โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปารีส

ดัชนี ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

1464 ความสัมพันธ์: บริษัทอินเดียตะวันออกของฝรั่งเศสบริติชแอร์เวย์บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดลบรีฌิต บาร์โดบรีฌิต มาครงบลัดดีแมรีบอร์นดิสเวย์บอลบัลลูนบัลลูนอากาศร้อนบัวขาว บัญชาเมฆบัวโนสไอเรสชายนีชาร์ล กูโนชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็องชาร์ล เดอ โกลชาร์ล-อ็องรี ซ็องซงชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลงชาวญวนชาทร์ชาตองเดชิลเพริคที่ 1ชิลเดอแบร์ที่ 1ชิงช้าสวรรค์บุรญุลอะร็อบชูอัน มีโรบูคาเรสต์บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สันบีอินสปอตส์บ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัตช็องเดอมาร์สช็องเซลีเซบ้านแถวฟรังซัวส์ ซากัตฟรันซ์ มาร์คฟรันซ์ ลิซท์ฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน)ฟร็องก์ รีเบรีฟร็องซัว บูเชฟร็องซัว มีแตร็องฟร็องซัว ม็องซาร์ฟร็องซัว ราวายักฟร็องซัว ราเบอแลฟร็องซัว ออล็องด์ฟร็องซัว ทรูว์โฟฟร็องซัว โมรียักฟร็องซิส ปูแล็งก์ฟลาวิโอ บาโดลโยที่ 3 ดยุกแห่งแอดดิสอาบาบาฟอร์ด แมดด็อกซ์ ฟอร์ดฟอลีแบร์แฌร์...ฟารูก มะห์มูดฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1960ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มดีฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มซีฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอฟฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 รอบแพ้คัดออกฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนียฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ฟุตบอลทีมชาติสเปนฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีฟุตบอลทีมชาติเวลส์ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ฟุตบอลโลก 1998ฟุตบอลโลกหญิง 2019ฟีลิป อามอรีฟีลิปโป ลิปปีฟีลิปโป ตอมมาโซ มารีเนตตีฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์มพ.ศ. 2220พ.ศ. 2346พ.ศ. 2375พ.ศ. 2403พ.ศ. 2410พ.ศ. 2432พ.ศ. 2437พ.ศ. 2438พ.ศ. 2453พ.ศ. 2454พ.ศ. 2463พ.ศ. 2483พ.ศ. 2503พ.ศ. 2505พ.ศ. 2539พ.ศ. 2543พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พม่ารำลึกพรมผนังพรมผนังบาเยอพรรคสาธารณรัฐ (กัมพูชา)พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศสพรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชาพระบรมรูปทรงม้าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพุทธรูปแห่งบามียานพระยาสิงห์เสนี (สอาด สิงหเสนี)พระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์พระราชวังฟงแตนโบลพระราชวังลุกซ็องบูร์พระราชวังต้องห้ามพระราชวังซังส์ซูซีพระราชวังแวร์ซายพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์พระสยามธุรานุรักษ์ (มองซิเออร์ เดอ เกรออง)พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (เลโอนาร์โด ดา วินชี)พระนิกเก็ง โชนิงพระแม่มารีแห่งภูผาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิทพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรียพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบียพระเจ้าฮัมมูราบีพระเจ้าฌ็องที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพฤศจิกายน พ.ศ. 2548พันธมิตรการสถาปนาราชวงศ์แห่งเวียดนามพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์พาโลม่า พิแคสโซ่พิพิธภัณฑสถานพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พิพิธภัณฑ์ออร์แซพิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิพื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนานพุซ อิน บู๊ทส์พูนศุข พนมยงค์พจนานุกรมภาษาไทยพีระมิดลูฟวร์พี่น้องมงกอลฟีเยพนมเปญกรกฎาคม พ.ศ. 2548กระบวนการดาแกโรไทป์กรณีพิพาทชื่อทะเลญี่ปุ่นกร็องปาแลกฤษณ์ กาญจนกุญชรกลุ่มภาพบนแผ่นหินแห่งเทือกเขาอัลไตในมองโกเลียกลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบียกลุ่มนาบีกลุ่มโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ลกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงกวารีโน กวารีนีกษิติ กมลนาวินกอมเดการ์ซงกอนซิเอร์โตเดอารังฆูเอซกัมพูชายุคใหม่กัสตง เลอรูกัสปาร์-กุสตาฟว์ เดอ กอรียอลิสกามีย์ ปีซาโรการบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศสการบินไทยการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงการล่องเรือในแม่น้ำการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวการสื่อสารในประเทศกัมพูชาการสงบศึกมอสโกการอลุส-ดูว์ร็องการออกแบบแฟชั่นการาวัจโจการผจญภัยสุดพิเศษของอะเดล บล็อง-เซคการจมเรนโบว์วอร์ริเออร์การจลาจลในฝรั่งเศส พ.ศ. 2553การทรยศโดยชาติตะวันตกการทลายคุกบัสตีย์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวในประเทศฝรั่งเศสการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการคมนาคมในลอนดอนการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028การค้าประเวณีเด็กการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1848การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558การประกวดเพลงยูโรวิชันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907การแสดงนิทรรศการนานาชาติการแข่งรถการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1905การแข่งขันจักรยานการแปลงฟูรีเยการ์ลา บรูนีการ์เมนการเลือกตั้งในฝรั่งเศสสมัยสาธารณรัฐที่ 5การเสด็จสู่วาแรนการเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2012การเสนอเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของลอสแอนเจลิสการเสนอเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของปารีสการเต้นรำที่มูแล็งเดอลากาแล็ตกาทรีน เดอเนิฟว์กำแพงเมืองจีนกุสตาฟ มาห์เลอร์กุสตาฟว์ ดอเรกูดบาย (เดอะแซดเดสต์เวิร์ด)กูปรีกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาพาราลิมปิกกีฬากระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬากอล์ฟในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลกกีฬาคริกเกตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬาโอลิมปิกกีฬาโครเกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924กีฬาเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900กีงส์แล กอมานกีโยม อาปอลีแนร์กีโยม เดอ โลปีตาลกงซีแยร์เฌอรีฝรั่งเศสเสรีภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (ราฟาเอล)ภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาภาพเหมือนของนายแพทย์กาแชภาพเหมือนตนเองภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล)ภาษาอิดอภาษาโปรตุเกสมกุฎราชกุมารบ๋าว ล็องมรรคาศักดิ์สิทธิ์มรณกรรมของพระนางพรหมจารี (การาวัจโจ)มหาวิบัติสงคราม Zมหาวิหารซาเคร-เกอร์มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยปารีสมหาวิทยาลัยนิวยอร์กมหาวิทยาลัยโคลัมเบียมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยเคนต์มหานครแห่งรักมอร์นิงมูซูเมะมอลีแยร์มอนิก โบโดมอนทรีออลมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มักซ์ แอนสท์มาการงมามาดู ซาโกมารูนไฟฟ์เวิลด์ทัวร์ 2015มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มามารี อ็องตัวแน็ตมารี-กีย์มีน เบอนัวมารี-เดอนีซ วีแลร์มารียง กอตียาร์มารดาของวิสต์เลอร์มาร์ก ชากาลมาร์กาเร็ตแห่งโพรว็องซ์มาร์กุส วิปซานิอุส อากริปปามาร์ทีน โอบรีมาร์ติน โฮล์มมาร์แซล พรุสต์มาร์เกอริตแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษมาตรวิทยามาเรีย ฟรานซิสกาแห่งซาวอย สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสมาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนมาเรียนา บิกโตเรียแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสมิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์มิรเรอร์เคิลเวิลด์มิลานมิวสิกแบงก์ เวิลด์ ทัวร์มิสฟรานซ์มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนลมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2015มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมุฮัมมัด อับดุฮ์มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์มูแลงรูจ!มีแชล ฟูโกมีแชล แนมีแชล โอรียอลมงบล็อง (ของหวาน)มงส์มงแต็สกีเยอมนันยา ธนะภูม็อดดลิตฟา ดซีวิตซือยกกางเขน (รือเบินส์)ยอร์ช เซเดส์ยัสเซอร์ อาราฟัตยาโกบ ยอร์ดานส์ยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล)ยุทธการที่ปารีส (ค.ศ. 1814)ยุทธการที่ไซ่ง่อน (พ.ศ. 2498)ยุทธการเดือดเชือดนาซียูฟ่ายูโรปาลีกยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพยูฟ่าซูเปอร์คัพยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 รอบแพ้คัดออกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013–14 รอบแพ้คัดออกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15 รอบแพ้คัดออกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่มยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแพ้คัดออกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่มยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแพ้คัดออกยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแบ่งกลุ่มยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแพ้คัดออกยูรี จีร์คอฟยูล บรีนเนอร์ยูลิสซีสยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ยูโรสตาร์ยูไนเต็ดบัดดีแบส์ยีราฟโซฟีรพินทรนาถ ฐากุรรหัสลับดาวินชีรอเฌ วาดีมระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลกระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศระบำซาลองโกระฆังสันติภาพญี่ปุ่นรัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกียรัฐประหารเดือนพฤษภาคมราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ราชวงศ์เหงียนราชสถาบันจิตรกรรมและประติมากรรมราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชอาณาจักรฝรั่งเศส (1791–1792)ราชอาณาจักรแฟรงก์ราฟาเอล นาดัลรายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุดรายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจรายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอลรายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียนรายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์รายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อระบบรถไฟในเมืองรายชื่อลักษณนามในภาษาจีนรายชื่อสวนสัตว์รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลกรายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์รายชื่อธงในประเทศฝรั่งเศสรายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกรายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวงรายชื่อตึกที่สูงที่สุดในโลกรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อนครที่ใหญ่ที่สุดในโลกรายชื่อนครแบ่งตามประเทศรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฝรั่งเศสรายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลกรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อเขตการปกครองรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศสราตรีประดับดาวราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรนริชาร์ด นิกสันริดดิค โบว์ริโนะ ซาชิฮาระรูดอล์ฟ ดีเซลรจนา เพชรกัณหารีเมมเบอร์มี (วิดีโอเกม)รถบรรทุกรถลากรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษรถไฟฟ้าปารีสรถไฟฟ้าปารีส สาย 1รถไฟฟ้าปารีส สาย 12รถไฟฟ้าปารีส สาย 7 (2)ลอว์แอนด์ออร์เดอร์ลักอ็องเซียลลักเมลัมโบร์กีนี กัลลาร์โดลัทธิกัลโบลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมันเหนือลัทธิประทับใจลัทธิเหนือจริงลามาร์แซแยซลามงตาญลาสโล บีโรลาคอสต์ลาซานา ดียาราลานพระราชวังดุสิตลาแมร์ (เพลง)ลาแมร์ (เดอบูว์ซี)ลาเดฟ็องส์ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรลุก แบซงลุงบุญมีระลึกชาติลูชาโน ปาวารอตตีลูย ซาอาลูนาลีกเอิงลีกเอิง ฤดูกาล 2014–15ลีกเอิง ฤดูกาล 2015–16ลีกเอิง ฤดูกาล 2016–17ลีกเอิง ฤดูกาล 2017–18ลีกเดอ ฤดูกาล 2017–18ลียงลีลลต ฉายวลาดิมีร์ โฮโรวิตซ์วลาดีมีร์ ตัตลินวอชิงตัน ดี.ซี.วอลลิส ซิมป์สันวอลต์ดิสนีย์พาร์กแอนด์รีสอร์ตวอลแตร์วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1951วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1986วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรปวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1951วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1956วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014วัฒนธรรมวังปาฏิหาริย์วังเชอนงโซวัตสันและปลาฉลามวันบัสตีย์วันเพื่อการขจัดความยากจนระหว่างประเทศวาซีลี คันดินสกีวิกตอร์ วาซาเรอลีวิกตอร์ อูโกวิกตอเรียส์ซีเคร็ตวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016วิลลาซาวอยวินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้นวุฒิสภาฝรั่งเศสวีละโดรมแว็งเซนศาลรัฐธรรมนูญศิลาโรเซตตาศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติฌอร์ฌ ปงปีดูสกอตต์ อีสต์วุดสภากงว็องซียงแห่งชาติสภาห้าร้อยสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศสสภาแห่งรัฐ (ฝรั่งเศส)สมบัติแบร์ตูวีลสมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศสสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกสสมเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสวนลุกซ็องบูร์สวนหลวงสตัดลีย์สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900สหพันธ์ฟันดาบนานาชาติสหพันธ์ฟุตบอลฝรั่งเศสสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศสหพันธ์มวยไทยและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องแห่งประเทศฝรั่งเศสสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900สหภาพยุโรปสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สะพานมีโยสัก สุตสคานสัทอักษรสากลสัปดาห์แฟชั่นสันนิบาตฟุตบอลอาชีพ (ฝรั่งเศส)สามารถ พยัคฆ์อรุณสามทหารเสือสาวิตรี อมิตรพ่ายสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศสิงคโปร์แอร์ไลน์สุลต่านอับดุล อะซีซสุนทร คงสมพงษ์สู้ไม่รู้จักตายสี่สิบห้าองครักษ์สถาบันฟรองเซดูเปโตรลสถาปัตยกรรมบาโรกสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษสถานีรถไฟฟ้าร้างในรถไฟฟ้าปารีสสถานีรถไฟฮัมบูร์กสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตาร์บอย (อัลบั้ม)สตาดเดอฟร็องส์สต็องดาลสปาย (ภาพยนตร์)สปิริตออฟเซนต์หลุยส์สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะสนามกีฬาโอลิมปิกสนามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์สนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 122สนธิสัญญาปารีสสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763)สนธิสัญญาแวร์ซายสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2012–13สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2014–15สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2016–17สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2017–18สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17สโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็งสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2014–15สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2017–18สเกตลีลากร็องปรีไฟนอลหมอกาฬโรคหมอดู (คาราวัจโจ)หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุลหม่อมหลวงมานิจ ชุมสายหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลกหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุลหม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากรหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากรหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)หลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็องหลุยส์ วิตตองหลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานีหลุยส์ เดอ มงฟอร์หลุยส์-นีกอลา ดาวูหอพรรณไม้หอพระแก้วหอศิลป์หอคอยหอไอเฟลหนังพาไปหนังสือเพลงสวดสดุดีปารีสหนังสือเดินทางไทยหนึ่งใจ..เดียวกันหนีตามกาลิเลโอหน่วยฐานเอสไอหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอริยา อรุณินท์อริสโตเติล โอนาซิสอสุรกายดงดิบออกขุนชำนาญใจจงออร์เลอ็องออสการ์ ไวลด์ออสเตรเลียส์เน็กซ์ท็อปโมเดลออทโท สกอร์เซนีอองโตนี กรัสตูออแตลฌอร์ฌ-แซ็งก์ออแตลปาร์ตีกูว์ลีเยออแตลเดอวีลออแตลเดแซ็งวาลีดอะลาดินอะเดย์อักซิสตอริกอัลโฟนส์ มูคาอัลเฟรด ซิสลีย์อัศวินเทมพลาร์อัสปาซียา มาโนสอัสแซสซินส์ครีด ยูนิตีอัครมุขมณฑลปารีสอัตติลาอัปแซ็งต์อันทวน เซ้งบ๊อกซิ่งอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศอันดับของขนาด (พื้นที่)อันตอน ลามาซาเรสอันโตนิโอ ปินโตอันโตนีโอ ซาลีเอรีอันโตเนลโล ดา เมสสินาอันเดรอา มันเตญญาอันเดรอา เดล ซาร์โตอาชญากลปล้นโลกอาบู ดียาบีอารามรัวโยมงอาร์ชเดอลาเดฟ็องส์อาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซลอาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวลอาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยออาร์ม็อง ทราออเรอาร์ม็อง โอกุสแต็ง หลุยส์ เดอ โกแล็งกูร์อาร์เอ็มเอส ไททานิกอาวีญงอาสนวิหารอาสนวิหารชาทร์อาสนวิหารอาเมียงอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสอาสนวิหารแวร์ซายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาอาณาจักรอยุธยาอาดอลฟ์ ซักซ์อาคารผู้โดยสารสนามบินอาซาเดห์ ชาฟิกอาน-แอมอน ฌิสการ์ แด็สแต็งอานาตอล ฟร็องส์อานน์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสอานโตนอฟ อาน-22อานโตนอฟ อาน-26อาแล็กซิส แกลโรอาแล็กซ็องดร์ ก็อสต์อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มาอาแล็ง ปอแอร์อาแล็ง เดอลงอาโลแล็งปียาอาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์อำเภอของประเทศฝรั่งเศสอิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติอิลยูชิน อิล-62อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสอิสเซ ซะงะวะอิซัมบาร์ด คิงดอม บรูเนลอิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษอิซาเบลลาแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปนอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโกอินโดจีน (วงดนตรี)อินไลน์สเกตอินเตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรสอินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2015อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2016อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2017อึงโกโล ก็องเตอุทยานแห่งชาติฟ็องญา-แก๋บ่างอูร์แบ็ง เลอ แวรีเยอูว์แบร์ รีฟวซ์อีฟว์ แกล็งอีริส มีเตอนาร์อีริค เปเวอร์นากีอีล-เดอ-ฟร็องส์อีลี เมตช์นิคอฟอีวอน เดอ โกลอีวา กรีนอีซาแบล อาจานีอีปอลิต ฟีโซอีปอลิต แมฌ-มูเรียสอีแรน ฌอลีโย-กูว์รีอีเลฟเทริออส เวนิเซลอสอีเลียดองค์กรนักข่าวไร้พรมแดนองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติองค์การระหว่างประเทศองค์การอวกาศยุโรปองค์การนิทรรศการนานาชาติองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสรณ์สถานแห่งชาติอนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรมอนุสัญญาแรมซาร์อนุสัญญาเมตริกอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพอ็องรี รูโซอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็กอ็องตวน กรีแยซมานอ็องตวน ลาวัวซีเยอ็องตวน วาโตอ็องตวน หลุยส์อ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โนอ็องแซลม์ ปาแย็งอ็องเฌอ็องเดร มาเซนาอ็องเดรเดอะไจแอนต์อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1อเมดิโอนโตลีอเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ฮวาง งีฮอ นำฮงฮันส์ แม็มลิงฮาร์บินฮาง ทุน ฮักฮิระอิซุมิฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ฮิเดะโอะ ซะซะกิฮุย กานทวลฌอร์ฌ บีแซฌอร์ฌ ฌีล เดอ ลา ตูแร็ตฌอร์ฌ ปงปีดูฌอร์ฌ เมเลียสฌอร์ฌ เลอกล็องเชฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอราฌอง เฮย์ฌัก ชีรักฌัก ปีแยร์ บรีโซฌัก เอแบร์ฌักแห่งมอแลฌากอแบ็งฌาน ดาร์กฌานแห่งบูร์บง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสฌูล บาดว็องฌูล กอตาร์ฌูล มาซาแร็งฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ฌูว์ลี แดลปีฌีมโนเปดีฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ตฌ็อง มักซีมีเลียง ลามาร์กฌ็อง มีแชล ฌาร์ฌ็อง ซีลแว็ง บายีฌ็อง นูแวลฌ็อง เลอ รง ดาล็องแบร์ฌ็อง เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญีฌ็อง เดอกูฌ็อง-บาติสต์ บีโยฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์ฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาลฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็งฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ฌ็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็สฌ็อง-ปอล ซาทร์ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์จอมโจรคิดจอร์ดาโน บรูโนจอร์โจเนจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จอห์น แวนบรูห์จักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดิมิญ หมั่งจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดินโปเลียนที่ 3จักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิลจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งจังหวัดช็องปาญจังหวัดวาล-เดอ-มาร์นจังหวัดของประเทศฝรั่งเศสจังหวัดแซน-แซ็ง-เดอนีจังหวัดโอดแซนจัตุรัสจัตุรัสชาร์ล เดอ โกลจามาล อุดดีน อัล-อัฟกานีจาง จวีเจิ้งจาโกโม บัลลาจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจุลจิตรกรรมภาพเหมือนจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของการบินไทยจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิคจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินเนปาลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์จูลี คลารี สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนจูเซปเป อาร์ชิมโบลโดจูเซปเป แวร์ดีจี7จีเซลล์จ็องโก เรนาร์ตธาตุหายากธาตุแรเอิร์ธธงชาติฝรั่งเศสธงชาติปาเลสไตน์ธงชาติไทยถ้ำมั่วเกาทรัวทริสตอง โดทรงชัย รัตนสุบรรณทวีปยุโรปทอมัส แบ็กกิตทะกะชิมะยะทะเลสาบตะวันตกทันน์ฮอยเซอร์ทาสใกล้ตายทำเนียบมาตีญงทีมผสมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัดท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายข้าพเจ้าเป็นคนบาปดรูปัลดร็องซีดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ดองเซิงโนตเรอมงด์ดาฟต์พังก์ดาการ์แรลลีดาราศาสตร์ดานอนเนชันส์คัพดานีเอเล เกรโกดาเนียล มีแตร็องดิสนีย์แลนด์ (แก้ความกำกวม)ดิสนีย์แลนด์พาร์ก (ปารีส)ดิสนีย์แลนด์ปารีสดิอะเมซิ่งเรซ 1ดิอะเมซิ่งเรซ 10ดิอะเมซิ่งเรซ 16ดิอะเมซิ่งเรซ 2ดิอะเมซิ่งเรซ 4ดูไบดีร์ก เบาตส์ดีฌงดีทรอยต์: บีคัมฮิวแมนดีเจสเนกคริสตียาน มาร์แตลคริสตีส์คริสตีน ลาการ์ดคริสต์ทศวรรษ 1670คร็อก-เมอซีเยอความจำความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคองคอร์ดคอปเปเลียคอนสตันติน ซีออลคอฟสกีคอนเสิร์ตไลฟ์เอิร์ธคอนเสิร์ตไลฟ์เอทคารูโซคาร์ล มากซ์คาร์ล ลาร์สสันคาร์สัน แมคคัลเลอส์คิม อึน-กุกคืนกระจกแตกคู่ระห่ำ ฝรั่งแสบคู่ใหญ่ฟัดเต็มสปีด 3คูเวตซิตีคณะกรรมการมรดกโลกคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ และกีฬาแห่งประเทศฝรั่งเศสคณะกรรมการโอลิมปิกโปแลนด์คณะภราดาลาซาลคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสคณะมนตรีไตรภาคีคณะราษฎรคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบรูไนดารุสซาลามคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่าคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกัมพูชาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่นคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศลาวคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรักคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวตคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโอมานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนามคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเติร์กเมนิสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาลคณะดอมินิกันคณะเยสุอิตคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นคนอึดต้องกลับมาอึด 2คนครุ่นคิด (รอแด็ง)คนค่อมแห่งนอเทรอดาม (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2539)คนค่อมแห่งน็อทร์-ดามงานกระจกสีตระกูลรอธส์ไชลด์ตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศตริสตัน ซาราตักศิลาตัวร์ ดาร์จองตั้ว ลพานุกรมตาลิสตึกหุ่นยนต์ตุลาคม พ.ศ. 2548ตุ๊กตาแม่ลูกดกตูร์แนตูร์เฟิสต์ตูร์เดอฟร็องส์ตูร์เดอฟร็องส์ 1903ตูร์เดอฟร็องส์ 2015ตูลูซตูแปรดูบอเนอร์ตูโปเลฟ ตู-144ตีแยรี อ็องรีตีเยมูเอ บากายอโกฉากประดับแท่นบูชาบารอนชีฉี ไห่เฟิงซอฟียาน บูฟัลซอน ซานซัมวันไลก์ยู (เพลงอะเดล)ซัมซุง กาแลคซีเอส 3ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ซาดีโย มาเนซานเตียโก กาลาตราบาซาโมเทรซซุปเปอร์แบงค์ ม.รัตนบัณฑิตซูว์ลี พรูว์ดอมซูว์แรนซูเปอร์นักรบดับทัพอสูรซีมอน ซีญอแรซีมอน เดอ โบวัวร์ซีรีสซ็องลิส (จังหวัดอวซ)ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดประมวลกฎหมายฮัมมูราบีประวัติการบินไทยประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์สหรัฐประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์เวียดนามประธานาธิบดีฝรั่งเศสประตูบรันเดินบวร์คประตูชัยประตูชัย (แก้ความกำกวม)ประตูชัยเวลลิงตันประตูนรกประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศฟินแลนด์ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศฝรั่งเศสประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศรัสเซียใน ค.ศ. 1717ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศองค์ประกอบประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศโบฮีเมียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศไทยใน พ.ศ. 2410ประเทศไทยใน พ.ศ. 2454ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศเกาหลีใต้ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศเวียดนามประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ปราสาทพระวิหารปริศนาสมบัติอัจฉริยะปริศนาสมบัติอัจฉริยะ ตอน ผจญค่ายกลกระดูกปรีดี พนมยงค์ปลัสเดอลากงกอร์ดปอล ดูแมร์ปอล ปูเดอรูปอล โกแก็งปอล เซซานปอง มณีศิลป์ปะตูไซปัญหาของฮิลแบร์ทปารีส-แบร็สต์-ปารีสปารีสวอลเลย์ปาร์กเดแพร็งส์ปาทริส เอวราปาแล-รัวยาลปาแลเดอชาโยปาแลเดอเลลีเซปิแอร์ โอมิดดียาร์ปีดาราศาสตร์สากลปีต โมนดรียานปีแยร์ บูลปีแยร์ กูว์รีปีแยร์ มีญาร์ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อตปีแยร์ โอเฌอโรปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็งปีแยร์-ซีมง ลาปลัสปีเตอร์ เดอ โฮคปงอาแล็กซ็องดร์-ทรัวปงตวซปงเดซาร์ปงเนิฟป่ากงเปียญนวน เจียนักบุญจอร์จ (ราฟาเอล)นักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล)นักบุญถือศีรษะนักบุญเดนิสนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสนาดาร์นาซลี ศ็อบรีนิกโกเลาะ ปากานีนีนิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์นิทรรศการศิลปะตกรอบนิทรรศการศิลปะแห่งปารีสนิโคตินนีกอลา ซาร์กอซีนีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โนนีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์นีลส์ เฮนริก อาเบลนีโคไล บุลกานินนครลักเซมเบิร์กนครวัดนครศักดิ์สิทธิ์นครนิวยอร์กนโรดม นรินทเดชนโปเลียนที่ 2น็อกซ์น้องโรส บ้านเจริญสุขน้ำเต้าลมแบร์นาแด็ต ชีรักแบลซ ปัสกาลแบด (ทัวร์)แฟรงโคโฟนเกมส์แฟรนเซียมแกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาแห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแมกซ์ ฟอน ซีโดวแมรี เคแซตแมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแม่พระและพระกุมารกับนักบุญยอห์นแบปติสต์แม็สแรงแร็งส์แวร์ซายแอมานุแอล รีวาแอร์บัส เอ300แอร์บัส เอ380แอร์ฟรานซ์แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590แอร์ม็องทรูดแห่งออร์เลอ็องแอร์อาร์มีเนียแอร์แม็สแอร์เออแอร์แอร์เออแอร์ สายอาแอร์เออแอร์ สายเบแอร์เออแอร์ สายเออแอร์เออแอร์ สายเซแอร์เอเชีย เอกซ์แอดการ์ เดอกาแอปเปิลสโตร์แอนสท์ ฟอม รัทแอนอเมริกันอินปารีสแอ่งน้ำอุฟส์นูร์แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซแถบ นีละนิธิแท็กซี่แขวงเวียงจันทน์แดมบา บาแคว้นอาลซัสแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์แคว้นของประเทศฝรั่งเศสแคว้นคันธาระแคว้นโรนาลป์แคทเธอรีน เดอ เมดีชีแคนแคนแคนเซอร์แคมปัสแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กแคเธอรินแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลแซ็ง-เดอนีแซ็งฟอนีฟ็องตัสติกแซ็งต์-ชาแปลแนบ พหลโยธินแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรโบสถ์ลามาดแลนโบดวง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญโกลด มอแนโกลด ปงปีดูโกลด เดอบูว์ซีโกโก ชาแนลโมฮาเหม็ด ดียาเมโมนาลิซาโมนีกา เบลลุชชีโยฮันน์ ฟรีดริช ฟรันซ์ บูร์กมึลเลอร์โยโย มาโรมโรมัน โปลันสกีโรงอาบน้ำเกย์โรงอุปรากรปาแลการ์นีเยโรงแรมริตซ์ ปารีสโรงเรียนบอสโกพิทักษ์โรแบร์ แลงกาต์โรโบคัพโรโกโกโรเบิร์ต ฟุลตันโรเบิร์ต เรดฟอร์ดโรเจอร์ เฟเดอเรอร์โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินโลกาภิวัตน์โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทโอกุสต์ รอแด็งโอลกา คูรีเลนโกโอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูร้อน 1900โอลิมปิกฤดูร้อน 1924โอลิมปิกฤดูร้อน 1992โอลิมปิกฤดูร้อน 2008โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โอลิมปิกฤดูร้อน 2020โอลิมปิกฤดูร้อน 2024โอลิมปิกฤดูร้อน 2028โอแซร์โอเกอร์ดูสตาด (วิดีโอ)โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018โฮมเวิร์ก (อัลบั้มดาฟต์พังก์)โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แนโจวันนี บอกกัชโชโจเอาเปสโซอาโททาลโทนี พาร์กเกอร์โดเมนีโก กีร์ลันดาโยโค ยง-ฮีโคลวิสที่ 1โคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ลโคเรียส์เน็กซ์ท็อปโมเดลโคเรียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902โตเกียวโฉมงามกับเจ้าชายอสูร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2560)โซฟี มาร์โซโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารีโซลโปรเจกต์รันเวย์ ฤดูกาลที่ 3ไมเคิล บลูมเบอร์กไมเคิล แจ็กสันไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ไมเคิล โอเวนไลฟ์อาปารี (วิดีโอ)ไอกะ มิสึอิไอแซก ซิงเกอร์ไอเอ็มจีโมเดลส์ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัสไทรา แบงส์ไทรโยค พุ่มพันธ์ม่วงไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ไดแอนาแห่งแวร์ซายไดโอรามาเชอรี่ ส.วานิชเบอร์ลินเบอร์นาร์ด ชูมีเบอนัว มานดัลบรอเฟรนช์โอเพ่นเฟรนช์เกียนาเฟรเดริก ชอแป็งเฟรเดริก บาซีย์เฟรเดริก เมนดี (นักฟุตบอลเกิดปี ค.ศ. 1988)เฟลิกซ์ ยูซ์ป็อปเฟาสต์เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรสเพลิงโอลิมปิกเกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์เกลมองซ์ โปเอซีเกอซีนาเกียรติยศแห่งชัยชนะเกง วันสักเภสัชศาสตร์เมย์ โตโรก ฟอน เซนโดรเมอร์เซเดส-เบนซ์ เอสแอลเอส เอเอ็มจีเมารีซีโอ ฟูเนสเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมืองหลวงแฟชั่นเมดีตาซียงเมตรเม็กซิโกซิตีเยเรวานเรอูนียงเรอเน มากริตเรนอินบลัดเรนโซ เปียโนเรเน ดูปรีเลกงต์ด็อฟมานเลมีเซราบล์เลอกอร์บูซีเยเลอมงด์เลออาฟวร์เลอง ชาร์ล เตฟว์แน็งเลอง ฟูโกเลิฟอะรูมิไลค์ รักอะไรไม่รู้เลียม แกลลาเกอร์เลซูว์ลิสเลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเยเลโอนาร์โด ดา วินชีเวลิบเวิลด์เฮฟวี่เวทเรสต์ลิงแชมเปียนชิป (ออริจินัล เวอร์ชั่น)เสริม วินิจฉัยกุลเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศสเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออกเส้นเวลาของยุคกลางเส้นเวลาของยุคใหม่เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551เหตุยิงกันในออโรรา ค.ศ. 2012เหตุโจมตีในปารีส เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558เอมิล นอลเดอเอรัสมุสเอริก ซาตีเอลิซาเบธ เดบิคกีเอลิซาเบธแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียเอลิเนอร์แห่งอากีแตนเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเอวาริสต์ กาลัวเอสพลานาด รัชดาภิเษกเออนอรา มาลาเกรเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุกเออแฌน ปอตีเยเออแฌน เจ้าชายที่ 11 แห่งลีญเออแฌน เดอ โบอาร์แนเออแฌน เดอลาครัวเออเฌนี เดอ มอนตีโค จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสเอฮุด โอลเมิร์ตเอดัวร์ มาแนเอดิต ปียัฟเอแกลร์เอ็กซ์โป 2015เอ็กซ์โป 2020เอ็มมา วอตสันเอ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์เอเตียน-หลุยส์ มาลุสเฮดี ลามาร์เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษเฌโรม ลาล็องด์เจฟฟรีย์ รัชเจมส์ จอยซ์เจมส์ แฟรนโกเจิ่น เล โกว๊ก ตว่านเจง เฮงเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายบ๋าว ทั้งเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอยเจ้าชายสืบสายพระโลหิตเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1เจ้าชายปีแยร์ ดยุกแห่งวาเลนตินัวเจ้าชายนโปเลียน พระราชกุมารแห่งฝรั่งเศสเจ้าชายแพทริค อาลี ปาห์ลาวีเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์เจ้าฟ้าโสริยะวงศ์สว่างเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่เจ้าสุภานุวงศ์เจ้าสุริวงศ์ สว่างเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ ดัชเชสแห่งวาเลนตินัวเจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิลเจ้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ (ประสูติ ค.ศ. 1959)เจ้าหญิงมารีแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งบราซิลเจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สจวร์ตเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโกเจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนียเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงโอลกา ดัชเชสแห่งอาพูเลียเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวีเจ้าจันทร์ศุกร์ สุขธาราเทกกิงแชนเซสเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์เทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรปเทอร์มินอล 21 โคราชเทนนิสมาสเตอร์ซีรีส์เขมรแดงเขาไท่เขียว พอนนารีเขตการปกครองของประเทศฝรั่งเศสเขตอภิมหานครโตเกียวเดวิด เกตตาเดอเดอะชาร์ดเดอะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์เดอะมอลล์ (ถนน)เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์เดอะทีนเอเจอร์ส (วงดนตรีฝรั่งเศส)เดอะเฟซ (สหราชอาณาจักร)เดอนี ดีเดอโรเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์เด็กหญิงกำพร้าในสุสานเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศเคราร์ด ดาฟิดเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์เคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์เคฮันชิงเคานต์แห่งบลัวเคนดัลล์ เจนเนอร์เตช บุนนาคเตอร์กิชแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 981เติ้ง ลี่จวินเตเวแซ็งก์มงด์เตเฌเวเตเฌเว ลีรียาเตเฌเว โปสเซบัสเตียง เลอ แพร็สทร์ เดอ โวบ็องเซบาสเตียง อีซองบาร์ดเซลีน ดิออนเซิน หง็อก ถั่ญเซี่ยงไฮ้เซดริก วีลานีเปียงยางเปียโนโซนาตาหมายเลข 11 (โมซาร์ท)เปทรูชกาเปตราเปตรึส คริสตึสเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์เนอแวร์เนติพงษ์ ศรีทองอินทร์Cotard delusionISO 8601My Best FriendNepenthes campanulataPictures at an Exhibition1 E+7 m²1 E1 m13 พฤศจิกายน14 กรกฎาคม14 มิถุนายน14 ธันวาคม16 ตุลาคม2 ธันวาคม20 พฤษภาคม20 ตุลาคม21 พฤษภาคม21 มกราคม23 มิถุนายน25 กรกฎาคม26 กันยายน28 มีนาคม3 มิถุนายน31 มีนาคม31 สิงหาคม4 มิถุนายน5 กรกฎาคม6 กรกฎาคม ขยายดัชนี (1414 มากกว่า) »

บริษัทอินเดียตะวันออกของฝรั่งเศส

ริษัทอินเดียตะวันออกของฝรั่งเศส (French East India Company, Compagnie Française pour le commerce des Indes orientales) บริษัทการค้าก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและบริษัทอินเดียตะวันออกของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

บริติชแอร์เวย์

Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.

ใหม่!!: ปารีสและบริติชแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล

ริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (Britain's Next Top Model) เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ที่ออกอากาศอยู่ทางช่อง ลิวิง โดยจะทำการคัดเลือกหญิงสาวจากทั่วประเทศที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ ในเงื่อนไขที่ว่า ผู้สมัครเข้าแข่งขันต้องไม่เคยทำงานหรือทำสัญญากับบริษัทโมเดลลิ่งใดๆ มาก่อนเลยในระยะเวลา 5 ปี โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องผ่านบททดสอบมากมาย และผู้ชนะเพียงหนึ่งเดียวจะได้เซ็นสัญญากับเอเจนซี่ และเป็นใบเบิกทางสำหรับอาชีพนางแบบต่อไป รายการนี้ได้ซื้อลิขสิทธิ์มาจากรายการ อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ซึ่งจัดทำโดยสุดยอดนางแบบและพิธีกรรายการโทรทัศน์ ไทรา แบงส์ โดยเริ่มฉายครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและบริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

บรีฌิต บาร์โด

รีฌิต อาน-มารี บาร์โด (Brigitte Anne-Marie Bardot; 28 กันยายน พ.ศ. 2477 —) อดีตนักแสดงและนักร้องชาวฝรั่งเศส เธอเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงคนแรก ที่ใบหน้าถูกใช้เป็นต้นแบบของมารียาน (Marianne) สัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศส ระหว่างปี 1968 ถึง 1978 ตามด้วยเมอรีล แมททีกซ์ และแคเทอรีน เดอเนิฟ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 บาร์โดได้มีบทบาททางการเมือง โดยเธอได้แสดงความเห็นทางการเมืองในด้านการอพยพชาวมุสลิมในประเทศฝรั่งเศส และรักร่วมเพศJonathan Benthall.

ใหม่!!: ปารีสและบรีฌิต บาร์โด · ดูเพิ่มเติม »

บรีฌิต มาครง

รีฌิต มารี-โกลด มาครง (Brigitte Marie-Claude Macron; สกุลเมื่อแรกเกิด: ทรอเญอ, สกุลเดิม: โอซีแยร์; 13 เมษายน พ.ศ. 2496) เป็นครูสอนระดับมัธยมศึกษาชาวฝรั่งเศส และเป็นภริยาของแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส ปัจจุบันเธอสอนวิชาวรรณคดีที่ลีเซแซ็ง-หลุยส์-เดอ-กงซาก (Lycée Saint-Louis-de-Gonzague) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในปารี.

ใหม่!!: ปารีสและบรีฌิต มาครง · ดูเพิ่มเติม »

บลัดดีแมรี

บลัดดีแมรี หรือ บลัดดี (Bloody Mary) เป็นเครื่องดื่มที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นโดย Pete Petiot ในปี พ.ศ. 2464 ขณะที่ทำงานเป็นบาร์เทนเดอร์อยู่ ณ Hary's New York Bar ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยส่วนผสมดั้งเดิมนั้นมีเพียงวอดก้า น้ำมะเขือเทศ และน้ำแข็ง ชื่อบลัดดีแมรี มีที่มาจากฉายาของสมเด็จพระราชินี Mary Tudor แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ พาดพิงถึงการปราบปรามผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์อย่างโหดเหี้ยมในรัชสมัยของพระองค์.

