได้เกาะต่อไป ประเภทของไม้พุ่ม ได้แก่ รักทะเล, ปอทะเล, เสมา, ซิงซี่, หนามหัน, กำจาย ขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ช่วยบังลมทะเลเป็นปราการให้แก่ไม้ชนิดที่ไม่สามารถทนเค็มได้ ประเภทของไม้ยืนต้น เช่น กระทิง, หูกวาง, โพทะเล, ตีนเป็ดทะเล, หยีน้ำ, มะนาวผี, ข่อย แต่ลำต้นไม่สูงมากนัก ใบมีความหงิกงอตามกระแสลม เรือนยอดอยู่ติดกัน และมักมีหนามแหลม บางพื้นที่อาจมีไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เช่น ยางนา หรือตะเคียน ขึ้นอยู่ด้วยก็ได้ ในฤดูมรสุมช่วงที่เป็นเนินทรายอาจมีน้ำท่วมขังเป็นบ่อหรือแอ่ง จึงกลายเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกขนาดเล็ก และกลายเป็นแหล่งน้ำจืดที่เชื่อมโยงกับลำธาร ประโยชน์ของป่าชายหาด คือ ช่วยรักษาความสมดุลระหว่างนิเวศวิทยาชายฝั่งกับนิเวศวิทยาบนบก ช่วยป้องกันการกัดเซาะชายหาดและการทับถมกันของตะกอนชายหาดซึ่งเกิดจากการหมุนเวียนตามสภาพของฤดูกาล ในประเทศไทย พบป่าชายหาดได้ทั่วไปตามฝั่งทะเลอ่าวไทย ในภาคตะวันออกตั้งแต่จังหวัดชลบุรีไปจนถึงตราด ทางภาคใต้ตั้งแต่เพชรบุรีไปจนถึงมาเลเซีย รวมถึงตามเกาะแก่งต่าง ๆ กลางทะเล จนอาจกล่าวได้ว่า มีป่าชายหาดอยู่ทุกพื้นที่ ๆ มีทะเล ปัจจุบัน ป่าชายหาดถูกบุกรุกทำลายจากมนุษย์ สาเหตุมาจากการไม่เห็นค่าความสำคัญ ด้วยเห็นว่าเป็นเพียงพื้นที่รกร้างหรือเป็นวัชพืช โดยการนำเอาพื้นที่ไปใช้ประโยชน์ในเชิงท่องเที่ยว เช่น ปลูกบังกะโล, รีสอร์ต หรือบุกรุกเพื่อพื้นที่ทำการเกษตร เช่น ปาล์มน้ำมัน หรือนากุ้ง.
ป่าสันทราย
ป่าสันทรายที่มีให้เห็นอยู่ทั่วไป ป่าสันทราย เป็นป่าที่มีความพิเศษกว่าป่าอื่น ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งสามารถที่จะเกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ของโลก ที่มีเขตพื้นที่ติดกับทะเลส่วนใหญ่จะมีความเป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมกันของกรวดและหิน ก้อนเล็ก ๆ จากการพัดมาของลมทะเล ระยะเวลาการเกิดใช้เวลานาน กว่าจะเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์พืชนานาชนิด ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งไม่มากนัก หากอยู่ห่างจากฝั่งมากก็เป็นการบ่งบอกถึงเวลาว่ามีอายุที่มากกว่าป่าที่อยู่บริเวณใกล้กับชายฝั่ง มีจุดเด่นคือ เกิดจากแรงลมพัดทรายมากองทับถมกันคล้ายกับ Sand dunes แต่ไม่ได้เกิดกับหาดทรายทั่วไป มีพันธุ์ไม้และพันธุ์พืชหลากหลายชนิด บ้างก็ใช้รับประทาน บ้างก็ใช้เป็นสมุนไพร เป็นยารักษาโรค เกิดประโยชน์กับคนในชุมชน กระบวนการเกิดป่าสันทรายอาจต้องใช้เวลาหลายร้อยหลายพันปี กว่าจะเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ใช้องค์ประกอบหลายอย่างด้วยกัน ตามสภาพแวดล้อมที่มีของแต่ละสถานที่วงจรของป่าสันทรายวนเวียนอยู่อย่างนี้ ตลอดไป.
ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ เป็นมรดกโลกแหล่งที่ 5 และเป็นอันดับที่ 2 ของมรดกทางธรรมชาติของไทย ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 10-17 กรกฎาคม..
ป่าคำชะโนด
ป่าคำชะโนด อุดรธานี ป่าคำชะโนด หรือ เมืองชะโนด หรือ วังนาคินทร์คำชะโนด ตั้งอยู่ในพื้นที่ 3 ตำบล คือ ตำบลวังทอง, ตำบลบ้านม่วง และตำบลบ้านจันทร์ ใน อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี เป็นป่าที่มีลักษณะเหมือนเกาะแม่น้ำขึ้นอยู่กลางทุ่งนา เต็มไปด้วยต้นชะโนด ซึ่งเป็นพืชจำพวกปาล์ม ความยาวประมาณ 200 เมตร ป่าคำชะโนดเป็นสถานที่ ๆ ปรากฏในตำนานพื้นบ้าน เป็นสถานที่ ๆ เชื่อว่า เป็นที่สิงสถิตของพญานาคและสิ่งลี้ลับต่าง ๆ บ่อยครั้งที่ชาวบ้านในละแวกนั้นจะพบเห็นชาวเมืองชะโนดไปเที่ยวงานบุญพระเวสสันดร รวมถึงหญิงสาวที่มายืมเครื่องมือทอผ้าอยู่เป็นประจำ และเมื่อเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง รวมถึงที่อำเภอบ้านดุง แต่น้ำก็ไม่ท่วมบริเวณคำชะโนด เมื่อระดับน้ำลดลง คำชะโนดก็ยังคงอยู่เช่นเดิม แต่ทว่าแท้ที่จริงแล้ว ป่าคำชะโนดก็เคยเกิดน้ำท่วม โดยเคยเกิดขึ้นเมื่อปี..
ป่าคดจาวัล
ป่าคดจาวัล (곶자왈 숲, คดจาวัลซุบ; Gotjawal Forest) หมายถึง ป่าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ พบเฉพาะบนเกาะเชจู บริเวณที่ราบตอนกลางของเขาฮัลลา (Halla) ลักษณะเฉพาะของป่านี้ คือ ต้นไม้จะเจริญเติบโตอยู่บนหินลาวา (ที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดเมื่อหลายล้านปีก่อน) และครอบคลุมบริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะ ในปัจจุบันนี้ ถึงแม้ว่าพื้นที่ป่าจะมีบริเวณกว้างและไม่ถูกบุกรุกโดยคนท้องถิ่น แต่เนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศเกาหลีใต้ โดยเฉพาะบนเกาะเชจู ทำให้พื้นที่ป่าดังกล่าวเสี่ยงต่อการถูกบุกรุกและทำลายอย่างต่อเนื่อง การศึกษาของ ดร.ซง ชี-แท (Song Shi-tae) ในปี ค.ศ.
ป่าไม้เขตร้อน
ป่าไม้เขตร้อนคือ ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมในบริเวณเขตร้อนของโลก สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 1.
นกชาปีไหน
thumb นกชาปีไหน หรือ นกกะดง (Nicobar pigeon, Nicobar dove) เป็นนกชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) นับเป็นนกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ในสกุล Caloenas ในขณะที่ชนิดอื่น ๆ สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยมีความใกล้ชิดกับนกโดโดที่สูญพันธุ์ไปแล้วด้วย นกชาปีไหน มีขนาดลำตัวเท่า ๆ กับไก่แจ้ มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 40-41 เซนติเมตร มีลำตัวขนาดใหญ่ แต่มีหัวขนาดเล็กและมีเนื้อนูนเป็นตุ่มบริเวณจมูก ขนตามลำตัวเป็นสีเขียวเหลือบเทา ขนหางสีขาว แต่จะมีขนบริเวณคอห้อยยาวออกมาเหมือนสร้อยคอ ซึ่งขนนี้จะยาวขึ้นเมื่อนกมีอายุมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีขาขนาดใหญ่แข็งแรง เพราะเป็นนกที่ชอบเดินหากินตามพื้น นกชาปีไหน แม้จะเป็นนกที่หากินบนพื้นดินเป็นหลัก แต่ก็เป็นนกที่สามารถบินได้ มีรายงานว่าสามารถบินข้ามไปมาระหว่างเกาะต่าง ๆ ได้ เป็นนกที่หากตกใจจะบินหรือกระโดดขึ้นบนต้นไม้ และไม่ค่อยส่งเสียงร้องนัก นานครั้งจึงจะได้ยินเสียงร้องทีหนึ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์เฉพาะหมู่เกาะต่าง ๆ บริเวณทะเลอันดามันและอินโด-แปซิฟิก เช่น หมู่เกาะนิโคบาร์, หมู่เกาะอันดามัน, หมู่เกาะโซโลมอนและปาเลา ในประเทศไทยจัดเป็นนกที่หาได้ยากมากชนิดหนึ่ง โดยจะอาศัยอยู่ในป่าดิบหรือป่าชายหาดของหมู่เกาะสิมิลัน, หมู่เกาะสุรินทร์ หรือหมู่เกาะอ่างทอง รวมถึงอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี เท่านั้น เป็นนกที่ถูกจัดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักรราช 2535 แต่ปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วโดยทางการของไทย เมื่อปี พ.ศ.
นกพรานผึ้ง
นกพรานผึ้ง (Malaysian honeyguide) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพรานผึ้ง (Indicatoridae) เป็นนกขนาดเล็ก (จะงอยปากถึงปลายหาง 17 เซนติเมตร) ลักษณะคล้ายนกปรอดมาก แต่จะงอยปากหนาและอวบกว่า จะงอยปากสีคล้ำแต่ปากล่างสีจางกว่า ลำตัวด้านบนสีเทาแกมเขียว ลำตัวด้านล่างขาว อกสีเทาแกมขาว ข้างลำตัวมีลายขีดดำ ตาสีน้ำตาลแดงหรือสีน้ำตาลในนกวัยอ่อน ตัวผู้ที่หัวไหล่มีแถบเหลืองเล็ก ๆ ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้แต่ไม่มีแถบเหลือง มีเสียงร้องคล้ายแมว คือ "เมี้ยว" นกพรานผึ้ง เป็นนกที่กินผึ้ง, ตัวอ่อนของผึ้ง และขี้ผึ้งเป็นอาหาร รวมถึงตัวต่อ ถึงขนาดบุกเข้าไปกินถึงในรวงผึ้ง โดยที่ไม่ได้รับอันตรายจากเหล็กไนของผึ้ง ทั้งนี้เป็นเพราะมีปีกที่หนาที่เหล็กไฟผึ้งทำอันตรายไม่ได้ และมีผู้เชื่อว่ามีกลิ่นตัวแรงจนผึ้งไม่กล้าเข้าใกล้ แต่เรื่องนี้ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ นกพรานผึ้ง เป็นนกที่มีพฤติกรรมอยู่ลำพังเพียงตัวเดียว นานครั้งจึงเห็นอยู่เป็นคู่ เป็นนกที่บินได้เก่งและเร็ว และเป็นนกประจำถิ่น จะอยู่ในถิ่นใดถิ่นหนึ่งไปตลอด ต่อเมื่อนกตัวเก่าตายไป นกตัวใหม่ถึงเข้ามาอยู่แทน ในประเทศไทยมีรายงานพบเห็นเพียงไม่กี่ครั้ง ในป่าในเขตชายแดนภาคใต้ที่ติดกับมาเลเซีย นอกจากนี้ยังมีรายงานพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จังหวัดตาก ในป่าดิบชื้นและป่าดิบแล้ง ทั้งในพื้นที่ราบและที่สูงจากระดับน้ำทะเล 900 เมตร จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไท.