ใหม่!!: ปารีสและบลัดดีแมรี · ดูเพิ่มเติม »

บอร์นดิสเวย์บอล

อะบอร์นดิสเวย์บอล (อังกฤษ: The Born This Way Ball) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตที่ 3 ของศิลปินนักร้องอเมริกันเลดี้ กาก้า โดยในการสนับสนุนของอัลบั้มที่ 2 บอร์นดิสเวย์ ที่ประกอบด้วยทัวร์ 110 รายการในเอเชีย โอเซียเนียและต่อด้วยในยุโรปในเดือนสิงหาคมปี 2555 ตามด้วยในละตินอเมริกาในช่วงปลายปี ทัวร์เริ่มต้นที่อเมริกาเหนือ ในเดือนมกราคม 2556 และดำเนินการต่อจนสิ้นสุดในเดือนมีนาคม ซึ่งหนึ่งในทัวร์รอบโลกของเธอ ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในทัวร์ โดยจัดการแสดงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน โดยผู้จัด บริษัท บีอีซี เทโร เอนเตอร์เทนเม้นท์ เป็นผู้รับผิดชอบจัดคอนเสิร์ตนี้ นับเป็นคอนเสิร์ตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในรอบ 10 ปี หลังจาก ไมเคิล แจ็กสัน เคยมาแสดงในประเทศไทยเมื่อหลายปีก่อน เมื่อเดือน ธันวาคม ภาพประชาสัมพันธ์คอนเสิร์ต ปี..

ใหม่!!: ปารีสและบอร์นดิสเวย์บอล · ดูเพิ่มเติม »

บัลลูน

แบบจำลองของบัลลูนของพี่น้องมงกอลฟีเย จากพิพิธภัณฑ์ในกรุงลอนดอน บัลลูน (สืบค้นออนไลน์) หรือ บอลลูน (balloon) เป็นยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทางทางอากาศ ด้วยหลักการของแรงลอยตัว (Buoyancy) และเคลื่อนที่ด้วยลม มีหลักฐานการสร้างในประเทศจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ต่อมาในทวีปยุโรปมีการทดลองสร้างเป็นพาหนะสำหรับใช้เดินทางทางอากาศตั้งแต่ปี ค.ศ. 1709 ที่กรุงลิสบอน ประเทศสเปน แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783 พี่น้องมงกอลฟีเย ชาวฝรั่งเศส ประสบความสำเร็จในการใช้บัลลูนขนาดใหญ่ ขับเคลื่อนด้วยอากาศร้อน เดินทางที่ความสูง 500 ฟุตในอากาศ เป็นระยะทาง 5 1/2 ไมล์ ใช้เวลา 25 นาที ได้สำเร็จเป็นครั้งแรกที่ ปารีส และนับเป็นก้าวแรกของการเดินทางด้วยบัลลูนอย่างแท้จริง.

ใหม่!!: ปารีสและบัลลูน · ดูเพิ่มเติม »

บัลลูนอากาศร้อน

อลลูนอากาศร้อนขณะบินกลางอากาศ บัลลูนอากาศร้อน (hot air balloon) เป็นอากาศยานชนิดให้ความร้อนด้วยถุงเก็บความร้อนใช้หลักการความดันอากาศในการประดิษ.

ใหม่!!: ปารีสและบัลลูนอากาศร้อน · ดูเพิ่มเติม »

บัวขาว บัญชาเมฆ

ท สมบัติ บัญชาเมฆ หรือ บัวขาว บัญชาเมฆ เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในวงการการต่อสู้ระดับสากล โดยเฉพาะในทวีปยุโรปและประเทศญี่ปุ่น เคยเป็นนักมวยไทยสังกัดค่ายมวย ป.ประมุข ส่วนสูง 174 เซนติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม บัวขาวจัดเป็นหนึ่งในนักกีฬาอาชีพไทยที่ทำรายได้สูง โดยส่วนใหญ่มาจากการชกมวยที่ต่างประเทศ นอกจากนี้แล้ว ยังมีผลงานการแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ซามูไร อโยธยา และใน..

ใหม่!!: ปารีสและบัวขาว บัญชาเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

บัวโนสไอเรส

กรุงบัวโนสไอเรส บัวโนสไอเรส (Buenos Aires, บเว-โน-ไซ-เรส) เป็นเมืองหลวง เมืองใหญ่ที่สุด และเมืองท่าของประเทศอาร์เจนตินา ตั้งอยู่ที่พิกัดภูมิศาสตร์ ริมชายฝั่งทางใต้ของรีโอเดลาปลาตา (Río de la Plata) บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปอเมริกาใต้ ตรงข้ามกับเมืองโกโลเนียเดลซากราเมนโต ประเทศอุรุกวัย เนื่องจากได้รับวัฒนธรรมยุโรปมาอย่างเข้มข้น บางครั้งบัวโนสไอเรสจึงถูกเรียกว่า "ปารีสใต้" หรือ "ปารีสแห่งอเมริกาใต้" เมืองนี้เป็นเมืองสมัยใหม่ที่สุดแห่งหนึ่งในลาตินอเมริกา โดยมีชื่อเสียงด้านสถาปัตยกรรม ชีวิตกลางคืน และกิจกรรมทางวัฒนธรรม หลังจากความขัดแย้งภายในในคริสต์ศตวรรษที่ 19 บัวโนสไอเรสได้ถูกยกฐานะให้มีลักษณะเป็นเขตสหพันธ์และแยกออกจากรัฐบัวโนสไอเรส; อาณาเขตของเมืองขยายครอบคลุมบริเวณเมืองเก่าเบลกราโน (Belgrano) และโฟลเรส (Flores) ซึ่งปัจจุบันทั้งสองเป็นย่านรอบ ๆ ของเมือง บางครั้งชาวอาร์เจนตินาเรียกเมืองนี้ว่ากาปีตัลเฟเดรัล (Capital Federal) เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างชื่อเมืองนี้กับรัฐบัวโนสไอเรสที่มีชื่อเดียวกัน ในรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2537 เมืองนี้ถูกประกาศเป็น นครปกครองตนเอง ดังนั้น ชื่อทางการของเมืองนี้คือ "นครปกครองตนเองบัวโนสไอเรส" (Ciudad Autónoma de Buenos Aires) หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:เมืองในประเทศอาร์เจนตินา หมวดหมู่:บัวโนสไอเรส.

ใหม่!!: ปารีสและบัวโนสไอเรส · ดูเพิ่มเติม »

ชายนี

นี (샤이니; シャイニー; Shinee เขียนเป็น SHINee) เป็นวงดนตรีบอยแบนด์สัญชาติเกาหลีใต้ ก่อตั้งขึ้นที่โซล ภายใต้สังกัด SM เอนเตอร์เทนเมนต์ เดิมเปิดตัวในปี..

ใหม่!!: ปารีสและชายนี · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล กูโน

ร์ล-ฟรองซัว กูโน ชาร์ล-ฟร็องซัว กูโน (Charles-François Gounod; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2361–18 ตุลาคม พ.ศ. 2436) เป็นคีตกวีชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและชาร์ล กูโน · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์

ร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์ (Charles Maurice de Talleyrand-Périgord) หรือ เจ้าชายแห่งเบแนว็อง (Prince de Bénévent) เป็นนักการเมือง, นักการทูตและพระชาวฝรั่งเศส หลังจากจบการศึกษาด้านเทววิทยา ในปี 1780 เขาก็ได้ดำรงตำแหน่งพระราชาคณะ และเป็นผู้แทนของราชสำนักในการปกครองสังฆมณฑลคาทอลิกในฝรั่งเศส เขาประสบความสำเร็จอย่างสูงสุดในราชสำนักฝรั่งเศส และได้เป็นรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศหรือตำแหน่งทางการทูตที่สำคัญหลายครั้ง ระยะเวลารับราชการของเขากินเวลายาวนานตั้งแต่ราชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ผ่านช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเข้าสู่รัชกาลของจักรพรรดินโปเลียน และไปสิ้นสุดลงในรัชกาลพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 ตาแลร็องเป็นมันสมองด้านการทูตในช่วงที่นโปเลียนเรืองอำนาจและฝรั่งเศสสามารถพิชิตดินแดนมากมายในทวีปยุโรป แต่โดยส่วนใหญ่แล้ว งานของตาแลร็องคืองานด้านสันติภาพ โดยการเจรจาสงบศึกระหว่างฝรั่งเศสกับประเทศต่างๆ อาทิ เขาสามารถเจรจาสงบศึกกับออสเตรียในปี 1801 ผ่านสนธิสัญญาลูว์เนวีล และกับอังกฤษในปี 1802 ผ่านสนธิสัญญาอาเมียง แม้ตาแลร็องจะไม่สามารถยับยั้งสงครามให้ปะทุขึ้นมาใหม่ในปี 1803 แต่ก่อนปี 1805 เขาสามารถโน้มน้าวนโปเลียนไม่ให้ทำสงครามกับออสเตรีย, ปรัสเซีย และ รัสเซีย แม้เขาจะลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีการต่างประเทศในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง

ร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง (Charles Louis Alphonse Laveran; 18 มิถุนายน ค.ศ. 1845 – 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1922) เป็นแพทย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: ปารีสและชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล-อ็องรี ซ็องซง

ร์ล-อ็องรี ซ็องซง (Charles-Henri Sanson) เป็นเจ้าพนักงานเพชฌฆาตของฝรั่งเศส เขาเกิดในตระกูลเพชฌฆาต ตัวเขาเป็นเพชฌฆาตรุ่นที่ 4 ของตระกูลซ็องซง เขาทำงานเป็นเพชฌฆาตประจำกรุงปารีสเป็นเวลากว่า 40 ปี เขาประหารชีวิตผู้คนไปกว่า 3,000 คนซึ่งรวมถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 นอกจากนี้ เขายังเป็นผู้สนับสนุนให้รัฐบาลหันมาใช้การประหารชีวิตโดยกิโยตีน เขาเป็นผู้ประเดิมการประหารด้วยกิโยตีนเมื่อวันที่ 25 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและชาร์ล-อ็องรี ซ็องซง · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง

ร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง (Charles-Augustin de Coulomb; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1736 - 23 สิงหาคม ค.ศ. 1806) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส รู้จักกันดีในฐานะผู้วางกฎว่าด้วยแรงระหว่างประจุ ซึ่งต่อมาชื่อของเขาได้ใช้เป็นหน่วยเอสไอสำหรับประจุไฟฟ้า คือ คูลอมบ์ (C).

ใหม่!!: ปารีสและชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 242-243) เป็นประชากรหลักของประเทศเวียดนาม และกระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน เรียกว่า จิง จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลูยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากจีนและไทย ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ได้มีการศึกษายีน Human Leukocyte Antigen ที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลมักคายในกรุงไทเป ได้จำแนกชาวเวียดนามไว้ในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกับม้ง, ฮั่นตอนใต้, ปู้อี และไทย พร้อมกับครอบครัวที่หลากหลายอันประกอบด้วยไทยเชื้อสายจีน, สิงคโปร์เชื้อสายจีน, ชนหมิ่นหนาน (ฮกโล้) และจีนแ.

ใหม่!!: ปารีสและชาวญวน · ดูเพิ่มเติม »

ชาทร์

ทร์ (Chartres) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดเออเรลัวร์ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส เมืองชาทร์ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงปารีส ทางตอนกลางของประเทศ ชาทร์ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำเออร์บนเนินที่เป็นที่มีมหาวิหารชาทร์ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกตั้งเด่นล้อมรอบไปด้วยบ้านเรือนของชาวเมือง.

ใหม่!!: ปารีสและชาทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาตองเด

"ชาตองเด" (J'attendais หมายถึง "ฉันรอคอย") เป็นซิงเกิลของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม ไลฟ์อาปารี ออกจำหน่ายในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2540 ในประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม "ชาตองเด" เป็นผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน เดิมเพลงนี้เป็นเพลงหนึ่งในอัลบั้ม เดอ ของเซลีน ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2538 มิวสิกวิดีโอเพลงนี้เป็นวิดีโอการแสดงสดของเซลีนที่โรงละคร Zenith ในปารีส ซึ่งได้บรรจุไว้ในดีวีดีคอนเสิร์ตไลฟ์อาปารี ซิงเกิลนี้ขึ้นอันดับสูงสุดที่ 46 ในฝรั่งเศส และอันดับที่ 22 ในชาร์ตเบลเยี่ยมวอลโลเนีย เพลงนี้ฉบับสตูดิโอได้บรรจุไว้ในอัลบั้ม เดอ โซนี่ มิวสิก ออกจำหน่ายเพลง "เชอเซปา" ฉบับร้องสดในเนเธอร์แลนด์ ในเวลาเดียวกันกับที่ประชาสัมพันธ์ซิงเกิลนี้ โดยบรรจุเพลง "ชาตองเด" ในด้าน-บี.

ใหม่!!: ปารีสและชาตองเด · ดูเพิ่มเติม »

ชิลเพริคที่ 1

ลเปริคที่ 1 ภาษาอังกฤษ Chilperic I (ค.ศ.539 - กันยายน ค.ศ.584) เป็นกษัตริย์แห่งนูสเตรีย (หรือซอยส์ซงส์) ตั้งแต..561 จนสิ้นพระชนม์ พระองค์เป็นหนึ่งในพระโอรสของกษัตริย์แฟรงก์ โคลทาร์ที่ 1 กับพระราชินี อาเรกุน.

ใหม่!!: ปารีสและชิลเพริคที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ชิลเดอแบร์ที่ 1

ลเดอแบต์ที่ 1 (ค.ศ.496 - 13 ธันวาคม ค.ศ.558) เป็นกษัตริย์แฟรงก์ของราชวงศ์เมโรแว็งเฌียง เป็นพระโอรสคนที่สามในสี่คนของโคลวิสที่ 1 ที่แบ่งอาณาจักรของชาวแฟรงก์กันหลังการสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดาใน..511 พระองค์เป็นหนึ่งในพระโอรสของนักบุญโคลทิลด์ เสด็จพระราชสมภพที่ไรม์ พระองค์ครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งปารีสตั้งแต..511 ถึง 558 และออร์ลียงตั้งแต..524 ถึง 558.

ใหม่!!: ปารีสและชิลเดอแบร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ชิงช้าสวรรค์

'''ชิงช้าสวรรค์''' ชิงช้าสวรรค์ (Ferris wheel คือ เครื่องเล่นเพื่อความบันเทิงชนิดหนึ่ง มักพบเห็นตามงานวัด สวนสนุก และตามงานเทศกาลต่างๆ ประกอบด้วยวงล้อโลหะขนาดใหญ่คู่ขนานกัน หมุนด้วยแรงกลในแนวตั้งรอบแกนที่ติดอยู่กับที่ มีกระเช้าผู้โดยสารที่ทำจากโลหะ (gondola หรือ capsule) ห้อยติดเป็นช่วงระหว่างโครงของล้อทั้งสอง ชิงช้าสวรรค์ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1893 โดยจอร์จ เฟอร์ริส และเป็นสัญลักษณ์โดดเด่นในงานแสดงสินค้าที่ชิคาโก ได้รับการขนานนามตามชื่อผู้ประดิษฐ์ว่า Ferris Wheel หรือบ้างก็เรียก Chicago Wheel.

ใหม่!!: ปารีสและชิงช้าสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

บุรญุลอะร็อบ

รญุลอะร็อบ (برج العرب; Burj al-Arab) เป็นโรงแรมที่หรูหราในนครรัฐดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีความสูง 321 เมตร หรือ 1,050 ฟุต และเป็นโรงแรมที่สูงที่สุดอันดับที่ 4 ของโลก และมีความสูงเป็นอันดับที่ 57 ของโลก ตึกบุรญุลอะร็อบ ตั้งอยู่บนเกาะเทียมที่ถูกถมขึ้นห่างจากชายฝั่งจูไมราบีช 280 เมตร และเชื่อมต่อด้วยสะพานที่มีลักษณะโค้ง ตึกบุรญุลอะร็อบ มีลักษณะโครงสร้างการออกแบบเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของเมืองดูไบและตัวอาคารเลียนแบบมาจากใบของเรือใ.

ใหม่!!: ปารีสและบุรญุลอะร็อบ · ดูเพิ่มเติม »

ชูอัน มีโร

ูอัน มีโร ภาพงานจิตรกรรมชื่อ "กลางคืน (Nocturne)" ของชูอัน มีโร ชูอัน มีโร อี ฟาร์รา (Joan Miró i Ferrà) เป็นจิตรกรและประติมากรชาวกาตาลา (ประเทศสเปน) ในสกุลศิลปะลัทธิเหนือจริง (surrealism) ภาพของเขาที่แสดงความเคลื่อนไหวไปมาอย่างน่าประหลาดนั้น เขาทำขึ้นจากความเคลื่อนไหวของลายเส้นที่พันกันชุลมุนและความสว่างสดใสของสี ภาพของมีโรเป็นการแปลสิ่งมหัศจรรย์ ซึ่งเป็นความแท้จริงที่พบใหม่นี้ มีความเป็นอยู่อย่างเหมาะสมดีแท้ทีเดียว เพราะโดยข้อเท็จจริงแล้ว ความแท้จริงใหม่นี้ ไม่สามารถจะจับเอาเป็นคำพูด ความคิด หรือภาพให้สมบูรณ์แบบได้เลย ศิลปินลัทธิเหนือจริงและศิลปินเอกของศิลปะนามธรรมผู้นี้ได้พัฒนามาเป็นแบบอย่างศิลปะส่วนตัวอย่างเต็มที่ กลายเป็นผลงานที่สีสันอุดมสมบูรณ์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากคันดินสกี อาร์พ และเคล ผลงานของเขาเผยให้เห็นภาษาเชิงกวีนิพนธ์ มีโรได้รับการยอมรับว่ามีเอกลักษณ์ในการถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น ออกมาเป็นภาพวาดได้อย่างลงตัวและงดงามหาที่เปรียบมิได้ เป็นศิลปินยุค 1893-1983 ซึ่งถือว่าโดดเด่นมากเมื่อเทียบกับรุ่นพี่อย่างปาโบล ปีกัสโซ ร่วมพิสูจน์ภาพเขียนแนวเหนือจริงที่ฉีกจากกรอบและกฎเกณฑ์เดิม.

ใหม่!!: ปารีสและชูอัน มีโร · ดูเพิ่มเติม »

บูคาเรสต์

ูคาเรสต์ (Bucharest; București บูคูเรชติ) เป็นเมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศโรมาเนีย เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโรมาเนีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศที่ และตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแดมโบวิตา เมืองบูคาเรสต์มีระบุไว้ในเอกสารมาตั้งแต่ปี 1459 จากนั้นก็หายไปอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง จนกลางเป็นเมืองหลวงของโรมาเนียในปี 1862 เป็นเมืองมีจุดแข็งในเรื่องเป็นศูนย์กลางของสื่อมวลชนโรมาเนีย วัฒนธรรมและศิลปะ มีสถาปัตยกรรมหลายรูปแบบ ที่รวม สถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์ (นีโอคลาสสิก), สถาปัตยกรรมหลังสงคราม (เบาเฮาส์และอาร์ตเดโค), ยุคคอมมิวนิสต์และยุคใหม่ ในช่วงระหว่าง 2 สงครามโลก ความงามด้านสถาปัตยกรรมของเมืองทำให้เมืองมีชื่อเล่นว่า "ปารีสน้อยแห่งตะวันออก" (Micul Paris) และถึงแม้อาคารหลายหลังและเขตในศูนย์กลางประวัติศาสตร์จะถูกทำลายในช่วงสงครามหรือแผ่นดินไหว รวมถึงโครงการปรับปรุงโครงสร้างเมืองของนิโคไล เชาเชสกู แต่ก็มีอาคารสวยงามหลงเหลืออยู่ ในปีหลัง ๆ เมืองมีความรุ่งเรืองด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม จากข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและบูคาเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน

ียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) (8 ธันวาคม พ.ศ. 2375 - 26 เมษายน พ.ศ. 2453) ชาวนอรเวย์ เป็นทั้งกวี นักเขียนบทละคร นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ ผู้กำกับการแสดงละคร และบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นของนอร์เวย์ โดยเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในสี่ของผู้ยิ่งใหญ่แห่งวรรณกรรมนอร์เวย์ยุคนั้น อีกสามคนคือ เฮนริก อิบเซน (Henrik Ibsen) อเล็กซานเดอร์ คีลแลนด์ (Alexander Kielland) และโยนัส ไล (Jonas Lie) บทกวีของเขาชื่อ Ja, vi elsker dette landet (ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้) ยังถูกนำไปแต่งเป็นเพลงชาติของนอร์เวย์ด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและบียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

บีอินสปอตส์

ีอิน สปอตส์ (beIN Sports) เป็นเครือข่ายช่องรายการกีฬาทางโทรทัศน์ ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยเป็นธุรกิจหนึ่งของกลุ่มเครือข่ายสื่ออัลญะซีเราะฮ์แห่งรัฐกาตาร์ สำหรับบริการภายในประเทศไทย สามารถรับชมช่องบีอินสปอตส์ 1-6 ผ่านการบอกรับเป็นสมาชิกของทรูวิชันส์ ในเวอร์ชันภาษาไทย โดยต้องสมัครแพ็กเกจเสริมดูบอล ทรู ซูเปอร์ ซอคเกอร์เพื่อรับชมช่องดังกล่าว และผ่านทางแอพ beIN Sports Connect โดยการสมัครสมาชิกเพื่อรับชมช่องในแอพลิเคชั่นดังกล่าว.

ใหม่!!: ปารีสและบีอินสปอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

บ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต

วันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต (A Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่มีชื่อเสียงที่เขียนโดยฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา จิตรกรคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของสมัยอิมเพรสชันนิสม์ใหม่ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่สถาบันศิลปะแห่งชิคาโกที่ชิคาโกในสหรัฐอเมริกา ภาพ “บ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต” ที่เขียนโดยฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา ระหว่างปี ค.ศ. 1884 ถึงปี ค.ศ. 1886 เป็นภาพที่มีชื่อเสียงที่สุดของเซอราที่เป็นตัวอย่างของการเขียนโดยใช้เทคนิคการผสานจุดสี.

ใหม่!!: ปารีสและบ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต · ดูเพิ่มเติม »

ช็องเดอมาร์ส

็องเดอมาร์ส (Champ de Mars) เป็นสวนสาธารณะแบบเปิดโล่งขนาดใหญ่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: ปารีสและช็องเดอมาร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ช็องเซลีเซ

็องเซลีเซ มุมมองจากปลัสเดอลากงกอร์ด ไปทางทิศตะวันตกไปยังประตูชัย อาฟว์นูว์เดช็องเซลีเซ (Avenue des Champs-Élysées) เป็นถนนในเขตที่ 8 ของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นย่านการค้าที่ประกอบด้วยโรงละคร ร้านกาแฟ และร้านค้าหรูหรา สองข้างทางมีต้นเกาลัดที่ได้รับการตกแต่งอย่างสวยงามปลูกเรียงราย ชื่อ "ช็องเซลีเซ" มาจากคำว่า "ทุ่งเอลิเซียม" จากเทพปกรณัมกรีกในภาษาฝรั่งเศส ช็องเซลีเซได้รับการขนานนามว่าเป็นถนนที่สวยที่สุดในโลก (La plus belle avenue du monde) โดยมีอัตราค่าเช่าสูงถึง 1.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี สำหรับพื้นที่ 1000 ตารางฟุต (93 ตารางเมตร) สูงที่สุดในยุโรป Elaine Sciolino, "", New York Times, 21 January 2007.

ใหม่!!: ปารีสและช็องเซลีเซ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านแถว

อาคารรอบปลัสเดอโวฌในกรุงปารีส (ค.ศ. 1605–1612) บ้านแถวในเมืองควีนส์เฟร์รี สกอตแลนด์ บ้านแถว (terraced house, terrace house, row houses, linked houses) เป็นศัพท์ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง หมายถึงที่อยู่อาศัยที่มีความหนาแน่นปานกลางรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะเป็นบ้านที่มีผนังเชื่อมต่อกัน โดยบ้านแต่ละหลังมักมีมากกว่าหนึ่งชั้น และมักมีโครงสร้างและการตกแต่งคล้ายคลึงกับบ้านหลังอื่นที่อยู่ติดกัน สิ่งปลูกสร้างประเภทนี้มีต้นกำเนิดในยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 สิ่งปลูกสร้างแบบบ้านแถวสามารถพบได้ทั่วโลก แต่มีให้เห็นอยู่มากในยุโรปและลาตินอเมริกา และสามารถพบตัวอย่างที่หลากหลายในอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย อาคารรอบจัตุรัสปลัสเดอโวฌ (Place des Vosges) ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นตัวอย่างหนึ่งของบ้านแถวยุคเริ่มแรก ในปัจจุบัน บ้านแถวทั้งที่มีมาแต่เดิมและที่สร้างเลียนแบบสถาปัตยกรรมยุคเก่าได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการปรับพื้นที่ในใจกลางเมืองเพื่อให้คนนอกถิ่นที่มีฐานะดีเข้ามาอยู่อาศัยแทน (gentrification) โดยในบางครั้งก็ถูกนำไปเชื่อมโยงกับชั้นชนผู้ใช้แรงงานด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและบ้านแถว · ดูเพิ่มเติม »

ฟรังซัวส์ ซากัต

ฟรังซัวส์ ซากัต (François Sagat) เป็นนายแบบชาวฝรั่งเศสและเป็นนักแสดงหนังโป๊ ทั้งในหนังโป๊เกย์และไบเซ็กชัวล.

ใหม่!!: ปารีสและฟรังซัวส์ ซากัต · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ มาร์ค

ฟรันซ์ มาร์ค (Franz Marc) เป็นศิลปินในกระแสลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1880 ในเมือง มิวนิก (Munich) พ่อของมาจากครอบครัวที่เป็นทาสรับใช้ที่อยู่ทางตอนบนของรัฐบาวาเรีย ก่อนพ่อของเขาจะเลือกประกอบอาชีพเป็นจิตรกร พ่อของเขาได้เป็นนักกฎหมาย แม่ของเขามาจากครอบครัวชาวฝรั่งเศสในแคว้นอาลซัส ถึงแม้ว่าพ่อของเขานับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่มาร์คนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะเขาได้รับการเลี้ยงดูจากแม่ของเขา และได้รับอิทธิพลทางความคิดจากลัทธิคาลวินตั้งแต่เด็ก และแม่ของเขาตั้งใจให้เขาได้เป็นบาทหลวง แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมาร์คโตขึ้น เขาได้เข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองมิวนิก ในสาขาวิชา วรรณกรรม ในปี 1899 ต่อมาเมื่อเขาได้รับการฝึกเป็นทหารเกณฑ์ แต่เมื่อเขาฝึกเสร็จแล้วเขาได้ย้ายมหาวิทยาลัยที่เขาเรียนวรรณกรรม ไปเข้าโรงเรียนสอนศิลปะในเมืองมิวนิกเช่นกัน โดยได้รับการสอนจากวิลเฮล์ม ฟอน ดี.

ใหม่!!: ปารีสและฟรันซ์ มาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ลิซท์

ฟรันซ์ ลิซท์ (Franz Liszt) หรือ แฟแร็นตส์ ลิสต์ (Liszt Ferenc) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวฮังกาเรียน เกิดที่เมืองไรดิง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฟรันซ์ ลิซท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน)

ฟรานซิส เบคอน เป็นศิลปินชาวอังกฤษในยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ที่สร้างสรรค์ผลงานในลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ หรือลัทธิแสดงพลังอารมณ์(expressionism) ลัทธิแสดงพลังอารมณ์ถือเป็นความเคลื่อนไหวในช่วงต้นคริสศตวรรษที่ 20 งานเหล่านี้มักแสดงถึงความเป็นจริงที่บิดเบือนและอารมณ์อันรุนแรง ดังจะเห็นได้ในผลงานของเบคอนที่มักจะใช้ลายเส้นแสดงความบิดเบี้ยว และอารมณ์ความรู้สึกเร่าร้อนรุนแรง โดยศิลปินมักสะท้อนแนวคิดด้านร้ายของสังคม การเมือง หรือเรื่องทางเพศผ่านผลงานของตน ช่วงชีวิตของฟรานซิส เบคอนมีโอกาสได้เดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ และได้รับแรงบันดาลใจจนเกิดผลงานที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งนับได้ว่าฟรานซิส เบคอนเป็นศิลปินคนหนึ่งที่ถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ รอบตัวผ่านผลงานไว้อย่างมากม.

ใหม่!!: ปารีสและฟรานซิส เบคอน (ศิลปิน) · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องก์ รีเบรี

ฟร็องก์ รีเบรี (Franck Ribéry) เป็นนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส เล่นให้กับสโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิก ในบุนเดสลีกาและฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส เขาเล่นในตำแหน่งปีก โดยเฉพาะปีกซ้าย และเป็นที่รู้จักในด้านฝีเท้า พละกำลัง ทักษะและการผ่านลูกที่แม่นยำ ยังมีการอธิบายถึงเขาว่าเป็นผู้เล่นที่ "รวดเร็ว มีเล่ห์เหลี่ยม และความสามารถในการเลี้ยงลูกที่ยอดเยี่ยม สามารถที่จะควบคุมลูกบอลที่เท้าได้อย่างดี" ตั้งแต่อยู่กับบาเยิร์นมิวนิก เขาได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้เล่นระดับโลก เป็นหนึ่งในนักฟุตบอลฝรั่งเศสที่ดีที่สุดในรุ่นของเขา ซีเนดีน ซีดานกล่าวถึงเขาว่าเป็น "อัญมณีแห่งฟุตบอลฝรั่งเศส".

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องก์ รีเบรี · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว บูเช

ฟร็องซัว บูเช (François Boucher; 29 กันยายน ค.ศ. 1703 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1770) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีชื่อเสียงในงานเขียนที่เป็นอุดมคติและอวบอิ่ม (voluptuous) ของภาพประเภทคลาสสิก อุปมานิทัศน์ และท้องทุ่ง (pastoral) นอกจากนั้นบูเชก็ยังเขียนภาพเหมือนหลายภาพของมาดาม เดอ ปงปาดูร.

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว บูเช · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ม็องซาร์

ฟร็องซัว ม็องซาร์ (François Mansart; 13 มกราคม ค.ศ. 1598 - 23 กันยายน ค.ศ. 1666 ที่กรุงปารีส) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ผู้คิดแนวทางการออกแบบระบบคลาสสิกเข้าไปผสมกับแบบบารอกในฝรั่งเศส สารานุกรมบริตานิกา (The Encyclopædia Britannica) ได้กล่าวถึงม็องซาร์ว่า เป็นสถาปนิกที่ประสบความสำเร็จที่สุดในศตวรรษที่ 17 เป็นผู้ที่ทำงานอย่างละเอียดละออ ใส่ใจกับรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ในทุกส่วนของสถาปัตยกรรม ม็องซาร์เกิดมาในตระกูลครอบครัวช่างไม้ ไม่ได้รับการฝึกหัดให้เป็นสถาปนิก แต่ได้รับการฝึกฝนจากญาติ ๆ ให้เป็นช่างก่อหินและประติมากร นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า ม็องซาร์ได้รับการฝึกให้เป็นสถาปนิกในสำนักของซาลอมง เดอ บร็อส ซึ่งเป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียงที่สุดในแผ่นดินของพระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ม็องซาร์ได้รับการยกย่องเป็นอย่างมากในทศวรรษที่ 1620 ในด้านแนวคิดการออกแบบและทักษะของเขา แต่ข้อเสียก็คือ เขาถูกมองว่าเป็นสถาปนิกที่ดื้อรั้น และเป็นผู้ที่ต้องการความสมบูรณ์ในผลงานทุกชิ้น หรือที่เรียกกันว่า เพอร์เฟกชันนิสต์ (perfectionist) ถึงขนาดมีการสั่งให้ทุบอาคารลงทั้งหมดเพื่อสร้างใหม่ตั้งแต่ต้นในบางกรณี ดังนั้นคนที่จะมีโอกาสว่าจ้างม็องซาร์ให้ทำงานได้ต้องเป็นมหาเศรษฐีเท่านั้น หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2141 หมวดหมู่:สถาปนิกชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว ม็องซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ราวายัก

ฟร็องซัว ราวายัก (François Ravaillac; ค.ศ. 1578 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นนักการ (factotum) อยู่ที่ราชสำนักเมืองอ็องกูแล็ม (Angoulême) และเป็นครู (tutor) ในบางโอกาส เขาถือนิกายโรมันคาทอลิกอย่างสุดโต่ง และปลงพระชนม์พระเจ้าอ็องรีที่ 4 (Henry IV) พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ใน..

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว ราวายัก · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ราเบอแล

ฟร็องซัว ราเบอแล ฟร็องซัว ราเบอแล (François Rabelais; ประมาณ ค.ศ. 1483 – 9 เมษายน ค.ศ. 1553) เป็นนักเขียน แพทย์ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวฝรั่งเศส มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ Gargantua and Pantagruel.

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว ราเบอแล · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ออล็องด์

ฟร็องซัว เฌราร์ ฌอร์ฌ นีกอลา ออล็องด์ (François Gérard Georges Nicolas Hollande,; เกิด 12 สิงหาคม ค.ศ. 1954) เป็นอดีตประธานาธิบดีของฝรั่งเศส ได้รับเลือกตั้งในวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว ออล็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ทรูว์โฟ

ฟร็องซัว รอล็อง ทรูว์โฟ (François Roland Truffaut; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 - 21 ตุลาคม ค.ศ. 1984) เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกภาพยนตร์นิวเวฟฝรั่งเศส และถึงแม้ปัจจุบันนี้เขาจะตายไปแล้ว ทรูว์โฟก็ยังเป็นที่จำจดว่าเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างมากในวงการภาพยนตร์ฝรั่งเศสอยู.

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว ทรูว์โฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว โมรียัก

ฟร็องซัว ชาร์ล โมรียัก (François Charles Mauriac; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1885 – 1 กันยายน ค.ศ. 1970) เป็นนักเขียน, นักวิจารณ์, กวีและนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นบุตรคนเล็กในจำนวน 5 คนของครอบครัวชนชั้นกลางในบอร์โด บิดาของโมรียักเสียชีวิตตั้งแต่โมรียักอายุ 18 เดือน โมรียักเรียนจบด้านวรรณกรรมจากมหาวิทยาลัยบอร์โดและย้ายมาอยู่ที่ปารีสเพื่อเรียนต่อที่โรงเรียนแห่งชาติชาทร์ (École Nationale des Chartes) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซัว โมรียัก · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซิส ปูแล็งก์

ฟร็องซิส ฌ็อง มาร์แซล ปูแล็งก์ (Francis Jean Marcel Poulenc, สัทอักษร) เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2441 (ค.ศ. 1899) เสียชึวิต 30 มกราคม พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มคีตกวีทั้งหก (ดาร์ยีส มีโย, ชอร์ช ออรีก, อาร์ตูร์ โอเนแกร์, ลุย ดูเรย์ และแชร์แมน ตายแฟร์) ปูแล็งก์เกิดที่กรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2441 และเสียชีวิตเนื่องจากอาการหัวใจล้มเหลวเมื่อ พ.ศ. 2506 ในกรุงปารีสเช่นกัน ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานแปร์ลาแชส ในกรุงปารี.

ใหม่!!: ปารีสและฟร็องซิส ปูแล็งก์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟลาวิโอ บาโดลโยที่ 3 ดยุกแห่งแอดดิสอาบาบา

ฟลาวิโอ บาโดลโยที่ 3 ดยุกแห่งแอดดิสอาบาบา มาร์ควิสแห่งซาโบติโน (The Noble Signor Don Flavio Badoglio, 3rd Duke of Addis Abeba, Marquess of Sabotino) เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2516 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นบุตรชายของเปโตร บาโดลโยที่ 2 ดยุกแห่งแอดดิสอาบาบา และเจ้าหญิงเฟือง มาย มีน้องสาวคือมานูเอลา บาโดล.

ใหม่!!: ปารีสและฟลาวิโอ บาโดลโยที่ 3 ดยุกแห่งแอดดิสอาบาบา · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ด แมดด็อกซ์ ฟอร์ด

ฟอร์ด แมดด็อกซ์ ฟอร์ด (Ford Madox Ford; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1873 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1939) เป็นนักเขียนและกวีชาวอังกฤษ มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ The Good Soldier ซึ่ง The Observer ยกย่องให้เป็นหนึ่งใน "นิยาย 100 เรื่องที่ดีที่สุดตลอดกาล" และ The Guardian ยกให้เป็นหนึ่งใน "นิยาย 1000 เรื่องที่ทุกคนควรอ่าน".

ใหม่!!: ปารีสและฟอร์ด แมดด็อกซ์ ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฟอลีแบร์แฌร์

ษณาการแสดงของฟอลีแบร์แฌร์ในปี 1893 ฟอลีแบร์แฌร์ (Folies Bergère) เป็นไนต์คลับตั้งอยู่ที่สี่แยกถนนเทรวีซ (Trévise) กับถนนรีเช (Richer) เขตที่ 9 ในกรุงปารีส มีชื่อเสียงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1890 ถึง 1920 ในด้านการเป็นคู่แข่งของคลับมูแลงรูจ ในแสดงระบำแคนแคน ดนตรีและกายกรรม ฟอลีแบร์แฌร์เปิดดำเนินการตั้งแต่ ค.ศ. 1869 ใช้ชื่อว่า Folies Trévise ตามชื่อถนนที่ตั้งอยู่ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น Folies Bergère ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฟอลีแบร์แฌร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟารูก มะห์มูด

ฟารูก มะห์มูด (Farook Mahmood) เป็นทั้งนักธุรกิจ, นักการกุศล และนักสังคมสงเคราะห์ชาวอินเดีย เขาเป็นประธานและกรรมการผู้จัดการของซิลเวอร์ไลน์กรุ๊ป ซึ่งเป็นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ตั้งอยู่ ณ บังกาลอร์ เขายังเป็นเลขานุการกิตติมศักดิ์ของอัล-อามีนเอ็ดดูเคชันแนลโซไซตี และเป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ปารีสและฟารูก มะห์มูด · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1960

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1960 (1960 UEFA European Football Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 6 - 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ครั้งที่ 7 จัดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 12-27 มิถุนายน ค.ศ. 1984.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 (2016 UEFA European Football Championship; Championnat d'Europe de football 2016) หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2016 (Euro 2016) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 15 จัดโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) โดยการแข่งขันรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 10 มิถุนายน ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่มีทีมลงแข่งขันในรอบสุดท้าย 24 ทีม เปลี่ยนจากการแข่งขันเดิมที่มี 16 ทีม ซึ่งเริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ 1996 ภายใต้การจัดการแข่งขันแบบใหม่นั้น จะแบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม รอบแพ้คัดออกจะมี 3 รอบ และนัดชิงชนะเลิศ โดย 24 ทีมแบ่งเป็น 19 ทีม (แชมป์กลุ่มและรองแชมป์กลุ่มของรอบคัดเลือก 9 กลุ่ม รวมไปถึงทีมอันดับที่ 3 ทีมีคะแนนดีที่สุด), ฝรั่งเศส ซึ่งเข้ารอบอัตโนมัติจากการเป็นเจ้าภาพ และ ทีมจากการแขงขันเพลย์ออฟแบบเหย้า-เยือนของทีมอันดับที่ 3 ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มดี

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มดี ลงเล่นตั้งแต่วันที่ 12 ถึง 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มดี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มซี

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มซี ลงเล่นตั้งแต่วันที่ 12 ถึง 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มซี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอ

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอ ลงเล่นตั้งแต่วันที่ 10 ถึง 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอฟ

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอฟ กลุ่มนี้ประกอบไปด้วยโปรตุเกส, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย และฮังการี นี่เป็นครั้งแรกของไอซ์แลนด์ในการลงสนามรอบสุดท้าย แต่ละนัดจะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 14 ถึง 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 กลุ่มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออกของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 มีกำหนดจะเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย

ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย (Lietuvos nacionalinė futbolo rinktinė) อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลลิทัวเนีย แข่งขันครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์

ฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ (Swiss national football team) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสวิตเซอร์แลนด์ ผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลโลก คือสามารถเข้ารอบ 8 ทีมสุดท้าย 3 ครั้ง คือในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสเปน

ฟุตบอลทีมชาติสเปน (Selección de fútbol de España) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศสเปน อยู่ภายใต้การควบคุมและเป็นตัวแทนของราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปนในการแข่งขันระหว่างประเทศนัดต่าง ๆ ซึ่งจัดขึ้นโดยสหพันธ์สมาคมฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) และสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) ทีมชาติสเปนเป็นที่รู้จักกันในฉายา "La Furia Española" และฉายาซึ่งเป็นที่นิยมมากกว่าคือ "La Furia Roja" มาจากคำที่ชาวอิตาลีเป็นผู้คิดขึ้นและนำมาใช้เรียกทีมชาตินี้ในภาษาของตนว่า "Furia Rossa" คำว่า "ฟูเรีย" (ความดุเดือด, ความโมโหร้าย) มาจากรูปแบบการเล่นที่ค่อนข้างรุนแรงของนักฟุตบอลสเปนในการแข่งขันนัดต่าง ๆ ที่ทีมชาติสเปนเข้าร่วมเป็นครั้งแรกที่เมืองแอนต์เวิร์ป (ประเทศเบลเยียม) และต่อมาก็ถูกนำมาใช้เรียกเหตุการณ์การปล้นเมืองแอนต์เวิร์ปของสเปนในสงครามแปดสิบปี (ค.ศ. 1576) ซึ่งเป็นตำนานมืดเรื่องหนึ่งในประวัติศาสตร์การทหารของสเปนด้วย ส่วน "รอสซา" (สีแดง) มาจากสีของเสื้อทีม สำหรับในประเทศไทยนั้นทีมนี้มีฉายาว่า "กระทิงดุ" สเปนได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลก 12 ครั้ง และเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในฟุตบอลโลก ปี 1982 ผลงานที่ดีที่สุดที่ทีมชาติสเปนเคยทำได้นั้นคือชนะเลิศในปี2010 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ ทีมชาติสเปนยังได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (ฟุตบอลยูโร) 8 ครั้ง ครั้งสำคัญคือฟุตบอลยูโร ปี 1964 ซึ่งถือเป็นแชมป์ในบ้านตัวเองหลังจากเอาชนะสหภาพโซเวียตไป 2-1 แต่ในรอบชิงชนะเลิศฟุตบอลยูโร ปี 1984 ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศส สเปนทำได้เพียงรองแชมป์เพราะแพ้ให้กับเจ้าบ้านด้วยคะแนน 2-0 และไม่ผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศอีกเลยจนกระทั่งในการแข่งขันฟุตบอลยูโร ปี 2008 สเปนก็ผ่านเข้ามาถึงรอบชิงชนะเลิศได้สำเร็จโดยพบกับเยอรมนีและคว้าแชมป์ไปได้ในที่สุด ความสำเร็จครั้งใหญ่ที่สุดในกีฬาโอลิมปิกของฟุตบอลทีมชาติสเปนได้แก่ การแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ค.ศ. 1992 ที่เมืองบาร์เซโลนา สเปนคว้าเหรียญทองได้สำเร็จหลังจากเอาชนะโปแลนด์ 3-2 ในรอบชิงชนะเลิศที่สนามกัมนอว์ (Camp Nou) ส่วนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนที่เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ค.ศ. 2000 สเปนได้เหรียญเงินโดยแพ้แคเมอรูนหลังจากการดวลจุดโทษในรอบชิงชนะเลิศ นอกจากนี้ สเปนยังเคยได้เหรียญเงินในกีฬาโอลิมปิกที่เมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม ค.ศ. 1920 อีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี

ฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี (Deutsche Fußballnationalmannschaft) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศเยอรมนี ในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งชนะฟุตบอลโลก 4 ครั้ง คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1 ครั้ง ฟุตบอลยูโร 3 ครั้ง และฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1 ครั้งในนามของเยอรมนีตะวันออก มีฉายาในภาษาไทยตามสัญลักษณ์ว่า "อินทรีเหล็ก".