นกยูง
นกยูง (Peacock, Peafowl) เป็นสัตว์ปีกจำพวกไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ มีจุดเด่นคือ เพศผู้มีขนหางยาวที่มีสีสันสวยงาม ที่เมื่อแผ่ขยายออกเพื่ออวดเพศเมียจะมีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง ที่เรียกว่า "รำแพน" นกยูงใช้ชื่อสกุลว่า Pavo ชอบอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบผสมตามริมลำธารในป่า มีพฤติกรรมมักร้องตอนเช้าหรือพลบค่ำ กินอาหารจำพวกเมล็ดพืช แมลง และสัตว์เล็ก ๆ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางเหนือของประเทศอินเดียไปทางทิศตะวันออกผ่านพม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซียและชวา นกยูงแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ นกยูงไทยตัวผู้ขณะรำแพน.
ดู ป่าและนกยูง
นกอีวาบตั๊กแตน
นกอีวาบตั๊กแตน (plaintive cuckoo) เป็นนกสกุล Cacomantis ในวงศ์ Cuculidae (วงศ์นกคัคคู) เป็นนกประจำถิ่นของทวีปเอเชีย มีที่อยู่ตั้งแต่อินเดีย จีน อินโดนีเซีย และไท.
นกแสก
นกแสก หรือ นกแฝก หรือ นกเค้าหน้าลิง (Barn owl, Common barn owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งในวงศ์นกแสก (Tytonidae) วงศ์ย่อย Tytoninae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tyto alba จัดเป็น 1 ชนิดในจำนวน 19 ชนิดของนกในอันดับนกเค้าแมวที่พบได้ในประเทศไทย และนับเป็นนกแสกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 1 ชนิดนั้นคือ นกแสกแดง).
ดู ป่าและนกแสก
นกแสกแดง
นกแสกแดง (Oriental bay owl) เป็นนกล่าเหยื่ออยู่ในวงศ์นกแสก (Tytonidae) มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายนกแสกธรรมดา (Tyto alba) แต่มีขนาดที่เล็กกว่า เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 28-29 เซนติเมตร ลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเหลือง อันเป็นที่มาของชื่อ มีลายจุดสีน้ำตาลเหลืองหรือสีเนื้อ ด้านล่างลำตัวและใบหน้าสีเนื้อแกมชมพู มีลายแต้มสีออกม่วง ตาสีน้ำตาลเข้ม มีขนสีน้ำตาลยื่นยาวเล็กน้อยออกไปทางด้านข้างของรูหูเป็นพุ่ม ในขณะที่บินจะเห็นปีกค่อนข้างสั้น จัดเป็นนกที่บินได้เก่งมาก และอาจส่งเสียงร้องไปในขณะที่บิน โดยที่นกแสกชนิดนี้จะพบได้เฉพาะในป่าดิบและป่าเบญจพรรณ ตั้งแต่พื้นราบจนกระทั่งความสูง 2,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกหากินในตอนกลางคืน ตอนกลางวันส่วนใหญ่จะหลบซ่อนตามโพรงของต้นไม้ จึงทำให้พบเห็นตัวค่อนข้างยาก มีฤดูผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี โดยทำรังตามโพรงต้นไม้ ซึ่งเป็นโพรงที่เกิดตามธรรมชาติ หรือโพรงที่สัตว์อื่น ๆ ทำทิ้งเอาไว้ รังมักจะอยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 2-5 เมตร หรือมากกว่า นกมักจะใช้โพรงเดิมเป็นประจำทุก ๆ ปี นอกเหนือจากโพรงเหล่านั้นถูกนกหรือสัตว์อื่น ๆใช้ และนกแสกแดงไม่สามารถที่จะขับไล่ออกไปได้ ปรกติไม่มีวัสดุรองรังอีก รูปร่างของไข่เป็นรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาดโดยเฉลี่ย 30.0 x 34.5 มิลลิเมตร เปลือกไข่มีสีขาว ผิวเรียบ ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง บางรังก็มี 5 ฟอง ตัวเมียตัวเดียวที่ทำการฟักไข่ โดยเริ่มฟักหลังจากที่ออกไข่ฟองแรก ทั้ง 2 เพศช่วยกันเลี้ยงลูกอ่อน การพัฒนาของลูกอ่อนไม่แตกต่างไปจากนกแสกธรรมดามากนัก นกแสกแดงจัดเป็นนกแสก 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย โดยพบได้ในภาคเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกพบได้น้อยและพบได้เฉพาะพิ้นที่บางส่วนเท่านั้น ในต่างประเทศพบได้ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้ เช่น ศรีลังกา จนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ฟิลิปปินส์ ทำให้แบ่งออกได้เป็น 6 ชนิดย่อยด้วยกัน เช่น P.
นกแต้วแร้วท้องดำ
นกแต้วแร้วท้องดำ หรือ นกแต้วแล้วท้องดำ (Gurney's Pitta) เป็นนกที่พบในพม่าและไทย ปัจจุบันพบได้ที่ เขานอจู้จี้ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ และบางส่วนในประเทศพม่า นกแต้วแร้วท้องดำถูกค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ.
นกโพระดกคอสีฟ้า
นกโพระดกคอสีฟ้า (Blue-throated barbet) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกโพระดก (Megalaimidae) มีความยาวจากจะงอยปากจรดหางประมาณ 22-23 เซนติเมตร ขนปกคลุมลำตัวส่วนใหญ่สีเขียว บริเวณคาง ใต้คอ คอด้านข้าง และบริเวณหน้ามีสีฟ้า หน้าผากและตอนท้ายกระหม่อมเป็นสีแดง กลางกระหม่อมมีสีแถบสีดำพาดกลางและยาวลงมาทางด้านหน้าของหน้า ใต้คอตอนล่างที่เป็นสีฟ้ามีแต้มสีแดง นกทั้งสองเพศมีลักษณะคล้ายคลึงกัน พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในป่าตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิดย่อย โดยไม่พบในประเทศไทยเพียงแค่ชนิดเดียว ซึ่งแตกต่างกันไปตามแถบสีดำส่วนหัว (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ลำพังเพียงตัวเดียวหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ แต่ในสถานที่ ๆ อาหารอุดมสมบูรณ์อาจอยู่เป็นฝูงใหญ่ เป็นนกที่กินผลไม้และลูกไม้ป่า เช่น ไทร, มะเดื่อฝรั่ง เป็นอาหารหลัก ในยามที่อาหารขาดแคลนก็อาจกินหนอนหรือแมลง เป็นอาหารได้ เป็นนกที่ร้องเก่ง เสียงดัง โดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์จะร้องบ่อยทั้งในตอนเช้าและตอนเย็น เวลาร้องจะหมุนคอไปรอบทิศทาง ทำให้จับทิศทางของเสียงได้ยาก ในประเทศไทยจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
นกเอี้ยงหัวสีทอง
วามหมายอื่น ดูที่: สาลิกาลิ้นทอง นกเอี้ยงหัวสีทอง หรือ นกสาลิกาลิ้นทอง (Golden-crested myna) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ampeliceps มีลักษณะทั่วไป คือ ตัวสีดำ มีแถบสีเหลืองที่ขอบปีกค่อนไปทางปลายปีก หนังรอบดวงตาสีเหลือง ตัวผู้ที่โคนปากด้านบนกระหม่อมไปจรดท้ายทอยสีเหลือง คอสีเหลืองไปจรดใต้ตา ตัวเมียโคนปากด้านบนจรอกระหม่อมสีเหลือง คอมีแถบสีเหลืองเล็ก ๆ มีความยาวประมาณ 22-24 เซนติเมตร เป็นนกที่พบได้ในป่าดิบ, ป่าโปร่ง และพบได้จนถึงพื้นที่ ๆ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 800 เมตร พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชียจนถึงบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ในมหาสมุทรอินเดีย ในประเทศไทยจะพบได้ที่ภาคเหนือตอนบน และผืนป่าภาคตะวันตก เช่น ทุ่งใหญ่นเรศวร ส่วนภูมิภาคอื่น พบได้บางพื้นที่ จัดเป็นนกที่ไม่พบบ่อยมากนัก มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไท.
นกเอี้ยงคำ
นกเอี้ยงคำ หรือ นกขุนทอง (Hill mynas) เป็นสกุลของนกเกาะคอนร้องเพลงสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gracula ในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีรูปร่างคล้ายกับนกในสกุล Acridotheres หรือนกเอี้ยง แต่ลำตัวมีขนาดใหญ่กว่า ขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 20-30 เซนติเมตร ขนเป็นสีดำเป็นเงามัน มีลักษณะเด่น คือ มีเหนียง คือ แผ่นหนังสีเหลืองอมส้มคลุมท้ายทอยและอีกส่วนที่ใต้ตา ซึ่งจะแตกต่างไปกันตามแต่ละชนิด จะงอยปากสีแดงส้มและหน้าแข้งเป็นสีเหลืองสด เป็นนกที่แพร่กระจายพันธุ์ในป่าดิบหรือบนภูเขาตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย จนถึงเอเชียอาคเนย์ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะต่าง ๆ เป็นนกที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่ามีเสียงร้องที่ไพเราะ และสามารถหัดให้เลียนเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงพูดของมนุษย์ได้ จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง และมีการนำไปสู่สหรัฐอเมริกาด้วยในฐานะสัตว์เลี้ยง ในราคาที่สูง แต่ผู้คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียนิยมนำมาทำเป็นแกงเผ็ด ถือเป็นอาหารจานโปรดของท้องถิ่น จำแนกออกเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ 4 หรือ 5 ชนิด ตามลักษณะของเหนียงและขนาดลำตัว ซึ่งแตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งเดิมเคยจัดให้เป็นชนิดย่อยของกันและกัน แต่ปัจจุบันได้รับการยอมรับให้แยกเป็นชนิดต่างหาก ได้แก.