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเวลส์

ฟุตบอลทีมชาติเวลส์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเวลส์ในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติ บริหารงานโดยสมาคมฟุตบอลเวลส์ (FAW) และเป็นสมาชิกของยูฟ่า แม้ประเทศเวลส์จะไม่ใช่ดินแดนที่เป็นรัฐเอกราช โดยมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร แต่ก็มีสมาคมฟุตบอลและทีมชาติเป็นของตนเอง โดยเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติในรายการสำคัญๆทุกรายการของฟีฟ่าและยูฟ่า อย่างไรก็ตามสำหรับการแข่งขันฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก ประเทศในเครือสหราชอาณาจักรอันประกอบไปด้วยอังกฤษ, สก็อตแลนด์, เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือต้องรวมทีมกันลงแข่งขันภายใต้ชื่อของสหราชอาณาจักร ทีมชาติเวลส์จัดเป็นฟุตบอลทีมชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอันดับที่ 3 รองจากทีมชาติอังกฤษและทีมชาติสก็อตแลนด์ แต่เคยผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายในรายการสำคัญๆ เพียงแค่ 2 ครั้งคือฟุตบอลโลกปี 1958 ที่ประเทศสวีเดนและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ที่ประเทศฝรั่งเศส โดยทีมชาติเวลส์มีฉายาที่ตั้งขึ้นโดยสื่อมวลชนกีฬาในประเทศไทยว่า มังกรแดง โดยผลงานดีที่สุดในระดับชาติที่ทีมชาติเวลส์เคยทำได้คือการผ่านเข้าถึงรอบ 8 ทีมสุดท้ายในฟุตบอลโลก 1958 และผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ส่วนในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป เวลส์ตกรอบคัดเลือกโดยมีคะแนนตามหลังทีมชาติสาธารณรัฐไอร์แลนด์ซึ่งอยู่อันดับ 2 เพียงแค่ 2 คะแนน การจัดอันดับโลกของฟีฟ่าที่ทีมชาติเวลส์เคยทำได้สูงสุดคืออันดับที่ 8 (ตุลาคม 2015) ภายใต้การคุมทีมของ คริส โคลแมน โดยในเดือนกันยายน 2015 นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ เวลส์ กลายเป็นทีมชาติที่มีอันดับโลกดีที่สุดในบรรดาทีมชาติในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย (Estonia national football team,Eesti jalgpallikoondis) เป็นตัวแทนของ ประเทศเอสโตเนียในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติเช่น ฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป และอยู่ภายใต้การดูแลของ สมาคมฟุตบอลเอสโตเนีย (Eesti Jalgpalli Liit),โดยสนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียคือ อา เลอ ค็อก อารีน่าใน ทาลลินน์, ประเทศเอสโตเนี.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย

ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย (Фудбалска репрезентација Србије, Fudbalska reprezentacija Srbije) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศเซอร์เบีย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเซอร์เบียที่ก่อตั้งในยูโกสลาเวีย ทั้งฟีฟ่าและยูฟ่าถือว่าทีมชาติเซอร์เบียเป็นทีมที่สืบทอดมาจากฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกรและฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย และในปี 2010 ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียได้เข้ารอบฟุตบอลโลก 2010 ในฐานะเซอร์เบี.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท คือประเภทชาย ได้รับการบรรจุเป็นกีฬาหลักของโอลิมปิกฤดูร้อนอย่างเป็นทางการครั้งแรก.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท คือประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1998

ฟุตบอลโลก 1998 (1998 Football World Cup) หรือ ฟร็องส์ '98 (France '98) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกจัดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ในช่วงระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ฝรั่งเศสได้รับเลือกเป็นเจ้าภาพโดยการตัดสินจากฟีฟ่า ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ชนะประเทศโมร็อกโก.

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลโลก 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกหญิง 2019

ฟุตบอลโลกหญิง 2019 (2019 FIFA Women's World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงครั้งที่ 8 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงระดับนานาชาติ โดยประเทศฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพจัดการแข่ง โดยประกาศเมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฟุตบอลโลกหญิง 2019 · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิป อามอรี

ฟีลิป อามอรี (Philippe Amaury; 6 มีนาคม ค.ศ. 1940 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นเจ้าของสื่อรายใหญ่ที่มีอิทธิพลที่สุดในฝรั่งเศส เขาเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทการพิมพ์ฟีลิป อามอรี (Éditions Philippe Amaury, EPA) ผู้ตีพิมพ์หนังสือพิมพ์เลอปารีเซียง (Le Parisien) หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นของปารีส และเลกิป (L'Équipe) นิตยสารกีฬารายใหญ่ของฝรั่งเศส บริษัทลูกของอีพีเอ ชื่อว่า องค์การกีฬาอามอรี (Amaury Sport Organisation - ASO) เป็นบริษัทผู้จัดการแข่งขันกีฬารายการสำคัญหลายรายการ เช่น การแข่งขันจักรยานตูร์เดอฟร็องส์, บูเอลตาอาเอสปัญญา, ปารีส-นิส, การแข่งขันรถวิบากปารีส-ดาการ.

ใหม่!!: ปารีสและฟีลิป อามอรี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ลิปปี

“แม่พระและพระกุมาร”ราว ค.ศ. 1440-1445พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนผู้ชายและผู้หญิงในห้อง” (Portrait of a Man and Woman at a Casement) ราว ค.ศ. 1440พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, นครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา ภาพเหมือนกับลูกศิษย์ ฟีลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi) (ค.ศ. 1406 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1469) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: ปารีสและฟีลิปโป ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ตอมมาโซ มารีเนตตี

ฟิลิปโป ตอมมาโซ เอมิลิโอ มาริเนตติ (Filippo Tommaso Emilio Marinetti) (22 ธันวาคม 1876 – 2 ธันวาคม 1944) เป็นนักเขียนและกวีชาวอิตาลี เขาเป็นที่จดจำในฐานะผู้ก่อตั้งกลุ่มเคลื่อนไหวทางศิลปะในกระแสฟิวเจอริสม์ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยการเคลื่อนไหวดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศอิตาลี มาริเนตติ ได้รับการศึกษาจากนักบวชคณะเยซูอิตในอะเล็กซานเดรีย ก่อนที่จะย้ายมาศึกษาวิชากฎหมายที่ปารีส ในปี 1893 และสำเร็จการศึกษาในปี 1899 อย่างไรก็ตาม มาริเนตติตัดสินใจที่จะเป็นนักเขียนแทนที่จะเป็นทนายความ โดยงานเขียนของเขานั้นมีอิทธิพลต่อความคิดของศิลปินอิตาลีในช่วงเวลานั้นเป็นอย่างมาก และเขายังเป็นหนึ่งในผู้ที่ให้การสนับสนุนพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) ของเบนิโต มุสโสลินีอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและฟีลิปโป ตอมมาโซ มารีเนตตี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม

ียนลายเส้นโดยอิสราเอล ซีลแว็สทร์ มุมมองไปที่ปราสาทเนิฟแห่งเมอดง หนึ่งในงานออกแบบของเดอ ลอร์ม ที่อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมในช่วงร้อยปีหลังจากที่ได้รับการก่อสร้าง ฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert de l'Orme; ค.ศ. 1510 – 8 มกราคม ค.ศ. 1570) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส เป็นปรมาจารย์ผู้หนึ่งแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ฟีลีแบร์เกิดที่เมืองลียง เป็นลูกของเฌออ็อง เดอ ลอร์ม ซึ่งเป็นสถาปนิกเช่นกัน และพยายามสั่งสอนให้ลูกชายให้เข้าสู่วิชาชีพเดียวกัน ฟีลีแบร์ถูกส่งไปร่ำเรียนที่อิตาลี (ค.ศ. 1533–1536) เมื่อเรียนจบได้ถูกจ้างเข้าทำงานโดยสมเด็จพระสันตปาปาพอลที่ 3 พอได้กลับมาที่ฝรั่งเศสก็ได้มาทำงานกับพระคาร์ดินัล ดูว์ แบแลแห่งลียง (Cardinal du Bellay) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2220

ทธศักราช 2220 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 1677.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2220 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2346

ทธศักราช 2346 ตรงกับคริสต์ศักราช 1803 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2346 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2375 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2437 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ปารีสและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พม่ารำลึก

ม่ารำลึก (Burmese Days) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยจอร์จ ออร์เวลล์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนตุลาคม 1934 ฉากในเรื่องคือประเทศพม่าช่วงทศวรรษ 1920 ซึ่งในขณะนั้นพม่าเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ระหว่างปี 1922–1927 ออร์เวลล์รับราชการเป็นตำรวจอาณานิคมอินเดียในพม่า และย้ายไปประจำอยู่หลายเมือง ทำให้เขามีโอกาสได้พบเห็นเรื่องราวต่าง ๆ เมื่อออกจากราชการแล้วไปพำนักที่ปารีส ออร์เวลล์ก็เริ่มร่างโครงเรื่อง และเขียนเสร็จในปี 1933Orwell, Sonia and Angus, Ian (eds.). The Collected Essays, Journalism and Letters of George Orwell Volume 1: An Age Like This (1920–1940) (Penguin) ในครั้งแรกนิยายเรื่องนี้ถูกปฏิเสธจากหลายสำนักพิมพ์เนื่องจากมีเนื้อหาที่พาดพิงถึงสังคมในยุคนั้น แต่หลังจากการปรับปรุงเนื้อหาบางส่วน สำนักพิมพ์ฮาร์เปอร์ของสหรัฐอเมริกาก็ตีพิมพ์ในปี 1934 ปีต่อมาสำนักพิมพ์ของวิกเตอร์ กอลลังซ์ (Victor Gollancz) ได้ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักร หลังจากตรวจสอบแล้วว่าไม่ได้พาดพิงถึงบุคคลหรือเหตุการณ์จริง.

ใหม่!!: ปารีสและพม่ารำลึก · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนัง

การแขวนพรมบนผนังโกบลินที่วังลินเดอร์โฮฟ ราวปี ค.ศ. 1900 พรมผนัง หรือ พรมแขวนผนัง (tapestry) เป็นงานศิลปะสิ่งทอ ซึ่งทอด้วยมือบนกี่ตั้งที่เส้นด้ายพุ่งซ่อนเส้นด้ายยืนหมดเมื่อทำเสร็จ ซึ่งต่างจากการทอผ้า อาจเห็นทั้งด้ายเส้นยืนและเส้นพุ่ง การทำเช่นนี้ทำให้เกิดลวดลายหรือภาพ ผู้ทอมักจะใช้ด้ายยืนที่ทำจากลินินหรือฝ้าย ส่วนด้ายพุ่งอาจจะเป็นขนแกะ, ฝ้าย หรือไหม หรือบางครั้งก็ใช้ด้ายที่ทำจากทอง, เงิน หรือวัสดุอื่นๆ ด้วย ทั้งช่างและศิลปินเป็นผู้สร้างงานพรมทอ ก่อนอื่นศิลปินจะร่างแบบ ที่เรียกกันว่า “tapestry cartoon” เพื่อให้ช่างทอตามแบบที่ร่าง ห้วเรื่องที่ทอก็อาจจะมาจากคัมภีร์ไบเบิล, ตำนานเทพ หรือฉากล่าสัตว์ ซึ่งจะเป็นที่นิยมทำกันในการตกแต่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: ปารีสและพรมผนัง · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนังบาเยอ

วนหนึ่งของพรมผนังบาเยอ พรมผนังบาเยอ (Bayeux Tapestry; Tapisserie de Bayeux) เป็นผืนผ้ากว้าง 50 เซนติเมตร ยาว 70 เซนติเมตรที่ปักเป็นภาพการนำไปสู่ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษนำโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี ผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1066 และเหตุการณ์ระหว่างสงครามเอง คำบรรยายในพรมผนังบาเยอเป็นภาษาละติน ปัจจุบันผ้าผืนนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ที่เมืองบาเยอในประเทศฝรั่งเศส เอกสารฉบับแรกที่กล่าวถึงพรมผนังบาเยออยู่ในเอกสารการสำรวจสิ่งของของมหาวิหารบาเยอเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและพรมผนังบาเยอ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสาธารณรัฐ (กัมพูชา)

รรคสาธารณรัฐ (Republican Party) เป็นพรรคการเมืองที่มีอายุสั้นในกัมพูชา ในช่วงสาธารณรัฐเขมร (พ.ศ. 2513 – 2518) พรรคนี้เป็นคนละพรรคกับพรรคสาธารณรัฐเขมรที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและพรรคสาธารณรัฐ (กัมพูชา) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส

รรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส (Parti communiste français, PCF) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์ของฝรั่งเศสในปี 2012 พรรคนี้มีสมาชิกพรรคจำนวน 138,000 คน พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศสก่อตั้งในปี 1920 และเคยเข้ารวมรัฐบาลดังต่อไปนี.

ใหม่!!: ปารีสและพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา

รรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនបដិវត្តន៍កម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนบฎิวตฺตน์กมฺพุชา; Kampuchean People’s Revolutionary Party: KPRP) เป็นพรรครัฐบาลและเป็นพรรคการเมืองพรรคเดียวในสมัยสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา ก่อตั้งเมื่อ 8 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและพรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมรูปทรงม้า

right พระบรมรูปทรงม้า อยู่ระหว่างการปั้นในสตูดิโอในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบรมรูปทรงม้า ตั้งอยู่ที่ลานพระบรมรูปทรงม้า สร้างขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยนำแบบอย่างมาจากพระบรมรูปของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ที่กรุงปารีส ด้วยฝีมือนายช่างชาวฝรั่งเศส บริษัท ซุซ แฟรส์ ฟองเดอร์ (Susse Frères Fondeur) ในวโรกาส ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2450 พระองค์เสด็จประทับ ให้ช่างปั้นชื่อ จอร์จ เซาโล (Georges Saulo) ปั้น เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2450 พระบรมรูปสำเร็จเรียบร้อยส่งเข้ามาถึงกรุงเทพฯ เมื่อ วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2451 อันเป็น เวลาพอดีกับงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก เนื่องในโอกาสเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ 40 ปี เจ้าพนักงานได้อัญเชิญพระบรมรูปทรงม้าขึ้นประดิษฐานบนแท่นรองหน้าพระราชวังดุสิต โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จไปทรงทำพิธีเปิดด้วยพระองค์เอง พระบรมรูปทรงม้าสร้างขึ้นด้วยเงินที่ประชาชนได้เรี่ยไรสมทบทุน ส่วนเงินที่เหลือเป็นจำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้นำไปสร้างมหาวิทยาลัยขึ้น มีนามตามพระปรมาภิไธยว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย สำหรับองค์พระบรมรูปทรงม้านั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จไปทำการตกลงและเลือกชนิดโลหะด้วยพระองค์เอง อีกทั้งยังเสด็จไปประทับเป็นแบบให้นายช่างปั้นหุ่น ขณะเสด็จประทับอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งพระรูปมีขนาดโตเท่าพระองค์จริง เสด็จประทับอยู่บนหลังม้าพระที่นั่ง โดยม้าพระที่นั่งนั้นมิใช่ปั้นจากแบบม้าพระที่นั่งจริง แต่เป็นม้าที่บริษัทได้ปั้นเป็นแบบเตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว พระบรมรูปทรงม้าหล่อด้วยโลหะทองบรอนซ์ ยึดติดกับแท่นทองบรอนซ์ เป็นที่ม้ายืน หนาประมาณ 25 เซนติเมตร ประดิษฐานบนแท่นรอง ทำด้วยหินอ่อน สูง 6 เมตร กว้าง 2 เมตร ยาว 5 เมตร ห่างจากฐานของแท่นออกมา มีโซ่ขึงล้อมรอบกว้าง 9 เมตร ยาว 11 เมตร ตรงฐานด้านขวามีอักษรโรมัน ภาษาฝรั่งเศสจารึกชื่อช่างปั้นและช่างหล่อชาวไว้ว่า C.MASSON SEULP 1908 และ G.Paupg Statuare และด้านซ้ายเป็นชื่อบริษัทที่ทำการหล่อพระบรมรูปทรงม้าว่า SUSSE Fres FONDEURS.

ใหม่!!: ปารีสและพระบรมรูปทรงม้า · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปแห่งบามียาน

ระพุทธรูปแห่งบามียาน (د بودا بتان په باميانو کې De Buda butan pe bamiyano ke; تندیس‌های بودا در باميان tandis-ha-ye buda dar bamiyaan) เป็นพระพุทธรูปยืนจำนวนสององค์ที่สลักอยู่บนหน้าผาสูงสองพันห้าร้อยเมตรในหุบผาบามียาน ณ จังหวัดบามียาน ในพื้นที่ฮาซาราจัตทางตอนกลางของประเทศอัฟกานิสถาน อันห่างจากกรุงคาบูลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณสองร้อยสามสิบกิโลเมตร หมู่พระพุทธรูปนี้สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 ตามศิลปะแบบกรีกโบราณ หมู่พระพุทธรูปนี้ถูกทำลายด้วยระเบิดไดนาไมต์เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 ตามคำสั่งของนายมุลลอฮ์ มุฮัมมัด อุมัร ประมุขของรัฐบาลฏอลิบาน ซึ่งให้เหตุผลว่ากฎหมายอิสลามไม่อนุญาตให้บูชารูปเคารพ ในขณะที่นานาประเทศต่างการประณามการกระทำของรัฐบาลฏอลิบานอย่างรุนแรง เพราะหมู่พระพุทธรูปนี้มิใช่สมบัติของบุคคลใดบุคคลหนึ่งแต่เป็น "มรดกโลก" อันเป็นสาธารณสมบัติและความภาคภูมิใจของคนทั้งโลก โดยญี่ปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์ร่วมใจกันสนับสนุนให้มีการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปนี้อีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: ปารีสและพระพุทธรูปแห่งบามียาน · ดูเพิ่มเติม »

พระยาสิงห์เสนี (สอาด สิงหเสนี)

นายพลตรี พระยาสิงห์เสนี นามเดิม สอาด สกุลสิงหเสนี เป็นขุนนางชาวสยาม ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง เช่น องคมนตรี อัครราชทูต เจ้ากรมคลังแสงสรรพาวุธ เป็นต้น.

ใหม่!!: ปารีสและพระยาสิงห์เสนี (สอาด สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

วนพระศพเดินทางออกจากเซนต์เจมส์ปาร์ก พระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ จัดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 6 กันยายน 2540 เวลา 9.08 นาฬิกา ในกรุงลอนดอน ทันทีที่เสียงระฆังเทเนอร์ดังขึ้น เพื่อเป็นสัญญาณว่าขบวนพระศพได้เคลื่อนออกจากพระราชวังเคนซิงตัน โดยบรรทุกโลงพระศพบนรถปืนใหญ่ หลังเคลื่อนโลงพระศพออกจากพระราชวังเซนต์เจมส์มายังพระราชวังเคนซิงตัน ซึ่งก่อนหน้านี้พระศพถูกตั้งไว้ที่พระราชวังเซนต์เจมส์เป็นเวลา 5 วันก่อนที่จะมีการทำพิธีปลงพระศพ นอกจากนี้ยังได้มีการลดธงชาติยูเนียนแจ๊กลงครึ่งเสาที่พระราชวังบักกิงแฮม โดยมีพิธีพระศพอย่างเป็นทางการที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ในกรุงลอนดอน และพิธีเสร็จสิ้นที่ทะเลสาบ ราวนด์โอวัล (สุสานที่ใช้ฝังพระศพ) ในคฤหาสน์อัลธอร์ป เมืองนอร์ธแฮมป์ตัน มณฑลนอร์ธแฮมป์ตันเชียร์ ประชาชนกว่า 2,000 คน ได้ร่วมพระราชพิธีที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ และมีประชาชนชาวอังกฤษรับชมการถ่ายทอดสดพิธีนี้ทางโทรทัศน์มากถึง 32.78 ล้านคน กลายเป็นการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักรที่มีผู้ชมมากที่สุด นอกจากนี้ยังมีผู้คนทั่วโลกอีกราว 2.5 พันล้านคนได้เฝ้าชมพิธีพระศพของไดอานา และได้เป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ปารีสและพระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังฟงแตนโบล

ระราชวังฟงแตนโบล (Palace of Fontainebleau, Château de Fontainebleau) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ราว 55 กิโลเมตรจากศูนย์กลางของกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส ที่เป็นพระราชวังหลวงที่ใหญ่ที่สุดพระราชวังหนึ่งของฝรั่งเศส สิ่งก่อสร้างที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นงานที่สร้างขึ้นและต่อเติมเปลี่ยนแปลงโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ ส่วนที่ก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นส่วนที่สร้างโดยพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 “พระราชวังฟงแตนโบล” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระราชวังฟงแตนโบล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังลุกซ็องบูร์

ระราชวังลุกซ็องบูร์ (Palais du Luxembourg; Luxembourg Palace) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของสวนลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส ในปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของวุฒิสภา (French Senate) สวนลุกซ็องบูร์มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 25 เฮ็คตาร์ที่เป็นลานหญ้าและทางเดินกรวดที่มีรูปปั้นตั้งอยู่เป็นระยะ ๆ สลับกับอ่างน้ำ.

ใหม่!!: ปารีสและพระราชวังลุกซ็องบูร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1949 จนถึง พ.ศ. 1963 พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจตุรัสเทียนอันเหมิน นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัสนี้ ผ่านประตูเทียนอันเหมิน บริเวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิน เรียกว่า อาณาเขตหลวง โดยมีสิ่งก่อสร้างสำคัญอยู่โดยรอบ เช่น มหาศาลาประชาคม ในอดีต พระราชวังแห่งนี้ เป็นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ข้าราชการชั้นสูง ยังต้องขออนุญาต เป็นกรณีพิเศษ จึงเรียกพระราชวังนี้ว่า "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ในพระราชวังแห่งนี้ กั้นพระองค์จากโลกภายนอก โดยมีสนมกำนัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ซึ่งคนเหล่านี้ต้องอาศัยอยู่ในนครต้องห้ามตลอดชีวิต เพื่อความสำราญของจักรพรรดิ ในวังจะมีวิเสท 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกำนัล 9,000 นาง ซึ่งมีขันที 70,000 คน คอยดูแลให้ มีคำเล่าลือกันว่า พระนางซูสีไทเฮา เวลาเสวยก็จะมีพระกระยาหารถึง 148 ชุด และทรงส่งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่มซึ่งเข้าวังแล้วจะไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย แม้ว่าประเทศจีนจะไม่มีสถาบันพระมหากษัตริย์แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ยังคงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยังปรากฏอยู่ในตราประจำสาธารณรัฐประชาชนจีนอีกด้วย นอกจากนี้ พระราชวังต้องห้ามยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งไม่นานมานี้ ทางรัฐบาลจีนได้มีนโยบายจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้ ยูเนสโกได้ประกาศให้พระราชวังต้องห้ามร่วมกับพระราชวังเสิ่นหยางเป็นหนึ่งในมรดกโลกในนาม พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง เมื่อ พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987).

ใหม่!!: ปารีสและพระราชวังต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังซังส์ซูซี

ระราชวังซังส์ซูซี (Sanssouci) เป็นอดีตพระราชวังฤดูร้อนของพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียตั้งอยู่ที่เมืองพอทสดัมในประเทศเยอรมนี สร้างโดยพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟรีดริชระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระราชวังซังส์ซูซี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแวร์ซาย

ระราชวังแวร์ซาย (Château de Versailles) เป็นพระราชวังหลวงแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่แวร์ซาย ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกรุงปารีส พระราชวังแวร์ซายเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยงามแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ปารีสและพระราชวังแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล

ระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (Château de Saint-Germain-en-Laye) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลในจังหวัดอีฟว์ลีนในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส ราว 19 กิโลเมตรทางตะวันตกของปารีส ในปัจจุบันพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาต.

ใหม่!!: ปารีสและพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส แห่งราชวงศ์บราแกนซา ซึ่งมีหลายพระองค์บทบาทสำคัญในจักรวรรดิโปรตุเกส พระเจ้าฌูเอาที่ 6 อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชินีการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน มีพระโอรส-ธิดาร่วมกัน 9 พระอง.

ใหม่!!: ปารีสและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช

ลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย พระนามเดิม หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยันต์ (29 เมษายนพ.ศ. 2442 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย กับหม่อมส้วน ไชยันต์ ณ อยุธยา เป็นผู้ว่าการคนแรกของธนาคารแห่งประเทศไทยและเป็นประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์คนแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: ปารีสและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์

นายพันเอกพิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ (23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2394 - 16 มีนาคม พ.ศ. 2477) ทรงเป็นพระโอรสองค์สุดท้ายในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม อธิบดีกรมช่างศิลป์หมู่และช่างศิลา กับหม่อมน้อย อดีตหม่อมในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ เมื่อประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าชายปฤษฎางค์ ทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นพระองค์เจ้า ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสยามธุรานุรักษ์ (มองซิเออร์ เดอ เกรออง)

ระสยามธุรานุรักษ์ มีชื่อเดิมว่า มองซิเออร์ เดอ เกรออง (M.A. de Grehan) เป็นชาวฝรั่งเศสที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทางโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นกงสุลไทยคนแรก ประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2406 ก่อหน้าที่จะมีการแต่งตั้งทูตไทยไปประจำในต่างประเทศเป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ปารีสและพระสยามธุรานุรักษ์ (มองซิเออร์ เดอ เกรออง) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (เลโอนาร์โด ดา วินชี)

ระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (The Virgin and Child with St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส “พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา” เป็นงานที่เขียนราวปี ค.ศ. 1508 เป็นภาพของนักบุญอันนา พระนางพรหมจารีมารีย์ และพระกุมารเยซู พระกุมารกำลังไขว่คว้าแกะซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระมหาทรมานของพระเยซู ขณะที่พระแม่มารีย์ทรงพยายามรั้งไว้ ภาพเขียนไดัรับจ้างให้เขียนสำหรับเป็นฉากแท่นบูชาเอกที่บาซิลิกาเดลลาซานทิซซิมาอันนันซิอาตาแห่งฟลอเรนซ์ (Santissima Annunziata, Florence) และเป็นหัวเรื่องที่ดา วินชีครุ่นคิดมานาน.

ใหม่!!: ปารีสและพระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา (เลโอนาร์โด ดา วินชี) · ดูเพิ่มเติม »

พระนิกเก็ง โชนิง

ระนิคเคนโชนิน (阿部日顕, Abe Nikken หรือ 日顕上人, Nikken Shonin; 19 ธันวาคม ค.ศ. 1922 - ปัจจุบัน) เป็นพระสังฆราชของพุทธศาสนานิกาย นิชิเรนโชชู องค์ที่ 67 ซึ่งเป็นหนึ่งในนิกายสำคัญของศาสนาพุทธนิกายนิชิเรน และยังดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสแห่งวัดใหญ่ไทเซขิจิ ณ ชิซุโอกะ ประเทศญี่ปุ่น สานุศิษย์นิชิเรนโชชูจะขนานนามท่านว่า พระนิคเคนโชนิน, นิคเคนโชนิน เกอิคะ, โกะอิซน โชนิน, โกอินซนซะมะ หรือ โกอิรเคียวซะมะ แต่มักจะเรียกอย่างเป็นทางการว่า "พระสังฆราชองค์ที่ 67 พระนิคเคนโชนิน"(67th High Priest Nikken Shōnin.) พระนิคเคนโชนินเป็นผู้ทำการคว่ำบาตรผู้นับถือนับล้านคนทั่วโลกที่เข้ากับ โซกา งัคไค หรือ สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย ซึ่ง ถูกคว่ำบาตรและขับไถ่ออกจากการเป็นผู้นับถือ นิชิเรนโชชู และยุคของท่านยังเป็นสมัยที่ดุเดือดที่สุดในการพิพาทระหว่างวัดใหญ่ และสมาคมโซกา งั.

ใหม่!!: ปารีสและพระนิกเก็ง โชนิง · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีแห่งภูผา

ระแม่มารีแห่งภูผา (Virgin of the Rocks) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันสองภาพที่มีลักษณะการวางภาพที่เหมือนกันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรคนสำคัญสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีสและเลโอนาร์โด ดา วินชียังได้วาดภาพนี้ขึ้นอีกชิ้นและปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในอังกฤษ.

ใหม่!!: ปารีสและพระแม่มารีแห่งภูผา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์

มหาอำมาตย์โท พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ อดีตผู้บังคับการกรมทหารรักษาพระองค์ อัครราชทูตพิเศษประจำกรุงปารีส และข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า และต้นราชสกุลวัฒนวง.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Charles VI of France) (3 ธันวาคม ค.ศ. 1368- 21 ตุลาคม ค.ศ. 1422) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Bien-Aimé” (ผู้เป็นที่รัก) หรือ “le Fol or le Fou” (ผู้เสียพระสติ) พระเจ้าชาร์ลส์ทรงเป็นสมาชิกในราชวงศ์วาลัวส์ และเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 5 แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1380 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1422 พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเมื่อพระชนมายุได้เพียง 11 พรรษาในปี ค.ศ. 1380 ในพิธีบรมราชาภิเษกที่มหาวิหารแรงส์ ต่อมาอีกห้าปีก็ทรงเสกสมรสกับอิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียในปี ค.ศ. 1385 และทรงเริ่มปกครองประเทศด้วยพระองค์เองในปี ค.ศ. 1388 หลังจากการปกครองโดยพระปิตุลาฟิลิปเดอะโบลด์ดยุคแห่งเบอร์กันดี (Philip the Bold) ตั้งแต่ขึ้นครองราชสมบัติ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 ทรงเริ่มมีพระอาการเหมือนทรงเสียพระสติเป็นพักๆ มาตั้งแต่อายุ 20 พรรษากว่าๆ จนบางครั้งก็ไม่ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในการปกครองได้ จากการสันนิษฐานจากพระอาการต่างๆ พระองค์อาจจะมีอาการของผู้เป็นโรคจิตเภท (Schizophrenia).

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (Charles VII de France; Charles VII of France) (22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1403- 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ที่ได้รับการขนานพระนามว่า “le Victorieux” (ผู้พิชิต) หรือ “le Bien-Servi” (ผู้ได้รับการสนองพระบรมราชโองการเป็นอย่างดี) พระเจ้าชาร์ลทรงเป็นเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส การขึ้นครองราชบัลลังก์ของพระองค์ได้รับการคัดค้านโดยฝ่ายอังกฤษที่ขณะนั้นมีอำนาจอยู่ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษที่นำโดยจอห์นแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุกแห่งเบดฟอร์ดที่ 1 ที่ทำการปกครองฝรั่งเศสแทนพระเจ้าเฮนรีอยู่ในปารีสก็อ้างว่าพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทรงเป็นผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอย่างถูกต้องตามที่ระบุในสนธิสัญญาตรัวส์ (Treaty of Troyes) แต่พระเจ้าชาร์ลก็ทรงได้เข้าทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เมืองแรงส์ในปี ค.ศ. 1429 ด้วยความช่วยเหลือของโจนออฟอาร์คในการทำสงครามขับไล่อังกฤษออกจากฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1422 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1461 ในปลายรัชสมัยพระองค์ทรงต้องประสบกับความยุ่งยากจากความขัดแย้งกับพระราชโอรสผู้ครองราชย์ต่อมาเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าโรแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (27 มีนาคม ค.ศ. 972 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031) เป็นกษัตริย์แห่งประเทศฝรั่งเศส จาก ค.ศ. 996 จนกระทั่งการตายของพระองค์ พระองค์ประสูติที่ เมืองออร์เลองส์ ประเทศฝรั่งเศส และสวรรคตที่เมืองเมอลุน ประเทศฝรั่งเศส สิริพระชนมายุได้ 59 พรรษา ศพของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่ บาซิลิสก์ แซงต์-เดอนี กรุงปารีส บิดาของพระองค์คือ อูก กาเป และมารดาของพระองค์คือ อดีเลด์แห่งอากีแตง พระมหากษัตริย์ที่ได้ครองราชย์ต่อจากพระองค์คือ พระเจ้าอองรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:ตระกูลคาเปต์.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรีย

ระเจ้าลุดวิจ ฟรีดริช วิลเฮลมที่ 2 (Ludwig Friedrich Wilhelm II) เป็นกษัตริย์แห่งบาวาเรียระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์

ันโทหญิง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ (ประสูติ: 8 มกราคม พ.ศ. 2530) เป็นนักกีฬาขี่ม้า, นักออกแบบเสื้อ และอดีตนักกีฬาแบตมินตันทีมชาติชาวไทย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติแต่สุจาริณี วิวัชรวงศ์ (หรือยุวธิดา ผลประเสริฐ) อดีตนักแสดง.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Louis-Philippe Ier; Louis-Philippe of France) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม "พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ).

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Louis X of France หรือ Louis the Quarreller หรือ Louis the Headstrong หรือ Louis the Stubborn หรือ Louis X le Hutin) (ตุลาคม ค.ศ. 1289 - 5 มิถุนายน ค.ศ. 1316) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1314 ต่อจากพระราชบิดา จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1316 พระเจ้าหลุยส์ที่ 10 เสด็จพระราชสมภพเมื่อราวเดือนตุลาคม ค.ศ. 1289 ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและ พระราชินีฌาน ทรงได้รับตำแหน่งเป็น “พระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์” หลังจากที่พระมารดาสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1305 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยที่สั้นและไม่มีเหตุการณ์สำคัญเท่าใดนักนอกไปจากความขัดแย้งระหว่างขุนนางฝ่ายต่างๆ ในราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส (Louis XII of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1462 - 1 มกราคม ค.ศ. 1515) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส จากสายวาลัวส์-ออร์เลอองส์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 เสด็จพระราชสมภพที่วังบลัวส์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสของชาร์ลส์ ดยุกแห่งออร์เลอองส์ และ มารีแห่งคลีฟส์ ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1498 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1515 ที่ปารีสในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส (Louis XIII de France; หลุยส์เตร์ซเดอฟร็องส์) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองผู้ปกครองแผ่นดินฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ. 1824) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักว่า "ผู้ปรารถนา" (le Désiré) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์บูร์บงผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์ตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (Louis VI of France หรือ Louis the Fat หรือ Louis le Gros) (1 ธันวาคม ค.ศ. 1081 - 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเซียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1108 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137 พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์กาเปเซียงองค์แรกที่ทรงมีบทบาทในการรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1081 ที่ปารีส ในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสและพระนางเบอร์ธาแห่งฮอลแลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสพระชายาองค์แรก ตลอดยี่สิบปีที่ทรงครองราชย์พระองค์ต้องทรงต่อสู้กับขุนนางผู้มีอำนาจที่เป็นปัญหาทั้งต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและราชบัลลังก์อังกฤษในการครองอำนาจในนอร์ม็องดี แต่พระเจ้าหลุยส์ก็ทรงสามารถเพิ่มอำนาจของพระองค์เองขึ้นอีกมากและเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกผู้มีความแข็งแกร่งตั้งแต่การแยกจักรวรรดิการอแล็งเฌียง อธิการซูว์เฌแห่งมหาวิหารแซ็ง-เดอนีกล่าวถึงพระองค์ว่าเป็นผู้ที่มีพระอุปนิสัยหนักแน่นที่ไม่เหมือนบรรพบุรุษของพระองค์ก่อนหน้านั้น เมื่อยังทรงพระเยาว์หลุยส์ต่อสู้กับโรเบิร์ต เคอร์โธส ดยุกแห่งนอร์ม็องดี (Robert Curthose) พระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ ขุนนางของดินแดนส่วนพระมหากษัตริย์อีล-เดอ-ฟรองซ์ หลุยส์ทรงกลายมาใกล้ชิดกับอธิการซูว์เฌ ผู้ต่อมากลายเป็นที่ปรึกษาในพระองค์ หลุยส์ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1108 ฟิลิปแห่งฝรั่งเศสพระอนุชาต่างพระมารดาทรงป้องกันไม่ให้หลุยส์ไปทำพิธีบรมราชาภิเษกที่แร็งส์ หลุยส์จึงทำทำพิธีราชาภิเษกที่ออร์เลอ็องโดย อาร์ชบิชอปแดงแบร์ตแห่งซองส์ ราล์ฟเดอะกรีนอาร์ชบิชอปแห่งแร็งส์จึงส่งผู้แทนมาท้าความถูกต้องของการราชาภิเษกแต่ก็ไม่มีผล ในวันอาทิตย์ใบปาล์มของปี..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Louis VIII of France) (5 กันยายน ค.ศ. 1187 - 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1223 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226 พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1187 ที่ปารีส ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส และ พระราชินีอิสซาเบลล.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, Louis IX) (25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาแประหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270 นอกจากเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสพระองค์ก็ยังทรงใช้พระนามว่า “หลุยส์ที่ 2 เคานต์แห่งอาร์ตัว” ระหว่างปี ค.ศ. 1226 จนถึงปี ค.ศ. 1237 ในรัชสมัยของพระองค์ ได้ทรงทำงานร่วมกับรัฐสภาแห่งปารีสในการพยายามปรับปรุงเพื่อเพิ่มความมีประสิทธิภาพทางด้านกฎหมาย พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1214 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส และพระนางบล็องช์แห่งคาสตีล พระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสพระองค์เดียวที่ทรงได้รับการประกาศเป็นนักบุญ ซึ่งทำให้มีสถานที่ต่างๆ มากมายที่ตั้งชื่อตามพระอง.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Henry II of France) (31 มีนาคม ค.ศ. 1519- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย

ระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย หรือ อเล็๋กซานเดอร์ โอเบรโนวิก (เซอร์เบีย: Александар Обреновић; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1876 - 11 มิถุนายน ค.ศ. 1903) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเซอร์เบียตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮัมมูราบี

รูปสลักหินไดโอไรท์ที่เชื่อว่าเป็นกษัตริย์ฮัมมูราบี ฮัมมูราบี (Hammurabi; ประมาณ 1810 - 1750 ปีก่อนคริสตกาลหรือประมาณ 1267-1207 ปีก่อนพุทธกาล) กษัตริย์ชาวอามอไรท์องค์ที่ 6 และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งจักรวรรดิบาบิโลน รู้จักกันดีที่สุดในด้านกฎหมายในขณะเดียวกับความเป็นผู้ยิ่งใหญ่ด้านการทหารที่ทำให้อาณาจักรบาบิโลนมีอำนาจมากที่สุดในแถบเมโสโปเตเมียโดยการเอาชนะพวกซูเมอร์และพวกอั.