นกเขียวก้านตองใหญ่
นกเขียวก้านตองใหญ่ (Greater green leafbird) เป็นนกในวงศ์นกเขียวก้านตอง มันต่างจากนกเขียวก้านตองเล็ก (Chloropsis cyanopogon) ตรงมันมีจะงอยปากแข็งแรง คอสีเหลือง และแหวนรอบตาในเพศเมียหญิง และไม่มีแต้มสีเหลืองใต้สีดำตรงคอเหมือนในเพศผู้ของนกเขียวก้านตองเล็ก พบในประเทศบรูไน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า, สิงคโปร์, และ ไทย ถิ่นอาศัยตามธรรมชาติของมันคือป่าในเขตร้อนชื้นหรือกึ่งเขตร้อนและป่าชายเลนในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ปกติจะเป็นป่าเก่าแต่ก็สามารถพบในป่าชั้นสองด้วยเช่นกัน สามารถพบเห็นได้ที่ความสูงระดับหลังคาป่า กระโดดจากกิ่งไม้หนึ่งไปสู่กิ่งไม้หนึ่ง หรือบินจากต้นหนึ่งไปสู่ต้นหนึ่ง ชอบกินลูกไทร แต่บางครั้งก็กินแมลงและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กเป็นอาหาร นกเขียวก้านตองใหญ่ส่งเสียงร้องเป็นทำนองเพลง ดัง "วี่-วิด".
นกเค้าแคระ
นกเค้าแคระ (Collared owlet, Collared pygmy owl) เป็นนกเค้าแมวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Strigidae สามารถพบได้ในอัฟกานิสถาน, บังกลาเทศ, ภูฏาน, บรูไน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, เนปาล, ปากีสถาน, ไต้หวัน, ไทย และเวียดนาม ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ คือ ป่าหนาว และจัดได้ว่าเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดเล็กที่สุดที่พบในทวีปเอเชีย ที่ขนาด 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) น้ำหนัก 60 กรัม (2.1 ออนซ์) โดยจะพบบ่อยที่สุดในบริเวณป่าดิบชื้น ตั้งแต่พื้นราบไปจนถึงระดับความสูง 3,050 เมตร จากระดับน้ำทะเล ในประเทศไทยจะพบบ่อยขึ้นที่ระดับสูงเกิน 600 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป บริเวณภาคใต้และคาบสมุทรมลายู จะพบได้บ่อยมากในระดับสูง 395 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) นกเค้าแคระจัดเป็นนกเค้าแมวที่บินได้ไม่เงียบเหมือนนกเค้าแมวหรือนกแสกส่วนมาก และยังเป็นนกที่หากินในเวลากลางวัน มีรูปร่างอ้วนกลม มีขนหนานุ่มปกคลุมอย่างหนาแน่น มีสีและลวดลายที่กลมกลืนไปกับต้นไม้ บริเวณคอก็มีขนอยู่อย่างหนาแน่นทำให้ดูเหมือนหัวอยู่ติดกับตัวโดยไม่มีคอ และมีหัวที่กลมโต หน้าแบน ตากลมโตสีเหลืองอยู่ด้านหน้าของใบหน้า ปากสั้นและปากบนโค้งงุ้มแหลมลง มีขนเส้นเล็ก ๆ คล้ายหนวดแมวอยู่รอบ ๆ โคนปากทำหน้าที่เป็นเครื่องนำทาง มีปีกกว้างแต่ปลายปีกมน ขนหางยาวกว่านกเค้าแม้วชนิดอื่น ๆ มีขาสั้นแต่เข็งแรงสีเหลืองนิ้วเท้าค่อนข้างใหญ่และแข็งแรง มีนิ้วตีน 4 นิ้วเวลาเกาะกิ่งจะอยู่ด้านหน้า 2 ด้านหลัง 2 นิ้ว เล็บสีดำ ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน จับอาหารจำพวกสัตว์ต่าง ๆ ขนาดเล็ก เช่น กิ้งก่า, หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก, จักจั่น, ด้วง และตั๊กแตน รวมถึงนกด้วยกันชนิดอื่นที่มีขนาดเล็ก เมื่อจะล่านก นกเค้าแคระมักจะซ่อนตัวตามพุ่มไม้ ไม่เช่นนั้นแล้วจะถูกฝูงนกเล็ก ๆ เหล่านี้ไล่จิกตี แต่นกเค้าแคระก็สามารถจับเหยื่อที่มีขนาดตัวพอ ๆ กันหรือโตกว่าเล็กน้อยได้ด้วยกรงเล็บที่แข็งแรง หากจะหากินในเวลากลางคืน มักจะเป็นในคืนวันเพ็ญ ทำรังวางไข่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยใช้โพรงไม้ธรรมชาติ หรือรังของนกอื่นที่ทำรังในโพรงไม้เหมือนกัน โดยโพรงอาจเป็นรังเก่า หรืออาจมาจากการแย่งชิงมาก็ได้ ในบางครั้งอาจเป็นการฆ่ากินและปล้นชิงจากนกตัวอื่นเลยก็ได้ โพรงรังที่เลือกมักอยู่สูงจากพื้นราว 2-10 เมตร วางไข่ครั้งละ 3-5 ฟอง ลูกนกจะออกจากไข่ในช่วงต้นฤดูฝนที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์พอดีซึ่งจะเป็นผลดีต่อการรอดชีวิตของลูกนก เนื่องจากแม่นกจะกกไข่ตั้งแต่ออกไข่ฟองแรกทันที ในขณะเดียวกันก็จะออกไข่ใบอื่น ๆ ไปด้วย ดังนั้นในแต่ละรังลูกนกเค้าแคระจะมีอายุต่างกันพอสมควร ถ้าอาหารมีไม่พอเพียง ตัวที่ออกมาทีหลังตัวเล็กกว่าก็จะแย่งอาหารตัวอื่น ๆ ไม่ทันและตายไปในที่สุด จัดเป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไท.
นกเค้าโมง
นกเค้าโมง หรือ นกเค้าแมว (Asian barred owlet) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกนกเค้าแมว มีลายสีน้ำตาลทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็นสีขาวและมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตาสีเหลือง ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับนกเค้าแคระ (G.
นกเค้าเหยี่ยว
นกเค้าเหยี่ยว (Brown Hawk-owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายกับนกเหยี่ยวหรืออินทรี มีลำตัวขนาดใหญ่ ปีกกว้างและกลมมน ตากลมโตสีเหลืองทอง ระหว่างตามีแถบคาดสีเหลือง หัวและลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวด้านล่างสีกีกาหรือสีขาว มีลายจุดสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเหลือง มีขนาดใหญ่เต็มที่สูงได้ถึง 30 เซนติเมตร กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคตะวันออกกลางจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ หมู่เกาะอันดามันในทะเลอันดามัน จนถึงภาคใต้ของจีนและหมู่เกาะต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ, ภาคตะวันตก, ภาคใต้, บางส่วนของภาคตะวันออก และจัดเป็นนกอพยพในภาคใต้ โดยพบในป่าโปร่ง, ป่าชายเลน จนถึงป่าที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 1,200 เมตร มีทั้งหมด 12 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าในประเทศไทย พุทธศักราช 2535.
นกเปล้าใหญ่
นกเปล้าใหญ่ หรือ นกพิราบเขียวใหญ่ (Large green pigeon) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายนกในวงศ์นี้ส่วนใหญ่ จัดเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ ปากหนาใหญ่สีขาวแกมเขียว หน้าสีเทา หนังรอบตาสีเหลือง ขนลำตัวเขียวแกมเทา มีแถบสีเหลืองที่ปีก ขนปีกสีดำ แข้งและตีนสีเหลือง นกเพศผู้ที่อกมีแถบสีส้มแกมน้ำตาลอ่อน ก้นและขนคลุมใต้โคนหางสีน้ำตาลเข้ม ในขณะที่นกเพศเมีย ที่อกมีแถบเหลือง ก้นและขนคลุมใต้โคนหางสีน้ำตาลอ่อน มีน้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 400 กรัม จัดเป็นนกที่กระจายพันธุ์ในหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ปัจจุบันเป็นนกที่อยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต เนื่องจากสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัย ในประเทศไทยจะพบได้ในป่าดิบและป่าพรุ อาทิ ป่าพรุโต๊ะแดง และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
นากใหญ่ธรรมดา
นากใหญ่ธรรมดา หรือ นากยุโรป (Common otter, European otter) เป็นนากชนิดที่สามารถพบได้กว้างขวางมาก มีลำตัวยาว ขนหนาและหยาบเพื่อป้องกันมิให้น้ำซึมเข้ามา ทำให้ว่ายน้ำได้คล่องแคล่ว และป้องกันอากาศเย็นได้เป็นอย่างดี สีขนตามลำตัวเป็นสีน้ำตาลอ่อน ในบางครั้งอาจเปลี่ยนหรือเห็นเป็นสีเทา บริเวณท้องมีสีขนที่อ่อนกว่า หัวแบนและกว้าง หูกลม หางเรียวยาว ขนสั้น นิ้วเท้ามีพังผืดยึดติดกัน.
นางตะเคียน
ต้นตะเคียน ซึ่งเป็นต้นไม้ที่เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์และมีผีสิงอยู่ มักจะได้รับการเรียกชื่อว่า '''เจ้าพ่อ''' หรือ '''เจ้าแม่'''ตะเคียน นางตะเคียน นางตะเคียน เป็นผีตามตำนานพื้นบ้านของไทย เป็นผีผู้หญิงจำพวกรุกขเทวดา สิงสถิตอยู่ในต้นตะเคียน.
นิมิต (เขตแดน)
นิมิต หมายถึงวัตถุที่เป็นเครื่องหมายบอกกำหนดเขตหรือแดนแห่งสีมา เป็นเครื่องหมายบอกเขตสีมาที่พระวินัยกำหนดให้ใช้ได้มี ๘ อย่าง คือภูเขา ศิลา ป่าไม้ ต้นไม้ จอมปลวก หนทาง แม่น้ำ น้ำ แต่ที่นิยมกันมากที่สุดคือใช้ศิลาหรือหินเป็นนิมิต นิมิตที่เป็นศิลาหรือสกัดศิลาให้มีลักษณะกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 30 - 38 เซนติเมตร เรียกว่าลูกนิมิต แต่ละสีมาจะใช้ 9 ลูก ก่อนทำสังฆกรรมผูกสีมานิยมจัดงานกันเอิกเกริกโดยถือกันว่าเป็นงานบุญใหญ่ เรียกว่า งานปิดทองลูกนิมิต เมื่อทำพิธีตามพระวินัยเสร็จแล้วจะฝังศิลานิมิตนั้นลงไปในดินแล้วสร้างซุ้มครอบไว้ข้างบนโดยมีใบสีมาเป็นเครื่องหมายแทน.
นิลกาย
นิลกาย (Nilgai, Blue bull; নীলগাই; नीलगाय) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์วัวและควาย (Bovidae) จัดเป็นเพียงสัตว์ชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Boselaphus มีรูปร่างลักษณะคล้ายวัวผสมกับม้า ตัวผู้มีลักษณะเด่น ที่ สีลำตัวเมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเข้มขึ้นเรื่อย ๆ หรือสีเทาปนดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ถือเป็นแอนทีโลปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย โดยมีส่วนสูงวัดถึงไหล่ประมาณ 1.2–1.5 เมตร และยาว 1.8–2 เมตร หางยาว 40–45 เซนติเมตร ตัวเต็มวัยมีน้ำหนักประมาณ 120–140 กิโลกรัม ลำตัวใหญ่ แต่มีขาเล็กเรียว ตัวผู้มีเขาเล็ก ๆ โค้งไปข้างหน้าเล็กน้อย ยาวประมาณ 21-25 เซนติเมตร มีขนแข็งยาวขึ้นจากส่วนหัวไล่ไปถึงกลางหลังทั้งสองเพศ ขณะที่ตัวเมียมีสีออกน้ำตาลแดง นิลกาย เป็นสัตว์ที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ในราบตอนเหนือของอินเดียและทางภาคตะวันออกของปากีสถาน ชอบอยู่ตามที่ราบและเนินเขาที่มีไม้พุ่มเตี้ยมากกว่าอยู่ในป่าทึบ นิลกายเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 18 เดือน ซึ่งหลังผสมพันธุ์แล้ว มีระยะเวลาตั้งท้องประมาณ 8 เดือน ออกลูกคราวละ 2 ตัวหรือมากได้ถึง 3 ตัว น้ำหนักตัวเมื่อเกิดใหม่ราว 13–16 กิโลกรัม มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 21 ปี นิลกายเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางวัน และพักผ่อนในเวลากลางคืนเหมือนสัตว์ในวงศ์เดียวกันชนิดอื่น ๆ แต่กินอาหารหลากหลายกว่า เพราะกินทั้งต้นไม้, ใบหญ้า, ใบไม้ และผลไม้ทั่วไป นอกจากนี้ยังมีความสามารถพิเศษ คือ สามารถอดน้ำได้หลายวันโดยไม่มีน้ำดื่ม แต่มักจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ โดยส่วนใหญ่จะอยู่กันเป็นกลุ่มประมาณ 15 ตัว บางกลุ่มอาจมีถึง 20 ตัว ยกเว้นตัวที่อายุมากแล้วมักจะปลีกตัวไปอยู่ตามลำพัง และจะรวมตัวกันอีกทีก็ในช่วงฤดูหนาว ซึ่งอาจจะมีจำนวนถึง 30–100 ตัว ปัจจุบัน นิลกายพบจำนวนมากในที่ สวนลุมพินีวัน อันเป็นสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า และเชื่อว่าเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ด้วย เป็นสัตว์ที่เชื่อว่าหากใครได้พบเห็น จะพบกับความเป็นสิริมงคล แต่นิลกายก็ถือเป็นสัตว์ที่รบกวนกินพืชผลของเกษตรกรเสียหายได้ครั้งละเป็นจำนวนมาก ทางการอินเดียจึงอนุญาตให้ล่าสัตว์ชนิดนี้ได้อย่างถูกกฎหมาย ขณะที่อีกไม่น้อยถูกรถชน นอกจากนี้ยังต้องขาดแคลนที่อยู่ซึ่งเป็นผลมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกวัน และมีศัตรูตามธรรมชาติอีกอย่างคือเสือและสิงโต ทำให้ปัจจุบันเหลือปริมาณ นิลกายอยู่ไม่มากแล้ว ในอินเดียมีประมาณ 100,000 ตัวเท่านั้น ส่วนที่รัฐเทกซัสในสหรัฐอเมริกาถูกนำไปเลี้ยงในสวนสัตว์บ้าง ในธรรมชาติบ้าง ช่วงทศวรรษ 1920 เหลือปริมาณนิลกายประมาณ 1,500 ตัว สำหรับในประเทศไทย นิลกายมีอยู่ที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ซึ่งได้ตกลูกในไทยมาแล้วถึง 4 ตัว นอกจากนี้แล้วยังเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับซาวลา (Pseudoryx nghetinhensis) ที่พบในป่าทึบของเวียดนามอีกด้ว.
ดู ป่าและนิลกาย
น้ำตกห้วยหินฝน
น้ำตกห้วยหินฝน น้ำตกห้วยหินฝน เป็นน้ำตกขนาดเล็ก อยู่ในอุทยานแห่งชาติขุนน่าน อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน มีต้นกำเนิดจากลำห้วยหินฝน ในอดีตเมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมาได้มีกองทัพพม่าใช้เป็นที่ตั้งฐานทัพ แล้วใช้หินในลำห้วยเป็นที่ลับคมหอกคมดาบ เพื่อเตรียมที่จะไปตีเอาบ่อเกลือ การลับลับคมหอกคมดาบ ชาวบ้านแถบนี้เรียกว่าฝนหอกฝนดาบ จึงเรียกลำห้วยว่า ห้วยหินฝน จนถึงปัจจุบัน น้ำตกห้วยหินฝนเป็นน้ำตกที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ มีพันธุ์ไม้ประเภทเฟิร์นขึ้นตลอดทางจนไปถึงตัวน้ำตก สภาพป่าไม้บริเวณน้ำตกมีความร่มรื่น เหมาะแก่การพักผ่อนอย่างแท้จริง นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงน้ำตกได้ง่าย เนื่องจากอยู่ในเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ โดยเดินเท้าจากด้านหลังบ้านพักของอุทยานไปประมาณ 150 เมตร.
แก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์
แก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์ (Dinosaur train) เป็นการ์ตูนสำหรับเด็กจากประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำโดย เคร็ก บาร์ทเล็ตต์ คนเดียวกันที่ผลิตเรื่อง เฮ้ อาร์โนล! ในเรื่องนี้ได้มีการเล่าเรื่องถึงที-เร็กซ์ที่ชื่อว่า บัดดี้ ที่เลี้ยงโดยครอบครัวเทอราโนดอน แล้วผจญภัยทุกยุคที่เขาอยากจะไป และเรียนรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์ และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เรื่องนี้จัดจำหน่ายโดย The Jim Henson Company ร่วมกับ Media Development Authority, Sparky Animation, FableVision และ Snee-Oosh, Inc.
แมงคีม
แมงคีม หรือ ด้วงเขี้ยวกาง หรือ ด้วงคีม (Stag beetle) เป็นแมลงปีกแข็งในวงศ์ Lucanidae ซึ่งยังแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) พบประมาณ 1,200 ชนิด แมงคีมมีลักษณะเด่นคือ ในตัวผู้จะมีขากรรไกรล่างที่มีขนาดใหญ่และกางเข้าออกได้เหมือนคีมหรือกรรไกรอันเป็นที่มาของชื่อเรียก ซึ่งใช้สำหรับเป็นอาวุธในการต่อสู้กันและแย่งตัวเมียเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดและขากรรไกรเล็กกว่า มีสีลำตัวที่อ่อนกว่า แมงคีมมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 12 เซนติเมตร ขณะที่บางชนิดที่ขนาดเล็กมีความยาวเพียง 5 เซนติเมตรเท่านั้น มีลำตัวโดยรวมค่อนข้างแบน มีหนวดแบบหักเหมือนข้อศอก โดยมีปล้องแรกยาวและปล้องต่อ ๆ ไปเป็นปล้องสั้น ๆ เรียงตัวกันในทิศทางเดียวกันแต่เป็นคนละทิศกับหนวดปล้องแรก ปล้องใกล้ส่วนปลายมีหลายปล้องที่ขยายใหญ่ขึ้นเป็นปมอาจจะประกอบไปด้วยปล้องเล็ก ๆ 3-4 ปล้อง หรือ 5-6 ปล้อง ซึ่งจำนวนปล้องที่ปลายหนวดนี้มีส่วนสำคัญในการอนุกรมวิธานด้วย แมงคีมวางไข่และตัวหนอนเจริญเติบโตในซากไม้ผุเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae แต่จะไม่วางไข่ในดิน เพราะระยะเป็นตัวหนอนจะกินอาหารจำพวกไม้ผุหรือเห็ดราที่ติดมากับไม้เหล่านั้น แตกต่างกันไปตามชนิดหรือสกุล โดยใช้เวลาฟักเป็นตัวเต็มวัยนานเป็นแรมปีเหมือนกัน แมงคีมพบได้ทั่วโลก ปกติเป็นแมลงที่ไม่ก้าวร้าวต่อมนุษย์ ในประเทศไทยสามารถพบได้หลายชนิด อาทิ แมงคีมยีราฟ (Prosopocoilus giraffa) ซึ่งเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ มีที่มีขนาดพอ ๆ กับนิ้วมือมนุษย์ พบได้ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งในภาคเหนือและภาคตะวันออก เป็นชนิดที่หายากใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว และมีรายชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
ดู ป่าและแมงคีม
แมงคีมยีราฟ
แมงคีมยีราฟ หรือ ด้วงคีมยีราฟ หรือ ด้วงคีมหยักสองต่อ (Giraffe stag beetle) เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Prosopocoilus giraffa จัดอยู่ในวงศ์แมงคีม (Lucanidae) แมงคีมยีราฟจัดเป็นแมงคีมชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีจุดเด่น คือ เขี้ยวหรือขากรรไกรล่างที่ใช้เป็นอาวุธของตัวผู้ที่เรียวยาวและแลดูแข็งแรงมาก โดยอาจยาวได้ถึง 2.5-4.0 เซนติเมตร ในขณะที่ลำตัวมีความยาวทั้งหมดประมาณ 10.5 เซนติเมตรในตัวผู้ และ 7.5 เซนติเมตรในตัวเมีย ลำตัวเป็นสีน้ำตาลดำเป็นเงามัน บริเวณตรงกลางส่วนอกของขาคู่กลาง และขาคู่หลังมีหนามข้างละ 1 อัน แต่ที่ขาคู่หลังจะมีขนาดเล็กกว่า ที่ฐานของขากรรไกรล่างมีปุ่มขนาดใหญ่ปรากฏอยู่ข้างละ 1 อัน และมีลักษณะเด่นที่สำคัญ คือ ส่วนหัวบริเวณขอบตรงกลางด้านบนจะมีปุ่มยื่นตรงไปด้านหน้า 1 คู่ ในขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดเล็กกว่ามาก โดยที่ขากรรไกรในตัวผู้จะมีลักษณะแตกต่างออกไปตามช่วงวัยและขนาดลำตัว ซึ่งยิ่งเจริญเติบโตมากและมีขนาดใหญ่ขึ้นเท่าใด คีมหรือขากรรไกรนั้นก็จะยาวใหญ่และมีส่วนโค้งและมีปุ่มเหมือนเขี้ยวมากขึ้นด้วย แมงคีมยีราฟพบกระจายพันธุ์ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งของหลายประเทศในทวีปเอเชียจนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือและภาคตะวันออก (มีทั้งหมด 9 ชนิดย่อย-ดูในตาราง) เป็นแมลงที่หากินในเวลากลางคืน โดยกินยางไม้ตามเปลือกไม้ของต้นไม้ใหญ่ในป่า ตัวผู้มีพฤติกรรมใช้ขากรรไกรที่ยาวใหญ่นั้นต่อสู้เพื่อป้องกันตัว และสู้กับตัวผู้ตัวอื่น ๆ เพื่อแย่งตัวเมียเพื่อผสมพันธุ์ หรือแม้แต่สู้กับด้วงในวงศ์ Dynastinae ที่ใช้เขาเพื่อการต่อสู้ได้ด้วยเช่นกัน ในระยะที่เป็นตัวหนอน อายุการเป็นตัวหนอนของแมงคีมยีราฟจะแตกต่างออกไปตามเพศ ตัวผู้จะมีอายุราว 9 เดือน ขณะที่ตัวเมียมีอายุสั้นกว่าคือ 4-7 เดือน และตัวหนอนสามารถส่งเสียงขู่ผู้รุกรานได้ด้วย ด้วยการยกขาคู่หลังตั้งขึ้นให้ด้านข้างซึ่งเป็นแผ่นแข็งเสียดสีกับขาคู่กลางไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้เกิดการสั่นจนมีเสียงพอรับรู้ได้ สำหรับสถานะในประเทศไทย เป็นแมลงที่หาได้ยากใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกจับไปเป็นสัตว์เลี้ยงและสตัฟฟ์เพื่อการสะสม และการทำลายป่าที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัย ทำให้แมงคีมยีราฟถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
แรด
แรด เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กีบคี่ ในวงศ์ Rhinocerotidae แรดถือว่าเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ อาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองจากช้างก็ว่าได้ เพราะแรดอาจมีขนาดยาวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน.