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าฮัมมูราบี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฌ็องที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าจอห์นที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (John I of France หรือ John the Posthumous) (15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1316 - 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1316) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสเพียงห้าวันระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1316 พระเจ้าจอห์นที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1316 ที่ปารีส ในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส และ พระราชินีเคลเม็นเชีย พระเจ้าจอห์นประสูติหลังจากพระราชบิดาเสด็จสวรรคตไปแล้ว และทรงมีชีวิตอยู่เพียงห้าวันก็เสด็จสวรรคต มีผู้เชื่อกันว่าพระปิตุลาทรงมีส่วนในการเสด็จสวรรคตของพระองค์เพื่อชิงราชบัลลังก์จากพระองค์โดยการขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าฟิลิปที่ 5 แห่งฝรั่งเศส บ้างก็ว่าพระเจ้าฟิลิปมีพระราชโองการให้ลักพาตัวพระเจ้าจอห์นและแทนที่ด้วยเด็กที่เสียชีวิตไปแล้ว ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1350 ชายชื่อจานนิโน ดิ กูชชิโอ (Giannino di Guccio) อ้างตัวว่าเป็นพระเจ้าจอห์นที่บริเวณโปรวองซ์ แต่ก็ถูกจับเข้าคุกในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและพระเจ้าฌ็องที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรการสถาปนาราชวงศ์แห่งเวียดนาม

ันธมิตรการสถาปนาราชวงศ์แห่งเวียดนาม (Vietnamese Constitutional Monarchist League; Cờ Liên Minh Quân Chủ Lập Hiến Đa Nguyên Việt Nam) เป็นองค์กรต่อต้านคอมมิวนิสต์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2536 โดย เหงียน ฟุก บูจาญซึ่งกล่าวอ้างว่าเป็นสมาชิกราชวงศ์ของเวียดนามที่ลี้ภัยออกจากประเทศตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและพันธมิตรการสถาปนาราชวงศ์แห่งเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์

Russian Empire พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ (หรือ มหาสัมพันธมิตร) เป็นพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยรัสเซีย ออสเตรีย และปรัสเซีย ซึ่งก่อตั้งและลงนามโดยชาติทั้งสามในกรุงปารีส เมื่อวันที่ 26 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์

นธิสัญญาพันธมิตรทางการทหารระหว่างฝรั่งเศส-โปแลนด์ มักจะหมายถึง พันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สองกับฝรั่งเศส ซึ่งมีผลอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1921 - ค.ศ. 1940.

ใหม่!!: ปารีสและพันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์

ันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์ หมายถึง ข้อตกลงระหว่างสหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ในความร่วมมือระหว่างกันในกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศในทวีปยุโรป ตามข้อตกลงลับในข้อตกลง "ประเทศในทวีปยุโรป" นี้เป็นที่เข้าใจว่าคือ เยอรมนี.

ใหม่!!: ปารีสและพันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พาโลม่า พิแคสโซ่

ลม่า พิแคสโซ่ (เกิดขึ้นมาจาก แอน พาโลม่า รูอิซ และ พิแคสโซ่ วาย จิลอท ณ ปารีส เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2492) เธอเป็นแฟชั่นดีไซน์เนอร์ชื่อดังชาวฝรั่งเศสและทำธุรกิจซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีทางด้านการออกแบบเครื่องประดับในนาม ทิฟฟานี่ แอนด์ โค และธุรกิจน้ำหอมในนามชื่อของเธอเอง เธอเป็นลูกสาวคนสุดท้องของศิลปินผู้โด่งดังในสมัยศตวรรษที่20 ชื่อว่า พาโบล พแคสโซ่ และฟรองซ์ซัว จิลอท นักเขียนและนักวาดภาพ พี่ชายคนโตพ่อแม่เดียวกันมีชื่อว่า กลอด พิแคสโซ่ (เกิดเมื่อ พ.ศ. 2490) เธอมีพี่ชายต่างมารดาชื่อ พอลโล่ พิแคสโซ่ (พ.ศ. 2464-2518) มีพี่สาวต่างมารดาชื่อเมย่า (เกิดเมื่อ พ.ศ. 2478) และมีน้องสาวต่างบิดาชื่อ ออเรเลีย (เกิดเมื่อพ.ศ. 2499) ซึ่งพ่อของออเรเลียเป็นศิลปินที่ชื่อว่า ลุค ไซมอน พาโลม่า ในภาษาสเปน หมายถึง “นกพิราบ” พาโลม่า พิแคสโซ่ ถูกใช้นำมาเป็นชื่อในผลงานต่างๆของพ่อเธอ อาทิ นกพิราบกับผลส้ม และนกพิราบสีน้ำเงิน "Paloma Picasso," from the Biography Resource Center, the Gale Group, 2001.

ใหม่!!: ปารีสและพาโลม่า พิแคสโซ่ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถาน

ท้องฟ้าจำลอง พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ พิพิธภัณฑ์ที่เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้แห่งแรกของโลก ตั้งอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส หอศิลป์อุฟฟีซี เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในอิตาลี เกาะพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่เบอร์ลิน พิพิธภัณฑ์บริติช ตั้งอยู่ที่ลอนดอน พิพิธภัณฑ์อินเดีย ตั้งอยู่ที่โกลกาตา ประเทศอินเดีย เป็นพิพิธภัณฑเก่าและใหญ่ที่สุดในอินเดีย พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติฟินแลนด์ ตั้งอยู่ที่เฮลซิงกิ พิพิธภัณฑสถาน หรือ พิพิธภัณฑ์ เป็นอาคารหรือสถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บรักษาวัตถุที่มนุษย์ทำขึ้น.

ใหม่!!: ปารีสและพิพิธภัณฑสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: ปารีสและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ออร์แซ

ัณฑ์ออร์แซ (Musée d'Orsay) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะ พิพิธภัณฑ์การออกแบบ/สิ่งทอ และสถานที่ทางประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ออร์แซก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1986 บนฝั่งซ้ายแม่น้ำเซนในสถานที่ที่เดิม เคยเป็นสถานีรถไฟออร์แซ ที่สร้างในแบบสถาปัตยกรรมแบบโบซาร์โดยสถานีรถไฟแห่งนี้ถูกสร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและพิพิธภัณฑ์ออร์แซ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ

การแสดงในอิตาลี เมื่อปี 2009 เลอ ซาเกร ดู แปร็งตอง (Le sacre du printemps; Весна священная, Vesna svyashchennaya; The Rite of Spring) หรือเรียกย่อว่า เลอ ซาเกร (Le sacre), เดอะ ไรท์ (The Rite) เป็นบัลเลต์เรื่องที่สามของอิกอร์ สตราวินสกี ออกแสดงครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและพิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ · ดูเพิ่มเติม »

พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน

ื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน (Three Parallel Rivers of Yunnan Protected Areas) คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน กินอาณาบริเวณของเมืองลี่เจียง เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง และเขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง แม่น้ำสามสายหมายถึงแม่น้ำสามสายที่มีต้นน้ำอยู่ในที่ราบสูงทิเบตและไหลขนานกันลงมา ได้แก่ แม่น้ำแยงซี แม่น้ำโขง และแม่น้ำสาละวิน และนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ใหม่!!: ปารีสและพื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน · ดูเพิ่มเติม »

พุซ อิน บู๊ทส์

ซ อิน บู๊ทส์ (Puss in Boots) เป็นภาพยนตร์คอมพิวเตอร์แอนิเมชันผจญภัย ที่ผลิตโดยดรีมเวิร์กสแอนิเมชัน กำกับโดย คริส มิลเลอร์ (ซึ่งกำกับ เชร็ค 3 ใน ค.ศ. 2007) ภาพยนตร์จัดฉายในโรงที่สหรัฐอเมริกาวันที่ 28 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและพุซ อิน บู๊ทส์ · ดูเพิ่มเติม »

พูนศุข พนมยงค์

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร; เกิด: 2 มกราคม พ.ศ. 2455 - อนิจกรรม: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นภริยาของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เคยกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ไว้ว.

ใหม่!!: ปารีสและพูนศุข พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมภาษาไทย

นานุกรมภาษาไทย หมายถึงพจนานุกรมที่เรียงลำดับตามดัชนีของศัพท์ภาษาไทย หรือพจนานุกรมที่ให้การจำกัดความเป็นภาษาไทย หรือทั้งสองอย่าง พจนานุกรมภาษาไทยที่เป็นทางการของประเทศไทยในปัจจุบันคือ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ปารีสและพจนานุกรมภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดลูฟวร์

ีระมิดกระจกยามค่ำคืน พีระมิดลูฟวร์ (Louvre Pyramid) เป็นพีระมิดที่สร้างขึ้นจากกระจกและโลหะ มีพีระมิดขนาดเล็กกว่า 3 หลังตั้งอยู่โดยรอบ ตั้งอยู่ที่ลานหน้าพิพิธภัณฑสถานลูฟวร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทำหน้าที่เป็นทางเข้าหลักของพิพิธภัณฑ์ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2532 และกลายเป็นหนึ่งในจุดสังเกตของกรุงปารี.

ใหม่!!: ปารีสและพีระมิดลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พี่น้องมงกอลฟีเย

การทดลองครั้งแรกของพี่น้องมงกอลฟีเย เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783 โฌแซ็ฟ-มีแชล มงกอลฟีเย ผู้พี่ ฌัก-เอเตียน มงกอลฟีเย ผู้น้อง บัลลูนMontgolfier พี่น้องมงกอลฟีเย (Frères Montgolfier; Montgolfier brothers) ประกอบด้วย โฌแซ็ฟ-มีแชล มงกอลฟีเย (Joseph-Michel Montgolfier; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1740 - 26 มิถุนายน ค.ศ. 1810) และ ฌัก-เอเตียน มงกอลฟีเย (Jacques-Étienne Montgolfier; 6 มกราคม ค.ศ. 1745 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1799) นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส เป็นสร้างบัลลูนที่ขับเคลื่อนด้วยอากาศร้อน เดินทางที่ความสูง 500 ฟุตในอากาศ เป็นระยะทาง 5 1/2 ไมล์ ใช้เวลา 25 นาที ได้สำเร็จเป็นครั้งแรกของโลกที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783.

ใหม่!!: ปารีสและพี่น้องมงกอลฟีเย · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: ปารีสและพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนการดาแกโรไทป์

หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (ค.ศ. 1787 - 1851) ดาแกโรไทพ์ (Daguerreotype) ถูกคิดค้นโดย หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (พ.ศ. 2330 - 2394) โดยดาแกร์ได้ทดลองเกี่ยวกับวัสดุไวแสง เพื่อใช้บันทึกภาพจากกล้องออบสคูร่าโดยตั้งชื่อว่ากระบวนการ ไดออรามา (Diorama) และในขณะเดียวกัน โจเซฟ นีเซฟอร์ เนียฟ ก็ได้คิดค้นกระบวนการเฮลิโอกราฟฟี (Heliograghy) อยู่เช่นกัน แต่ทั้งสองเก็บเป็นความลับเรื่อยมาจนกระทั่งได้รู้จักกันโดยการชักนำของสองพี่น้องช่างทำแว่นตาและต่อมาทั้งสองได้ทำสัญญาเป็นหุ้นส่วนกัน แต่เมื่อทำสัญญาได้เพียง 4 ปี เนียฟกลับถึงแก่กรรมไปเสียก่อน และดาแกร์ ได้นำกระบวนการเฮลิโอกราฟฟี่ (Heliograghy) ของ เนียฟ และกระบวนการไดออรามาของ ดาแกร์ เองมารวมกันแล้วทดลองถ่ายภาพปรากฏว่าเป็นผลสำเร็จเขาจึงตั้งชื่อกระบวนการใหม่นี้ว่า ดาแกโรไทพ์ (Daguerreotype) ภาพแรกที่ดาแกร์ทำสำเร็จจนทำให้เขาได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งการถ่ายภาพสมัยใหม่ มีชื่อว่าห้องภาพจิตรกร (The Artist’s studio) โดยเป็นการถ่ายภาพหุ่นนิ่งหรือภาพ(still Life) วัตถุที่ใช้เป็นแบบได้แก่ภาพวาด รูปแกะสลักที่เป็นฝีมือของเขาเอง เมื่อข่าวความสำเร็จแพร่ขยายออกไปทำให้ผู้คนสนใจเป็นอันมากโดยเฉพาะ ฟรังซัว อารากอล (Francois Aragol) นักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งกรุงปารีส ได้มาขอศึกษาความรู้จาก ดาแกร์และนำไปเผยแพร่สาธิตต่อ และเขายังได้เสนอรัฐบาลฝรั่งเศสซื้อลิขสิทธิ์จากดาแกร์ เมื่อรัฐบาลเห็นชอบได้ซื้อลิขสิทธิ์และได้โอนให้สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งกรุงปรารีสพัฒนา และต่อมารัฐบาลฝรั่งเศส ก็ได้ประกาศให้กระบวนการ ดาแกร์โรไทพ์ (Daguerreotype) เป็นของสาธารณะ ผู้ใดจะนำไปใช้ก็ได้โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ เมื่อดาแกร์เห็นว่ามีคนสนใจกระบวนการของเขาเป็นอันมากเขาจึงได้เขียนหนังสือเพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาขึ้นมาเล่มหนึ่งชื่อว่า (The History and Description of the Process Named the Daguerreotype) มีจำนวน 79 หน้าและได้พิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศสถึง 29 ครั้งและเป็นภาษาอื่นแพร่หลายไปทั่วซีกโลกตะวันตก แต่มีคนติว่าดาแกร์ใช้คำยากเกินไปและมีศัพท์วิทยาศาสตร์อยู่มาก ทำให้ผู้อ่านไม่เข้าใจ รัฐบาลจึงสั่งให้ดาแกร์สาธิตกระบวนการให้สาธารณชนได้ดู เพื่อให้สาธารณชนได้เข้าใจแจ่มแจ้ง และทุกครั้งที่มีการสาธิตเมื่อจบการสาธิตผู้คนต่างพากันแย่งซื้ออุปกรณ์ในการทำกระบวนการนี้เป็นเสมือนหนึ่งว่าเป็นของฝากจากกรุงปารีส จนทำให้เกิดร้านขายอุปกรณ์เหล่านี้อยู่มากมากทั่วกรุงปรารีส เพียง 1 ปีหลังจากคิดค้นได้สำเร็จกระบวนการนี้ได้กระจายอยู่ทั่วไปในซีกโลกตะวันตก และเพียง 6 ปีจากนั้นดาแกร์โรไทพ์ก็ได้มาถึงประเทศไทยพร้อมเรือสินค้าของพวกฝรั่งในปี พ.ศ. 2388 ในปลายสมัยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีก็ทรงได้ฉายพระรูปส่งไปพระราชทานให้ประธานาธิบดี แฟรงคลิน เพียร์ซ ของสหรัฐอเมริกาจากกระบวนการดาแกร์โรไทพ์ด้วยและเจริญเติบโตในประเทศไทยอย่างสูงสุดในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงขนาดมีการสร้างห้องมืด สั่งกล้องออบสคูร่า เพลท เคมีต่างๆ เข้ามาใช้ในราชสำนักมากมาย พระบาทสมเด็จพระอยู่หัวรัชกาลที่ 5 พระราชทานกล้องและความรู้เกี่ยวกับการถ่ายภาพให้แก่เจ้านาย และพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ด้วยกันทั้งยังเคยออกร้านถ่ายรูปและทรงเป็นช่างภาพเองในงานประจำปี วัดเบญจมบพิตรเพื่อนำเงินรายได้ไปบำเพ็ญพระราชกุศลในวัดเบญจมบพิตรด้วย ภาพที่มีชื่อเสียงของเอ็ดการ์ อัลลัน โพ ถ่ายโดยกระบวนการดาแกร์โรไทพ์ในปี พ.ศ. 2391 ไม่นานก่อนเขาเสียชีวิต.

ใหม่!!: ปารีสและกระบวนการดาแกโรไทป์ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทชื่อทะเลญี่ปุ่น

alt.

ใหม่!!: ปารีสและกรณีพิพาทชื่อทะเลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กร็องปาแล

ลอกร็องปาแลเดช็องเซลีเซ (Le Grand Palais des Champs-Élysées) หรือนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า กร็องปาแล เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของกรุงปารีส และยังเป็นสถานที่จัดนิทรรศการด้วย ตั้งอยู่ในเขตที่ 8 โดยเริ่มก่อสร้างในช่วงปี..1897 ภายหลังจากการรื้ออาคารปาแลเดอแล็งดุสทรี (Palais de l'Industrie) เพื่อเตรียมการจัดงานนิทรรศการโลกในปี..1900 (Universal Exposition of 1900) ซึ่งยังรวมถึงการก่อสร้าง เปอติ ปาแล และสะพานอะเลคซันดร์ที่ 3 ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงด้วย กร็องปาแล เคยถูกผ่านการใช้งานเป็นโรงพยาบาลทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 และยังเคยเป็นที่จัดแสดงการโฆษณาชวนเชื่อของนาซี ถึง 2 ครั้ง ในช่วงที่ปารีสถูกเยอรมนียึดครองสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ตัวอาคารมีลักษณะแบบสถาปัตยกรรมโบซาร์ตามแบบที่มีการสอนในสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศส โดยมีลักษณะเด่นคือรายละเอียดโดยรอบบนหน้าบันที่สลักจากหิน และการออกแบบพื้นที่ใช้สอยที่ทันสมัย รวมทั้งการใช้นวัตกรรมใหม่ในการก่อสร้าง อาทิเช่น โครงหลังคาเหล็กน้ำหนักเบาประดับกระจก และการใช้คอนกรีตเสริมแรงในการก่อสร้างอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและกร็องปาแล · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ กาญจนกุญชร

กฤษณ์ กาญจนกุญชร (เกิด 14 ตุลาคม พ.ศ. 2491) กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อธิบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์ อดีตราชเลขาธิการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ปารีสและกฤษณ์ กาญจนกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาพบนแผ่นหินแห่งเทือกเขาอัลไตในมองโกเลีย

กลุ่มภาพบนแผ่นหินแห่งเทือกเขาอัลไตในมองโกเลีย (Petroglyphic Complexes of the Mongolian Altai) เป็นภาพแกะสลักหินและที่ฝังศพจำนวนมากที่พบในแหล่งโบราณคดี 3 แห่งในบริเวณนี้ อธิบายถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมของมองโกเลียที่มีมากว่า 12,000 ปี ภาพสลักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด (11,000-6,000 ปีก่อนคริสตกาล) แสดงว่าพื้นที่บริเวณนี้เคยมีบางส่วนเป็นป่าละเมาะและหุบเขาที่อยู่อาศัยของนักล่าสัตว์ด้วยการล่าขนาดใหญ่ ต่อมาเปลี่ยนเป็นภาพแกะสลักการต้อนฝูงสัตว์เป็นลักษณะเด่น ภาพสลักในยุคใหม่สุดแสดงถึงการเปลี่ยนวิถีชีวิตเป็นชนขี่ม้าเร่ร่อนอย่างอิสระในช่วง 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ในช่วงสมัยสิเถียนและสมัยอิทธิพลเติร์กตอนปลาย (คริสต์ศตวรรษที่ 7-8 หรือ พุทธศตวรรษที่ 12-13) ภาพแกะสลักเหล่านี้มีส่วนทำให้เกิดความเข้าใจต่อสภาพสังคมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในเอเชียเหนือที่มีคุณค่ายิ่ง.

ใหม่!!: ปารีสและกลุ่มภาพบนแผ่นหินแห่งเทือกเขาอัลไตในมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบีย

กลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบียตั้งแต่อาบู ซิมเบลจนถึงฟีลาเอ คือกลุ่มสิ่งก่อสร้างอียิปต์โบราณที่ตั้งบริเวณตอนใต้ของประเทศอียิปต์ ริมแม่น้ำไนล์ ในช่วงปี พ.ศ. 2500 ได้เกิดปัญหาขึ้นที่ว่ารัฐบาลอียิปต์มีแผนที่จะสร้างเขื่อนอัสวานขึ้น เพื่อป้องกันน้ำท่วมที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ในช่วงฤดูน้ำหลากของทุกปี ซึ่งถ้าเขื่อนสร้างแล้วเสร็จ สิ่งก่อสร้างต่างๆในบริเวณนี้จะต้องจมลงไปกับน้ำ และด้วยเหตุนี้ องค์การยูเนสโกจึงได้เริ่มการระดมทุนเพื่อช่วยกอบกู้สิ่งก่อสร้างทั้งหลายนี้ขึ้น ผลตามมาก็คือ ได้มีประเทศต่างๆกว่า 60 ประเทศได้บริจาคทั้งเงินและความช่วยเหลือ อนุรักษ์และศึกษา ซึ่งต่อมาทั่วโลกได้ตระหนักว่าควรจะมีองค์กรพิเศษเพื่อรักษาและอนุรักษ์สถานที่ ทั้งสิ่งก่อสร้างและธรรมชาติขึ้น จนเมื่อถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) ในการประชุมใหญ่องค์การยูเนสโกครั้งที่ 17 ณ สำนักงานใหญ่องค์การยูเนสโก กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส จึงได้มีการลงนามสนธิสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ซึ่งในอีก 3 ปีต่อมาประเทศกว่า 20 ประเทศได้ลงปฏิญาณร่วมกัน และเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและกลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนาบี

“The Talisman” โดย ปอล เซรูว์ซีเย กลุ่มนาบี (Les Nabis) คือกลุ่มศิลปินอาว็อง-การ์ดของอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังผู้วางแนวทางของวิจิตรศิลป์และเลขนศิลป์ในฝรั่งเศสในคริสต์ทศวรรษ 1890 เดิมเป็นกลุ่มผู้ที่รู้จักกันผู้มีความสนใจในศิลปะและวรรณกรรมร่วมสมัย ที่ส่วนใหญ่มาจากโรงเรียนศิลปะส่วนบุคคลของรอดอล์ฟ ฌูว์ลีย็อง (สถาบันฌูว์ลีย็อง) ในกรุงปารีสในปลายคริสต์ทศวรรษ 1880 ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกลุ่มนาบี · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล

Mandarin Oriental Hotel Group (MOHG) เป็นกลุ่มบริษัทในเครือ Jardine Matheson Group ลงทุนและจัดการธุรกิจโรงแรมระดับนานาชาติ โดยมีกิจการโรงแรม รีสอร์ต และที่พักอาศัยหรูหราในเอเชีย ยุโรป และอเมริกา ได้รับรางวัลต่าง ๆ หลายรางวัลในด้านบริการและการจัดการที่เป็นแบบอย่างที่ดี และด้านสปาและภัตตาคารที่ตั้งอยู่ในโรงแรมและรีสอร์ต.

ใหม่!!: ปารีสและกลุ่มโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง

กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง (refracting telescope)เป็นกล้องโทรทรรศน์ประเภทแรกที่ได้รับการคิดค้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกล้องโทรทรรศน์หักเหแสง · ดูเพิ่มเติม »

กวารีโน กวารีนี

วังการิญญาโนที่โตรีโน กามิลโล-กวารีโน กวารีนี (Camillo-Guarino Guarini หรือ Guarino Guarini) เกิดที่โมดีนาเมื่อวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและกวารีโน กวารีนี · ดูเพิ่มเติม »

กษิติ กมลนาวิน

กษิติ กมลนาวิน กษิติ กมลนาวิน ผู้ประกาศข่าว ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5) นักเขียน คอลัมนิสต์ นายแบบ พิธีกรดำเนินรายการภาษาไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส วิทยากรบรรยายพิเศษ ผู้บรรยายกีฬา มัคคุเทศก.

ใหม่!!: ปารีสและกษิติ กมลนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

กอมเดการ์ซง

ร้านกอมเดการ์ซง ที่สาขาอะโอะยะมะ ในประเทศญี่ปุ่น กอมเดการ์ซง (Comme des Garçons) เป็นแบรนด์สินค้าแฟชั่นของญี่ปุ่นออกแบบโดย เร คะวะกุโบะ โดยมีร้านสาขามากกว่า 200 สาขาทั่วโลก.

ใหม่!!: ปารีสและกอมเดการ์ซง · ดูเพิ่มเติม »

กอนซิเอร์โตเดอารังฆูเอซ

ระราชวังหลวงอารังฆูเอซ กอนซิเอร์โตเดอารังฆูเอซ (Concierto de Aranjuez) เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับบรรเลงด้วยกีตาร์และวงออร์เคสตรา ผลงานประพันธ์ของโฆอากิน โรดริโก คีตกวีชาวสเปนในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกอนซิเอร์โตเดอารังฆูเอซ · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชายุคใหม่

หลังการล่มสลายของกัมพูชาประชาธิปไตย กัมพูชาตกอยู่ภายใต้การรุกรานของเวียดนามและรัฐบาลที่นิยมฮานอยซึ่งก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา สงครามกลางเมืองหลัง..

ใหม่!!: ปารีสและกัมพูชายุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

กัสตง เลอรู

กัสตง หลุยส์ อาลแฟรด เลอรู (Gaston Louis Alfred Leroux; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1868 – 15 เมษายน ค.ศ. 1927) เป็นนักหนังสือพิมพ์และนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีส เรียนที่โรงเรียนในแคว้นนอร์ม็องดีก่อนจะกลับมาเรียนวิชากฎหมายที่ปารีส หลังเรียนจบเขาทำงานเป็นเสมียนศาลและนักวิจารณ์ละคร ต่อมาเลอรูทำงานเป็นนักข่าวให้กับหนังสือพิมพ์เลอมาร์แต็ง ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกัสตง เลอรู · ดูเพิ่มเติม »

กัสปาร์-กุสตาฟว์ เดอ กอรียอลิส

กัสปาร์-กุสตาฟว์ เดอ กอรียอลิส (Gaspard-Gustave de Coriolis; 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1792 – 19 กันยายน ค.ศ. 1843) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักฟิสิกส์และวิศวกรชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีส ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกัสปาร์-กุสตาฟว์ เดอ กอรียอลิส · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ ปีซาโร

“ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1898 “Avenue de l'Opera” ค.ศ. 1898 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กามีย์ ปีซาโร (Camille Pissarro) หรือ ฌากอบ-อาบราอาม-กามีย์ ปีซาโร (Jacob-Abraham-Camille Pissarro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 - 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ความสำคัญของกามีย์ ปีซาโรมิใช่เพียงการเขียนภาพแบบอยู่ที่อิมเพรสชันนิสม์แต่ยังเป็นศิลปินคนสำคัญของขบวนการที่รวมทั้งปอล เซซาน และปอล โกแก็ง.

ใหม่!!: ปารีสและกามีย์ ปีซาโร · ดูเพิ่มเติม »

การบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศส

ประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้นำทางเศรษฐกิจอันดับที่ 4 ของโลก มีผลิตภัณฑ์มวลรวมมูลค่ามากกว่า5%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลกการค้าต่างประเทศของฝรั่งเศสคิดเป็นมูลค่า6% ของการค้าทั่วโลกมีผลทำให้ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจเป็นอันดับแรกๆ เป็นผู้ส่งออกอันดับที่4 ของโลก (ส่งออกผลผลิตภาคเกษตรและภาคบริการเป็นอันดับ 2,ส่งออกผลิตผลด้านอุตสาหกรรมเป็นอันดับ 4, การส่งสินค้าออกของประเทศฝรั่งเศสคิดเป็น21%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศซึ่งมีมูลค่าสูงมากซึ่งรัฐบาลเป็นกลไกสำคัญในการสร้างระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ดาเนินไปข้างหน้าโดยให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจในเช่น การบริหาร การจัดการทรัพยากร รวมถึงอำนาจทางการคลังไปสู่ท้องถิ่นเป็นหลัก.

ใหม่!!: ปารีสและการบริหารคลังสาธารณะประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 จากเว็บไซต์การบินไทย โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบัน(มิถุนายน พ.ศ. 2561) การบินไทยบิน 64 สนามบินรวมต่างประเทศและในประเทศ แบ่งเป็นต่างประเทศ 60 สนามบิน ในประเทศไทย 4 สนามบินไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งหมด 3 ทวีป 32 ประเทศทั่วโลกไม่รวมประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 84 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีทโธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง (La Restauration; ลาเรสโตราซียง) คือช่วงเวลาหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดินโปเลียนก้าวลงจากพระราชอำนาจในปี..

ใหม่!!: ปารีสและการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

การล่องเรือในแม่น้ำ

การล่องเรือในแม่น้ำ (อังกฤษ: River cruise) คือ การเดินทางไปตามแม่น้ำภายในประเทศ มักจะจอดหยุดที่พักเรือ เนื่องจากการล่องเรือในแม่น้ำอยู่ภายในเมืองของประเทศนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและการล่องเรือในแม่น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว

“การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว” โดยฟรองซัวส์ ดูบัวส์ (François Dubois) การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว (ภาษาฝรั่งเศส: Massacre de la Saint Barthélemy; ภาษาอังกฤษ: St. Bartholomew’s Day massacre) เป็นระลอกของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างสงครามศาสนาของฝรั่งเศสโดยฝูงชนชาวฝรั่งเศสผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกไล่สังหารชาวฝรั่งเศสที่เรียกตัวเองว่าอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ (โปรเตสแตนต์คาลวินิสต์) เชื่อกันว่ามีต้นตอมาจากสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ พระมารดาของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส การสังหารหมู่ใช้เวลาทั้งสิ้น 6 วันหลังวันแต่งงานระหว่างมาร์เกอรีต เดอ วาลัวส์ (Marguerite de Valois) พระขนิษฐาของ พระเจ้าชาร์ลที่ 9 กับอองรีแห่งนาวาร์ผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ งานแต่งงานเป็นโอกาสที่อูเกอโนต์ผู้ร่ำรวยมีฐานะดีจะออกมาร่วมงานฉลองในเมืองปารีสที่ผู้คนส่วนใหญ่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เหตุเกิดขึ้นสองวันหลังจากที่การลอบสังหารนายพลกาสปาร์ด เดอ โคลิญญี นายทหารของอูเกอโนต์ไม่ประสบความสำเร็จ เริ่มเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว · ดูเพิ่มเติม »

การสื่อสารในประเทศกัมพูชา

การสื่อสารในกัมพูชา โดยทั่วไป ได้แก่ โทรศัพท์ โทรเลข ที่ควบคุมโดยกระทรวงการสื่อสารทางไกล การคมนาคมและไปรษณีย์ภายในประเทศได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่รวม..

ใหม่!!: ปารีสและการสื่อสารในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

การสงบศึกมอสโก

การสงบศึกมอสโกลงนามโดยฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง และสหภาพโซเวียตกับสหราชอาณาจักรอีกฝ่ายหนึ่ง เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและการสงบศึกมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

การอลุส-ดูว์ร็อง

ร์ล โอกุสต์ เอมีล ดูว์ร็อง (Charles Auguste Émile Durand) หรือ การอลุส-ดูว์ร็อง (Carolus-Duran,; 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2380 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ การอลุส-ดูว์ร็อง เป็นจิตรกรและอาจารย์สอนจิตรกรรมชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน การอลุส-ดูว์ร็องมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพชนชั้นสูงของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม.

ใหม่!!: ปารีสและการอลุส-ดูว์ร็อง · ดูเพิ่มเติม »

การออกแบบแฟชั่น

การจัดแสดงแฟชั่นเสื้อผ้าในปี ค.ศ. 2009 การออกแบบแฟชั่น (fashion design) ถือเป็นศิลปะการถักทอชีวิตการเป็นอยู่ของคนลงบนเสื้อผ้า โดยใช้เวลา สถานที่ วัฒนธรรมและประเพณีเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์ ในหนึ่งปีคอลเลคชั่นของเสื้อผ้าจะแบ่งออกเป็น 3 ฤดูกาลคือ คอลเลคชั่นฤดูหนาว คอลเลคชั่นฤดูร้อนและคอลเลคชั่นฤดูใบไม้ผล.

ใหม่!!: ปารีสและการออกแบบแฟชั่น · ดูเพิ่มเติม »

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

การผจญภัยสุดพิเศษของอะเดล บล็อง-เซค

การผจญภัยสุดพิเศษของอะเดล บล็อง-เซค (Les Aventures extraordinaires d'Adèle Blanc-Sec; The Extraordinary Adventures of Adèle Blanc-Sec) เป็นหนังสือการ์ตูนแนวแฟนตาซีสืบสวนอิงประวัติศาสตร์ แต่งและวาดภาพโดยฌาก ทาร์ดี นักเขียนการ์ตูนชาวฝรั่งเศส ตีพิมพ์ครั้งแรกในประเทศเบลเยียม เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและการผจญภัยสุดพิเศษของอะเดล บล็อง-เซค · ดูเพิ่มเติม »

การจมเรนโบว์วอร์ริเออร์

Rainbow Warrior'' การจมเรนโบว์วอร์ริเออร์ ชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการซาตาน (Opération Satanique) เป็นปฏิบัติการโดยฝ่ายปฏิบัติการของหน่วยสืบราชการลับต่างประเทศของฝรั่งเศส หน่วยอำนวยการความมั่นคงภายนอก (Direction Générale de la Sécurité Extérieure, DGSE) ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและการจมเรนโบว์วอร์ริเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

การจลาจลในฝรั่งเศส พ.ศ. 2553

การจลาจลในฝรั่ง..

ใหม่!!: ปารีสและการจลาจลในฝรั่งเศส พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ. 1938) หรือการทอดทิ้งโปแลนด์ในรับมือกับเยอรมนีและสหภาพโซเวียตตามลำพังระหว่างการบุกครองโปแลนด์ (ค.ศ. 1939) และการลุกฮือในกรุงวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1944 นอกจากนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกยังได้ลงนามในข้อตกลงยัลตา และภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไม่ให้การป้องกันหรือยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือรัฐเหล่านี้จากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและการควบคุมของสหภาพโซเวียต และระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ฮังการีก็ไม่ได้รับทั้งการสนับสนุนทั้งทางทหารและการสนับสนุนในด้านกำลังใจจากฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเลย และทำให้การปฏิวัติถูกปราบปรามโดยกองทัพแดงในที่สุด สถานการณ์เดียวกันเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1968 เมื่อกองทัพร่วมของกลุ่มประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอเพื่อกำจัดยุคฤดูใบไม้ผลิปรากในเชโกสโลวาเกีย และยุติการเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับมาสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ดังเดิม ดังที่ได้เกิดความกังวลในการประชุมยัลตา แนวคิดของมันก็ถูกโต้เถียงกัน โดยนักประวัติศาสตร์มองว่าการที่นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ไม่มีทางเลือกอื่นใดนอกจากยอมรับความต้องการของผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน ทั้งในการประชุมเตหะรานและในการประชุมครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเองก็ได้ประเมินอำนาจของสหภาพโซเวียตผิดไปบ้าง เช่นเดียวกับที่ประเมินนาซีเยอรมนีผิดไปหนึ่งทศวรรษก่อนหน้านั้น แต่ผู้สนับสนุนการประชุมยอลตามีแนวคิดว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการทรยศกลุ่มประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยไม่มีการพิจารณาถึงชะตากรรมของโปแลนด์ในอนาคต กองกำลังโปแลนด์ถือเป็นกองกำลังที่ต่อสู้กับนาซีเยอรมนีเป็นเวลายาวนานกว่าประเทศอื่นใดในสงครามโลกครั้งที่สอง และทำการรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกองกำลังสหรัฐอเมริกา อังกฤษและโซเวียตในการทัพที่สำคัญหลายครั้ง รวมไปถึงในยุทธการที่เบอร์ลินครั้งสุดท้าย ซึ่งกองกำลังติดอาวุธโปแลนด์ทางตะวันตกมีจำนวนกว่า 249,000 นาย (กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกมีจำนวนกว่า 4 ล้านนาย) และ 180,000 นายทางตะวันออก (กองทัพโซเวียตมีจำนวนกว่า 6 ล้านนาย) และมีอีกกว่า 300,000 นายที่ทำการรบใต้ดิน หรือในกองกำลังกู้ชาติ ในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพโปแลนด์มีจำนวนกว่า 600,000 นาย โดยที่ไม่นับกองกำลังกู้ชาติhttp://www.ww2.pl/Polish,contribution,to,the,Allied,victory,in,World,War,2,(1939-1945),132.html ซึ่งทำให้โปแลนด์มีกองกำลังขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ในสงคราม รองมาจากสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รัฐบาลผลัดถิ่นโปแลนด์เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นประธานาธิบดีโรสเวลต์ก็ยังนิ่งนอนใจได้เมื่อรัฐบาลโปแลนด์ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลหุ่นของโซเวียต โดยได้มีข้อสังเกตว่าโรสเวลต์ได้วางแผนที่จะมอบโปแลนด์ให้กับสตาลิน นักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เสนอว่า เชอร์ชิลล์กระตุ้นให้โรสเวลต์ดำเนินกิจการทางทหารต่อในทวีปยุโรป แต่ต่อต้านสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติมจากพรมแดนของตน รูสเวลต์ดูเหมือนว่าจะเชื่อใจในการรับประกันของสตาลินและปฏิเสธที่จะสนับสนุนเจรนาของเชอร์ชิลล์ในการรักษาเสรีภาพของทวีปยุโรปนอกเหนือจากอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยปราศจากการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรที่เหนื่อยอ่อน อดอยาก และแทบจะสิ้นเนื้อประดาตัวจึงไม่สามารถดำเนินการตามที่ตั้งใจเอาไว้ และถึงแม้ว่าจะมีการหนุนหลังจากสหรัฐอเมริกาก็ตาม ผลจากกิจการทางทหารนั้นก็ยังคงไม่แน่นอนอยู่มาก.