ดู ป่าและแรด
แร็กคูน
แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..
แร้ง
แร้งสีน้ำตาล (''Gyps indicus'') แร้ง หรือ อีแร้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.
ดู ป่าและแร้ง
แร้งเทาหลังขาว
แร้งเทาหลังขาว (อังกฤษ: The Indian White-rumped Vulture; ชื่อวิทยาศาสตร์: Gyps bengalensis) นกล่าเหยื่อจำพวกอีแร้งชนิดหนึ่ง.
แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ
แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ คือแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น ประกอบด้วย 3 ภูเขาศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ตั้งของศาลเจ้าและป่าโบราณที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งบางแห่งนั้นมีมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 9 และได้รับการดูแลเป็นอย่างดี ได้แก่ เขาโคยะซาน โยะชิโนะ และคุมะโนซัง กับเส้นทางแสวงบุญที่เชื่อมต่อกันไปสู่เมืองหลวงเก่านะระและเกียวโต.
ดู ป่าและแหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ
แอนทิโลปสี่เขา
แอนทิโลปสี่เขา หรือ ชูสิงห์ (Four-horned antelope, Chousingha; चौशिंगा) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Bovinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Tetracerus มีความสูงจากกีบเท้าจนถึงหัวไหล่ประมาณ 50 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 20 กิโลกรัม จัดเป็นแอนทิโลปที่มีขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในทวีปเอเชีย มีขนสีเหลืองน้ำตาลที่บริเวณด้านข้างละด้านล่างลำตัว ด้านในของขาเป็นสีขาว ขามีลักษณะเรียวเล็กและมีแถบสีดำเป็นทางยาวไปตามขา ในตัวผู้จะมีเขาขนาดเล็กสั้น ๆ 4 เขางอกขึ้นมาบนส่วนหัว 2 เขาแรกอยู่ระหว่างใบหูทั้ง 2 ข้างขวาหน้าผาก ซึ่งเขาคู่แรกนี้จะงอกหลังจากเกิดมาได้ไม่กี่เดือน และเขาคู่ที่ 2 จะยาวกว่าคู่แรก เป็นปัจจัยบ่งบอกถึงอายุ และสมบูรณ์แข็งแรงของแต่ละตัว อันเนื่องจากปัจจัยทางโภชนาการ จะไม่มีการสลัดเขาทิ้งเหมือนกวาง แต่เขาอาจจะแตกหักเสียหายได้จากการต่อสู้ แอนทิโลปสี่เขา มีการกระจายพันธุ์อยู่ ในอินเดียแถบรัฐทมิฬนาฑู และโอริศา และบางส่วนในเนปาล ซึ่งปัจจุบันพบได้เฉพาะในอุทยานแห่งชาติป่ากีร์เท่านั้น มีนิเวศวิทยาอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งหรือป่าผลัดใบ ปกติแล้วจะอาศัยและหากินเพียงลำพัง ยกเว้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ตัวผู้จะมีพฤติกรรมก้าวร้าว และต่อสู้กันเพื่อแย่งตัวเมีย ปกติแล้ว จะตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ เช่น เสือ, สิงโต, หมาใน เป็นต้น.
แนวกันไฟ
แนวกันไฟในป่า ผลลัพธ์ของไฟป่า (ซีกขวาในรูป) ซึ่งหยุดลงที่แนวกันไฟ แนวกันไฟ (firebreak) เป็นช่องว่างแนวยาวในป่า หรือระหว่างกลุ่มสิ่งก่อสร้าง ซึ่งมีความกว้างมากพอที่จะป้องกันไฟไม่ให้ลุกลามต่อเนื่องในกรณีที่เกิดไฟป่าหรืออัคคีภัย, โดยแนวกันไฟนี้บางที่อาจจะมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่นหุบเหว ลำห้วย หรือแม่น้ำ, แต่บางแห่งก็เป็นแนวที่มนุษย์สร้างขึ้น บ้างเพื่อจุดประสงค์ในการป้องกันไฟโดยเฉพาะ (ซึ่งจะมีการวางแผนล่วงหน้าโดยเจ้าหน้าที่ป่าไม้ หรือเจ้าหน้าที่ผังเมือง) บ้างก็เป็นผลพวงจากการถางทางเพื่อทำการอื่น เช่นการสร้างทางเดิน ถนนลูกรัง หรือทางหลวง ประสิทธิภาพของแนวกันไฟมักจะขึ้นกับความกว้างของแนว (ยิ่งกว้างจะยิ่งกันไฟได้เด็ดขาด แต่ต้องเสียพื้นที่มากตามไปด้วย) รวมทั้งลักษณะภูมิประเทศ กับสิ่งต่างๆ ที่จะเป็นเชื้อไฟในบริเวณนั้น (เช่นชนิดของต้นไม้ หรือวัสดุของสิ่งก่อสร้างข้างเคียง) ซึ่งส่งผลต่ออุณหภูมิของเปลวไฟ และระยะทางที่วัสดุติดไฟมีโอกาสจะปลิวข้ามแนวไปได้, โดยทั่วไปจึงอาศัยแนวกันไฟเป็นมาตรการเสริมคู่กับการควบคุมเพลิงตามปกติ เพื่อลดโอกาสที่อัคคีภัยจะแผ่ขยายไปไกลเกินกำลังรับมือของเจ้าหน้าที่ หมวดหมู่:ไฟ หมวดหมู่:การป่าไม้.
ใหญ่เต็มฟัด
ใหญ่เต็มฟัด (อังกฤษ: Who Am I?) เป็นภาพยนตร์แอคชั่น สัญชาติอเมริกา-จีน ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1998 กำกับโดย เฉินหลง, เฉิน มู่เซิ่ง นำแสดงโดย เฉินหลง, มิเชลล์ เฟอร์เร่, มิเรอิ ยามาโมโต้, รอน สเมอร์คซัค, เอ็ด เนลสัน, วอชิงตัน ซิโซโล.
โชคชัย บูลกุล
ัย บูลกุล นักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียงด้านการปศุสัตว์และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โชคชัยเป็นบุตรชายของ นายมา และนางบุญครอง บูลกุล (ซึ่งนามของทั้งคู่เป็นที่มาของศูนย์การค้ามาบุญครอง) เกิดเมื่อปี พ.ศ.
โยวี่
ประติมากรรมโยวี่ ในเมืองกิลคอย รัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย สำหรับยาวีในความหมายอื่นดูที่: ภาษายาวี โยวี่ หรือ ยาวีAustralian Yowie, "Finding Bigfoot".
ดู ป่าและโยวี่
โลก (ดาวเคราะห์)
ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.
โลกสวยด้วยมือเรา
ำร้อง.
โขน
น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท.
ดู ป่าและโขน
ไฟป่า
thumb ไฟป่า (wildfire, brush fire, bushfire, forest fire, desert fire, grass fire, hill fire, peat fire, vegetation fire, veldfire หรือ wildland fire) คือ เพลิงที่ไหม้อย่างเป็นอิสระในชนบทประเทศหรือถิ่นทุรกันดาร (wilderness area)Federal Fire and Aviation Operations Action Plan, 4.
ดู ป่าและไฟป่า
ไก่ป่า
''Gallus gallus'' ไก่ป่า หรือ ไก่เถื่อน อยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็นนกมีขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ขนาดลำตัว 46-73 เซนติเมตร พบการกระจายอยู่ในเขตศูนย์สูตรโดยมีการกระจายตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงเวียดนาม และประเทศจีนตอนใต้ จนไปถึงเกาะต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย จัดเป็นไก่สายพันธุ์ดั้งเดิมและเป็นต้นตระกูลของไก่บ้านที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ สามารถแบ่งออกได้แบ่งชนิดย่อยได้ 6 ชน.
ดู ป่าและไก่ป่า
ไผ่ตง
ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.
ดู ป่าและไผ่ตง
ไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก
นซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก (The Dinosaur Project) ภาพยนตร์แนวผจญภัยระทึกขวัญ สัญชาติอังกฤษ ในปี ค.ศ. 2012.
ดู ป่าและไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลก
เพียงพอนเส้นหลังขาว
ียงพอนเส้นหลังขาว หรือ เพียงพอนหลังขาว (Back-striped weasel) เป็นเพียงพอนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนกับเพียงพอนชนิดอื่น ๆ แต่มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีขาวแคบ ๆ พาดตามแนวสันหลังบริเวณกึ่งกลางหลัง ตั้งแต่ท้ายทอยจรดโคนหาง และมีอีกแถบสีคล้ายคลึงกันตามแนวกึ่งกลางของใต้ท้อง ขนตามบริเวณลำตัวและหางมีสีน้ำตาลเข้ม บริเวณใต้คางและใต้คอมีสีเหลืองอ่อน หางมีความยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลำตัว ตัวผู้จะมีแถบขนสีขาวพาดอยู่เพียงเส้นเดียว ขณะที่ตัวเมียจะมีอยู่ด้วยกันสองเส้น มีความยาวลำตัวตั้งแต่หัวจรดโคนหางประมาณ 27.5-32.5 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 14.5-20.5 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 1-2 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในป่าบนภูเขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,200-2,000 เมตร และเคยมีรายงานว่าพบในป่าผลับใบบนพื้นที่สูง ตั้งแต่แคว้นสิกขิมในอินเดีย, เนปาล, ภูฐาน, จีนทางตอนใต้, ลาวและเวียดนามทางตอนเหนือ และภาคเหนือและภาคอีสานของไทย มีพฤติกรรมออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน โดยมักล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู เป็นอาหาร โดยเมื่อจับได้แล้วมักจะกัดที่จมูกจนตาย ในประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
เกาะลันเตา
ที่ตั้งของเกาะลันเตา (สีแดง) ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง (สีเขียว) เกาะลันเตา (Lantau Island) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน.
เก้ง
ก้ง หรือ อีเก้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.