ใหม่!!: ปารีสและการทรยศโดยชาติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและการทลายคุกบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

ใหม่!!: ปารีสและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวในประเทศฝรั่งเศส

มง-แซ็ง-มีแชลในแคว้นนอร์ม็องดี มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาเยือนประเทศฝรั่งเศสเป็นจำนวน 84.7 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: ปารีสและการท่องเที่ยวในประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การคมนาคมในลอนดอน

ัญลักษณ์ของ ''องค์การคมนาคมสำหรับลอนดอน'' การคมนาคมในลอนดอน อยู่ในรูปแบบของถนน ระบบรถไฟ และการคมนาคมทางอากาศในกรุงลอนดอน เมืองหลวงของอังกฤษและสหราชอาณาจักร เป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อนและกว้างใหญ่ และเป็นระบบที่มีทั้งการบริหารโดยรัฐบาลท้องถิ่นและการบริหารโดยเอกชน ซึ่งเป็นรากฐานของระบบถนนและรถไฟของประเทศ นอกจากนี้ลอนดอนยังมีสนามบินอีกหลายสนามบิน เช่น ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ เป็นต้น และท่าเรือลอนดอน บนฝั่งแม่น้ำเทมส์ที่ใช้ในการคมนาคมกับทะเลเหนือ การคมนาคมภายในลอนดอนเป็นหนึ่งในสี่ของนโยบายที่นายกเทศมนตรีลอนดอนจักต้องรับผิดชอบ และหน่วยงานที่บริหารระบบการคมนาคมมีชื่อว่า องค์การการคมนาคมสำหรับลอนดอน (Transport for London หรือย่อว่า TfL) TfL ควบคุมขนส่งมวลชนในพื้นที่ รวมทั้ง รถไฟใต้ดิน รถเมล์ท้องถิ่น แทรมลิงก์ และรถไฟเบาสายดอคแลนดส์ (Docklands Light Railway หรือย่อว่า DLR) แต่ขณะนี้ TfL ไม่มีอำนาจในการบริหารระบบรถไฟแห่งชาติที่ให้บริการภายในเขตนครลอนดอนและปริมณฑล ซึ่งเป็นหน้าที่ของกระทรวงคมนาคม นอกจากนี้ TfL ยังมีหน้าที่ควบคุมถนนสายหลักแต่มิได้มีหน้าที่ในการคุมถนนสายย่อยซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารส่วนท้องถิ่น (ดูรายละเอียดด้านล่าง).

ใหม่!!: ปารีสและการคมนาคมในลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก 2020 และพาราลิมปิก 2020 มีเมื่องที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 6 เมือง ได้แก.

ใหม่!!: ปารีสและการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 · ดูเพิ่มเติม »

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028

การคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028 เป็นการคัดเลือกเมืองต่างๆ ทั่วโลกที่เสนอเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และโอลิมปิกฤดูร้อน 2028 การคัดเลือกสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ได้เริ่มเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและการคัดเลือกเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028 · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณีเด็ก

การค้าประเวณีเด็ก (Prostitution of children, child prostitution) เป็นการค้าประเวณีที่เกี่ยวกับเด็ก เป็นรูปแบบหนึ่งของการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก เด็กในที่นี้มักจะหมายถึงผู้เยาว์ หรือบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในเขตกฎหมายโดยมาก การค้าประเวณีเด็กผิดกฎหมายโดยเป็นส่วนของกฎหมายห้ามการค้าประเวณีโดยทั่ว ๆ ไป การค้าประเวณีเด็กมักจะปรากฏในรูปแบบของการค้าเซ็กซ์ (sex trafficking) ที่เด็กถูกลักพาตัว หรือถูกหลอกให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการค้าเพศ หรือว่า เป็นเซ็กซ์เพื่อการอยู่รอด ที่เด็กจะร่วมกิจกรรมทางเพศแลกเปลี่ยนกับปัจจัยสี่ที่จำเป็นต่อชีวิตรวมทั้งอาหารและที่อยู่อาศัย การค้าประเวณีเด็กมักจะเกี่ยวข้องกับสื่อลามกอนาจารเด็ก และบางครั้งจะเกิดขึ้นคาบเกี่ยวกัน และมีคนที่เดินทางไปต่างประเทศเพื่อจะเที่ยวเซ็กซ์ทัวร์เด็ก งานวิจัยแสดงว่า อาจจะมีเด็กมากถึง 10 ล้านคนทั่วโลกที่ค้าประเวณี โดยมีปัญหาหนักที่สุดในทวีปอเมริกาใต้และเอเชีย แต่ก็เป็นปัญหาทั่วโลก ทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาแล้ว สหประชาชาติได้กำหนดว่า การค้าประเวณีเด็กผิดกฎหมายสากล โดยมีการรณรงค์และองค์กรต่าง ๆ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านการปฏิบัติการเช่นนี้ เด็กโดยมากที่เกี่ยวข้องเป็นหญิง อาจจะอายุเพียงแค่ 4-5 ขวบ เรียนน้อยมากและถูกคนแปลกหน้าหลอกได้ง.

ใหม่!!: ปารีสและการค้าประเวณีเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1848

การปฏิวัต..

ใหม่!!: ปารีสและการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1848 · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558

การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอาก..

ใหม่!!: ปารีสและการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ปารีสและการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ปารีสและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907

ัตุรัสเยเรวาน สถานที่เกิดเหตุปล้น ถ่ายในคริสต์ทศวรรษ 1870 การปล้นธนาคารในติฟล..

ใหม่!!: ปารีสและการปล้นธนาคารในติฟลิส ค.ศ. 1907 · ดูเพิ่มเติม »

การแสดงนิทรรศการนานาชาติ

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเปิดงานเวิลด์ เอ็กซ์โปครั้งแรกในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ. 1851 ศาลาของประเทศจีนในงานเอ็กซ์โป 2010 ณ นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน การแสดงนิทรรศการนานาชาติ (World 's Fair, World Fair, Universal Exposition และ Expo เป็นชื่อเรียกสั้น ๆของงานแสดง) เป็นชื่อของงานแสดงนิทรรศการที่ใหญ่ที่สุดในโลก และถือว่าเป็นมหกรรมที่ยิ่งใหญ่ของมวลมนุษย์อันดับ 3 ของโลก รองจากกีฬาโอลิมปิก และฟุตบอลโลก ชึ่งคนไทยรู้จักกันในชื่อ "เวิลด์ เอ็กซ์โป" หรือ "เวิลด์แฟร์" และมหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมี องค์การนิทรรศการนานาชาติ (BIE) เป็นองค์กรณ์ที่รับรองการจัดนิทรรศการนานาชาติ งานเอ็กซ์โปจัดขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและการแสดงนิทรรศการนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งรถ

การแข่งรถ (หรือเรียกว่าแข่งรถยนต์หรือรถแข่ง) เป็นมอเตอร์สปอร์ตที่เกี่ยวข้องกับการแข่งโดยใช้รถยนต์สำหรับการแข่งขัน.

ใหม่!!: ปารีสและการแข่งรถ · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1905

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก พ.ศ. 2448 จัดขึ้นทั้งหมด 3 สนาม โดยสองสนามแรกจัดขึ้นที่ จักรวรรดิเยอรมัน และ สนามที่ 3 จัดขึ้นที่ สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3.

ใหม่!!: ปารีสและการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1905 · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งขันจักรยาน

การแข่งขันจักรยาน เป็นการแข่งขันกีฬาโดยใช้จักรยาน มีการแข่งขันหลายประเภท และหลายรายการ การแข่งขันจักรยานเป็นหนึ่งในการแข่งขันประเภทสำคัญ ในมหกรรมกีฬาโอลิมปิก การขี่จักรยานภูเขาเพื่อการแข่งขัน.

ใหม่!!: ปารีสและการแข่งขันจักรยาน · ดูเพิ่มเติม »

การแปลงฟูรีเย

การแปลงฟูรีเย (Fourier transform) ตั้งชื่อตาม โฌแซ็ฟ ฟูรีเย หมายถึงการแปลงเชิงปริพันธ์ โดยเป็นการเขียนแทนฟังก์ชันใดๆ ในรูปผลบวก หรือปริพันธ์ ของฐาน ที่เป็นฟังก์ชันรูปคลื่น ไซน์หรือ โคไซน.

ใหม่!!: ปารีสและการแปลงฟูรีเย · ดูเพิ่มเติม »

การ์ลา บรูนี

การ์ลา บรูนี-ซาร์กอซี (Carla Bruni-Sarkozy; 23 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) นักประพันธ์เพลง นักร้อง นางแบบชาวอิตาลีและเป็นอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและการ์ลา บรูนี · ดูเพิ่มเติม »

การ์เมน

การ์เมน (Carmen) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศสจำนวน 4 องก์ ที่แต่งโดยฌอร์ฌ บีแซ (1838-1875) ดัดแปลงจากนวนิยายในชื่อเดียวกันของพรอสแพร์ เมอริมี (1803-1870) ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากโคลงภาษารัสเซียชื่อ The Gypsies (1824) ของอะเล็กซานเดอร์ เซอร์เยวิช พุชกิน (1799-1837) ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1845 โดยแปลงจากภาษารัสเซียเป็นภาษาฝรั่งเศส อุปรากรเรื่องการ์เมนออกแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 1875 ที่โรงอุปรากรออเปรากอมิก (Opéra Comique) ปารีส ในระยะแรกถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจนเกือบถูกถอดออกจากรอบการแสดง แม้จะมีการแจกจ่ายตั๋วเข้าชมการแสดงออกไปโดยผู้ชมไม่ต้องเสียเงิน ก็ยังไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร จนกระทั่งฌอร์ฌ บีแซ เสียชีวิตอย่างกะทันหันด้วยอาการหัวใจวายเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1875 ด้วยวัยเพียง 36 ปี ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและการ์เมน · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งในฝรั่งเศสสมัยสาธารณรัฐที่ 5

การเลือกตั้งในประเทศฝรั่งเศส (Élections en France) เป็นกระบวนการทางประชาธิปไตยในระบอบสาธารณรัฐของประเทศฝรั่งเศส ตัวแทนฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติจะถูกเลือก (ทางตรงหรือทางอ้อม) โดยประชาชนฝรั่งเศสหรือถูกแต่งตั้งโดยตัวแทนที่ถูกเลือกมาแล้ว ประชาชนฝรั่งเศสยังมีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการลงประชามติอีกด้วย การเลือกตั้งในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 มี 2 ประเภท ได้แก.

ใหม่!!: ปารีสและการเลือกตั้งในฝรั่งเศสสมัยสาธารณรัฐที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

การเสด็จสู่วาแรน

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส, พระชายา และพระราชโอรส-ธิดา ขณะฉลองพระองค์ปลอมเป็นกระฎุมพี ถูกจับกุม ณ เมืองวาแรน การเสด็จสู่วาแรน (Fuite à Varennes; เกิดขึ้นในคืนวันที่ 20 ย่างเช้าวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1791) คือเหตุการณ์สำคัญในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นเหตุการณ์ซึ่งพระเจ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส, พระราชินีมารี อ็องตัวแน็ต และพระบรมวงศานุวงศ์ใกล้ชิด ทรงล้มเหลวในความพยายามเสด็จหนีออกจากปารีสเพื่อที่จะทรงริเริ่มการปฏิวัติต่อต้าน จุดหมายปลายทางคือออสเตรียที่ซึ่งพระนางมารี อ็องตัวแน็ตประสูติและเจริญพระชันษามา อีกทั้งยังทรงตระหนักดีว่าจะทรงปลอดภัยจากข้อตกลงระหว่างฝรั่งเศสและออสเตรียที่เพิ่งค้นพบใหม่ แต่ก็ทรงล้มเหลวเมื่อเสด็จไปได้ไกลเพียงเมืองวาแรน เหตุการณ์นี้นับเป็นจุดพลิกผันของการปฏิวัติเนื่องจากทำให้การต่อต้านระบอบกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสในฐานะสถาบันและการต่อต้านองค์กษัตริย์และพระราชินีในฐานะปัจเจกบุคคลมีความเด่นชัดเพิ่มมากขึ้น ความพยายามครั้งนี้ทำให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงถูกตั้งข้อกล่าวหาการกบฏจนในท้ายที่สุดนำไปสู่การสำเร็จโทษในปี..

ใหม่!!: ปารีสและการเสด็จสู่วาแรน · ดูเพิ่มเติม »

การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการเสด็จพระราชดำเนินไปยังต่างประเทศในทวีปยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสานสัมพันธไมตรีแก่ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป เพื่อให้ประเทศที่พระองค์เสด็จประพาสเหล่านั้นมองเห็นว่าประเทศสยามเป็นประเทศที่มีการพัฒนาตนเองและไม่ได้ล้าหลังป่าเถื่อน และเพื่อโอกาสในการร่วมกันแก้ไขปัญหาความมั่นคงและส่งเสริมความเป็นเอกราชของประเทศสยาม แม้จะอยู่ในช่วงท่ามกลางยุคล่าอาณานิคมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพราะมีมูลเหตุมาจากกรณีพิพาทระหว่างสยามกับฝรั่งเศสในเหตุการณ์วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 หรือในปี..

ใหม่!!: ปารีสและการเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก 2012 และพาราลิมปิก 2012 มีเมื่องที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 9 เมือง ได้แก.

ใหม่!!: ปารีสและการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

การเสนอเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของลอสแอนเจลิส

การเสนอเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของนครลอสแอนเจลิส (Los Angeles bid for the 2024 Summer Olympics) เป็นความพยายามอย่างต่อเนื่องในการนำกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนมาจัดที่นครลอสแอนเจลิส, รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยนครลอสแอนเจลิสเป็นหนึ่งในสองเมืองที่เสนอตัวและได้รับการคัดเลือก นอกเหนือจากกรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล หรือ ไอโอซี ได้ประกาศว่าจะมอบสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 และ 2028 ให้กับทั้งสองเมือง ขณะที่ทั้งสองเมืองต่างต่อต้านข้อเสนอจากไอโอซี โดยทางนครลอสแอนเจลิสกล่าวว่าพวกเขายินดีที่จะพิจารณาเรื่องนี้หากได้รับสิทธิประโยชน์บางอย่าง นครลอสแอนเจลิสได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและการเสนอเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

การเสนอเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของปารีส

การเสนอเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของกรุงปารีส (Candidature de Paris pour l'organisation des Jeux olympiques d'été de 2024) เป็นความพยายามอย่างต่อเนื่องในการนำกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนมาจัดที่กรุงปารีส โดยได้สมัครในวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและการเสนอเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ของปารีส · ดูเพิ่มเติม »

การเต้นรำที่มูแล็งเดอลากาแล็ต

การเต้นรำที่มูแล็งเดอลากาแล็ต หรือเรียกสั้น ๆ ว่า มูแล็งเดอลากาแล็ต (Bal du moulin de la Galette หรือ Le moulin de la Galette) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ จิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสต์คนสำคัญชาวฝรั่งเศส ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์แซในกรุงปารีสในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและการเต้นรำที่มูแล็งเดอลากาแล็ต · ดูเพิ่มเติม »

กาทรีน เดอเนิฟว์

กาทรีน เดอเนิฟว์ (Catherine Deneuve) นักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศสผู้เคยได้รับรางวัลซีซาร์ 2 สมัย และเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ และรางวัลบาฟตา มีชื่อเสียงจากบทบาทในภาพยนตร์ของรอเฌ วาดีม, ลุยส์ บูญวยล์, โรมัน โปลันสกี, ฌัก เดอมี และฟร็องซัว ทรูว์โฟ กาทรีน เดอเนิฟว์ มีชื่อจริงว่า กาทรีน ฟาเบียน ดอร์เลอัก (Catherine Fabienne Dorléac) เป็นบุตรคนที่สามของสามีภรรยานักแสดง มอริส ดอร์เลอัก และเรอเน เดอเนิฟว์ มีพี่สาวที่เป็นนักแสดงเช่นกัน ชื่อ ฟร็องซวซ ดอร์เลอัก ส่วนเธอใช้นามสกุลของมารดาในการแสดง กาทรีน เดอเนิฟว์ เริ่มเป็นนักแสดงตั้งแต่อายุ 13 ปี โดยรับบทนักแสดงประกอบเล็ก ๆ เริ่มมีชื่อเสียงจากภาพยนตร์หลาย ๆ เรื่องของรอเฌ วาดีม และโด่งดังจากภาพยนตร์เพลงของฌัก เดอมีในปี 1964 เรื่อง Les Parapluies de Cherbourg (Umbrellas of Cherbourg) ต่อมาในปี 1967 เธอได้แสดงภาพยนตร์เพลงอีกเรื่องหนึ่งของเดอมี ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาดนตรีประกอบยอดเยี่ยม คือ Les Demoiselles de Rochefort (The Young Girls of Rochefort) โดยแสดงนำคู่กับฟร็องซวซ ดอร์เลอัก พี่สาว ก่อนพี่สาวของเธอจะเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ผลงานอื่นของกาทรีน เดอเนิฟว์ ที่ได้รับคำชื่นชมได้แก่ Repulsion (1965) ของโรมัน โปลันสกี, Belle de Jour (1967) และ Tristana (1970) ของลุยส์ บูญวยล์, Le Dernier métro (1980) ของฟร็องซัว ทรูว์โฟ ซึ่งได้รับรางวัลซีซาร์ และ The Hunger (1983) ของโทนีย์ สก็อตต์ ที่มีบทเลสเบียนที่อื้อฉาวกับซูซาน ซาแรนดอน ผลงานในระยะหลัง ที่สำคัญได้แก่ บทนำใน อินโดจีน (1992) ได้รับรางวัลซีซาร์ และเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในฐานะนักแสดงนำ ส่วนตัวภาพยนตร์ได้รับรางวัลในสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม ทั้งรางวัลออสการ์ และรางวัลลูกโลกทองคำ ในปี 2000 เธอรับบทสมทบใน Dancer in the Dark กำกับโดยลาร์ส ฟอน เทรียร์ นำแสดงโดยปีเยิร์ก ซึ่งได้รับรางวัลปาล์มทองคำจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ กาทรีน เดอเนิฟว์ ยังมีผลงานในฐานะนางแบบ เธอเคยเป็นนางแบบให้กับสินค้าน้ำหอมชาแนล เสื้อผ้าอีฟว์ แซ็ง โลร็อง, กระเป๋าหลุยส์ วิตตอง, ลอรีอัล ใบหน้าของเธอถูกใช้เป็นต้นแบบของมารียาน (Marianne) สัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศส ระหว่างปี 1985 ถึง 1989 ต่อจากบรีฌิต บาร.

ใหม่!!: ปารีสและกาทรีน เดอเนิฟว์ · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเมืองจีน

ราชวงศ์ฉิน กำแพงเมืองจีน ("ฉางเฉิง", Great Wall of China) เป็นกำแพงที่มีป้อมคั่นเป็นช่วง ๆ ของจีนสมัยโบราณ กำแพงส่วนใหญ่ที่ปรากฏในปัจจุบันสร้างขึ้นในสมัย ราชวงศ์ฉิน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการรุกรานจาก ชาวฮัน หรือ ซฺยงหนู คำว่า ซฺยงหนู บางทีก็สะกดว่า ซุงหนู หรือ ซวงหนู ที่เป็นไม้เบื่อไม้เมากับอารยธรรมจีนในยุคต้นๆ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว (ราว 400 ปีก่อนคริสตกาล) เนื่องจากจะเข้ามารุกรานจีนตามแนวชายแดนทางเหนือ ในสมัยราชวงค์ฉิน ได้สั่งให้สร้างกำแพงหมื่นลี้ตามชายแดน เพื่อป้องกันพวกซยงหนูเข้ามารุกรานและพวกเติร์กจากทางเหนือ หลังจากนั้นยังมีการสร้างกำแพงต่ออีกหลายครั้งด้วยกัน แต่ภายหลังก็มีเผ่าเร่ร่อนจากมองโกเลียและแมนจูเรียสามารถบุกฝ่ากำแพงเมืองจีนได้สำเร็จ กำแพงเมืองจีนยังคงเรียกว่า กำแพงหมื่นลี้ ("ว่านหลี่ฉางเฉิง") สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ว่านักโบราณคดีได้ตรวจวัดความยาวของสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกหรือ "กำแพงเมืองจีน" อย่างเป็นทางการนานร่วม 5 ปี ตั้งแต่ 2008-2012 และพบว่ายาวกว่าที่บันทึกไว้เดิมกว่า 2 เท่า หรือ 21,196.18 กิโลเมตร จากเดิม 8,850 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 15 มณฑลทั่วประเทศ และนับเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ยุคกลาง ด้วย มีความเชื่อกันว่า หากมองเมืองจีนจากอวกาศจะสามารถเห็นกำแพงเมืองจีนได้ ซึ่งในความเป็นจริงไม่สามารถมองเห็นจากอวกาศได้.

ใหม่!!: ปารีสและกำแพงเมืองจีน · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ มาห์เลอร์

กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและกุสตาฟ มาห์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟว์ ดอเร

ปอล กุสตาฟว์ ลูย คริสต็อฟ ดอเร (Paul Gustave Louis Christophe Doré) หรือ กุสตาฟว์ ดอเร (6 มกราคม ค.ศ. 1832 – 23 มกราคม ค.ศ. 1883) เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส ดอเรเกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและกุสตาฟว์ ดอเร · ดูเพิ่มเติม »

กูดบาย (เดอะแซดเดสต์เวิร์ด)

ซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "กู๊ดบาย (เดอะแซดเดสต์เวิร์ด) (พ.ศ. 2545) "กูดบาย (เดอะแซดเดสต์เวิร์ด) " (Goodbye's (The Saddest Word), "คำอาลา (คำที่เสียใจที่สุด)") คือซิงเกิลทางการค้าที่ 3 ของเซลีน ดิออน จากอัลบั้ม อะนิวเดย์แฮสคัม ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 เพลงประพันธ์และอำนวยการสร้างโดย Robert John "Mutt" Lange ซึ่งเคยทำงานร่วมกับเซลีนมาแล้วในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกูดบาย (เดอะแซดเดสต์เวิร์ด) · ดูเพิ่มเติม »

กูปรี

กูปรี หรือ โคไพร (គោព្រៃ ถอดรูปได้ โคไพร แต่อ่านว่า โกเปร็ย หรือ กูปรี แปลว่า วัวป่า) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bos sauveli เป็นสัตว์จำพวกกระทิงและวัวป่า เป็นสัตว์กีบคู่ ตัวโต โคนขาใหญ่ ปลายหางเป็นพู่ขน.

ใหม่!!: ปารีสและกูปรี · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิก (Football) การแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกเริ่มขึ้นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 โดยกำหนดให้นักกีฬามาจากนักฟุตบอลสมัครเล่น เริ่มแรกอังกฤษได้เหรียญทองในปี 1900 1908 และ 1912 หลังจากนั้นก็ไม่ได้เหรียญทองอีกเลย ฮังการีเคยครองเหรียญทองปี 1964 และ 1968 โดยทำสถิติชนะรวด 18 นัด อุรุกวัยก็เป็นอีกทีมที่ชนะสองครั้งติดต่อกันในปี 1924 และ 1928 ในปี 1996 ไนจีเรียสามารถครองเหรียญทองได้ ส่วนฟุตบอลหญิงในกีฬาโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นในปี 1996 ที่สหรัฐอเมริกา และเจ้าภาพก็ได้ครองเหรียญทองเป็นประเทศแรก ในปี 1984 คณะกรรมการโอลิมปิกสากลอนุญาตให้นักกีฬาอาชีพลงแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกได้ ดังนั้นกีฬาฟุตบอลจึงเปลี่ยนกฎให้นักกีฬาอาชีพลงเล่นได้ โดยมีข้อบังคับว่า ทีมชายจะต้องมีอายุต่ำกว่า 23 ปี และอนุญาตให้แต่ละทีมมีผู้เล่นที่อายุเกินได้ 3 คนเท่านั้นจากจำนวนรายชื่อผู้เล่น 18 คน ที่ส่งมา ส่วนฟุตบอลหญิงมีกฎบังคับว่า ผู้เล่นต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 16 ปี กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึง 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาพาราลิมปิก

กีฬาพาราลิมปิก (Paralympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับคนพิการหลายประเภทจากทั่วโลก โดยอยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการพาราลิมปิกสากล (International Paralympic Committee; IPC) โดยในปัจจุบัน กีฬาพาราลิมปิกจะจัดขึ้น หลังจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสิ้นสุดลง และประเทศเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกครั้งนั้น ก็จะเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาพาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

การแข่งขันกีฬากระโดดน้ำในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 จัดการแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีการชิงชัย 5 เหรียญทอง.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬากระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 23 ประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

กีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 27 ประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬากรีฑาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากอล์ฟในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬากอล์ฟในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 2 ประเภท คือประเภทชายและหญิง.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬากอล์ฟในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

การแข่งขันกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 เป็นการแข่งขันมวยปล้ำโอลิมปิกที่จัดขึ้นในปารีส ประเทศฝรั่งเศส กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 6 - 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬามวยปล้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

การแข่งขันกีฬายกน้ำหนักในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 จัดการแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีการชิงชัย 5 เหรียญทอง.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

กีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 จัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 9 ประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬายิมนาสติกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 กำลังจะจัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท คือประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

กีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 กำลังจะจัดแข่งขันที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท คือประเภท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬารักบี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ในกีฬาโอลิมปิกนั้น องค์กรที่ควบคุมดูแลการแข่งขันคือ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (Federation Internationale De Volleyball - FIVB) ในปี 1949 คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee-IOC) ได้ประกาศรับรองกีฬาชนิดนี้ แต่ยังอยู่ในฐานะกีฬาที่ไม่ได้มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก และในปีเดียวกันนั้นเองก็ได้มีการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกขึ้นเป็นครั้งแรก ส่วนประเภทหญิงนั้นเกิดขึ้นอีก 3 ปีต่อมา และโซเวียตก็ครองความเป็นจ้าว ในปี 1964 วอลเลย์บอลได้รับการบรรจุในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ญี่ปุ่นซึ่งเป็นเจ้าภาพได้เหรียญทองประเภทหญิง ทั้งโซเวียตและญี่ปุ่นก็ครองดับอันดับต้นๆมาตลอดจนถึงทศวรรษที่ 80 อเมริกาเริ่มทวงความเป็นจ้าวกลับคืนมาด้วยการคว้าเหรียญทองวอลเลย์บอลประเภทชายในโอลิมปิก 2 สมัยติดต่อกัน ในปี 1984 ที่ลอสแอนเจลิส และในปี 1988 ที่โซล ส่วนวอลเลย์บอลชายหาดมีการแข่งขันครั้งแรกในโอลิมปิก ที่แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา ในปี 1996.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

การแข่งขันว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 เป็นการแข่งขันว่ายน้ำโอลิมปิกที่จัดขึ้นในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 11 –19 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 เป็นการแข่งขันว่ายน้ำโอลิมปิกที่จัดขึ้นในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 13 - 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิก (Hockey) กีฬาฮอกกี้ประเภทชายเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกีฬาโอลิมปิกตั้งแต่ปี 1908 ซึ่งผู้ที่ครองความเป็นจ้าวในกีฬาชนิดนี้คืออินเดียและปากีสถาน อย่างไรก็ตามทีมฮอกกี้จากนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย อังกฤษ และเยอรมนี ก็ถือได้ว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากเช่นกัน ส่วนประเภทหญิงนั้น เพิ่งมีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี 1980 ที่กรุงมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย ทีมฮอกกี้หญิงจากประเทศซิมบับเวก็เป็นทีมแรกที่ได้แชมป์ในการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก จากนั้นมาก็มีทีมจากเนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลียและสเปน ได้รับเหรียญทองจากการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกครั้งต่อๆมา ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ทีมฮอกกี้จากออสเตรเลียสามารถครองความยิ่งใหญ่ในกีฬาชนิดนี้ โดยการคว้าเหรียญทองในโอลิมปิกที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ ในปี 1988 และที่แอตแลนต้า สหรัฐอเมริกา ในปี 1996 กีฬาฮอกกี้โอลิมปิกฤดูร้อน 2012 มีชิงชัย 2 เหรียญทอง แบ่งเป็นทีมชายและทีมหญิง เริ่มแข่งขันวันที่ 29 กรกฎาคม ถึง 11 สิงหาคม 2555 สนามที่ใช้ในการแข่งขัน: Riverbank Arena นักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขัน 24 ทีม จาก 15 ประเท.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาฮอกกี้ในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก

กีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก (Deaflympics) เป็นมหกรรมกีฬาของผู้พิการทางการได้ยิน ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดยคณะกรรมการกีฬาผู้พิการการทางการได้ยินสากล.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาผู้พิการทางการได้ยินโลก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาคริกเกตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬาคริกเก็ต เป็นชนิดกีฬาที่เคยจัดแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 เพียงครั้งเดียว จัดแข่งขันระหว่างวันที่ 19-20 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาคริกเกตในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโครเกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬาโครเก็ต เป็นชนิดกีฬาที่เคยจัดแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 เพียงครั้งเดียว ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีผู้ร่วมแข่งขัน 10 คน เป็นชาย 7 คนและหญิง 3 คน.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาโครเกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโปโลน้ำ (Water Polo) ถือเป็นกีฬาที่เล่นเป็นทีมชนิดแรกๆที่เข้าสู่กีฬาโอลิมปิก ซึ่งได้รับการบรรจุเข้าในโอลิมปิก ในปี 1900 เป็นครั้งแรก ซึ่งมีการแข่งขันตลอดมาทุกครั้งจนถึงปัจจุบัน และในโอลิมปิกปี 2000 ที่ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย มีการแข่งขันโปโลน้ำหญิงเป็นครั้งแรก หลังจากที่ประเภทชายกลายมาเป็นกีฬาหลักของโอลิมปิกมากว่า 1 ศตวรรษ.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 จัดแข่งขันที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท คือ ประเภททีม.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 จัดแข่งขันที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส แข่งขัน 1 ประเภท คือ ประเภททีม.

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

การแข่งขันเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 เป็นการแข่งขันเทนนิสโอลิมปิกที่จัดขึ้นในปารีส ประเทศฝรั่งเศส กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 6-11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและกีฬาเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

กีงส์แล กอมาน

กีงส์แล กอมาน (Kingsley Coman) เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและกีงส์แล กอมาน · ดูเพิ่มเติม »

กีโยม อาปอลีแนร์

Apollinaire (left) and André Rouveyre, 1914. กีโยม อาปอลีแนร์ (Guillaume Apollinaire หรือ Wilhelm Albert Vladimir Apollinaris de Kostrowitzky; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1880 - 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918) เป็นผู้เรียกตัวเองว่า "เจ้าชายรัสเซีย" น่าจะเกิดในโรม เป็นบุตรชายของชาวโปลผู้เป็นนักผจญภัยและ (อาจจะ) เป็นขุนนางเชื้อสายสวิส-อิตาลี อาปอลีแนร์เป็นบรรณาธิการคอลัมน์วิจารณ์หนังสือ นักเขียนเรื่องโป๊ และกวีแนวทดลองผู้เข้าไปมีส่วนร่วมกับขบวนการวรรณกรรมบุกเบิกก้าวหน้าทุกแนวของฝรั่งเศสในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเรียนหนังสือแบบไม่เป็นโล้เป็นพายในอิตาลีและที่ภาคใต้ของฝรั่งเศส เขาย้ายไปอยู่ปารีสเมื่ออายุ 20 เคยถูกกักตัวไว้หนึ่งอาทิตย์เพราะสงสัยว่าจะขโมยภาพโมนาลิซ่า เขาได้รับสัญชาติฝรั่งเศส ร่วมรบและบาดเจ็บจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกีโยม อาปอลีแนร์ · ดูเพิ่มเติม »

กีโยม เดอ โลปีตาล

กีโยม ฟร็องซัว อ็องตวน, มาร์กีแห่งโลปีตาล (Guillaume François Antoine, Marquis de l'Hôpital; ค.ศ. 1661 – 2 กุมภาพันธ์ ต.ศ. 1704) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีสในครอบครัวขุนนาง เป็นบุตรของแอนน์-อาแล็กซ็องดร์ เดอ โลปีตาลและเอลิซาเบธ กอเบแล็ง โลปีตาลรับราชการทหารก่อนจะลาออกเนื่องจากปัญหาด้านสายตาและหันไปสนใจด้านคณิตศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและกีโยม เดอ โลปีตาล · ดูเพิ่มเติม »

กงซีแยร์เฌอรี

กงซีแยร์เฌอรี (Conciergerie) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า ปาแลเดอลาซีเต (Palais de la Cité) เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนทิศตะวันตกของเกาะเมือง หรือเกาะอีลเดอลาซีเต (Île de Cité) โดยตั้งอยู่ไม่ไกลจากมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส กงซีแยร์เฌอรีได้ถูกใช้เป็นพระราชวังหลวงของกษัตริย์ฝรั่งเศสในช่วงศตวรรษที่ 10 ถึงศตวรรษที่ 13 ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ตัวพระราชวังได้ถูกใช้เป็นเรือนจำเพื่อคุมขังนักโทษ เพื่อรอการประหารโดยกีโยติน ในปัจจุบันตัวอาคารเป็นพื้นที่หนึ่งของศาลฎีก.

ใหม่!!: ปารีสและกงซีแยร์เฌอรี · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่งเศสเสรี

ฝรั่งเศสเสรี (ฝรั่งเศส: France Libre และ Forces françaises libres) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นภายใต้การนำของนายพลชาร์ล เดอ โกล ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และมี กองทัพฝรั่งเศสเสรี เพื่อต่อสู้กับกองทัพ ฝ่ายอักษะ ร่วมกับ ฝ่ายสัมพันธมิตร หลัง ยุทธการที่ฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและฝรั่งเศสเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: ปารีสและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (ราฟาเอล)

หมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (Ritratto di Baldassarre Castiglione; Portrait of Baldassare Castiglione) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรชาวอิตาลีคนสำคัญของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ราฟาเอลเขียนภาพ "ภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน" ราวระหว่างปี ค.ศ. 1514 ถึงปี ค.ศ. 1515 เป็นภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน บุคคลสำคัญทางวรรณกรรมของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสำนักดุ๊กแห่งอูร์บีโน ภาพเขียนอาจจะเขียนโดยราฟาเอลหรือไม่ก็ได้ จากจดหมายจากปีเอโตร เบมโบ ถึงคาร์ดินัลบิบบีเอนากล่าวว่า "ภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน...

ใหม่!!: ปารีสและภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิ

หมือนของครอบครัวเบลเลลลิ (Portrait of the Bellelli Family) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยแอดการ์ เดอกาจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ชาวฝรั่งเศส ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์แซในปารีสในประเทศฝรั่งเศส เดอกาเขียนภาพ “ภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิ” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1858 ถึงปี ค.ศ. 1867 เป็นงานเขียนสมัยต้นที่ยังแสดงอิทธิพลของงานคลาสสิกโดยเฉพาะงานเขียนแบบเฟล็มมิช ขณะที่ร่ำเรียนทางศิลปะอยู่ในอิตาลีเดอกาวาดภาพลอราป้าและสามีบารอนเจ็นนาโร เบลเลลลิและลูกสาวสองคนจุยลาและจิโอวานนา เดอกาใช้วิธีเขียนที่เรียนจากอิตาลีในการเขียนภาพนี้เมื่อเขียนเมื่อเดินทางกลับมาปารีส ลอราผู้เป็นพี่สาวของพ่อแต่งตัวไว้ทุกข์พ่อที่เพิ่งเสียชีวิต ที่ปรากฏอยู่ในภาพในกรอบบนผนังในฉากหลังของภาพ บารอนเป็นชาวอิตาลีที่ลี้ภัยมาจากเนเปิลส์มาพำนักที่ฟลอเรนซ์ ภาพศึกษามือของลอรา ลอรายืนสง่าไม่มีรอยยิ้มประคองลูกสาวคนหนึ่งทางซ้ายและยื่นมือมาทางลูกสาวอีกคนหนึ่งอยูทางซ้ายของภาพ ส่วนสามีดูเหมือนจะแยกจากบุคคลทั้งสามมาทางด้านขวาของภาพ การที่บารอนมีความเกี่ยวข้องทางธุรกิจกับโลกภายนอกจะเห็นได้จากการนั่งที่โต๊ะทำงาน จิโอวานนาลูกสาวคนเล็กวางท่าสบายกว่าพี่สาวที่ดูแข็งซึ่งเพิ่มความตึงเครียดในบรรยากาศของความสัมพันธ์ของบุคคลต่างๆ ใน.

ใหม่!!: ปารีสและภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา

หมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา (Portrait of Sigismondo Pandolfo Malatesta) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส “ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด” เป็นงานที่เขียนราว ค.ศ. 1451 เป็นภาพเหมือนของผู้นำที่มาจากการเป็นทหารรับจ้างและขุนนางชาวอิตาลีซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาผู้ครองริมินี, ฟาโน และ เซเซนา เป็นภาพด้านข้างของซิกิสมอนโดที่กล่าวกันว่าอาจจะเขียนตามแบบบนเหรียญที่เขียนในปี ค.ศ. 1445 โดยปิซาเนลโล หรือตามงานเขียนโดยมัตเตโอ เดปัสติในปี ค.ศ. 1450 เปียโรเขียนภาพนี้ระหว่างพำนักอยู่ที่ริมินิ ระหว่างนั้นก็เขียนจิตรกรรมฝาผนังโดยมีซิกิสมอนในภาพคุกเข่าต่อหน้านักบุญซิกิสมุนด์ ในภาพ “ซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาสวดมนต์ต่อหน้านักบุญซิกิสมุนด์”(Sigismondo Pandolfo Malatesta Praying in Front of St. Sigismund) สำหรับมหาวิหารริมินิ (Tempio Malatestiano) แม้ว่าจะเป็นการวางภาพแบบภาพเหมือนของคนสำคัญทั่วๆ ไปในสมัยนั้น แต่เปียโรให้ความสนใจกับการเขียนรายละเอียดอย่างธรรมชาติในหารเขียนเท็กซ์เจอร์และผมของตัวแบบ ซึ่งทำให้เห็นถึงอิทธิพลจากศิลปินเฟล็มมิชเช่นโรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น.

ใหม่!!: ปารีสและภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช

หมือนของนายแพทย์กาแช (Portret van Dr.; Portrait of Dr.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของลัทธิประทับใจยุคหลัง "ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช" ขายในราคา 82.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (75 ล้าน บวกค่านายหน้า 10 เปอร์เซ็นต์) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: ปารีสและภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล)

หมือนเจ้าหญิง หรือ ภาพเหมือนเจ้าหญิงแห่งตระกูลเอสเต (Portrait of Princess หรือ Portrait of a Princess of the House of Este) เป็นจิตรกรรมที่เชื่อกันว่าเขียนโดยพิซาเนลโลจิตรกรชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นของอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ลูฟร์ในประเทศฝรั่งเศส พิซาเนลโลอาจจะเขียนภาพ “ภาพเหมือนเจ้าหญิง” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1435 ถึงปี ค.ศ. 1449 ภาพ “ภาพเหมือนเจ้าหญิง” เป็นภาพของ การระบุว่าเป็นงานเขียนโดยพิซาเนลโลมาจากลักษณะการเขียนของภาพและเพราะพิซาเนลโลพำนักอยู่ที่เฟอร์ราราในช่วงเวลาเดียวกันนั้นด้วย ที่ไปเขียนภาพเหมือนบนแป้นของมาร์ควิสเลโอเนลโล เดสเต (Leonello d'Este).

ใหม่!!: ปารีสและภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิดอ

ษาอิดอ (Ido) เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นภาษาสากลในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่าง ๆ โดยได้สร้างให้มีรูปแบบไวยากรณ์ที่ง่ายและเป็นไปตามกฎโดยไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ๆ และไม่ให้คล้ายกับภาษาธรรมชาติภาษาใดมากเกินไปเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบในการเรียนรู้ภาษาอิดอ ภาษาอิดอได้เริ่มมีการพัฒนาในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 ดัดแปลงมาจากภาษาเอสเปรันโต โดยมีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ของภาษาเอสเปรันโตให้ดีขึ้น และได้นำออกมาใช้งานใน พ.ศ. 2450 โดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ และได้รับการสนับสนุนจากผู้พูดภาษาเอสเปรันโตราว 20% ภาษาอิดอใช้อักษรละติน 26 ตัวเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ ให้สังเกตว่าตัวอักษร q จะต้องตามหลังด้วยตัวอักษร u เสมอ.