ดู ป่าและเก้ง
เก้งยักษ์
ก้งยักษ์ (Giant muntjac) มีรูปร่างหน้าตาคล้ายเก้งธรรมดา (M. muntjac) แต่มีขนาดลำตัวใหญ่กว่ามาก สีขนตามลำตัวมีหลากหลาย ทั้งสีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลดำ มีเขาเฉพาะตัวผู้ มีลักษณะเด่นคือ เขามีขนาดใหญ่ บางตัวอาจมีกิ่งเขาถึง 3 กิ่ง บางตัวอาจมีแค่ 2 โคนเขาหนากว่าโคนเขาของเก้งธรรมดา เก้งยักษ์ถือเป็นสัตว์ป่าลึกลับที่ไม่ค่อยปรากฏตัวจึงมีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก แม้แต่รูปถ่ายก็ยังไม่เคยมี จนกระทั่งกลางปี ค.ศ.
เก้งหม้อ
ก้งหม้อ หรือ กวางเขาจุก หรือ เก้งดำ หรือ เก้งดง (Fea's muntjac, Tenasserim muntjac) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่จำพวกกวาง มีลักษณะคล้ายเก้งธรรมดา (M.
เสินหนง
วาดเสินหนงทดสอบคุณสมบัติของสมุนไพร เสินหนง (Shennong;; สำเนียงแต้จิ๋ว: ซิ่งล้ง, สำเนียงฮกเกี้ยน: สินเหน่ง) กษัตริย์ในตำนานของจีน ในยุคเริ่มต้นของอารยธรรมมนุษย์ มีอีกชื่อหนึ่งว่า เสินหนงสื่อ (จีนตัวเต็ม: 神農氏, จีนตัวย่อ: 神农氏, พินอิน: Shén nóng shì) โดยมีความหมายว่า "เทพเจ้าแห่งชาวนา" เสินหนงเป็นหัวหน้าเผ่าหัว (ฮั้ว) แซ่เจียง เมื่อ 5,000 ปี ก่อน ได้ร่วมทำไร่ไถนากับชาวบ้านสามัญชน และเป็นผู้คิดประดิษฐ์คันไถด้วยไม้และสอนให้ผู้คนรู้จักการปลูกข้าว ทำไร่ไถนา ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนพัฒนาการเกษตรเป็นอย่างมาก ด้วยคุณงามความดีทางด้านการเพาะปลูก ผู้คนทั้งหลายจึงให้ความเคารพนับถือมาก สมัยเสินหนงเป็นระยะแรกเป็นไปเป็นแบบลูกชายสืบทอดเชื้อสายจากสายของพ่อ ประชาชนอยู่ด้วยกันอย่างปรองดองไม่มีการกดขี่ขูดรีด ตามบันทึกของจีนบันทึกไว้ว่า ในช่วงที่เสินหนงเป็นหัวหน้าเผ่านั้น แบ่งหน้าที่ตามสถานะทางเพศชัดเจน ผู้ชายออกจากบ้านไปทำไร่ไถนา ผู้หญิงทอผ้าในบ้าน การปกครองประเทศไม่ต้องมีเรือนจำและการลงโทษ และก็ไม่ต้องมีการทหารและตำรวจ แต่คุณูปการที่สำคัญยิ่งของเสินหนงได้แก่ การเสาะหาสมุนไพรตาม ป่าเขา เพื่อใช้รักษาโรคของผู้คนทั้งหลายและในการทดสอบสรรพคุณ ของสมุนไพรว่า จะรักษาโรคเช่นไรได้ เสินหนงได้ใช้ตนเองเป็นเครื่องทดลอง ด้วยการลองกินสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ดูว่า จะมีผลต่อร่างกายอย่างไร จึงถูกพิษเล่นงานบ่อยครั้งจนกระทั่งบางวันเป็นพิษถึง 70 กว่าครั้งภายในวันเดียว กล่าวกันว่าเสินหนงยังได้แต่งหนังสือชื่อ "เสินหนงไป๋ฉ่าว" แปลว่า "ยาสมุนไพรเสินหนง" โดยได้จดบันทึกใบสั่งยาสมุนไพรที่รักษาโรคแต่ละอย่างไว้ จึงอาจถือได้ว่าเป็นตำราทางการแพทย์เล่มแรกของโลกก็ว่าได้ นอกจากนี้แล้ว เสินหนงเป็นคนแรกที่รู้จักการดื่มน้ำชา เล่ากันว่า เสินหนงดื่มเฉพาะน้ำต้มสุก วันหนึ่งขณะที่เสินหนงกำลังพักผ่อนอยู่ใต้ต้นชาในป่า และกำลังต้มน้ำอยู่ ปรากฏว่า ลมได้พัดโบกใบชาร่วง หล่นลงในน้ำที่ใกล้เดือดพอดีเมื่อลองดื่มดูก็เกิดความรู้สึกสดชื่นกระปรี้กระเปร่าขึ้นมาก จึงเป็นที่ของวัฒนธรรมการดื่มชาของชาวจีนจนปัจจุบัน ในทางด้านวิทยาการ เสินหนง ยังเป็นนักปฏิทินดาราศาสตร์ ได้ปรับปรุงและขยาย "แผนภูมิปากั้ว" หรือ "แผนภูมิ 8" ที่ "ฝูซี" (伏羲) เป็นผู้คิดค้นขึ้นเพื่อใช้ในการแสดงปรากฏการณ์ของธรรมชาติและปรากฏการณ์ของมนุษย์ต่าง ๆ มาเป็น "ลิ่วสือซื่อกั้ว" หรือ "แผนภูมิ 64" ตั้งชื่อว่า "กุยฉาง" ซึ่งนอกจากใช้บันทึกเหตุการณ์ แล้ว ยังนำมาใช้ในการเสี่ยงทายได้ด้วย (ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นอี้จิง หรือ โจวอี้) นอกจากนั้น เมื่อเสินหนงเห็นคนบางคนต้องการสิ่งของที่ตนเองผลิตไม่เป็น แต่บางคนกลับมีเกินความจำเป็น ทำให้การดำรงชีวิตไม่สะดวกสมดุล จึงเสนอให้ประชาชนนำสิ่งของของตนไปแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน และให้มีการค้าขายกัน จึงถือได้ว่าระบบเศรษฐกิจของจีนถือกำเนิดมาในยุคนี้เอง เพื่อให้ประชาชนมีความสนุกสนานหลังใช้แรงงานแล้ว เสินหนง ได้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีชนิดหนึ่งเรียกว่า "อู่เสียนฉิน" หรือ พิณ 5 สาย ที่มีเสียงไพเราะน่าฟัง เสินหนงเป็นหัวหน้าเผ่านานถึง 140 ปี ภายหลังหวงตี้ได้เข้าครองตำแหน่งการปกครองต่อมา ส่วนสุสานของเสินหนงอยู่ที่เมืองฉางชาของมณฑลหูหนานในปัจจุบัน แต่คนทั่วไปเรียกว่า สุสานเหยียนตี้.
เสือ
ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.
ดู ป่าและเสือ
เสือจากัวร์
ือจากัวร์ จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ วงศ์เสือและแมว (Felidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera onca เป็นเสือขนาดใหญ่รองลงมาจากเสือโคร่ง (P.
เสือโคร่งชวา
ือโคร่งชวา เป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris sondaica เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยพบได้ในอินโดนีเซีย โดยจะพบได้เฉพาะบนเกาะชวาเท่านั้น ปัจจุบันเสือโคร่งชวาได้สูญพันธุ์ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่นเดียวกับเสือโคร่งบาหลี (P.
เสือไฟ
ือไฟ (หรือ Catopuma temminckii) เป็นแมวป่าขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่าเสือลายเมฆ แต่ใหญ่กว่าแมวลายหินอ่อน โดยชื่อวิทยาศาสตร์ temminckii ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่กุนราด ยาโกบ แต็มมิงก์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ซึ่งเป็นผู้บรรยายลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของเสือไฟแอฟริกาเมื่อปี..
ดู ป่าและเสือไฟ
เสียงเพลงแห่งเสรีภาพ
ียงเพลงแห่งเสรีภาพ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย ศิลปินคาราบาวทั้งวง, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร, สุพรรษา เนื่องภิรมย์, อุทุมพร ศิลาพันธุ์ เขียนบทโดย ยืนยง โอภากุล, อรุณศักดิ์ อ่องลออ กำกับโดย คัมภีร์ ภาคสุวรรณ์ อำนวยการสร้างโดย กิตติ อัครเศรณี.
เหยี่ยวรุ้ง
หยี่ยวรุ้ง หรือ อีรุ้ง (Crested serpent-eagle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Spilornis cheela) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางจำพวกเหยี่ยวที่พบได้ในป่าในทวีปเอเชียเขตร้อน มีการกระจายพันธุ์กว้าง ด้วยความที่นกในสกุลนี้กินอาหารหลัก คือ งู จึงได้ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า "Serpent-eagle" (เหยี่ยวงู หรือ อินทรีงู).
เหยี่ยวดำ
หยี่ยวดำ (Black kite, Pariah kite) เป็นเหยี่ยวชนิดหนึ่ง จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัวสีน้ำตาลเข้มอมเหลืองทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้นสีดำแหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว พบกระจายพันธุ์อยู่กว้างขวางในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ยูเรเชีย, ออสตราเลเชีย และโอเชียเนีย จึงทำให้มีชนิดย่อยหลากหลายถึง 5 ชนิด (ดูในตาราง) และเป็นนกอพยพในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูหนาว ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือ, ภาคกลางและภาคใต้ มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวัน ชอบบินอยู่ตามที่โล่งชายป่า ตามริมฝั่งทะเล หรือตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ เพื่อหาอาหาร เมื่อจับเหยื่อได้ก็มักกินบนพื้นดิน หรืออาจนำไปกินบนต้นไม้ พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่หรือเป็นฝูง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ เหยี่ยวดำจะทำรังรวมกันเป็นกลุ่มบนต้นไม้สูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันสร้างรังด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ นำมาขัดสานกัน จากนั้นทั้งคู่จะช่วยกันกกไข่และเลี้ยงลูกอ่อน นกจะใช้เวลากกไข่นานประมาณ 29-32 วัน ออกไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ปกติ 3 ฟอง ไข่ของเหยี่ยวดำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ในการสำรวจในปี..
เอ็ด กีน
อ็ดเวิร์ด ทีโอดอร์ กีน (Edward Theodore Gein) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ เอ็ด กีน (Ed Gein) เป็นฆาตกรฆ่าต่อเนื่องโรคจิตชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง.
เจค จิลเลินฮาล
็อบ เบนจามิน จิลเลนฮอล เกิดวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2523 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้ชนะเลิศรางวัลบาฟต้า สาขาดาราสมทบชายยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ.
เจ้าหน้าที่ป่าไม้
เจ้าหน้าที่ป่าไม้ เป็นผู้ประกอบกิจทางวนศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ ศิลป์และวิชาชีพในการจัดการป่าไม้ เจ้าหน้าที่ป่าไม้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมหลายประเภท ทั้งการทำไม้ซุง การฟื้นฟูระบบนิเวศและการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เจ้าหน้าที่ป่าไม้จัดการป่าไม้เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ทั้งการสกัดวัตถุดิบโดยตรง สันทนาการนอกอาคาร การอนุรักษ์ การล่าสัตว์และความงาม การจัดการป่าไม้ที่กำลังอุบัติขึ้นมีทั้งเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ การแยกคาร์บอนและคุณภาพอากาศ แม้หลายคนสับสนบทบาทของเจ้าหน้าที่ป่าไม้กับของคนตัดไม้ แต่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ส่วนใหญ่มิได้สนใจเฉพาะการทำไม้ซุงเท่านั้น แต่ยังสนใจการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน เพื่อ "จัดหาสินค้าดีที่สุดในปริมาณมากที่สุดในระยะยาว" หมวดหมู่:อาชีพ.
เทียนนกแก้ว
ทียนนกแก้ว (parrot flower) อยู่ในวงศ์ Balsaminaceae อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับวงศ์เทียน มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือนนกแก้วที่โดนแมวกัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว.
เขมรแดง
ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ.
เขตกูลีกอโร
ตกูลีกอโร (Région de Koulikoro) เป็นเขตในทิศตะวันตกของประเทศมาลี ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 90,120 กม.² เมืองหลวงคือ กูลีกอโร.
เขตฮีลากังมินดาเนา
ตฮีลากังมินดาเนา (Hilagang Kamindanawan) หรือ เขตที่ 10 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 5 จังหวัดและ 2 นครที่มีประชากรสูง เขตครอบคลุมพื้นที่ทางตอนเหนือถึงตอนกลางของเกาะมินดาเนาและเกาะของจังหวัดกามิกิน ศูนย์กลางของเขตอยู่ที่เมืองคากายันเดอโอโร สำหรับจังหวัดฮีลากังลาเนานั้น เคยอยู่ในเขตโซกซาร์เจนก่อนที่จะถูกย้ายเข้ามาในเขตนี้ ในเดือนกันยายน..
เขตคารากา
ตคารากา หรือ เขตบริหารคารากา หรือ เขตที่ 13 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะมินดาเนา เขตนี้ถูกก่อตั้งโดย กฎหมายสาธารณรัฐที่ 7901 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..
เดอะซิมส์ 2 ชุดไอเท็มเสริม
อเท็มเสริม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของ ภาคเสริม สำหรับเกม เดอะซิมส์ 2 เท่านั้น เป็นเพียงการเพิ่มเติมเสื้อผ้า สิ่งของ และเครื่องใช้ต่างๆ แต่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงตัวเกมแต่อย่างใ.
ดู ป่าและเดอะซิมส์ 2 ชุดไอเท็มเสริม
เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)
อะเลเจนด์ออฟเซลดา เป็นเกมชุดประเภทแอ็กชันผจญภัยที่กล่าวถึงวีรบุรุษในตำนาน ริเริ่มโดยนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (宮本 茂) พัฒนาและวางจำหน่ายโดยนินเทนโด (Nintendo) เกมชุดนี้เป็นการผสมผสานระหว่างเกมแอ็กชัน เกมผจญภัย เกมปริศนา เกมเล่นตามบทบาท (RPG) ในบางโอกาสก็มีการใช้เกมมุมมองด้านข้าง (platform) เกมสายลับ (stealth) หรือเกมแข่งขัน (racing) ประกอบอยู่ด้วย ตัวเอกที่สามารถเล่นได้เพียงคนเดียวคือเด็กหนุ่มชื่อ ลิงก์ (Link) เขามักได้รับมอบหมายให้ช่วยเหลือ เจ้าหญิงเซลดา (Zelda) แห่ง อาณาจักรไฮรัล (Hyrule) รวมทั้งตัวประกอบอื่นๆ ซึ่งถูกจับตัวไปโดย กาน่อน (Ganon) ศัตรูตัวหลักของเรื่อง แต่อย่างไรก็ตามตัวละครบางตัวอาจปรากฏหรือไม่ปรากฏในภาคอื่นๆ ก็ได้ หรืออาจมีตัวละครตัวอื่นที่จะต้องช่วยเหลือหรือต้องต่อสู้ด้วยแทน เนื้อเรื่องโดยปกติมักจะเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ที่เรียกว่า ไทรฟอร์ซ (Triforce) มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมสีทองสามอัน ซึ่งเป็นตัวแทนของพลังอันไม่สิ้นสุดของพระเจ้าสามองค์ เกมชุดเดอะเลเจนด์ออฟเซลดาได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นหนึ่งในวิดีโอเกมที่มีอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ ควบคู่ไปกับ มาริโอ โปเกมอน และเมทรอยด์ เกมชุดนี้ประกอบไปด้วยเกมอย่างเป็นทางการ 14 ภาค เกมย่อยอีกหลายภาค บนเครื่องเล่นวิดีโอเกมชนิดต่างๆ เกมหลายภาคได้รับความชื่นชมจากผู้เล่นเป็นอย่างมากและประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู ป่าและเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)
เต่าดาวพม่า
ต่าดาวพม่า (Burmese star tortoise; ชื่อวิทยาศาสตร์: Geochelone platynota) เป็นเต่าบกที่มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 11 นิ้ว มีลวดลายบริเวณกระดองหลังเป็นรูปดาว ความเข้มของสีกระดองจะผันแปรไปตามสภาพแวดล้อม มีช่วงวัยเจริญพันธุ์ 10-15 ปี ฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูฝน มักวางไข่ใต้พื้นทรายหรือทรายที่ปนดิน ระยะเวลาฟักไข่ 130-148 วัน มีถิ่นอาศัยในป่าผลัดใบ, ป่าดิบแล้ง ทุ่งหญ้าทางตอนเหนือของประเทศพม่า อาหารที่เต่าดาวพม่าชอบคือ ผักชนิดต่าง ๆ อาทิ คะน้า, กะหล่ำปลี, ผักโขม, ตำลึง, หน่อไม้ และมะเขือเทศ ปัจจุบันเต่าดาวพม่าได้ถูกขึ้นบัญชีอนุสัญญา CITES ห้ามล่า ห้ามซื้อขายในตลาดค้าสัตว์ ทำให้เต่าดาวพม่าเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นและเป็นสัตว์หายาก ในประเทศไทยสวนสัตว์นครราชสีมา หรือสวนสัตว์โคราช ที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ เต่าดาวพม่า ได้เป็นครั้งแรกในโลก.
เต่าใบไม้
ต่าใบไม้ หรือ เต่าแดง (Asian leaf turtle, Brown stream terrapin) สัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่า ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) มีลักษณะเด่น คือ กระดองส่วนล่างมีลักษณะคล้ายบานพับคล้ายกับเต่าหับ แต่ปิดได้เฉพาะตอนล่าง หัวมีสีน้ำตาล, น้ำตาลแดง หรือเขียวมะกอกด้านบนสุดของหัวอาจมีจุดสีดำ และด้านข้างของหน้าอาจจะมีแถบสีเหลืองหรือชมพู กระดองส่วนล่างสีจาง มีเส้นเป็นแนวรัศมี บางครั้งพบว่ากระดองส่วนล่างอาจเป็นสีดำ หรือน้ำตาลเข้มทั้งหมดลักษณะรอยต่อระหว่างแผ่นเกล็ดต้นขาและแผ่นเกล็ดทวารโค้งและกระดองส่วนล่างที่มีลักษณะเป็นบานพับเป็นลักษณะที่ทำให้แยกออกจากเต่าหวาย ที่มีลักษณะกระดองคล้ายคลึงกัน มีกระดองส่วนบนยาวเต็มที่ 22 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในพื้นที่ชุ่มน้ำหรือลำธารในป่า หรือเนินเขา ในทุกประเทศของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เป็นเต่าที่กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ ในน้ำ, ผัก และผลไม้ เป็นต้น จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.
เต่าเหลือง
ต่าเหลือง หรือ เต่าเทียน หรือ เต่าแขนง หรือ เต่าขี้ผึ้ง (Elongated tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indotestudo elongata จัดเป็นเต่าบกขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม กระดองโค้งสูงพอสมควร ทั่วตัวมีสีขาวหรือเหลืองเป็นส่วนใหญ่ มีแต้มสีดำบ้างประปราย ขอบกระดองของบางตัวมีสีเหลืองใสดูคล้ายขี้ผึ้งหรือเทียน จึงเป็นที่มาของชื่อ ในบางตัวเมื่อโตเต็มที่อาจมีสีน้ำตาลแก่ปน ขามีสีเทาดำ ขาหน้ามีเกล็ดใหญ่ ๆ อยู่ด้านบน ขาหลังสั้นทู่ ขาหน้าและขาหลังไม่มีพังผืดระหว่างนิ้ว แต่มีนิ้วแข็งแรงมาก ตัวผู้มีเกล็ดกระดองเว้าและลึก ขณะที่ตัวเมียราบเรียบกว่า พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และบางส่วนในเอเชียใต้ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค กินพืชและผลไม้เป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินเนื้อ เช่น ซากสัตว์หรือหอยได้ด้วย เป็นเต่าที่ชอบความชื้น แต่ไม่ชอบที่จะแช่น้ำ พบได้ในป่าแทบทุกสภาพ แม้กระทั่งในสวนยางพาราหรือสวนปาล์มน้ำมัน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง โดยมีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม จากนั้นในเดือนธันวาคมจึงจะวางไข่ โดยจะขุดหลุมลึกประมาณครึ่งตัว ใช้เวลาฟักประมาณ 146 วัน ลูกเต่าที่เกิดมาใหม่กระดองจะมีความนิ่ม จะแข็งเมื่ออายุได้ราวหนึ่งปี เต่าชนิดนี้ ในประเทศไทย สามารถพบเห็นได้ง่าย คือ ที่หมู่บ้านบ้านกอก อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ห่างจากตัวอำเภอเมืองราว 50 กิโลเมตร โดยจะพบเต่าเหลืองอาศัยและเดินไปเดินมาทั่วไปในหมู่บ้าน โดยที่ชาวบ้านไม่ทำอันตรายหรือนำไปรับประทาน เต่าจึงอาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งชาวบ้านที่นี่เชื่อว่าเต่าเหลืองเป็นเต่าเจ้า เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ และเรียกชื่อเต่าชนิดนี้เป็นภาษาถิ่นว่า "เต่าเพ็ก" จนได้รับชื่อเรียกว่าเป็น "หมู่บ้านเต่า" เต่าเหลือง มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.
เซเบิล
ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).
ดู ป่าและเซเบิล
เปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2
ปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2 (อังกฤษ: Young Justice Bao 2) เป็นละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในประเทศจีนช่วงปี ค.ศ. 2001 กล่าวถึงประวัติของเปาบุ้นจิ้นในช่วงวัยหนุ่มที่เพิ่งเข้ารับราชการกับฮ่องเต้ใหม่ๆ ออกอากาศในประเทศไทยทางช่อง 3 แฟมิลี่ ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ.