ใหม่!!: ปารีสและภาษาอิดอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรตุเกส

ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.

ใหม่!!: ปารีสและภาษาโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง

มกุฎราชกุมารเหงียน ฟุก บ๋าว ล็อง (Nguyễn Phúc Bảo Long; 阮福保隆) ประสูติ ณ พระราชวังเกี๊ยนจุง (Kiến Trung) ในเมืองหลวงเก่าเว้ (Hue) วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2479 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม ต้นราชวงศ์เหงียน และสมเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนาม ทรงสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนร็อช (Roches School) ในนอร์ม็องดี หลังจากนั้นจึงเสด็จไปศึกษาต่อทางด้านกฎหมายและวิทยาศาสตร์การเมือง ณ กรุงปารีส พระองค์ทรงเข้าร่วมในกองทหารต่างด้าว (French Foreign Legion) เป็นเวลา 10 ปี ก่อนเสด็จกลับกรุงปารีส และทรงทำงานในธนาคารแห่งหนึ่ง มกุฎราชกุมารเหงียน ฟุก บ๋าว ล็องสิ้นพระชนม์ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 มีพระชนมายุ 71 พรรษา และมีการจัดพิธีฝังพระศพในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ปารีสและมกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง · ดูเพิ่มเติม »

มรรคาศักดิ์สิทธิ์

มรรคาศักดิ์สิทธิ์ หรือ ทางสู่กางเขน (Stations of the Cross (ที่หมายสู่กางเขน); Via Crucis (ทางสู่กางเขน) หรือ Via Dolorosa (ทางแห่งความเศร้า) หรือ เรียกง่ายๆ ว่า The Way - ทาง) คือภาพงานศิลปะศาสนาคริสต์บรรยายถึงช่วงเวลาสุดท้ายในชีวิตพระเยซู ตั้งแต่เดินทางสู่การตรึงกางเขนและหลังการตรึงกางเขน เรียกกันว่า “พระทรมานของพระเยซู” ทำขึ้นเพื่อเป็นการระลึกถึงความทรมานและความเสียสละของพระองค์ ประเพณีนี้ปฏิบัติกันในนิกายโรมันคาทอลิก แองกลิคัน และ ลูเทอแรน มรรคาศักดิ์สิทธิ์จะปฏิบัติเมื่อใดก็ได้แต่มักจะทำกันระหว่างเทศกาลมหาพรต โดยเฉพาะทุกค่ำวันศุกร์ระหว่างช่วงเวลานี้ และวันศุกร์ประเสริฐก่อนเทศกาลอีสเตอร.

ใหม่!!: ปารีสและมรรคาศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มรณกรรมของพระนางพรหมจารี (การาวัจโจ)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ มรณกรรมของพระนางพรหมจารี (Death of the Virgin) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ปารีสในประเทศฝรั่งเศส ภาพ “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1604 ถึงปี ค.ศ. 1606 เป็นภาพที่การาวัจโจได้รับจ้างให้เขียนโดยเลร์ซิโอ อัลเบร์ติ (Laerzio Alberti) ทนายความของพระสันตะปาปาสำหรับชาเปลส่วนตัวภายในซันตามาเรียเดลลาสกาลาซึ่งเป็นโบสถ์คณะคาร์เมไลท์ใหม่ที่ ทรัสเตเวเร (Trastevere) ในกรุงโรม “Renaissance” เป็นภาพที่ก่อให้เกิดการต่อต้านอย่างรุนแรงเมื่อเขียนเสร็จและถูกปฏิเสธจากนักบวชไม่ให้ตั้งในชาเปลที่ตั้งใจไว้ แต่ต่อมาปีเตอร์ พอล รูเบนส์ก็แนะนำให้ชาร์ลส์ที่ 1 ดยุกแห่งมานทัวซื้อโดยสรรเสริญว่าเป็นงานเขียนที่ดีที่สุดในสมัยนั้น หลังจากนั้นภาพเขียนถูกขายต่อให้แก่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ หลังจากพระเจ้าชาร์ลส์ถูกสำเร็จโทษภาพเขียนก็ถูกประมูลขายอีกครั้งๆ นี้ตกไปเป็นของงานสะสมหลวงของฝรั่งเศส และในที่สุดก็กลายไปเป็นของรัฐหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ในปัจจุบันภาพนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีส ก่อนที่จะออกจากโรมภาพเขียนตั้งแสดงที่วิทยาสถานนักบุญลูการาวสองอาทิตย์ แต่ขณะนั้นการาวัจโจก็หนีออกจากโรมไปแล้วหลังจากที่ฆ่ารานุชโช โตมัสโซนีในการดวลดาบหลังจากเกมเทนนิสหลังจากที่เกิดการวิวาท ภาพเขียนทำให้นึกถึงภาพ “ชะลอร่างจากกางเขน” ในนครรัฐวาติกันในด้านความครอบคลุม, ความสุขุม และความมีลักษณะเหมือนจริงที่คล้ายภาพถ่าย ขนาดตัวแบบในภาพเกือบเท่าคนจริง ล้อมรอบพระแม่มารีย์เป็นผู้กำลังโทมนัสที่รวมทั้งมารีย์ชาวมักดาลาและอัครทูตและกลุ่มคนถัดออกไป การาวัจโจแสดงความโศรกเศร้าของผู้ที่อยู่ในภาพไม่ใช่ด้วยการแสดงหน้าที่บ่งอารมณ์แต่โดยการซ่อนใบหน้า การาวัจโจผู้มีความสามารถในการใช้สีมืดบนผืนผ้าใบไม่สนใจในลักษณะการเขียนแบบแมนเนอริสม์ที่มักจะแสดงอารมณ์ต่างๆ กันไปในภาพเขียน การแสดงความเศร้าของการาวัจโจเป็นการแสดงความเศร้าที่ลึกและเงียบไม่โวยวายด้วยคนร้องไห้ การสะอื้นเกิดจากความเงียบใบหน้าที่ไม่ปรากฏของผู้มีอารมณ์ ความศักดิ์สิทธิ์ของพระแม่มารีย์แสดงโดยรัศมีบางๆ ราวเส้นด้ายเหนือพระเศียร ม่านสีแดงผืนใหญ่ที่ขึงหัอยบนส่วนบนของภาพเป็นโมทีฟที่มักจะใช้ในภาพเกี่ยวกับความตาย ภาพนี้เขียนเสร็จเมื่อทฤษฎีความเชื่อเกี่ยวกับแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์หรือการขึ้นสวรรค์ของพระแม่มารียังไม่เป็นที่ตกลงกันอย่างเป็นทางการโดยพระสันตะปาปา แต่ความคิดเรื่องนี้ก็เริ่มมีรากฐานมาเป็นเวลาสองสามร้อยปีแล้วจนกระทั่งการออกธรรมนูญเรื่องแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ (Munificentissimus Deus) ในปี ค.ศ. 1950 ที่กล่าวถึงการขึ้นสวรรค์ของ “ร่างและวิญญาณ” ของพระแม่มารี ธรรมนูญเลี่ยงการประกาศว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนหรือหลังจากมรณกรรมตามที่เข้าใจกันตามปกติ ในเมื่อพันธสัญญาใหม่มิได้กล่าวถึงหัวข้อนี้แต่อย่างใด การจากของพระแม่มารีย์จากโลกนี้จึงเป็นเรื่องของทฤษฎีความเชื่อเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิกเท่านั้น แม้ว่าในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ทฤษฎีโดยทั่วไปของโรมันคาทอลิกเชื่อว่าพระแม่มารีย์ถูกนำขึ้นสวรรค์ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งจะเป็นเห็นได้จากภาพเขียนร่วมสมัยในหัวข้อนั้นเป็นจำนวนมากมาย บางความเชื่อก็ว่าพระเจ้าทรงนำร่างพระแม่มารีย์ขึ้นสวรรค์เมื่อเพิ่งสิ้นพระชนม์ใหม่ๆ แต่โดยทั่วไปแล้วก็หมายถึงการที่ทรงได้รับการนำขึ้นสวรรค์โดยปราศจากความเจ็บป่วยและความเจ็บปวดและร่างที่ถูกนำขึ้นไปเป็นร่างที่สมบูรณ์ด้วยพลานามัยก่อนที่จะ “ถึงแก่มรณกรรม” แต่สิ่งที่น่าสังเกตคือการแสดงภาพมรณกรรมในยุคกลางจะเป็นจริงมากกว่ายุคเรอเนซองหรือบาโรกต่อมาเช่นในภาพ “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” โดยดุชโช ที่เขียนราวปี ค.ศ. 1308 “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” โดยดุชโช ราว ค.ศ. 1308 ภาพเขียนของการาวัจโจเป็นงานศิลปะชิ้นเอกชิ้นสุดท้ายของโรมันคาทอลิกที่แสดงมรณกรรมจริง ๆ ของพระแม่มารีย์ แต่ภาพนี้เท้าของพระแม่มารีย์บวมและในภาพไม่มีเครูบที่นำพระองค์ขึ้นสู่สวรรค์เช่นในภาพ “แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์” โดย อันนิบาเล คารัคชี ที่เขียนก่อนหน้านั้นเพียงน้อยกว่าสิบปีสำหรับชาเปลในซันตามาเรียเดลโปโปโล ภาพของคารัคชีไม่ได้เขียนภาพการถึงแก่มรณกรรมแต่เป็นภาพ “แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์” หรือการลอยขึ้นไปบนสวรรค์ ร่างเหมือนกับภาพเรอเนซองหรือบาโรกภาพอื่นๆ ที่ดูอ่อนกว่าสตรีที่มีอายุราวห้าสิบปีหรือกว่านั้นเมื่อถึงแก่มรณกรรม ผู้ร่วมสมัยกล่าวหาการาวัจโจว่าใช้โสเภณีเป็นแบบสำหรับพระแม่มารีย์ เมื่อเขียนเสร็จภาพเขียนถูกปฏิเสธไม่ให้ตั้งในวัดโดยนักบวชผู้กล่าวหาว่าเป็นภาพที่ไม่เหมาะกับการตั้งในชาเปล จูลีโอ มันชีนี (Giulio Mancini) ผู้ร่วมสมัยของการาวัจโจ บันทึกว่าสาเหตุที่ถูกปฏิเสธเป็นเพราะคาราวัจโจใช้โสเภณีมีชื่อเป็นแบบสำหรับพระแม่มารี; แต่โจวันนี บากลีโอเน (Giovanni Baglione) ผู้ร่วมสมัยอีกคนหนึ่งกล่าวว่าเป็นเพราะการาวัจโจแสดงช่วงขาที่ออกจะเปิดเผยของพระแม่มารีย์ — ทั้งสองกรณีต่างก็อ้างมาตรฐานของสังคมในขณะนั้น แต่นักวิชาการคาราวัจโจ จอห์น แกชตั้งข้อเสนอว่าปัญหาของนักบวชคาร์เมไลท์อาจจะไม่ใช่ความพอใจหรือไม่พอใจในความสวยงามของภาพ แต่ข้อขัดแย้งมีรากฐานมาจากความแตกต่างทางมุมมองของปรัชญาศาสนา ที่นักบวชคาร์เมไลท์มีความเห็นว่าภาพของการาวัจโจละเลยความเชื่อในเรื่องแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ ที่ว่าพระแม่มารีย์มิได้ถึงแก่มรณกรรมอย่างธรรมดาแต่ถูก “นำ” (Assume) ขึ้นสวรรค์ ภาพเขียนที่นำมาแทนเป็นงานเขียนของผู้ติดตามของการาวัจโจเอง คาร์โล ซาราเชนิ (Carlo Saraceni) ซึ่งเป็นภาพพระแม่มารีย์ที่มิได้นอนเสียชีวิตเช่นในภาพของการาวัจโจแต่นั่งอยู่ แต่ภาพนี้ก็ยังถูกปฏิเสธ และในที่สุดก็แทนด้วยภาพที่พระแม่มารีย์ที่มิได้นอนหรือนั่งเสียชีวิตแต่ขึ้นสวรรค์พร้อมกับหมู่ทูตสวรรค์ แต่จะอย่างไรก็ตามการปฏิเสธก็ไม่ได้หมายความว่างานของคาราวัจโจไม่เป็นที่นิยม ไม่นานหลังจากที่ถูกปฏิเสธดยุกแห่งมานทัวก็ซื้อภาพตามคำแนะนำของปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษก็ทรงซื้อต่อ ก่อนที่จะตกไปเป็นของงานสะสมของหลวงในฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมรณกรรมของพระนางพรหมจารี (การาวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิบัติสงคราม Z

มหาวิบัติสงคราม Z (World War Z) เป็นภาพยนตร์แนวบันเทิงคดีพยากรณ์และสยองขวัญ กำกับโดย มาร์ก ฟอร์สเตอร์ เขียนบทโดย แมททิว ไมเคิล คาร์นาแฮน โดยอิงจากนวนิยายชื่อเดียวกัน ที่เขียนโดย แม็กซ์ บรูกส์ นำแสดงโดยแบรด พิตต์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายในประเทศไทย วันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิบัติสงคราม Z · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซาเคร-เกอร์

มหาวิหารพระหฤทัยแห่งมงมาทร์ (Basilique du Sacré-Cœur de Montmartre) เป็นโบสถ์และมหาวิหารรองในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ซึ่งตั้งอยู่บนยอดเขาที่สูงที่สุดของกรุงปารีส หรือที่เรียกกันว่า "มงมาทร์" สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่พระหฤทัยของพระเยซู ปัจจุบันถือเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวหลักของกรุงปารีส โดยถือเป็นอนุสาวรีย์ของทั้งสองด้าน คือการเมือง และวัฒนธรรม โบสถ์ได้ถูกออกแบบโดยโปล อะบาดี ซึ่งเป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศสที่เป็นหนึ่งใน 77 สถาปนิกผู้ชนะการประกวด เริ่มการก่อสร้างในปี..1875 และเสร็จสิ้นในปี..1914 โดยได้รับการแต่งตั้งโดยสมบูรณ์ (วางศิลาฤกษ์) ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี..1919 ในปัจจุบันนักท่องเที่ยวสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ทุกวันตั้งแต่ 06.00 น. จนถึง 22.30 น. โดยสามารถเข้าชมบริเวณโดมได้ตั้งแต่ 09.00 น. จนถึงเวลา 19.00 น. หรือ 18.00 น. ในช่วงฤดูหนาว โบสถ์พระหฤทัยยามค่ำคืน.

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิหารซาเคร-เกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ (សាកលវិទ្យាល័យភូមិន្ទនីតិសាស្រ្ត និងវិទ្យាសាស្រ្តសេដ្ឋកិច្ច สากลวิทฺยาลัยภูมินฺทนีติสาสฺตฺรนิงวิทฺยาสาสฺตรเสฏฺฐกิจฺจ, Royal University of Law and Economics; RULE) เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของกัมพูชา ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก

มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก (New York University) (โดยทั่วไปเรียกว่า NYU หรือ เอ็นวายยู) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง นิวยอร์ก ในรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) มหาวิทยาลัยนิวยอร์กเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีจำนวนนักศึกษากว่า 50,000 คน มหาวิทยาลัยนิวยอร์กประกอบไปด้วย 16 คณะและวิทยาลัย โดยมีวิทยาเขตอยู่ทั้งในใจกลางเกาะแมนฮัตตันและบรู๊กลิน นอกจากนี้ยังมีสำนักงานและสถาบันวิจัยอยู่ทั่วโลก อาทิเช่น ลอนดอน ปารีส มาดริด เบอร์ลิน เซี่ยงไฮ้ สิงคโปร์ และวิทยาเขตต่างประเทศที่กรุงอาบูดาบี มหาวิทยาลัยนิวยอร์กมีคณาจารย์และศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลโนเบล 31 คน รางวัลอาเบล 3 คน รางวัลพูลิตเซอร์ 16 คน รวมถึงรางวัลออสการ์ รางวัลเอมมี่ รางวัลแกรมมีและรางวัลโทนีรวม 19 คน มหาวิทยาลัยนิวยอร์กมีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษในด้าน กฎหมาย ธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ การแสดงและการภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก.

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

Alma Mater มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ. 2297 (ค.ศ. 1754) ในชื่อของ วิทยาลัยคิงส์ (King's College) โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ภายหลังสหรัฐอเมริกาปฏิวัติ โคลัมเบียได้รับการสนับสนุนในฐานะเอกลักษณ์ทางปรัชญาของรัฐตั้งแต่ปี 2327 - 2330 ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ทั้งที่เป็นศิษย์เก่าและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น 102 ท่าน ถือว่ามากที่สุดอันดับ 2 ของโลก ศิษย์เก่าที่เป็นประธานาธิบดีและนากยกรัฐมนตรีจากทั่วโลกจำนวน 29 ท่าน ศิษย์เก่าที่ดำรงตำแหน่ง CEO ของบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก (Fortune Global 500) จำนวน 45 ท่าน และมีผู้ชนะรางวัลออสการ์ 28 ท่าน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นผู้มอบรางวัลพูลิตเซอร์ แก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลงในสาขาวารสารศาสตร์ เมื่อกว่า 100 ปีมาแล้ว ซึ่งวิทยาลัยวิชาการหนังสือพิมพ์ของโคลัมเบียนับได้ว่าโดดเด่นมากที่สุดของโลกในปัจจุบัน last.

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน (FU Berlin; เยอรมัน: Freie Universität Berlin; อังกฤษ: The Free University of Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งใน ค.ศ. 1948 โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ถูกไล่ออก เพราะมุมมองทางการเมืองของพวกเขา จากมหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน (ก่อนหน้านี้ชื่อ Friedrich-Wilhelms-Universität) ซึ่งในตอนนั้นควบคุมดูแลโดยผู้มีอำนาจในเขตดูแลของโซเวียต (เบอร์ลินตะวันออก) ใน ค.ศ. 1968 มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางของขบวนการนักศึกษาฝ่ายซ้าย พร้อม ๆ กับนักศึกษาในปารีส ลอนดอน และเบิร์กลี.

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคนต์

มหาวิทยาลัยเคนต์ (University of Kent) (เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยเคนต์ ณ แคนเทอเบอรี) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดกลาง ตั้งที่นอกเมืองแคนเทอร์เบอรี จังหวัดเคนต์ เปิดสอนด้านการจัดการ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และกฎหมาย มหาวิทยาลัยเคนต์ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2508 จึงถือเป็นมหาวิทยาลัยใหม่ (new universities) หรือมหาวิทยาลัยกระจก (plate glass universities) ร่วมกับมหาวิทยาลัยอื่นอีกหลายแห่ง มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกเครือข่ายแซนแทนเดอร์, สมาคมมหาวิทยาลัยเครือจักรภพ และยูนิเวอร์ซิตียูเค (Universities UK) และถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยใหม่ 100 อันดับแรก รวมถึงมีคะแนนความพอใจของนักศึกษาเกินกว่า 90% จากแบบสำรวจนักศึกษาแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมหาวิทยาลัยเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มหานครแห่งรัก

มหานครแห่งรัก (Paris, je t'aime แปลว่า "ปารีส...ฉันรักเธอ") เป็นภาพยนตร์ความยาว 2 ชั่วโมง ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ประกอบด้วยภาพยนตร์สั้นจำนวน 18 เรื่อง กำกับโดยผู้กำกับ 21 คน โดยในแต่ละเรื่องผู้กำกับมีอิสระในการเขียนบท คัดเลือกนักแสดง และเทคนิคการถ่ายทำ ภาพยนตร์ทั้ง 18 เรื่องไม่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน เพียงแต่กล่าวถึงความรัก ในแง่มุมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกรุงปารีส ภาพยนตร์ทั้ง 18 เรื่อง ตั้งชื่อตามหมายเลข "ตำบล" (arrondissement) ทั้ง 20 ตำบลของปารีส ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและมหานครแห่งรัก · ดูเพิ่มเติม »

มอร์นิงมูซูเมะ

มอร์นิงมูซูเมะ คือ กลุ่มนักร้องหญิงของประเทศญี่ปุ่น สังกัดค่ายเฮลโล! โปรเจกต์ ได้รับการก่อตั้งในนามของสึงกุ (หรือเทราดะ มิตสึโอะ โปรดิวเซอร์และผู้ประพันธ์คำร้องและทำนองประจำกลุ่ม) มีแนวเพลงประจำคือแนวเจ-ป็อปที่มีจังหวะสนุกสนาน ชื่อ "มอร์นิงมูซูเมะ" เกิดจากการรวมกันของคำว่า "มอร์นิง" (Morning) ซึ่งเป็นคำในภาษาอังกฤษแปลว่า "ยามเช้า" กับคำว่า "มูซูเมะ" (娘) ซึ่งเป็นคำในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า "บุตรสาว" หรือ "เด็กผู้หญิง" เมื่อรวมทั้งสองคำนี้เข้าด้วยกัน คำว่ามอร์นิงมูซูเมะจึงมีความหมายว่า "เหล่าสาวน้อยแห่งรุ่งอรุณ" (Morning Girls) หรือ "บุตรสาวแห่งรุ่งอรุณ" (Morning Daughter) Keith Cahoon.

ใหม่!!: ปารีสและมอร์นิงมูซูเมะ · ดูเพิ่มเติม »

มอลีแยร์

หมือนของมอลีแยร์ โดยนีกอลา มีญาร์ ฌ็อง-บาติสต์ ปอเกอแล็ง (Jean-Baptiste Poquelin) หรือชื่อที่ใช้ในการแสดงว่า มอลีแยร์ (Molière; รับศีล 15 มกราคม ค.ศ. 1622 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1673) เป็นนักเขียนบทละครและนักแสดงชาวฝรั่งเศสที่ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในบรมครูด้านสุขนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในแวดวงวรรณคดีตะวันตก ในบรรดาผลงานของเขาทั้งหมด ผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ Le Misanthrope ("ผู้เกลียดชังมนุษย์"), L'École des Femmes ("โรงเรียนสำหรับภรรยา"), Tartuffe ou L'Imposteur ("ตาร์ตุฟหรือผู้แอบอ้าง"), L'Avare ("คนตระหนี่"), Le Malade Imaginaire ("ผู้ป่วยโรคอุปาทาน") และ Le Bourgeois Gentilhomme ("สุภาพบุรุษชนชั้นกลาง").

ใหม่!!: ปารีสและมอลีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

มอนิก โบโด

ักรพรรดินีทายเฟือง (Empress Thai Phương) หรือพระนามเดิม มอนิก โบโด (Monique Baudot) หรือภายหลังเปลี่ยนเป็น มอนิก หวิญ ถวิ (Monique Vĩnh Thụy) พระสนมในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งเวียดนาม.

ใหม่!!: ปารีสและมอนิก โบโด · ดูเพิ่มเติม »

มอนทรีออล

มอนทรีออล (Montreal) หรือ มงเรอาล (Montréal) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตการปกครองของรัฐควิเบก และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศแคนาดา มอนทรีออลเคยเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดถึงในยุคทศวรรษ 1970 หลังจากนั้นเมืองโทรอนโตก็แซงหน้าไป เดิมเมืองนี้มีชื่อว่า วีล-มารี (Ville-Marie 'เมืองของมารี') ภาษาทางการของมอนทรีออลคือ ภาษาฝรั่งเศส จากข้อมูลในเอกสารทางการ มอนทรีออลยังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ที่มีประชากรพูดภาษาฝรั่งเศสมากที่สุดในโลก รองจากปารีส ในปี 2007 นิตยสารฟอบส์จัดอันดับให้เมืองมอนทรีออลอยู่อันดับ 10 ของเมืองที่สะอาดที่สุดในโลก และในปี 2008 นิตยสารโมโนเคิลจัดอันดับให้เมืองมอนทรีออลอยู่ที่อันดับ 16 ใน 25 เมืองที่น่าอยู่ที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ปารีสและมอนทรีออล · ดูเพิ่มเติม »

มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์

มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 (ค.ศ. 1758) ที่เมืองอารัส แคว้นนอร์-ปาดกาแล ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาก็ได้เข้าเป็นผู้นำของกลุ่มฌากอแบ็งที่กล่าวหาพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และพระนางมารี อ็องตัวแน็ตว่า ได้ทรงกระทำการในสิ่งที่เป็นการขายชาติ ทั้งยังเรียกร้องให้ประหารชีวิตทั้งสองพระองค์อีกด้วย แต่หลังจากนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) มีฝูงชนฝรั่งเศสกลุ่มใหญ่ลุกฮือทลายคุกบัสตีย์ในกรุงปารีส เพื่อต่อต้านระบอบกษัตริย์และขุนนางของฝรั่งเศส แล้วไม่นานชาวฝรั่งเศสจำนวนมากก็เข้าร่วมฝูงชนนี้ ทำให้การปฏิวัติสำเร็จอย่างรวดเร็ว ฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ประเทศอื่น ๆ ต่างคัดค้านไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัตินี้และพยายามกดขี่ข่มเหงฝรั่งเศส ดังนั้น ต่อมาในพ.ศ. 2336 รอแบ็สปีแยร์ก็ฉวยโอกาสตอนตนกำลังมีชื่อเสียงโด่งดังและช่วงที่ฝรั่งเศสกำลังถูกคุกคาม เข้ารับตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม เขาจึงได้กลายเป็นจอมเผด็จการอย่างแท้จริง ในเวลาปีเดียว เขาจับกุมและประหารผู้คนนับพัน ๆ ตั้งแต่ความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ จนถึงความผิดอุกฉกรรจ์ หรือแม้แต่การใส่ร้ายใส่ความโดยรอแบ็สปีแยร์ ต้องถูกประหารโดยเครื่องประหารกิโยตีน เขาคิดว่าสิ่งที่เขาทำเป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงาม แต่คนอื่น ๆ เรียกช่วงเวลาที่รอแบ็สปีแยร์อยู่ในตำแหน่งว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ศัตรูจึงขนานนามเขาว่า ดิกตาเตอร์ซ็องกีแนร์ หรือเผด็จการกระหายเลือด ดังนั้นใน พ.ศ. 2337 จึงมีผู้คนจำนวนมหาศาลรวมตัวกันโค่นอำนาจและจับกุมรอแบ็สปีแยร์ เขาพยายามฆ่าตัวตาย แต่ไม่สำเร็จ ต้องตายโดยการถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตีนท่ามกลางผู้คนมากมายที่รุมล้อมในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337 (ค.ศ. 1794) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2301 หมวดหมู่:นักการเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลในการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้สมรู้ร่วมคิดการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.

ใหม่!!: ปารีสและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ แอนสท์

มักซ์ แอนสท์ (Max Ernst; 2 เมษายน ค.ศ. 1891 – 1 เมษายน ค.ศ. 1976) เป็นศิลปินชาวเยอรมัน เป็นผู้บุกเบิกงานด้านลัทธิเหนือจริงแล.

ใหม่!!: ปารีสและมักซ์ แอนสท์ · ดูเพิ่มเติม »

มาการง

มาการง (macaron) เป็นขนมหวานที่ได้จากการผสมเมอแร็งก์กับไข่ขาว, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายขาว, ผงแอลมอนด์หรือแอลมอนด์ป่น และสีผสมอาหาร มาการงรูปร่างเหมือนแซนด์วิช เป็นขนมปังสองชิ้นประกบกัน มีสอดไส้ตรงกลาง ส่วนไส้มักจะเป็นกานัช, บัตเตอร์ครีม (ครีมเนยที่ใช้แต่งหน้าเค้ก) หรือแยม คำว่า มาการง แผลงมาจากคำในภาษาอิตาลีว่า macarone, maccarone หรือ maccherone, เมอแร็งก์แบบอิตาลี มาการง มีลักษณะคล้ายคุกกี้ ลักษณะเด่นของมาการงคือ ผิวด้านบนของขนมจะเรียบ ขอบรอบ ๆ เป็นรอยหยัก (มักจะเรียกว่า "ขา" หรือ "เท้า") และมีฐานเรียบแบน ขนมจะนุ่มชุ่มเล็กน้อยและละลายง่ายในปาก มาการงมีหลากหลายรสชาติ ตั้งแต่รสดั้งเดิม (ราสป์เบอร์รี, ช็อกโกแลต) ไปจนถึงรสใหม่ ๆ (ฟัวกรา, ชาเขียว) คนส่วนใหญ่มักจะสับสนระหว่างมาการงกับแมคารูน (macaroon) จึงมีการใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศสมาแทนภาษาอังกฤษเพื่อให้ดูต่างกัน แต่ก็ยิ่งทำให้สะกดชื่อกันผิดมากขึ้น บางตำราอาหารแยกชื่อ แมคารูน ไว้ใช้กับมาการงที่ไม่ใช่แบบของฝรั่งเศสดั้งเดิม แต่หลาย ๆ คนมีความเห็นว่า ขนมทั้งสองอย่างนี้มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งความจริงแล้ว คำว่า แมคารูน เป็นคำภาษาอังกฤษที่แปลมาจากคำว่า มาการง ในภาษาฝรั่งเศส เพราะฉะนั้นชื่อทั้งสองชื่อนี้มีความหมายเรียกขนมแบบเดียวกัน ทั้งนี้การใช้แต่ละชื่อก็อาจขึ้นอยู่กับการตีความของแต่ละบุคคล เคยมีศาสตราจารย์ภาควิชาวัฒนธรรมอาหารที่สแตนฟอร์ด, แดน จูราฟสกี้ ชี้แจงว่า 'มาการง' (รวมถึง "มาการงปารีส", หรือ "มาการงแฌร์แบ") คือชื่อเรียกที่ถูกต้อง.

ใหม่!!: ปารีสและมาการง · ดูเพิ่มเติม »

มามาดู ซาโก

มามาดู ซาโก (Mamadou Sakho) เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและมามาดู ซาโก · ดูเพิ่มเติม »

มารูนไฟฟ์เวิลด์ทัวร์ 2015

มารูนไฟฟ์เวิลด์ทัวร์ 2015 (Maroon 5 World Tour 2015) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตโดยวงดนตรีป๊อบร็อกอเมริกัน มารูนไฟฟ์ เพื่อสนับสนุนอัลบั้มที่ห้าของวง "V".

ใหม่!!: ปารีสและมารูนไฟฟ์เวิลด์ทัวร์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา

อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย (Erzherzogin Maria Lucia von Österreich., Archduchess Maria Lucia of Austria, Marie Louise d'Autriche, Maria Luisa d'Austria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า ลีโอโพลดีน่า ฟรานซิสก้า เธเรเซีย โยเซฟา ลูเซีย, (Maria Ludovika Leopoldina Francisca Theresia Josepha Lucia von Habsburg-Lorraine (Bonaparte)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย ก่อนที่จะทรงอภิเษกสมรสกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของจักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ของนโปเลียน จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส (impératrice Marie Louise des Français) และเมื่อปีพ.ศ. 2360 พระองค์ทรงเป็น ดัชเชสแห่งปาร์มา ปิอาเซนซ่า และกูแอสตาลล่า (Maria Luigia, Duchessa di Parma, Piacenza, e Guastalla) นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีมารี อังตัวเนตแห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและมารี อ็องตัวแน็ต · ดูเพิ่มเติม »

มารี-กีย์มีน เบอนัว

มารี-กีย์มีน เบอนัว (Marie-Guillemine Benoist) หรือ มารี-กีย์มีน เดอ ลาวีล-เลอรู (Marie-Guillemine de Laville-Leroux; 18 ธันวาคม ค.ศ. 1768 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1826) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยฟื้นฟูคลาสสิกของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์และภาพชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ปารีสและมารี-กีย์มีน เบอนัว · ดูเพิ่มเติม »

มารี-เดอนีซ วีแลร์

มารี-เดอนีซ วีแลร์ (Marie-Denise Villers,; ราว ค.ศ. 1774 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1821) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน มารี-เดอนีซ วีแลร์เกิดในตระกูลศิลปินมารี-วิกตัวร์ เลอมวน และมารี-เอลีซาแบ็ต กาบียู พี่และน้องสาวสองคนต่างก็เป็นศิลปินผู้มีความสามารถ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมารี-เดอนีซ วีแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

มารียง กอตียาร์

มารียง กอตียาร์ (Marion Cotillard; เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2518) เป็นนักแสดงนักร้อง นักดนตรี และนักสิ่งแวดล้อมชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง แท็กซี่ระห่ำระเบิด ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมารียง กอตียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

มารดาของวิสต์เลอร์

“การจัดสีเทาและดำหมายเลข 2” (ทอมัส คาร์ไลล์) การจัดสีเทาและดำ: มารดาของวิสต์เลอร์ของจิตรกร หรือที่รู้จักกันสั้นๆ ว่า มารดาของวิสต์เลอร์ (ภาษาอังกฤษ: Arrangement in Grey and Black: The Artist's Mother หรือ Whistler’s Mother) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์จิตรกรชาวอเมริกัน ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์ ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส วิสต์เลอร์เขียนภาพ “มารดาของวิสต์เลอร์” ในปี ค.ศ. 1871 ภาพอยู่ในกรอบที่วิสต์เลอร์ออกแบบเอง แม้ว่าจะเป็นภาพเขียนที่เป็นสัญลักษณ์ของศิลปะอเมริกันแต่ภาพเขียนแทบจะไม่ได้กลับไปตั้งแสดงในสหรัฐอเมริกานอกจากนำไปแสดงรอบประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1932 และ ค.ศ. 1934, ตั้งแสดงที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: ปารีสและมารดาของวิสต์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ชากาล

“มาร์ก ชากาล” (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1941) โดย คาร์ล ฟาน เวคเทิน (Carl Van Vechten) มาร์ก ชากาล (Marc Chagall; מאַרק שאַגאַל; Марк Захарович Шага́л, Mark Zakharovich Shagal; Мойша Захаравіч Шагалаў, Mojša Zaharavič Šagałaŭ; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Moishe Shagal; 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1985) เป็นจิตรกรชาวเบลารุส-ฝรั่งเศส (เดิมเป็นชาวยิว-เบลารุส) คนสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชากาลเกิดที่เบลารุสซึ่งขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย เขาเป็นศิลปินผู้มีส่วนในขบวนการศิลปะสมัยใหม่หลังภายหลังสมัยศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ แต่งานของชากาลจะจัดเข้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ยาก เป็นงานที่เต็มไปด้วยการใช้สัญลักษณ์ นอกจากงานจิตรกรรมแล้วชากาลยังมีงานกระจกสีและงานโมเสก.

ใหม่!!: ปารีสและมาร์ก ชากาล · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเร็ตแห่งโพรว็องซ์

มาร์กาเร็ตแห่งโพรว็องซ์ (ภาษาอังกฤษ: Margaret of Provence; ค.ศ.1221 - 20 ธันวาคม ค.ศ.1295) เป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสจากการอภิเษกสมรสกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 9.

ใหม่!!: ปารีสและมาร์กาเร็ตแห่งโพรว็องซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กุส วิปซานิอุส อากริปปา

มาร์กุส วิปซานิอุส อากริปปา (Marcvs Vipsanivs Agrippa; ประมาณ 23 ตุลาคมหรือพฤศจิกายน 64/63 ปีก่อน ค.ศ. – 12 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นรัฐบุรุษและแม่ทัพโรมัน เขาเป็นพระสหายสนิท พระชามาดา (ลูกเขย) ผู้แทนและรัฐมนตรีกลาโหมของอ็อกตาวิอุส (จักรพรรดิเอากุสตุสในอนาคต) และเป็นพระสสุระ (พ่อตา) ในจักรพรรดิติแบริอุส เขาเป็นผู้รับผิดชอบต่อชัยชนะทางทหารส่วนใหญ่ของอ็อกตาวิอุส ที่โดดเด่นที่สุดคือ ชนะยุทธนาวีที่อักติอูงเหนือกองกำลังของมาร์ก แอนโทนี และพระนางคลีโอพัตราที่ 7 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ปารีสและมาร์กุส วิปซานิอุส อากริปปา · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ทีน โอบรี

มาร์ทีน โอบรี (Martine Aubry) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1950 ที่กรุงปารีส โอบรีเป็นนักการเมืองหญิงจากพรรคสังคมนิยม ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายซ้ายของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..1974 เป็นต้นมา และยังดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคสังคมนิยมในปี..2008 และยังเป็นนายกเทศมนตรีเมืองลีล (เหนือ) ตั้งแต่ปี..2001 โดยบิดาของเธอ ฌาค เดอลอรส์ เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในสมัยของประธานาธิบดีฟร็องซัว มีแตร็อง และอดีตประธานประชามคมยุโรป โอบรี ยังเคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานในปี..1991 จนกระทั่งพ่ายแพ้การเลือกตั้งทั่วไปให้กับฝ่ายขวา และยังได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสังคม ในปี..1997 โอบรีได้รับการกล่าวขานอย่างมากเนื่องจากเคยผลักดันกฎหมายจำกัดชั่วโมงการทำงาน หรือเรียกกันอย่างลำลองว่า กฎหมายโอบรี โดยได้ทำการลดชั่วโมงทำงานทั่วไปจาก 39 ชั่วโมง เหลือเพียง 35 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ และยังมีส่วนรวมในการผลักดันกฎหมายเพื่อการประกันสุขภาพถ้วนหน้าอีกด้วย โอบรีได้ก้าวลงจากตำแหน่งทางการเมืองในปี..2001 รับชัยชนะในลงเลือกตั้งระดับท้องถิ่นเพื่อเป็นนายกเทศมนตรีเมืองลีล และได้รับเลือกอีกวาระหนึ่งในปี..2008 ด้วยคะแนนเสียง 66.55% ในเดือนพฤศจิกายน..2008 โอบรีได้ถูกเลือกให้เป็นผู้นำพรรค หรือโดยตำแหน่ง เป็นเลขาธิการพรรค โดยได้รับชัยชนะเหนือเซกอแลน รัวยาลเพียงเล็กน้อย และในเดือนมิถุนายน..2011 เธอได้ประกาศว่าจะลงชิงชัยเป็นตัวแทนพรรคฯ เพื่อลงเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมาร์ทีน โอบรี · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน โฮล์ม

มาร์ติน โฮล์ม (Martin Holm; 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976 — 24 มิถุนายน ค.ศ. 2009) เป็นนักมวยไทยชาวสวีเดน และเป็นอดีตแชมป์รายการ WMC มวยไทยโลก ในการแข่งขันเค-วัน เขามีโอกาสสู้กับนักมวยดังในขณะนั้น เช่น เออร์เนสโต ฮูสท์, เรย์ เซโฟ, ไมเคิล แมกโดนัลด์ และ โกลบ เฟโตซ.

ใหม่!!: ปารีสและมาร์ติน โฮล์ม · ดูเพิ่มเติม »

มาร์แซล พรุสต์

วาล็องแต็ง หลุยส์ ฌอร์ฌ เออแฌน มาร์แซล พรุสต์ (Valentin Louis Georges Eugène Marcel Proust; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1871 - 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922) เป็นนักเขียนนวนิยายและบทความ, และนักวิพากษ์วรรณกรรมคนสำคัญชาวฝรั่งเศส ผลงานสำคัญของพรุสต์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ In Search of Lost Time ("ในการค้นหาเวลาที่หายไป") ซึ่งเป็นงานนวนิยายชิ้นใหญ่และชิ้นสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ตีพิมพ์เป็นเจ็ดตอนระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและมาร์แซล พรุสต์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เกอริตแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Marguerite de Valois) (14 พฤษภาคม ค.ศ. 1553 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1615) มาร์เกอรีตประสูติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1553 ที่พระราชวังแซงต์-แชร์แมง-ออง-เลย์ ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ เป็นพระราชินีในพระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ. 1589 ถึงปี ค.ศ. 1599 มาร์เกอรีตแห่งวาลัวส์สิ้นพระชนม์เมื่อ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1615 ที่ปารีส พระศพตั้งอยู่ที่ชาเปลของราชวงศ์วาลัว.

ใหม่!!: ปารีสและมาร์เกอริตแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มาร์กาเร็ตแห่งฝรั่งเศส (Margaret of France; ค.ศ. 1279 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1318) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีคนที่สองของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 พระองค์เป็นพระธิดาของพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศสกับพระราชินีมาเรียแห่งบราบงต.