ดู ป่าและเปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2
เป็ดก่า
ป็ดก่า (White-winged duck, White-winged wood duck) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Asarcornis จัดเป็นเป็ดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ หัวและลำคอตอนบนสีขาว มีจุดกระดำกระด่างสีดำ โดยทั่วไปสีของลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลเหลือบเขียว มีขนเป็นปื้นขาวตรงหัวไหล่เป็นลักษณะเด่น มีรูปร่างเทอะทะ ปีกกว้าง ขาสั้น เพศผู้มีม่านตาสีสดใสเป็นสีเหลืองส้ม ในขณะที่เพศเมียมีม่านตาสีน้ำตาลเข้ม จะงอยปากสีเหลืองเข้มหรือสีส้ม มีประดำเป็นหย่อม ๆ เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์โคนปากจะพองโต เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย น้ำหนักโดยเฉลี่ยเพศผู้ประมาณ 2,945-3,855 กรัม ขณะที่เพศเมีย 1,925-3,050 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, พม่า, ไทย จนถึงหลาย ๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทยถือเป็นนกในวงศ์ Anatidae ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็ดก่า มีอุปนิสัยแปลกไปจากนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมักจะอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ และพบได้จนถึงในพื้นที่ ๆ มีความสูงถึง 5,000 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกลับสู่ถิ่นที่อยู่ในเวลารุ่งเช้า โดยมักจะจับกิ่งไม้สูง ๆ ใช้เป็นที่หลับนอน มักจับคู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 5-6 ตัวในแหล่งน้ำที่สงบ ปราศจากการรบกวน แม้จะมีรูปร่างเทอะทะแต่ก็สามารถบินได้ดี และบินหลบหลีกต้นไม้ต่าง ๆ ในป่าดิบได้เป็นอย่างดี ในฤดูผสมพันธุ์ เป็ดก่าจะส่งเสียงร้องขณะบิน การจับคู่ผสมพันธุ์อาจเป็นในรูปแบบผัวเดียวเมียเดียว แต่ยังไม่เป็นที่ยืนยัน วางไข่ครั้งละ 6-13 ฟอง สีของไข่เป็นสีเหลืองอมเขียว มักทำรังตามโพรง เพศเมียเท่านั้นที่กกฟักไข่ ระยะเวลาฟักประมาณ 33-35 วัน ขณะฟักไข่หรือเลี้ยงลูกอ่อนเพศผู้จะอยู่พัวพันเพียงห่าง ๆ เท่านั้น เป็ดก่า ถือเป็นเป็ดป่าที่หายากและเพาะขยายพันธุ์ได้ยากชนิดหนึ่ง มีการขยายพันธุ์ได้ด้วยฝีมือมนุษย์เพื่อการอนุรักษ์ ได้แค่ไม่กี่ครั้ง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
เป็ดหงส์
ป็ดหงส์ (Knob-billed duck, Comb duck) เป็นสัตว์ปีกจำพวกเป็ดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Sarkidiornis จัดว่าเป็นเป็ดป่าขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลำตัวประมาณ 76 เซนติเมตร มีจะงอยปากสีดำแถบบนปีกสีบรอนซ์สะดุดตา ตัวผู้มีส่วนหลังสีดำเหลือบสีเขียวแกมฟ้าและสีม่วง ส่วนหัวและลำคอสีขาว มีจุดประสีดำ แถบสีดำรอบด้านหลังคอพาดลงไปถึงด้านข้างของส่วนอก และอีกแถบหนึ่งพาดลงไปด้านข้างของส่วนหาง ขณะบินจะสังเกตเห็นแผ่นหลังส่วนล่างสีออกเทาชัดเจน ในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้มีปุ่มเนื้อที่โคนจะงอยปากด้านบนขยายใหญ่ขึ้นกว่าเดิมมาก จนเห็นได้ชัดเจน ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและลำตัวสีทึมกว่า และไม่มีแถบสีดำสองแถบบนส่วนคอและที่ใกล้หาง ลูกอ่อนที่อายุน้อยลำตัวไม่ค่อยมีสีเหลือบและบริเวณแถบขาวมีสีคล้ำ มีถิ่นแพร่กระจายพันธุ์กว้างขวางมาก ตั้งแต่ ปากีสถาน, อินเดีย, ศรีลังกา, บังกลาเทศ ไปทางทิศตะวันออกผ่านแคว้นอัสสัม, พม่า ถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีนตอนตะวันตกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังพบในทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้อีกด้วย มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ ชอบที่จะเกาะคอนไม้สูง ๆ อาศัยเป็นที่หลับนอน อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง ซึ่งเป็นครอบครัวประมาณ 4-10 ตัว หากินโดยการไซ้กินหัวและยอดอ่อน ตลอดจนเมล็ดของพืชน้ำ, เมล็ดข้าว, แมลงน้ำ และอาจกินสัตว์น้ำอย่างกบ, เขียด และปลาได้ด้วย มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในราวเดือนกรกฎาคมจนถึงเดือนกันยายน ในประเทศอินเดียมีรายงานว่าพบทำรังในรังเก่าของนกแร้ง และในรูบนกำแพงป้อมเก่า ๆ และบนหน้าผาดิน วางไข่สีครีมจาง ๆ จำนวน 7-15 ฟอง ในประเทศไทย ถือเป็นนกที่หาได้ยากมาก และใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากสูญเสียที่อยู่ในธรรมชาติ และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.
Homo habilis
Homo habilis เป็นมนุษย์เผ่า Hominini มีชีวิตอยู่ในระหว่างช่วงอายุหิน Gelasian และ Calabrian คือครึ่งแรกของสมัยไพลสโตซีนประมาณ 2.1-1.5 ล้านปีก่อน โดยอาจวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษสาย australopithecine ตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ที่เป็นแบบก็คือซากศพหมายเลข OH 7 ที่พบในปี 2503 (ค.ศ.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ป่าดิบ
รัฐบาฮากาลิฟอร์เนียรัฐเมฆาลัยรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2559รายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะราเมือกลิงอ้ายเงียะลิงจมูกยาวลิงจมูกเชิดลิงเลซูลาลิงเสนลู่ตูงลีเมอร์วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหารวัดอัมพวัน (ลพบุรี)วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)วัดเส้าหลินวัดเขาวงพระจันทร์วงศ์ชะมดและอีเห็นวงศ์พังพอนวงศ์กระต่ายวงศ์กระแตวงศ์กวางชะมดวงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยนวงศ์ย่อยกิ้งก่าวงศ์ย่อยลิงโลกเก่าวงศ์หนูวงศ์งูแสงอาทิตย์วงศ์ปูบกวงศ์นกแสกวงศ์นกแต้วแร้ววงศ์นกเค้าแมววงศ์เหี้ยวนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอนวนอุทยานเขากระโดงว็อลฟส์บวร์คสกุลวูลเปสสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์สุสานจักรพรรดิฉินที่ 1สีเผือก คนด่านเกวียนหมาหริ่งหมีหมีควายหมีแว่นหลวงพ่อเพ็ชร (วัดท่าถนน)หนูฟานหนูฟานเหลืองหนูผีหนูผีป่าหนูจี๊ดหน่วยพิทักษ์ป่าห้วยชมพู-ผาเทวดาอะโอะกิงะฮะระอัลมาส์อันดับบ่างอันดับกระแตอันตีโปโลอำเภออมก๋อยอินทรีดำอุทยานแห่งชาติภูสอยดาวอุทยานแห่งชาติวีรูงกาอุทยานแห่งชาติออบหลวงอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีอุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปูเวร์โตปรินเซซาอุทยานโอลิมปิกลอนดอนอีเห็นหน้าขาวอีเห็นเครือองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากลผักกูดผีฉมบจระเข้จังหวัดอ่างทองจังหวัดแม่สอดจังหวัดเพชรบุรีธงชาติบราซิลธงชาติกาบองธงชาติกินี-บิสเซาธงชาติอิเควทอเรียลกินีธงชาติแคเมอรูนธงชาติแซมเบียทรัพยากรสิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยทะเลสาบแทนกันยีกาทัชชกร ยีรัมย์ทาร์เซียร์ฟิลิปปินทาแมนดัวที่สุดในโลกที่ดินดัม-มะ-ชา-ติ (อัลบั้ม)ดัคดิอะเมซิ่งเรซ: A Corrida Milionáriaด้วงกว่างด้วงกว่างญี่ปุ่นความหลากหลายทางชีวภาพคางคกบ้านคางคกซูรินามคู่ซี้ต่างพันธุ์ค่างแว่นถิ่นใต้ค่างแว่นโฮสค้างคาวหน้ายักษ์กุมภกรรณค้างคาวผลไม้ค้างคาวขอบหูขาวเล็กค้างคาวแวมไพร์ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดางูเขียวหัวจิ้งจกตะกวดตะกวดบิตาตาวาตะกองตำบลมหาวันตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตุ๊กแกตุ๊กแกบินตุ๊กแกบินหางแผ่นซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่นซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีนประวัติศาสนาพุทธประเทศฟีจีประเทศพม่าประเทศฝรั่งเศสประเทศปาปัวนิวกินีปลาพลวงทองปลากัดอัลบิปลากดเกราะปลาผีตุ่นปลาจาดแถบดำปลาตะพัดพม่าปลาตะพากเหลืองปลาตะเพียนจุดปลาตะเพียนแคระปลาซิวตาเขียวปลาซิวใบไผ่ยักษ์ปลาซิวใบไผ่แม่แตงปลาน้ำจืดปูไก่ป่าชายหาดป่าสันทรายป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ป่าคำชะโนดป่าคดจาวัลป่าไม้เขตร้อนนกชาปีไหนนกพรานผึ้งนกยูงนกอีวาบตั๊กแตนนกแสกนกแสกแดงนกแต้วแร้วท้องดำนกโพระดกคอสีฟ้านกเอี้ยงหัวสีทองนกเอี้ยงคำนกเขียวก้านตองใหญ่นกเค้าแคระนกเค้าโมงนกเค้าเหยี่ยวนกเปล้าใหญ่นากใหญ่ธรรมดานางตะเคียนนิมิต (เขตแดน)นิลกายน้ำตกห้วยหินฝนแก๊งฉึกฉักไดโนเสาร์แมงคีมแมงคีมยีราฟแรดแร็กคูนแร้งแร้งเทาหลังขาวแหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิแอนทิโลปสี่เขาแนวกันไฟใหญ่เต็มฟัดโชคชัย บูลกุลโยวี่โลก (ดาวเคราะห์)โลกสวยด้วยมือเราโขนไฟป่าไก่ป่าไผ่ตงไดโนซอร์ เจาะแดนลี้ลับช็อกโลกเพียงพอนเส้นหลังขาวเกาะลันเตาเก้งเก้งยักษ์เก้งหม้อเสินหนงเสือเสือจากัวร์เสือโคร่งชวาเสือไฟเสียงเพลงแห่งเสรีภาพเหยี่ยวรุ้งเหยี่ยวดำเอ็ด กีนเจค จิลเลินฮาลเจ้าหน้าที่ป่าไม้เทียนนกแก้วเขมรแดงเขตกูลีกอโรเขตฮีลากังมินดาเนาเขตคารากาเดอะซิมส์ 2 ชุดไอเท็มเสริมเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)เต่าดาวพม่าเต่าใบไม้เต่าเหลืองเซเบิลเปาบุ้นจิ้นหนุ่ม พิทักษ์ธรรม ภาค 2เป็ดก่าเป็ดหงส์Homo habilis