ใหม่!!: ปารีสและมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มาตรวิทยา

มาตรวิทยา (Metrology) คือวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวัด การวิเคราะห์ การทดสอบ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติจริง มีการกำหนดรายละเอียดของหน่วยวัด มาตรฐานด้านการวัดที่เป็นสากลเพื่อเป็นอ้างอิงของกิจกรรมการวัดต่างๆ ปัจจุบัน มาตรวิทยามีการรับรองโดย คณะกรรมการมาตรวิทยาสากล (CIPM) คอยดูแลมาตรวิทยาในระบบสากล ส่วนประเทศไทยมี สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นผู้ดูแลการศึกษามาตรวิทยาในประเทศไทยเอกสารประกอบการอบรม โครงการค่ายมาตรวิทยาชิงทุนการศึกษาภายใต้แนวคิด "หนึ่งการวั...ยอมรับทั่วโลก" เรื่อง "หลักการมาตรวิทยาสากล" ระหว่างวันที่ 19-21 สิงหาคม 2553" ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2553 โดย พล.อ.ต.ดร.เพียร โตท่าโรง ผอ.สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาต.

ใหม่!!: ปารีสและมาตรวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย ฟรานซิสกาแห่งซาวอย สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงมาเรีย ฟรานซิสกาแห่งซาวอย(มาเรีย ฟรานซัวส์ เอลิซาเบธ; 21 มิถุนายน พ.ศ. 2189 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2226) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งซาวอยและสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าอัลฟองโซที่ 6 แห่งโปรตุเกสและเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเปโดรที่ 2 แห่งโปรตุเก.

ใหม่!!: ปารีสและมาเรีย ฟรานซิสกาแห่งซาวอย สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน (Princess Marie Louise of Orléans) (26 มีนาคม ค.ศ. 1662 - 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1689) มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ประสูติเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1662 ที่พระราชวังหลวงในกรุงปารีสในฝรั่งเศส เป็นพระธิดาในฟิลิปป์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลอองส์และเฮนเรียตตา แอนน์ สจวตผู้เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย มาเรีย หลุยส์เป็นพระอัครมเหสีองค์ที่แรกในพระเจ้าคาร์โลสที่ 2 แห่งสเปน.

ใหม่!!: ปารีสและมาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียนา บิกโตเรียแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงมาเรียนา บิกโตเรียแห่งสเปน (31 มีนาคม พ.ศ. 2261 - 15 มกราคม พ.ศ. 2324) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งสเปนเมื่อครั้งประสูติและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส ซึ่งเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าโจเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส เมื่อมีพระชนมายุ 7 พรรษา ทรงหมั้นกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสArmstrong, หน้า 243 แต่ต่อมาการเตรียมการอภิเษกสมรสถูกยกเลิกและพระนางถูกส่งตัวกลับสเปน ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมาเรียนา บิกโตเรียแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

มิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์

มิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์ (Mission: Impossible – Fallout) เป็นภาพยนตร์โลดโผน/สายลับลำดับที่ 6 ในชุด มิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล กำกับ เขียนและร่วมอำนวยการสร้างโดยคริสโตเฟอร์ แมคควอร์รี นำแสดงโดยทอม ครูซ, รีเบกกา เฟอร์กูสัน, ไซมอน เพกก์, วิง เรมส์, อเล็ก บอลด์วิน, ฌอน แฮร์ริส, เฮนรี แควิลล์และแองเจลา แบสเซตต์ ภาพยนตร์มีกำหนดเข้าฉายในสหรัฐอเมริกา วันที่ 27 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและมิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์ · ดูเพิ่มเติม »

มิรเรอร์เคิลเวิลด์

มิรเรอร์เคิลเวิลด์ เป็นซิงเกิลที่ 44 ของอายูมิ ฮามาซากิ ออกจำหน่ายในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยเพลง "มิรเรอร์เคิลเวิลด์" เป็นเพลงเต็มของเพลง "มิรเรอร์" ในอัลบั้ม กิลตี ของอายูมิ โดยมิวสิกวีดีโอถ่ายทำที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส "มิรเรอร์เคิลเวิลด์" แบ่งออกเป็น 2 แบบเพื่อฉลองครบรอบ 10 ปีของอายูมิในวงการเพลง โดยมี 2 ฉบับ คือ "ฉบับยู" และ "ฉบับดีเพนด์ออนยู" เพลง "มิรเรอร์เคิลเวิลด์" เป็นเพลงประกอบโฆษณากล้องถ่ายรูปดิจิตอลของพานาโซนิค โดยมีการถ่ายทำโฆษณานี้ที่เมืองเวนิสในประเทศอิตาลี เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและมิรเรอร์เคิลเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ใหม่!!: ปารีสและมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกแบงก์ เวิลด์ ทัวร์

มิวสิกแบงก์ เวิลด์ ทัวร์เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ของรายการ มิวสิกแบงก์ ทางช่อง KBSซึ่งออกกาศไปทั้งหมด 72 ประเท.

ใหม่!!: ปารีสและมิวสิกแบงก์ เวิลด์ ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสฟรานซ์

มิสฟรานซ์ (Miss France) เป็นการประกวดความงามในประเทศฝรั่งเศสซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและมิสฟรานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014

มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014, ครั้งที่ 43 จัดขึ้นในวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและมิสอินเตอร์คอนติเนนตัล 2014 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 (Miss Grand International 2016) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 4 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล

มิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล (國際中華小姐競選; Miss Chinese International Pageant; ตัวย่อ: MCIP, 華姐) เป็นการประกวดเพื่อเฟ้นหาสาวงามที่มีเชื้อสายจีนทั่วโลกเพื่อเป็นตัวแทนประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยการประกวดมิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนลนั้นมีผู้สนับสนุนหลักคือสถานีโทรทัศน์ TVB ของประเทศฮ่องกง ซึ่งเป็นผู้จัดการในเรื่องการแพร่สัญญาณถ่ายทอดการประกวด และกิจกรรมต่างๆ ของผู้เข้าประกว.

ใหม่!!: ปารีสและมิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2015

นายแบบนานาชาติ 2015 (Mister International 2015) เป็นการจัดการประกวดมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 10 จัดขึ้นวันที่ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ปารีสและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อับดุฮ์

มุฮัมหมัด อับดุฮ์ มุฮัมมัด อับดุฮ์ (Mohammed Abduh, محمد عبده) เป็นนักอิสลามนิยมชาวอียิปต์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและมุฮัมมัด อับดุฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation ตัวย่อ BMGF) เป็นมูลนิธิเอกชนหรือส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดตั้งโดยบิล เกตส์ และเมลินดา เกตส์ ในปี 2543 และกล่าวกันว่าเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ดำเนินการอย่างโปร่งใสที่ใหญ่ที่สุดในโลก จุดมุ่งหมายหลักของมูลนิธิก็คือ เพื่อปรับปรุงการบริหารสุขภาพและลดความยากจนทั่วโลก และในสหรัฐอเมริกา เพื่อขยายโอกาสการศึกษาและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลนิธิมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน และควบคุมโดยผู้จัดการดูแลทรัพย์สิน 3 ท่านคือ บิลกับเมลินดาเกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ เจ้าหน้าที่หลักอื่น ๆ รวมทั้ง ประธานกรรมการร่วม วิลเลียม เอ็ช เกตส์ ซีเนียร์ (บิดาของนายเกตส์) และประธานบริหาร พญ.

ใหม่!!: ปารีสและมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

มูแลงรูจ!

มูแลงรูจ! (Moulin Rouge!) เป็นภาพยนตร์เพลงเรื่องที่สามในภาพยนตร์ชุดไตรภาค "The Red Curtain Trilogy" ของบาซ เลอห์มานน์ ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ปารีสและมูแลงรูจ! · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล ฟูโก

มีแชล ฟูโก (Michel Foucault,; 15 ตุลาคม ค.ศ. 1926 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1984) เป็นนักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ความคิด นักทฤษฎีสังคม นักนิรุกติศาสตร์ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวฝรั่งเศส เคยดำรงตำแหน่ง "ศาสตราจารย์ทางประวัติศาสตร์ของระบบความคิด" (Professor of the History of Systems of Thought) ที่วิทยาลัยฝรั่งเศส (Collège de France) และเคยสอนที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา ในฐานะนักทฤษฎีสังคม ฟูโกให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจกับความรู้ รวมถึงวิธีการที่สถาบันทางสังคมต่างๆ ใช้อำนาจและความรู้เป็นเครื่องมือในการควบคุมผู้คนในสังคม ฟูโกมักถูกมองว่าเป็นตัวแทนของญาณวิทยาแบบหลังโครงสร้างนิยมและเป็นตัวแทนของนักคิดยุคหลังสมัยใหม่ แต่ตัวเขาเองปฏิเสธเรื่องนี้มาโดยตลอด ฟูโกเลือกจะอธิบายว่าความคิดของเขาเป็นประวัติศาสตร์เชิงวิพากษ์ต่อความเป็นสมัยใหม่มากกว่า ความคิดของฟูโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งทั้งในทางวิชาการและในทางการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่น ในขบวนการหลังอนาธิปไต.

ใหม่!!: ปารีสและมีแชล ฟูโก · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล แน

มีแชล แน (Michel Ney,; 10 มกราคม ค.ศ. 1769 - 7 ธันวาคม ค.ศ. 1815) เป็นทหารและผู้บัญชาการทหารระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน เขาเป็นหนึ่งใน 18 จอมพลฝรั่งเศสดั้งเดิมที่นโปเลียนทรงสถาปนา ได้รับสมญานามว่า จอมสุรโยธิน (the bravest of the brave) เขาเป็นจอมพลแห่งฝรั่งเศสเพียงคนเดียวที่ถูกตัดสินประหารชีวิตในข้อหาทรราชหลังการฟื้นฟูราชาธิปไตยในฝรั่งเศสครั้งที่สอง ท่ามกลางเสียงคัดค้านของชาวฝรั่งเศสทั่วไป.

ใหม่!!: ปารีสและมีแชล แน · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล โอรียอล

มีแชล โอรียอล (Michelle Auriol; เกิด 5 มีนาคม พ.ศ. 2439 ที่การ์โม จังหวัดตาร์น แคว้นมีดี-ปีเรเน ประเทศฝรั่งเศส เสียชีวิต 5 มีนาคม พ.ศ. 2522) เป็นภริยาของแว็งซ็อง โอรียอล ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสคนที่ 16 ถือเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศสคนที่ 15 ตั้งแต่16 มกราคม พ.ศ. 2490 – 16 มกราคม พ.ศ. 2497 มีแชล โอรียอล หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2443.

ใหม่!!: ปารีสและมีแชล โอรียอล · ดูเพิ่มเติม »

มงบล็อง (ของหวาน)

มงบล็อง (Mont Blanc) หรือ มอนเตเบียนโก (Monte Bianco) เป็นชื่อของหวานทำจากเกาลัดปั่นจนเหลว ปรุงให้หวาน แล้วราดวิปครีม เป็นอาหารยอดนิยมในประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น และประเทศฮังการี ชื่อขนมนี้เอาชื่อยอดเขามงบล็องมาตั้ง เพราะมีรูปลักษณ์เหมือนภูเขามีหิมะปกคลุมอยู่ที่ยอด ของหวานมงบล็องนี้มีบรรยายอยู่ในตำราอาหารอิตาลีมาตั้งแต่ปี 1475 มงบล็องดั้งเดิมนั้นต้องสีเหลือง เพราะใช้เกาลัดดองหวานปั่น นอกจากนี้ ยังปรากฏว่า ขุนนางเชซาเร บอร์จา (Cesare Borgia) กับลูเกรเซีย บอร์จา (Lucrezia Borgia) มักทำมงบล็องรับประทานที่บ้านเป็นนิจด้วย ต่อมาในปี 1620 จึงไปโด่งดังในประเทศฝรั่งเศส ในหลาย ๆ ประเทศ มีการดัดแปลงมงบล็องเป็นหลายรูปแบบ เช่น ในประเทศญี่ปุ่น ใช้ฟักทองและแยมองุ่นทำมงบล็องแทนหรือประสมกับเกาลัดก็มี และใส่โกโก้หรือมัตชะด้วยก็มี นอกจากนี้ โดยทั่วไปยังปรากฏว่ามีการทำมงบล็องเป็นรสผลไม้ด้วย เช่น รสมะม่วงและสตรอว์เบอร์รี.

ใหม่!!: ปารีสและมงบล็อง (ของหวาน) · ดูเพิ่มเติม »

มงส์

มงส์ (Mons) เป็นเมืองและเทศบาลในประเทศเบลเยียม เป็นเมืองหลวงของมณฑลแอโน มีประชากรประมาณ 95,000 คน และมีประชากรบริเวณปริมณฑลประมาณ 257,000 คน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงบรัสเซลส์ประมาณ 60 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงปารีสประมาณ 240 กิโลเมตร ทางตะวันออกของลีลประมาณ 75 กิโลเมตร และทางตะวันตกของอาเคินประมาณ 180 กิโลเมตร มงส์ตั้งอยู่ที่จุดตัดระหว่างทางหลวงยุโรป E19 (อัมสเตอร์ดัม-แอนต์เวิร์ป-บรัสเซลส์-ปารีส) กับทางหลวงยุโรป E42 (ลีล-ชาร์เลอรัว-ลีแยฌ-แฟรงก์เฟิร์ต) ในยุค 1860 หลังจากที่เบลเยียมได้รับเอกราชระยะหนึ่ง เมืองต่างๆ รวมทั้งมงส์ได้รับการรื้อฟื้น มีการสร้างถนนขนาดใหญ่และโครงการสร้างเมืองอื่นๆ การปฏิวัติอุตสาหกรรมและเหมืองถ่านหินทำให้มงส์กลายเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมหนักและเป็นกระดูกสันหลังอุตสาหกรรมของเขตวัลลูน อย่างไรก็ตาม ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มงส์ซึ่งเป็นเมืองอุตสาหกรรมสำคัญได้ถูกทิ้งระเบิดและเกิดการสู้รบระหว่างกองกำลังจากอเมริกากับกองกำลังเยอรมนี หลังจากสงครามอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ก็เสื่อมถอยลง ปัจจุบันมงส์เป็นเมืองมหาวิทยาลัยและศูนย์กลางการค้า และด้วยประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม ทำให้มงส์ได้รับเลือกเป็นเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปประจำปี ค.ศ. 2015.

ใหม่!!: ปารีสและมงส์ · ดูเพิ่มเติม »

มงแต็สกีเยอ

ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ปารีสและมงแต็สกีเยอ · ดูเพิ่มเติม »

มนันยา ธนะภู

มนันยา เป็นนามปากกาของ มนันยา ธนะภูมิ (นามสกุลเดิม วิทยานนท์) นักเขียนเรื่องสั้น สารคดี และนักแปลนวนิยายจากภาษาอังกฤษ ผลงานที่มีชื่อเสียงคือเรื่องสั้นชุด "ชาวเขื่อน" ที่เขียนจากประสบการณ์จริงขณะติดตามสามีที่เป็นวิศวกรกรมชลประทาน ควบคุมงานก่อสร้างเขื่อนกิ่วลม จังหวัดลำปาง เมื่อ พ.ศ. 2516 ตีพิมพ์เป็นตอนในนิตยสารสตรีสาร และรวมเล่มในชื่อ "เอ แมน คอลด์ เป๋ง", "ลาก่อนกิ่วลม" และ "ก่อนจะจากกิ่วลม" ปัจจุบันลาออกจากราชการก่อนเกษียณอายุ มนันยาเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นได้รับทุนไปอบรม สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จาก Institut Internationale'd Administration Publique ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส จากนั้นได้ทำงานที่บริษัทการบินไทย และรับราชการกรมชลประทาน พร้อมกับทางานเขียนและบทประพันธ์ต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและมนันยา ธนะภู · ดูเพิ่มเติม »

ม็อดดลิตฟา ดซีวิตซือ

หรือ Modlitwa dziewicy, Op.4 (La prière d'une vierge) หรือ Maiden's Prayer เป็นท่อนดนตรีสั้นๆ สำหรับบรรเลงด้วยเปียโน แต่งโดย Tekla Bądarzewska-Baranowska (ค.ศ. 1834 - ค.ศ. 1861) นักแต่งเพลงชาวโปแลนด์ ออกเผยแพร่เป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและม็อดดลิตฟา ดซีวิตซือ · ดูเพิ่มเติม »

ยกกางเขน (รือเบินส์)

"ยกกางเขน" กลางบานพับภาพ ยกกางเขน (Kruisoprichting; The Elevation of the Cross) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เป็นส่วนหนึ่งของบานพับภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ป ในเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม รือเบินส์เขียนภาพ "ยกกางเขน" ราวระหว่างปี ค.ศ. 1610 ถึงปี ค.ศ. 1611 หลังจากกลับมายังฟลานเดอส์จากอิตาลี เป็นงานที่แสดงอิทธิพลของจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและบาโรกของอิตาลี เช่น การาวัจโจ, ตินโตเรตโต และมีเกลันเจโลอย่างเห็นได้ชัด แผงกลางแสดงแรงดึงระหว่างกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายของทุกคนที่พยายามยกกางเขนที่หนักด้วยน้ำหนักของพระเยซูที่ทรงถูกตรึงอยู่บนกางเขน อิทธิพลของลักษณะการเขียนแบบทัศนมิติของมีเกลันเจโลเห็นได้อย่างชัดเจนจากความบิดเบี้ยวของร่างแต่ละร่างที่ต่างก็ใช้ความพยายามอย่างหนักในการยกกางเขนให้ตั้งขึ้น ร่างของพระเยซูแผ่ทแยงอย่างเต็มที่อยู่กลางภาพคล้ายกับการวางภาพ "ชะลอร่างจากกางเขน" โดยการาวัจโจ ที่ทั้งการยกลงและยกขึ้นปรากฏในชั่วขณะเดียวกัน รือเบินส์ใช้สีที่เต็มไปด้วยพลังและค่าต่างแสงอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นลักษณะการเขียนที่ค่อยอ่อนลงต่อมา ในปัจจุบันภาพเขียนนี้ตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ปในเมืองแอนต์เวิร์ปพร้อมกับงานเขียนอื่นของรือเบินส์ ระหว่างการยึดครองของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 พระองค์ก็ทรงนำภาพเขียนภาพนี้และภาพ "ชะลอร่างจากกางเขน" ของรือเบินส์ไปยังปารีส จนกระทั่งในปลายคริสต์ทศวรรษ 1800 ทางมหาวิหารจึงได้ภาพเขียนคืน.

ใหม่!!: ปารีสและยกกางเขน (รือเบินส์) · ดูเพิ่มเติม »

ยอร์ช เซเดส์

รรณารักษ์ใหญ่ประจำหอสมุดวชิรญาณ พ.ศ. 2461 ยอร์ช เซเดส์ (George Cœdès;, พ.ศ. 2429-พ.ศ. 2512) เป็นนักวิชาการชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยอร์ช เซเดส์เดินทางมารับราชการในตำแหน่งบรรณารักษ์ใหญ่ประจำหอพระสมุดวชิรญาณ (ภายหลังเป็นหอสมุดแห่งชาติ) เมื่อ พ.ศ. 2461 และในปี พ.ศ. 2472 ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศและทำงานที่นั่นกระทั่ง พ.ศ. 2489 หลังจากนั้นได้เดินทางกลับกรุงปารีส และถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2512 ยอร์ช เซเดส์ได้เขียนเอกสารสัมมนาสองฉบับ เรื่อง The Indianized States of Southeast Asia (ค.ศ. 1968, 1975) และ The Making of South East Asia (ค.ศ. 1966) และบทความต่างๆ จำนวนมหาศาล ซึ่งมีส่วนในการพัฒนาแนวคิดเรื่องอาณาจักรแบบอินเดีย (Indianized kingdom) ขึ้น อย่างไรก็ตาม มีข้อเสนอในสมัยใหม่ ว่า การรับแนวคิดอินเดียดังกล่าวนั้น มีความสมบูรณ์น้อยกว่าที่ที่เซเดส์เคยเชื่อ ด้วยยังมีการปฏิบัติที่หลงเหลืออยู่มากมายในอินเดี.

ใหม่!!: ปารีสและยอร์ช เซเดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัสเซอร์ อาราฟัต

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ปารีสและยัสเซอร์ อาราฟัต · ดูเพิ่มเติม »

ยาโกบ ยอร์ดานส์

กบ ยอร์ดานส์ (Jacob Jordaens; 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1593 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 1678) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรกแบบเฟลมิช คริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์ คริสต์ศาสนา ภาพเหมือน และการออกแบบพรมทอแขวนผนัง ยาโกบ ยอร์ดานส์, เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และอันโตนี ฟัน ไดก์ เป็นจิตรกรสามคนที่นำความมีหน้ามีตามาสู่ตระกูลการเขียนภาพแบบแอนต์เวิร์ป (Antwerp school) ยอร์ดานส์เป็นจิตรกรในหมู่น้อยที่มิได้เดินทางไปต่างประเทศเพื่อศึกษาการเขียนภาพแบบอิตาลี และความก้าวหน้าทางอาชีพของยอร์ดานส์ก็มิได้มีอยู่ความสนใจในราชสำนักหรือความก้าวหน้าในราชสำนักd'Hulst, pp.

ใหม่!!: ปารีสและยาโกบ ยอร์ดานส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล)

ทธการที่ซานโรมาโน (Battaglia di San Romano) เป็นจิตรกรรมสีฝุ่นบนไม้สามภาพที่เขียนโดยปาโอโล อุชเชลโล จิตรกรสมัยเรอแนซ็องส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในลอนดอน, หอศิลป์อุฟฟีซีในฟลอเรนซ์ และพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในปารีส ปาโอโล อุชเชลโลเขียนภาพ "ยุทธการที่ซานโรมาโน" ในปี ค.ศ. 1432 เป็นภาพที่บรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุทธการที่ซานโรมาโน ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ปารีส (ค.ศ. 1814)

ทธการที่ปารีส (Bataille de Paris) สู้รบเมื่อวันที่ 30 – 31 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและยุทธการที่ปารีส (ค.ศ. 1814) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ไซ่ง่อน (พ.ศ. 2498)

ทธการไซ่ง่อนเป็นการรบนานหนึ่งเดือนระหว่างกองทัพแห่งชาติเวียดนาม (VNA) ของรัฐเวียดนาม (ซึ่งต่อมากลายเป็นกองทัพสาธารณรัฐเวียดนาม ของสาธารณรัฐเวียดนาม) กับกองกำลังส่วนตัวขององค์กรอาชญากรรมบิ่ญเซวียน ในตอนนั้น องค์กรบิ่ญเซวียนได้รับโองการอนุญาตจากจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนามให้มีอำนาจควบคุมตำรวจทั้งประเทศ และนายกรัฐมนตรีโง ดิ่ญ เสี่ยม ยื่นคำขาดให้พวกเขายอมมาอยู่ใต้อำนาจรัฐ การสู้รบกันเริ่มขึ้นในวันที่ 27 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและยุทธการที่ไซ่ง่อน (พ.ศ. 2498) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการเดือดเชือดนาซี

ทธการเดือดเชือดนาซี (Inglourious Basterds) เป็นภาพยนตร์สงคราม กำกับและเขียนบทโดยเควนติน แทแรนติโน นำแสดงโดยแบรด พิตต์และคริสตอฟ วอลซ์ ออกฉายในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 21 สิงหาคม 2009 ชื่อเรื่องดัดแปลงจากชื่อภาษาอังกฤษ The Inglorious Bastards ของภาพยนตร์สงครามปี 1978 Quel maledetto treno blindato โดยผู้กำกับชาวอิตาลี เอนโซ จี. คาสเตลลารี เนื้อหาหลักๆจะเกี่ยวกับการเข่นฆ่าชาวยิวของพวกนาซีที่นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ชาวยิวแค้นใจจึงรวมกลุ่มกันเพื่อกำจัดพวกนาซี โดยภาพยนตร์เรื่องนี้สมมติเหตุการณ์และตัวละครขึ้นมาใหม่ แต่ก็มีตัวละครที่มีอยู่จริงด้วย เช่น ฮิตเลอร์, เกิบเบลส์ เป็นต้น ภาพยนตร์จะแบ่งเหตุการณ์ออกเป็น 3กลุ่มใหญ่ๆคือ กลุ่มนาซี กลุ่มแก๊งโคตรแสบ และฝ่ายโชแชนนา ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จทั้งในเรื่องรายได้และคำวิจารณ์ โดยทำรายได้จากการฉายทั่วโลกไปถึง 320ล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 8สาขาด้วยกันรวมถึงสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมด้วย และได้รับรางวัลมา 1สาขาคือ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมซึ่งมอบให้แก่คริสตอฟ วอลซ์ ในภาพยนตร์เรื่องนี้ เอนโซ จี.

ใหม่!!: ปารีสและยุทธการเดือดเชือดนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก

ูฟ่ายูโรปาลีก (UEFA Europa League) หรือชื่อเดิม ยูฟ่าคัพ (UEFA Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรปหรือยูฟ.

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่ายูโรปาลีก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ

ูฟ่า คัพ วินเนอร์ส คัพ (UEFA Cup Winners’ Cup, ชื่อเดิม ยูโรเปี้ยน คัพ วินเนอร์ส คัพ) เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลสโมสรของยุโรป โดยการนำเอาทีมที่เป็นแชมป์ฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ของฟุตบอลลีกยุโรปในปีนั้นๆ มาทำการแข่งขันกัน จัดการแข่งขันโดยยูฟ่า เริ่มจัดการแข่งขันตั้งแต่ฤดูกาล 1960-61 จนกระทั่งถึงฤดูกาล 1998-99 การแข่งขันถ้วยดังกล่าวก็ได้ถูกล้มเลิกไป เพื่อหลีกทางให้กับการจัดการแข่งขัน แชมเปี้ยนส์ ลีก โดยที่ผู้ชนะเลิศในฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ก็จะได้สิทธิในการเข้าร่วมแข่งขันในถ้วยยูโรป้า ลีกแทน คัพ วินเนอร์สคัพ ได้รับการพิจารณาให้เป็นการแข่งขันของสโมสรยุโรปอันดับที่สองรองจาก ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก หรือยูโรเปี้ยน คัพ แต่มีความสำคัญมากกว่ายูโรป้า ลีก แม้ผู้บรรยายกีฬาหลายคนมักจะระบุว่า การได้แชมป์รายการนี้มีระดับความง่ายที่สุดใน 3 ถ้วยก็ตาม.

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าซูเปอร์คัพ

ูฟ่า ซูเปอร์ คัพ (UEFA Super Cup, ชื่อเดิม ยูโรเปียนซูเปอร์คัพ) เป็นเกมการแข่งขันฟุตบอลสโมสรของทวีปยุโรป ในเดือนสิงหาคม ก่อนหน้าที่ฟุตบอลสโมสรยุโรปฤดูกาลใหม่จะเริ่มต้นขึ้น โดยจะเป็นการแข่งขันกันระหว่างทีมแชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก หรือยูโรเปียนคัพเดิม กับทีมแชมป์ยูฟ่ายูโรปาลีก หรือยูฟ่าคัพเดิม (เมื่อก่อนจะเป็นทีมแชมป์ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ แต่เมื่อถ้วยยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ ถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 1999 จึงให้สิทธิ์นี้แก่ทีมแชมป์ยูฟ่ายูโรปาลีกแทน) ในฤดูกาลก่อนหน้านั้น ซึ่งทีมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของรายการนี้คือ เอซี มิลาน ในเซเรีย อา อิตาลี และบาร์เซโลน่า ในลาลีกา สเปน ที่ได้แชมป์ไป 5 สมั.

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าซูเปอร์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (UEFA Champions League; ชื่อเดิม: ยูโรเปียนคัพ; European Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างสโมสรต่าง ๆ ภายในทวีปยุโรป ซึ่งจัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1955 ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันเมื่อปี ค.ศ. 1992 โดยทีมที่ได้อับดับที่ 1-3 ในแต่ละลีกจะได้ไปแข่งโดยอัตโนมัติ ส่วนที่ 4 จะได้ไปเพลย์ออฟรอบสุดท้ายทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานของแต่ละลีกเช่นกันจากการจัดอันดับคะแนนลีกของยูฟ่า ลักษณะของการแข่งขันรายการนี้จะเป็นการนำทีมที่มีคะแนนสะสมมากที่สุดของแต่ละลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปยุโรปมาแข่งขันกัน โดยพิจารณาออกมาเป็นโควตาของแต่ละลีก พรีเมียร์ลีกของอังกฤษ, ลาลีกาของสเปน และบุนเดสลีกาของเยอรมนีมีโควตาสี่ทีม ส่วนเซเรียอาของอิตาลีมีโควตาสามทีมเป็นต้น ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุดคือ เรอัลมาดริด (สเปน, 12 ครั้ง) อันดับสองคือ เอซีมิลาน (อิตาลี, 7 ครั้ง) อันดับสามคือ บาเยิร์นมิวนิก (เยอรมัน, 5 ครั้ง) โดยสโมสรที่ชนะเลิศ 3 สมัยติดต่อกันหรือชนะเลิศครบ 5 สมัย จะได้รับถ้วยรางวัลไปเป็นกรรมสิทธิ์ของสโมสร เช่นเดียวกับถ้วยรางวัลอื่น ๆ ของยูฟ่า โดยที่เรอัลมาดริดได้ไปเมื่อ ค.ศ. 1958, อายักซ์ (ค.ศ. 1973), บาเยิร์นมิวนิก (ค.ศ. 1976), เอซีมิลาน (ค.ศ. 1994) และลิเวอร์พูล (ค.ศ. 2005) บาเซโลน่า (ค.ศ. 2015) ปัจจุบันในฤดูกาล 2016-17 สโมสรที่ชนะเลิศคือ เรอัลมาดริด และเป็นแชมป์สมัยที่สิบสองในรายการนี้ โดยเอาชนะยูเวนตุสไป 4-1 ในช่วง 90 นาที ในนัดชิงชนะเลิศ 2017.

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 เริ่มแข่งขันในวันที่ 12 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013–14 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013–14 เริ่มแข่งขันในวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2013–14 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15 เริ่มแข่งขันในวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2014–15 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 เริ่มแข่งขันในวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 เริ่มแข่งขันในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 เริ่มต้นการแข่งขันในวันที่ 13 กันยายน และจะสิ้นสุดในวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 เริ่มแข่งขันในวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 เริ่มต้นการแข่งขันในวันที่ 12 กันยายน และจะสิ้นสุดในวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 เริ่มแข่งขันในวันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูรี จีร์คอฟ

ูรี วาเลนตีนอวิช จีร์คอฟ (Ю́рий Валенти́нович Жирко́в; เกิด 20 สิงหาคม ค.ศ. 1983) เป็นนักฟุตบอลชาวรัสเซีย ปัจจุบันสังกัดสโมสรฟุตบอลเซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กและทีมชาติรัสเซีย โดยสามารถเล่นได้ทั้งตำแหน่งกองหลังและปีกฝั่งซ้าย จีร์คอฟเริ่มต้นอาชีพนักฟุตบอลกับสปาร์ตัคตัมบอฟ ก่อนที่จะย้ายไปเล่นในลีกสูงสุดให้กับซีเอสเคเอ มอสโกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและยูรี จีร์คอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยูล บรีนเนอร์

ูล บอริสโซวิช บรีนเนอร์ (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1911 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1985) นักแสดงละครบรอดเวย์และภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดชาวรัสเซีย ที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา เป็นที่จดจำจากบทบาทการแสดงเป็นคิงมงกุฏ ในละครบรอดเวย์ และภาพยนตร์ ของริชาร์ด ร็อดเจอร์ส และออสการ์ แฮมเมอร์สไตน์ที่ 2 เรื่อง เดอะคิงแอนด์ไอ บทฟาโรห์รามเสสที่สอง ในภาพยนตร์ บัญญัติสิบประการ และบทคาวบอย ในภาพยนตร์ เจ็ดสิงห์แดนเสือ ยูล บรีนเนอร์ เกิดที่วลาดิวอสต็อก รัสเซีย มีชื่อจริงว่า Yuliy Borisovich Brynner (รัสเซีย: Юлий Бори́сович Бри́ннер) บิดาเป็นชาวสวิส มารดาเป็นชาวรัสเซีย หลังจากบิดามารดาแยกทางกัน ยูลและน้องสาวอยู่กับมารดา และย้ายไปอยู่ที่เมืองฮาร์บิน ประเทศจีน และย้ายไปอยู่ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและยูล บรีนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูลิสซีส

ูลิสซีส (Ulysses) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยเจมส์ จอยซ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกเป็นตอนๆ ในนิตยสารอเมริกัน “The Little Review” ตั้งแต่เดืยนมีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและยูลิสซีส · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรสตาร์

รถไฟยูโรสตาร์ในสถานีวอเทอร์ลู ยูโรสตาร์ (Eurostar) เป็นรถไฟความเร็วสูงที่ให้บริการในยุโรปตะวันตก เชื่อมต่อระหว่างลอนดอนและเคนต์ ในสหราชอาณาจักร กับปารีสและลีลในฝรั่งเศส และบรัสเซลส์ในเบลเยียม นอกจากนั้นยังให้บริการจากลอนดอนไปยังดิสนีย์แลนด์รีสอร์ตในปารีส และอีกหลายจุดหมายปลายทางตามแต่ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว โดยวิ่งผ่านอุโมงค์รถไฟลอดใต้พื้นทะเลช่องแคบอังกฤษ และฝรั่งเศส รถไฟยูโรสตาร์เป็นขบวนรถไฟจำนวน 18 โบกี้ วิ่งด้วยความเร็วสูงสุด 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (186 ไมล์ต่อชั่วโมง) สร้างโดยบริษัทอัลสธอม ประเทศฝรั่งเศส โดยใช้เทคโนโลยีของรถไฟเตเฌเว (TGV) ในการพัฒนา ให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและยูโรสตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูไนเต็ดบัดดีแบส์

One-World Buddy Bear ยูไนเต็ดบัดดีแบส์ (United Buddy Bears) Buddy Bears ในเบอร์ลิน: Buddy Bears ออกสู่สายตาชาวโลกเมื่อปี 2001 ผู้ริเริ่มคือเอวาและเคลาส์ เฮอร์ลิทซ์ ได้รับแรงบันดาลใจจากแนวความคิดในการแสดงศิลปะบนถนนของเมืองใหญ่ ๆ และจึงตัดสินใจเริ่มต้นโครงการศิลปะที่ไม่เหมือนใครในท้องถนนของกรุงเบอร์ลิน เมื่อนึกถึงประติมากรรมที่เหมาะสมมากที่สุดสำหรับเมืองหลวงของเยอรมนี พวกเขาเลือกหมีได้โดยง่าย หมีเป็นสัตว์นำสารที่รู้จักกันมากที่สุดในเบอร์ลิน และได้รับคัดเลือกให้เสนอสารเพื่อชนะใจชาวเบอร์ลิน รวมทั้งแขกที่มาเยี่ยมเยือนด้วย ในบริบทนี้ จึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับเอวาและเคลาส์ เฮอร์ลิทซ์ที่ต้องแสดงรูปหมีที่บ่งบอกถึงความอบอุ่นและความสุข มิได้ใช้เวลานานนักในการคิดตั้งชื่อให้กับเจ้าหมี คือ บั๊ดดี้ แบร์ (Buddy Bear) โรมัน สโตรบ์ล เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ออกแบบหมีตัวตรง และด้วยประติมากรรมชิ้นนี้ ดาวดวงใหม่ของกรุงเบอร์ลินก็เกิดขึ้น ในฤดูใบไม้ผลิปี 2001 ได้มีการสร้างสรรค์เหล่าหมีกว่า 150 ตัวในอิริยาบถการออกแบบที่หลากหลาย นับจากเดือนมิถุนายน 2001 เรื่อยมา ได้มีการนำเสนอในหลากหลายสถานที่ของกรุงเบอร์ลินด้วย ประติมากรรมของเหล่าหมีนี้ได้รับการตอบรับอย่างดียิ่ง ไม่ว่าจะที่จุดใดของเมืองก็มีให้ชมอยู่ทุกแห่ง ดึงดูดความสนใจจากผู้หลงใหลอย่างมากมาย จากนั้นไม่นาน โครงการนี้ได้รับการพัฒนาเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับหมีอย่างกว้างขวางและเด่นชัด ความสำเร็จของ Buddy Bears นำสู่การขยายการนำเสนออย่างเป็นทางการในถนนสายต่าง ๆ ของกรุงเบอร์ลินจนถึงสิ้นปี 2002.

ใหม่!!: ปารีสและยูไนเต็ดบัดดีแบส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยีราฟโซฟี

็กทารกขณะกำลังเล่นกับยีราฟโซฟี ยีราฟโซฟี (Sophie the Giraffe) เป็นของเล่นยางกัด สำหรับเด็กทารกที่มีการงอกของฟันเพื่อบริหารการฝึกเคี้ยว โดยเป็นในรูปแบบหุ่นยีราฟยางพาราสูง 6 นิ้ว.

ใหม่!!: ปารีสและยีราฟโซฟี · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: ปารีสและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รหัสลับดาวินชี

รหัสลับดาวินชี (The Da Vinci Code) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ-สืบสวนของแดน บราวน์ วางจำหน่ายเมื่อ พ.ศ. 2546 ปัจจุบันมีฉบับแปล 44 ภาษา และมียอดขายทั่วโลกรวมกันมากกว่า 80 ล้านเล่ม (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) รหัสลับดาวินชีเป็นผลงานลำดับที่สองในชุดที่มีโรเบิร์ต แลงดอน เป็นตัวเอก สำหรับหนังสือฉบับภาษาไทยนั้น จัดพิมพ์โดยแพรวสำนักพิมพ์ แปลโดยอรดี สุวรรณโกมล เนื้อเรื่องของรหัสลับดาวินชีเกี่ยวกับทฤษฎีสมคบคิดของคริสตจักร ในการปกปิดประวัติที่แท้จริงของพระเยซู รวมไปถึงปริศนาของจอกศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทของมารีย์ชาวมักดาลา ในประวัติศาสตร์ของศาสนาคริสต์ การนำเสนอประเด็นเหล่านี้ในนิยายทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมากถึงความเหมาะสม และความถูกต้องของข้อมูล โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์และนิกายโอปุสเดอี นิยายเรื่องนี้ได้มีการอ้างถึงงานศิลปะและวรรณกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี ศิลปินชาวอิตาลีตามชื่อเรื่อง ผลงานของดาวินชีที่นำมาอ้างถึงได้แก่ โมนาลิซา และภาพเขียน อาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper) เป็นต้น บริษัทโคลัมเบียพิคเจอร์สได้สร้างภาพยนตร์ดัดแปลงจากนวนิยายเรื่องนี้ ออกฉายเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 โดยทอม แฮงส์ นักแสดงเจ้าของรางวัลออสการ์ รับบทเป็นโรเบิร์ต แลงดอน ชื่อที่ใช้ฉายในประเทศไทยคือ รหัสลับระทึกโลก.

ใหม่!!: ปารีสและรหัสลับดาวินชี · ดูเพิ่มเติม »

รอเฌ วาดีม

รอเฌ วาดีม (Roger Vadim) เป็นผู้กำกับ ผู้อำนวยการสร้าง นักเขียนบทภาพยนตร์ และนักแสดงชาวฝรั่งเศส เชื้อสายเบลารุส เป็นผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง Et Dieu… créa la femme (And God Created Woman) ภาพยนตร์ที่สร้างชื่อให้กับบรีฌิต บาร์โด ในปี 1956 Le vice et la vertu (Vice and Virtue) ภาพยนตร์เรื่องแรกของกาทรีน เดอเนิฟว์ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและรอเฌ วาดีม · ดูเพิ่มเติม »

ระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลก

ระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลก เป็นชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง Ratatouille ผลิตโดย พิกซาร์ และจัดจำหน่ายโดย วอล์ท ดิสนีย์ แอนิเมชัน กำกับภาพยนตร์โดย แบรด เบิร์ด (Brad Bird) ออกฉายในประเทศไทยในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 และออกฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ถือเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันลำดับที่ 8 ของพิกซาร์ โดยตั้งชื่อตามอาหารของฝรั่งเศส ราทาทุย (ออกเสียง แรททาทูอี ในภาษาอังกฤษ) ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์, รางวัลลูกโลกทองคำ, รางวัลบาฟต้า, และรางวัลแกรมมี.

ใหม่!!: ปารีสและระ-ทะ-ทู-อี่ พ่อครัวตัวจี๊ด หัวใจคับโลก · ดูเพิ่มเติม »

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ

ลบีเรีย, พม่า และ สหรัฐอเมริกา ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ หรือ ระบบเอสไอ (International System of Units; Système international d'unités: SI.) เป็นระบบการวัดที่ปรับปรุงมาจากระบบเมตริก โดยเน้นการสร้างมาจากหน่วยฐานทั้งเจ็ดหน่วยและใช้ระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือว่าเป็นระบบการวัดที่ใช้แพร่หลายที่สุดในโลกทั้งในชีวิตประจำวันและทางวิทยาศาสตร์ ระบบเมตริกแต่เดิมนั้นแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม โดยระบบเอสไอได้รับการพัฒนามาจากระบบหน่วยเมตร-กิโลกรัม-วินาที (meter-kilogram-second: MKS) ในปี 1960 และได้ปรับเปลี่ยนนิยามรวมถึงเพิ่มลดหน่วยฐานเอสไอมาตลอดตามการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการวัด เพื่อเพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดมากขึ้น ระบบเอสไอเป็นระบบที่ใช้กันเกือบทั้งโลก มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ ไลบีเรีย พม่า และ สหรัฐอเมริกา แม้ในอังกฤษเองได้ยอมรับให้ใช้ระบบเอสไออย่างเป็นทางการ แม้ว่าจะไม่สามารถทดแทนระบบดั้งเดิมได้ทั้งหม.

ใหม่!!: ปารีสและระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ระบำซาลองโก

“ระบำซาลองโก” โดยอรี เชฟ์แฟร์ ระบำซาลองโก (Χορός του Ζαλόγγου Horós tou Zalóngou, Dance of Zalongo) หมายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์กรีก และ ของระบำเพื่อการฉลองโอกาสดังกล่าว ระหว่างสงครามระหว่างซูลีโอทีสและอาลี ปาชา หมู่บ้านซูลีที่พ่ายแพ้ก็ถูกกวาดต้อนผู้คนออกจากเมือง ในบรรดากลุ่มผู้ที่ถูกไล่ต้อนก็มีสตรีชาวซูลียี่สิบสองคนและลูกที่ตกอยู่ในวงล้อมของทหารออตโตมันในบริเวณเทือกเขาซาลองโกในภูมิภาพเอพิรัสเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและระบำซาลองโก · ดูเพิ่มเติม »

ระฆังสันติภาพญี่ปุ่น

ระฆังสันติภาพสากลที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติในนครนิวยอร์ก ระฆังสันติภาพญี่ปุ่น เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพของสหประชาชาติ หล่อขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและระฆังสันติภาพญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส

รัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (Gouvernement provisoire de la République française) เป็นรัฐบาลชั่วคราวที่บริหารประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ. 1944 ถึง ค.ศ. 1946 หมวดหมู่:การเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:รัฐบาลเฉพาะกาล.

ใหม่!!: ปารีสและรัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์

รัฐบาลพลัดถิ่นแห่งสาธารณรัฐโปแลนด์ (Rząd Rzeczypospolitej Polskiej na uchodźstwie) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นหลังการบุกครองโปแลนด์ของนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย

รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย, หรือมีชื่ออย่างเป็นการการคือ รัฐบาลชั่วคราวแห่งเชโกสโลวาเกีย (Prozatímní státní zřízení československé), เป็นรัฐบาลที่จัตตั้งขึ่นโดย คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเชโกสโลวาเกีย รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกียได้รับการยอมรับครั้งแรกทางการทูตของอังกฤษ ชื่อนี้ถูกนำมาใช้โดยฝ่านสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองในขณะที่พวกเขารู้จักกันในภายหลัง คณะกรรมาธิการก่อตั้งขึ้นโดยอดีตประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย Edvard Beneš ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสในเดือนตุลาคม 1939Crampton, R. J. Eastern Europe in the Twentieth Century — and after.

ใหม่!!: ปารีสและรัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารเดือนพฤษภาคม

การโค่นล้มอำนาจเดือนพฤษภาคม หรือ รัฐประหารเดือนพฤษภาคม (อังกฤษ: May Overthrow; May Coup; เซอร์เบีย: Мајски преврат, Majski prevrat) เป็นเหตุการณ์รัฐประหารในเซอร์เบีย ที่ซึ่งพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 โอเบรโนวิชและสมเด็จพระราชินีดรากาถูกลอบปลงพระชนม์ภายในพระราชวังหลวง กรุงเบลเกรด ในกลางดึกของวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและรัฐประหารเดือนพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหงียน

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ. 1802 เมื่อจักรพรรดิซา ล็อง ทรงปราบดาภิเษกหลังจากปราบปรามกบฏไตเซินแล้ว และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 เมื่อจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยทรงสละราชสมบัติ และมอบอำนาจให้กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในระหว่างรัชกาลของจักรพรรดิซา ล็อง เวียดนามมีชื่อว่า เวียดนาม (越南) อยู่อย่างปัจจุบัน แต่ในรัชสมัยของจักรพรรดิมิญ หมั่ง พระองค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ดั่ยนาม (大南, แปลว่า "ชาติยิ่งใหญ่ทางตอนใต้") การปกครองของราชวงศ์เหงียนถูกจำกัดโดยอิทธิพลที่เพิ่มขึ้นของนักล่าอาณานิคมฝรั่งเศส ประเทศได้ถูกแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ โคชินไชนาเป็นรัฐอาณานิคมโดยตรงขณะที่อันนามและตังเกี๋ยกลายเป็นรัฐอารักขาซึ่งมีอิสระเพียงในนาม.

ใหม่!!: ปารีสและราชวงศ์เหงียน · ดูเพิ่มเติม »

ราชสถาบันจิตรกรรมและประติมากรรม

ราชสถาบันจิตรกรรมและประติมากรรม (Académie de peinture et de sculpture) เป็นสถาบันการศึกษาที่ตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปารีสและราชสถาบันจิตรกรรมและประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ใหม่!!: ปารีสและราชอาณาจักรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (1791–1792)

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Kingdom of France, Royaume de France) ราชอาณาจักรภายใต้รัฐธรรมนูญปกครองฝรั่งเศสจาก 3 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและราชอาณาจักรฝรั่งเศส (1791–1792) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแฟรงก์

ราชอาณาจักรแฟรงก์ (Frankish Kingdom) หรือ ฟรังเกีย (Francia) เป็นดินแดนที่ตั้งถิ่นฐานและปกครองโดยชาวแฟรงก์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 อาณาบริเวณเกิดจากการรณรงค์ที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่ชาร์ล มาร์แตล (Charles Martel) พระเจ้าเปแป็งพระวรกายเตี้ย และชาร์เลอมาญ-- พ่อ, ลูก, และหลาน--มามั่นคงเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ธรรมเนียมของการแบ่งดินแดนของพ่อระหว่างลูกชายหมายความว่าดินแดนแฟรงก์ปกครองเป็นอย่างหลวม ๆ เป็นจักรวรรดิที่แบ่งย่อยเป็นส่วนย่อย ๆ (ราชอาณาจักร หรือ อนุราชอาณาจักร) ที่ตั้งและจำนวนอนุราชอาณาจักรก็ต่างกันไปตามเวลา แต่ฟรังเกียโดยทั่วไปมาหมายถึงบริเวณหนึ่งที่เรียกว่าออสเตรเชีย ที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณแม่น้ำไรน์ และแม่น้ำเมิซ (Meuse) ทางตอนเหนือของยุโรป แต่กระนั้นบางครั้งก็จะครอบคลุมไปถึงนิวสเตรีย (Neustria) ทางเหนือของแม่น้ำลัวร์ และทางตะวันตกของแม่น้ำแซนในที่สุดบริเวณนี้ก็เคลื่อนมาทางปารีส และมาสิ้นสุดลงในบริเวณลุ่มแม่น้ำแซนรอบ ๆ ปารีส ที่ยังใช้ชื่ออีล-เดอ-ฟร็องส์ และเป็นชื่อในที่สุดก็กลายเป็นชื่อของราชอาณาจักรฝรั่งเศสทั้งราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ปารีสและราชอาณาจักรแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล นาดัล

ราฟาเอล นาดัล ปาเรรา (Rafael Nadal Parera) เกิดวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1986 เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสเปน เขาเกิดที่เมืองมายอร์กา ประเทศสเปน และเริ่มเล่นเทนนิสเมื่ออายุได้ 4 ปี โตนิ นาดัล ลุงของเขา ได้ทำหน้าที่เป็นโค้ชและดูแลเขามาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน เขาเริ่มการแข่งขันเทนนิสอาชีพในปี..

ใหม่!!: ปารีสและราฟาเอล นาดัล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด

"โมนาลิซา"ราคาประเมิน 22,337,782,886 บาท ใน ค.ศ. 2006 รายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด เป็นรายชื่อของภาพเขียนที่ทราบกันว่ามีการซื้อขายจิตรกรรมกันในราคาที่สูงที่สุดตามที่บันทึกเป็นหลักฐาน การขายครั้งแรกในรายการเป็นการขายภาพ "ทานตะวันสิบห้าดอกในแจกัน" โดยฟินเซนต์ ฟัน โคค ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ

รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยการาวัจโจ ผู้เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญของประเทศอิตาลีในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอล

ูบทความหลักที่ ราฟาเอล พระเยซูคืนชีพ” ภาพเหมือนของสันตะปาปาจูเลียสที่ 2” “สปาสซิโม” ภาพเหมือนของบัลทาซาร์ คาสติกลิโอเน” “ภาพเหมือนของฟรานเชสโค มาเรียที่ 1 เดลลา โรเวเร” ภาพเหมือนชายหนุ่ม, 1514, โปแลนด์, หายระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นักบุญจอร์จ” นักบุญจอร์จและมังกร” รายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: List of works by Raphael เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันและจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอล ซานซิโอ ที่รู้จักกันสั้นๆ ว่า “ราฟาเอล” ผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลี ราฟาเอลมีงานเขียนมากมายแม้ว่าจะเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 37 ปีและงานเกือบทั้งหมดก็ยังคงมีอยู่โดยเฉพาะงานที่ทำในวังวาติกันที่ราฟาเอลและผู้ช่วยตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่มารู้จักกันว่า “ห้องราฟาเอล” งานเขียนของราฟาเอลมิใช่เป็นงานที่มีฝีมือเป็นเอกแต่ยังเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อนักเขียนมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ19.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อภาพเขียนโดยราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน

ูบทความหลักที่ ทิเชียน รายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน เป็นรายการภาพเขียนที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์อิตาลีแบบเวนิส รายการข้างล่างนี้เป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ (และอาจจะรวมทั้งงานเขียนที่ไม่ได้ระบุเป็นการแน่นอนว่าเป็นของทิเชียน).

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อภาพเขียนโดยทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์

รายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ เป็นรายชื่อจิตรกรรมที่เขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ จิตรกรคนสำคัญของเนเธอร์แลนด์ในสมัยบาโรก คริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อภาพเขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี

ูบทความหลักที่ เลโอนาร์โด ดา วินชี รายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี เป็นรายการภาพเขียนสีน้ำมันและจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี มีภาพเขียนทั้งหมดด้วยกันสิบห้าชิ้นที่ระบุว่าเป็นงานเขียนของเลโอนาร์โด ดา วินชีซึ่งรวมทั้ง จิตรกรรมแผง, จิตรกรรมฝาผนัง, ภาพร่าง, และงานที่ยังอยู่ในระหว่างการตระเตรียม ภาพเขียนหกภาพยังไม่เป็นที่ตกลงกันแน่นอนว่าเขียนโดยเลโอนาร์โดหรือไม่ สี่ภาพเพิ่งได้รับการยืนยันว่าเลโอนาร์โดเป็นผู้เขียนและอีกสองภาพหายไป ในบรรดาภาพเขียนทั้งหมดไม่มีภาพใดที่เลโอนาร์โด ดา วินชีลงชื่อ ฉะนั้นการที่จะบ่งว่าเป็นงานเขียนของเลโอนาร์โดหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับการศึกษาและการวิจัยของผู้เชี่ยวชาญ การที่เลโอนาร์โด มีผลงานเพียงไม่กี่ชิ้นก็อาจจะเป็นเพราะเป็นผู้มีความสนใจในสิ่งรอบตัวต่าง ๆ และความชอบทดสอบสิ่งใหม่ ๆ นอกจากนั้นยังชอบผัดวันประกันพรุ่ง แต่กระนั้นงานของเลโอนาร์โดก็เป็นงานที่มีความสำคัญเป็นอันมากในทางศิลปะและมีอิทธิพลต่อจิตรกรอื่น.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อภาพเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟในเมือง

ประเทศที่มีระบบรถไฟในเมือง นครและเมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง รายชื่อระบบรถไฟในเมือง (Metro) ของประเทศต่าง ๆ มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก โดยที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อระบบรถไฟในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อลักษณนามในภาษาจีน

ตารางต่อไปนี้เป็นรายชื่อลักษณนามในภาษาจีน ซึ่งเป็นลักษณนาม (อังกฤษ: classifiers; จีนตัวย่อ: 量词; พินอิน: liàngcí) และหน่วยวัด (measure words) ที่มักพบบ่อย สามารถศึกษาคำอธิบายอย่างละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความ "ลักษณนามในภาษาจีน" ในตาราง สองช่องแรกแสดงลักษณะนามเป็นอักษรจีน ในกรณีที่การเขียนแตกต่างกันจะแสดงทั้งอักษรจีนตัวเต็ม (traditional) และอักษรจีนตัวย่อ (simplified) ช่องที่สามแสดงการออกเสียงในระบบมาตรฐานภาษาจีนกลาง (Standard (Mandarin) Chinese) โดยใช้พินอิน (pinyin) และช่องที่สี่แสดงการออกเสียงในภาษาจีนกวางตุ้ง (Cantonese) โดยใช้ระบบการถอดเสียงเป็นภาษาโรมันแบบเยล (Yale romanization) สำหรับช่องสุดท้ายเป็นคำอธิบายความหมายและหลักการใช้ของลักษณะนามและหน่วยวัดนั้น รวมถึงการให้ตัวอย่างคำนามที่ใช้กับลักษณะนามนั้นด้วย โดยคำที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูดคือความหมายตามตัวอักษร (literal meaning) ของลักษณะนามและหน่วยวัดนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อลักษณนามในภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสัตว์

;.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อสวนสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายทางการให้บริการของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อจุดหมายปลายทางของสายการบินเอเชียนาแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศฝรั่งเศส

รายการต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับธงต่างๆที่มีการใช้หรือเคยใช้โดยประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อธงในประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ

นแสดงพันธุ์สัตว์น้ำรัฐจอร์เจีย. วาฬเบลูก้า จัดแสดงใน สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำแวนคูเวอร์.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อของสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก

รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ เป็นรายชื่อของตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก โดยตลาดหลักทรัพย์เป็นสถานที่ที่มีการซื้อขายหุ้น นอกจากนี้ยังมีตลาดอนุพันธ์และตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง

รายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง เรียงตามลำดับตอน.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตึกที่สูงที่สุดในโลก

รายชื่อนี้แสดงเฉพาะอันดับตึกระฟ้าที่สูงที่สุดบนโลกในปัจจุบัน (มิถุนายน พ.ศ. 2557) ข้อมูลโดย "สภาตึกสูงและที่อยู่อาศัยในเมือง” (CTBUH) บูร์จคาลิฟาเป็นตึกที่สูงที่สุดในโลกและได้รับการจัดกลุ่มในฐานะ Megatallhttp://www.ctbuh.org/TallBuildings/HeightStatistics/BuildingsinNumbers/TheTallest20in2020/tabid/2926/language/en-US/Default.aspx The Tallest 20 in 2020: Entering the Era of the Megatall ctbuh.org ภาพสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก ภาพตึกที่สูงที่สุดบนโลก.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อตึกที่สูงที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครที่ใหญ่ที่สุดในโลก

รายชื่อของเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกเรียงตามประชากร ความหนาแน่น การจำกัดความของคำว่า"เมือง".

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อนครที่ใหญ่ที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครแบ่งตามประเทศ

รายชื่อนคร เมือง หมู่บ้านในประเทศต่าง ๆ (คลิกที่บทความเพื่อดูรายชื่อ).

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อนครแบ่งตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตก

รป.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฝรั่งเศส

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฝรั่งเศสทั้งสิ้น 43 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 39 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 3 แห่ง และมรดกโลกชนิดผสมอีก 1 แห่ง.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลก

นี่คือรายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร

รายชื่อของเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป จัดอันดับจากจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้น ๆ นับจากเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 3 แสนคนขึ้นไป ในรายชื่อนี้เมืองบางเมืองอาจจะแคบมาก บางเมืองอาจจะใหญ่มาก รายชื่อที่จัดอันดับมานี้อาจจะมีข้อถกเถียง เช่น เขตมหานครลอนดอนและเขตมหานครปารีส (รวมปริมณฑล) เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป แต่ขอบเขตของเมืองปารีสที่แท้จริงมีขนาดเล็กกว่าลอนดอน ดังนั้นจึงมีอันดับน้อยกว่าในตารางด้านล่าง.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรปเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: ปารีสและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีประมุขมาแล้ว 12 พระองค์ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ใหม่!!: ปารีสและรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: ปารีสและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็ยพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936 และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุกๆครั้ง โอลิมปิกครั้งก่อนๆได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ใหม่!!: ปารีสและรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราตรีประดับดาว

ร่างด้วยปากกาหลังจากที่เขียนภาพนี้ ราตรีประดับดาว (De sterrennacht; The Starry Night) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของลัทธิประทับใจยุคหลัง ปัจจุบันภาพเขียนชิ้นนี้จัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ (Museum of Modern Art) ในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกามาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและราตรีประดับดาว · ดูเพิ่มเติม »

ราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรน

ูมิทัศน์ที่คล้ายคลึงกันในปี ค.ศ. 2008 ราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรน (Sterrennacht boven de Rhône; Starry Night Over the Rhone) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญในลัทธิประทับใจยุคหลัง ปัจจุบันภาพเขียนชิ้นนี้จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์แซ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ภาพ "ราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรน" ที่เขียนในปี ค.ศ. 1888 เป็นภาพเขียนยามกลางคืนในเมืองอาร์ล ฟัน โคคเขียนภาพนี้ตรงจุดที่ห่างเพียงไม่กี่นาทีจาก "บ้านเหลือง" ที่จัตุรัสลามาร์ตีนที่ฟัน โคคเช่าอยู่ขณะนั้น ท้องฟ้ายามค่ำและและผลของการสะท้อนของแสงเป็นหัวข้อของภาพที่มีชื่อเสียงมากกว่าภาพนี้ซึ่งได้แก่ "ลานหน้าร้านกาแฟยามค่ำ" ที่เขียนไว้เมื่อ 2-3 เดือนก่อนหน้านั้น และอีกภาพหนึ่งคือ "ราตรีประดับดาว" ที่เขียนที่เมืองแซ็ง-เรมี-เดอ-พรอว็องส์ในเวลาต่อมา ภาพเขียนชิ้นนี้ได้รับการจัดแสดงเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรน · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: ปารีสและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

ริดดิค โบว์

ริดดิค ลามอนท์ โบว์ (Riddick Lamont Bowe) เกิดวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1967 ที่บรุกลิน นครนิวยอร์ก เป็นนักมวยสากลระดับอาชีพชาวอเมริกัน เขาเป็นอดีตแชมป์โลกรุ่นเฮฟวี่เวทสองสมัย โดยชนะรายการสมาคมมวยโลก, สภามวยโลก และสหพันธ์มวยนานาชาติเป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ปารีสและริดดิค โบว์ · ดูเพิ่มเติม »

ริโนะ ซาชิฮาระ

ริโนะ ซาชิฮาระ (เกิด 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535) ชื่อเล่น ซัชชี่ เป็นสมาชิกและผู้จัดการของวงไอดอลญี่ปุ่น HKT48 ทีม H และเป็นอดีตสมาชิกวง AKB48 สังกัดค่ายอเว็กซ์กรุ๊ป ซึ่งก่อตั้งโดย ยะซุชิ อะกิโมะโต.

ใหม่!!: ปารีสและริโนะ ซาชิฮาระ · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ ดีเซล

รูดอล์ฟ ดีเซล เมื่อปี ค.ศ. 1883 รูดอล์ฟ ดีเซล (Rudolf Diesel) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ปี ค.ศ. 1858 ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1913 เป็นชาวเยอรมันคนแรกที่นำเครื่องจักรดีเซลแรงอัดสูงมาใช้ ดีเซลเริ่มพัฒนาเครื่องจักรเป็นชื่อของตนเอง ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและรูดอล์ฟ ดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

รจนา เพชรกัณหา

รจนา เพชรกันหา หรือยุ้ย เป็นนางแบบชาวไทย ที่มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศระหว่างช่วง..

ใหม่!!: ปารีสและรจนา เพชรกัณหา · ดูเพิ่มเติม »

รีเมมเบอร์มี (วิดีโอเกม)

รีเมมเบอร์มี (Remember Me) เป็นวิดีโอเกมแอ็คชันผจญภัยพัฒนาโดย ด็อนต์น็อด เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ แคปคอม ออกจำหน่ายในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและรีเมมเบอร์มี (วิดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

รถบรรทุก

รถบรรทุกในอเมริกาเหนือ รถบรรทุกในปี 1898 รถบรรทุก หมายถึง รถที่ใช้บรรทุกสิ่งของ มีหลายขนาด ซึ่งปรกติมีขนาด กำลัง และสัณฐานมาก โดยเฉพาะบรรดาที่ใช้เพื่อการค้า ทั้งอาจประกอบด้วยอุปกรณ์พิเศษด้วย เช่น รถประจญเพลิง และรถโม่คอนกรีต ปัจจุบัน รถบรรทุกส่วนใหญ่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานแกโซลีนหรือดีเซล.

ใหม่!!: ปารีสและรถบรรทุก · ดูเพิ่มเติม »

รถลาก

รถลาก (Rickshaw) หรือคนไทยในอดีตเรียกว่า รถเจ๊ก เป็นยานพาหนะที่ใช้คนลาก ตัวรถมีลักษณะเป็นเกวียนที่มีสองล้อ รถลากเป็นที่นิยมในเมืองตางๆในเอเชีย อาทิ โยโกฮามา (ญี่ปุ่น),ปักกิ่ง (จีน), เซี่ยงไฮ้ (จีน),ร่างกุ้ง (พม่า) กัลกัตตา มุมไบหรือบอมเบย์ (อินเดีย) และ บางกอก (ไทย).

ใหม่!!: ปารีสและรถลาก · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ในเมืองกูรีตีบา ประเทศบราซิล เป็นระบบแรกที่มีของรถด่วนพิเศษที่มีแห่งแรกในโลก รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ บีอาร์ที เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบหนึ่งที่ใช้รถโดยสาร ให้บริการเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากรถโดยสารประจำทางทั่วไป โดยพัฒนารูปแบบการเดินรถ ตัวรถโดยสาร ตารางการเดินรถ ระบบขนส่งอัจฉริยะ และที่สำคัญคือจะมีช่องทางวิ่งแยกออกมาจากถนนปกติเป็นช่องทางเฉพาะ โดยมีจุดมุ่งหมายให้มีคุณภาพของบริการเทียบเท่ากับระบบขนส่งมวลชนระบบราง ในความเร็วและความจุผู้โดยสารที่เทียบเท่ากับระบบรถไฟฟ้ารางเบา ในขณะที่ต้นทุนการก่อสร้างและการเดินรถโดยสารประจำทางที่ประหยัดกว่า ทั้งยังสามารถจัดเส้นทางการเดินรถได้ยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง Select Bus Service website, NY Metropolitan Transit Authority.

ใหม่!!: ปารีสและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส

รถไฟฟ้าปารีส (Métro de Paris) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ถือเป็นสัญลักษณ์ของเมืองก็ว่าได้ เห็นได้ชัดจากอิทธิพลของนวศิลป์ (Art Nouveau) มีเส้นทางทั้งหมด 16 สาย ส่วนมากมักจะอยู่ใต้ดินและมีความยาวทั้งสิ้น 213 กิโลเมตร (133 ไมล์) และมีสถานี 298 แห่ง รถไฟฟ้าสายแรกเปิดโดยไม่มีพิธีรีตองในปี พ.ศ. 2443 ระหว่างงานนิทรรศการนานาชาติ (Exposition Universelle 1900) หลังจากนั้นระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วจนกระทั่งเสร็จในช่วงปี พ.ศ. 2463 ส่วนการขยายออกไปยังชานเมืองได้บรรลุในช่วง 10 กว่าปีต่อมา ระบบรถไฟฟ้าปารีสได้ถึงจุดอิ่มตัวในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งระบบรถไฟฟ้าก็ได้นำขบวนรถไฟฟ้าใหม่เข้ามาให้บริการเนื่องจากการจราจรอันคับคั่ง ซึ่งการต่อเติมนั้นเป็นไปได้ยากและมีขีดจำกัดจึงได้เกิดรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ขึ้นในปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา กรุงปารีสเป็นเมืองที่มีสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่หนาแน่นที่สุดในโลก ด้วยสถานีกว่า 245 แห่งภายในเนื้อที่กรุงปารีส 41 ตารางกิโลเมตร (16 ตารางไมล์) แต่ละสายจะมีชื่อเป็นหมายเลขตั้งแต่ 1 ถึง 14 และมีสายรองอีกสองสายคือ สาย 3 (2) และสาย 7 (2) สายรองทั้งสองเคยเป็นส่วนหนึ่งของสาย 3 และ 7 แต่แยกตัวออกมาภายหลังในปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2510 ตามลำดับ รถไฟฟ้าปารีสมีสถานีทั้งหมด 298 แห่ง (382 ป้าย) โดยเชื่อมต่อกับสายอื่น 62 ป้าย มีจำนวนผู้โดยสารใช้บริการประมาณ 4.5 ล้านคนต่อวัน (1,409 ล้านคนต่อปี) ถือเป็นลำดับที่ 4 ของโลก ตามหลังมอสโก โตเกียว และเม็กซิโกซิตี และอยู่ในลำดับที่ 7 ของโลกเมื่อเปรียบเทียบระยะทางการเดินรถไฟฟ้า รองจากนิวยอร์ก โซล โตเกียว มอสโก มาดริด (แต่ถ้ารวมกับแอร์เออแอร์แล้วจะอยู่ในอันดับที่ 1) ส่วนจำนวนสถานีนั้นอยู่ที่ลำดับ 3 ของโลก รองลงมาจากนิวยอร์ก (468 สถานี) และโซล ทั้งนี้สถานีชาเตอแล-เลอาลยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย แต่ละสายจะมีเลขและสีในการบ่งบอก ส่วนทิศทางในการเดินทางเห็นได้จากสถานีปลายทางของแต่ล.

ใหม่!!: ปารีสและรถไฟฟ้าปารีส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส สาย 1

รถไฟฟ้าปารีส สาย 1 (ligne 1 du métro de Paris) เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2443 ซึ่งปัจจุบันเชื่อมต่อสถานีลา ดฟ็องส์เข้ากับสถานีชาโตเดอแว็งแซน โดยมีความยาวทั้งสิ้น 16.5 กิโลเมตร สาย 1 เป็นสายที่เชื่อมต่อระหว่างตะวันตกกับตะวันออก โดยตัดผ่านจุดสำคัญของกรุงปารีส ถ้าไม่รวมรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์แล้ว สาย 1 เป็นสายรถไฟฟ้าที่มีผู้ใช้มากที่สุดถึง 165,921,408 คนในปี พ.ศ. 2547 และ 561,000 คนต่อวันโดยเฉลี.

ใหม่!!: ปารีสและรถไฟฟ้าปารีส สาย 1 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส สาย 12

รถไฟฟ้าปารีส สาย 12 (ligne 12 du métro de Paris) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงปารีส มีจำนวนผู้โดยสาร 72 ล้านคนต่อปี ซึ่งเป็นอันดับที่ 12 ในระบบ สถานีที่สำคัญได้แก่ มาดแลน (Madeleine), เขต 6 ของกรุงปารีส, ปอร์ตเดอแวร์ซาย (Porte de Versailles) โดยให้บริการขบวนแรกเวลา 05.30 นาฬิกา และขบวนสุดท้ายเวลา 12.39 นาฬิกา ใช้ล้อขับเคลื่อนเอ็มเอฟ 67 เวลาในการเดินทางตลอดสาย 36 นาที.

ใหม่!!: ปารีสและรถไฟฟ้าปารีส สาย 12 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าปารีส สาย 7 (2)

รถไฟฟ้าปารีส สาย 7 (2) (ligne 7 bis du métro de Paris) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่สั้นที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ในระบบรถไฟฟ้าปารีส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยให้บริการในเขตที่ 19 และ 20 ทางตอนเหนือของกรุง.

ใหม่!!: ปารีสและรถไฟฟ้าปารีส สาย 7 (2) · ดูเพิ่มเติม »

ลอว์แอนด์ออร์เดอร์

ลอว์แอนด์ออร์เดอร์ (Law & Order) เป็นภาพยนตร์ชุดสืบเนื่องทางโทรทัศน์จากผลงานการสร้างสรรค์ของดิก วุล์ฟ ออกอากาศทางช่องเอ็นบีซีของสหรัฐอเมริกา และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากตั้งแต่ฉายครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและลอว์แอนด์ออร์เดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลักอ็องเซียล

ลักอ็องเซียล (L'Arc~en~Ciel) เป็นชื่อของวงดนตรีร็อกที่กำเนิดและโด่งดังมากในประเทศญี่ปุ่น แถบเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้เริ่มเข้าสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกาและยุโรปในปัจจุบัน ชื่อวง "ลักอ็องเซียล" (L'Arc~en~Ciel) เป็นภาษาฝรั่งเศส มีความหมายว่า "รุ้ง" มีประวัติอันยาวนานเริ่มตั้งแต่ก่อตั้งวงในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1991 จนถึงปัจจุบัน มีสมาชิกทั้งหมด 4 คน ได้แก่ tetsu hyde ken และ yukihiro ซึ่งชื่อสมาชิกที่ใช้ในวงจะเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมด;สมาชิกในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและลักอ็องเซียล · ดูเพิ่มเติม »

ลักเม

ปสเตอร์การแสดงรอบปฐมทัศน์ มารี แวน แซนด์ รับบท ลักเม ลักเม (Lakmé) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศสความยาว 3 องก์ โดยลีโอ ดีลิบีส แต่งบทร้องโดย Edmond Gondinet และ Philippe Gille ดัดแปลงจากเรื่อง Rarahu ou Le Mariage de Loti (1880) นวนิยายอัตชีวประวัติของปีแอร์ โลตี (1850 - 1923) เรื่องราวความรักและชู้สาวของนายทหารเรือฝรั่งเศสชื่อ Julien Viaud (เป็นชื่อจริงของผู้เขียน) กับหญิงสาวพื้นเมืองตาฮิติชื่อ ราราฮู ต่อมาผู้เขียนได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็นภาษาพอลินีเซียว่า โลตี ลีโอ ดีลิบีสได้เปลี่ยนชื่อตัวละคร และสถานที่จากในนวนิยาย ตัวพระเอกเป็นนายทหารอังกฤษในบริติชราชของอินเดีย ชื่อ เจอรัลด์ ตัวนางเอกชื่อ ลักเม เป็นลูกสาวของนักบวชพราหมณ์ชื่อ นิลขันธ์ (Nilakantha) ดีลิบีสแต่งอุปรากรเรื่องนี้ในช่วงปี..

ใหม่!!: ปารีสและลักเม · ดูเพิ่มเติม »

ลัมโบร์กีนี กัลลาร์โด

ลัมโบร์กีนี กัลลาร์โด (Lamborghini Gallardo; อ่านว่า "กัลญาร์โด") เป็นรถยนต์นั่งสมรรถนะสูง เครื่องยนตร์กลางลำท้าย ขับเคลื่อนทุกล้อ (M4)/ขับเคลื่อนสองล้อท้าย (RMR) 2 ประตู 2 ที่นั่ง ผลิตโดยบริษัท ลัมโบร์กีนีจากอิตาลี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและลัมโบร์กีนี กัลลาร์โด · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิกัลโบ

ลัทธิกัลโบ (Calvo Doctrine) คือลัทธินโยบายการต่างประเทศที่มองว่าอำนาจตัดสินข้อพิพาทในประเด็นการลงทุนระหว่างประเทศควรขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของประเทศที่ได้ไปลงทุน ดังนั้นลัทธิกัลโบจึงได้เสนอให้ห้ามการปกป้องทางการทูตหรือการแทรกแซง (ด้วยกำลังอาวุธ) ก่อนที่การแก้ไขในระดับท้องถิ่นจะถูกใช้หมดทุกหนทางแล้ว ซึ่งตามแนวทางนี้นักลงทุนจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากใช้ระบบศาลในท้องถิ่นเท่านั้น จึงถือได้ว่าลัทธินี้เป็นการแสดงออกถึงแนวคิดชาตินิยมในทางกฎหมาย ทั้งนี้หลักการของลัทธิกัลโบซึ่งถูกตั้งชื่อตามนักกฎหมายชาวอาร์เจนตินา การ์โลส กัลโบ ได้ถูกประยุกต์ใช้ทั่วทั้งภูมิภาคละตินอเมริกาและส่วนอื่น ๆ ของโลกด้วย ลัทธินี้ถือกำเนิดขึ้นจากแนวคิดของกัลโบที่ได้แสดงไว้ใน กฎหมายระหว่างประเทศเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติในยุโรปและอเมริกา (Derecho internacional teórico y práctico de Europa y América) ของเขาที่ปารี..

ใหม่!!: ปารีสและลัทธิกัลโบ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมันเหนือ

ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมันเหนือ (Northern German Expressionism) คือ กลุ่มย่อยอีกหนึ่งกลุ่มของ ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เป็นกลุ่มศิลปินที่ก่อตัวขึ้นภายในเมืองมิวนิก เช่นเดียวกันกับกลุ่มเดอะบลูไรเดอร์ เมื่อลองวาดแผนที่แห่งจินตนาการของลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เราจะพบว่าเมืองและประเทศต่าง ๆ มีความสำคัญมากต่อการก่อตั้งกลุ่มทางศิลปะ เดรสเดนเป็นเมืองที่ศิลปินกลุ่มเดอะ บริดจ์ ได้รวมตัวกันขึ้นในปี 1905 และแน่นอนว่าเป็นเมืองที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นเมืองหลวงของลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน และมิวนิก (Munich) ก็คือเมืองที่ถอดแบบเดรสเดนออกมา ไม่มีกลุ่มทางศิลปะกลุ่มใดที่มีทฤษฎีและหลักการเป็นของตัวเองโดยสมบูรณ.

ใหม่!!: ปารีสและลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมันเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจ

''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

ใหม่!!: ปารีสและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเหนือจริง

“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.

ใหม่!!: ปารีสและลัทธิเหนือจริง · ดูเพิ่มเติม »

ลามาร์แซแยซ

''La Marseillaise'' (1907). ลามาร์แซแยซ (La Marseillaise, "เพลงแห่งเมืองมาร์แซย์") เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย โกลด โฌแซ็ฟ รูเฌ เดอ ลีล เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2335 ที่เมืองสทราซบูร์ในแคว้นอาลซัส เดิมเพลงนี้มีชื่อว่า "Chant de guerre de l'Armée du Rhin" (แปลว่า "เพลงมาร์ชกองทัพลุ่มน้ำไรน์") เดอลีลได้อุทิศเพลงนี้ให้แก่นายทหารชาวแคว้นบาวาเรีย (อยู่ในประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน) ซึ่งเกิดในประเทศฝรั่งเศสผู้หนึ่ง คือจอมพลนีกอลา ลุคเนอร์ (Nicolas Luckner) เมื่อกองทหารจากเมืองมาร์แซย์ได้ขับร้องเพลงนี้ขณะเดินแถวทหารเข้ามายังกรุงปารีส ทำให้เพลงนี้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป และกลายเป็นเพลงปลุกใจในการร่วมปฏิวัติฝรั่งเศส ทั้งยังเป็นที่มาของชื่อเพลงลามาร์แซแยซดังปรากฏอยู่ในปัจจุบันด้วย สมัชชาแห่งชาติฝรั่งเศสได้ออกประกาศรับรองให้เพลงลามาร์แซแยซเป็นเพลงชาติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2338 ต่อมาเพลงนี้ได้ถูกงดใช้ในช่วงรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1แห่งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 และ พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 และมีการนำเพลงอื่นมาใช้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสแทนในระยะเวลาดังกล่าวแทน โดยรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ใช้เพลงชาติที่ชื่อว่า เวยองอูซาลูทเดอล็องปีร์ "Veillons au salut de l'Empiret"และ โดยรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ใช้เพลงชาติที่ชื่อว่า เลอเรอทูร์เดส์แพร็งส์ฟร็องเซส์อาปารีส์ "Le Retour des Princes Frančais à Samid" หลังการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2373 เพลงนี้ก็ได้กลับมาใช้เป็นเพลงชาติในระยะสั้น ๆ แต่ก็งดใช้อีกครั้งในสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ตราบจนกระทั่งฝรั่งเศสเข้าสู่สมัยสาธารณรัฐที่ 3 เพลงนี้จึงได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติอย่างถาวรเมื่อ พ.ศ. 2422.

ใหม่!!: ปารีสและลามาร์แซแยซ · ดูเพิ่มเติม »

ลามงตาญ

ลามงตาญ (La Montagne) เป็นกลุ่มก้อนทางการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นฝ่ายที่มีอิทธิพลสูงในสมัชชานิติบัญญัติฝรั่งเศส ลามงตาญถือเป็นส่วนหนึ่งของสโมสรฌากอแบ็ง​ (Jacobin) ลามงตาญประกอบด้วยสมาชิกหัวรุนแรงของฌากอแบ็งซึ่งสนับสนุนกระแสการปฏิวัติและสนับสนุนการถอนรากถอนโคนระบอบกษัตริย์ จึงทำให้ลามงตาญขัดแย้งกับบรรดาฌีรงแด็ง (Girondin) ที่คัดค้านกระแสการปฏิวัติและเห็นว่าควรใช้กษัตริย์เป็นหุ่นเชิดJeremy D. Popkin, A Short History of the French Revolution, 5th ed.

ใหม่!!: ปารีสและลามงตาญ · ดูเพิ่มเติม »

ลาสโล บีโร

ลาสโล โยแชฟ บีโร (Bíró László József; 29 กันยายน ค.ศ. 1899 – 24 ตุลาคม ค.ศ. 1985) เป็นนักประดิษฐ์ชาวฮังการี ผู้ประดิษฐ์ปากกาลูกลื่น.

ใหม่!!: ปารีสและลาสโล บีโร · ดูเพิ่มเติม »

ลาคอสต์

ลาคอสต์ เป็นบริษัทค้าขายเสื้อผ้า ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..1933 (พ.ศ. 2476) สินค้าหลักคือเสื้อผ้า รองเท้า น้ำหอม เครื่องหนัง นาฬิกา แว่นตา และเสื้อเทนนิส ตราสัญลักษณ์ของลาคอสต์คือรูปจระเข้สีเขียวหันหัวไปทางขวามือของผู้สวมใส่ หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2476 หมวดหมู่:ตราสินค้าเสื้อผ้า.

ใหม่!!: ปารีสและลาคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาซานา ดียารา

ลาซานา ดียารา (Lassana Diarra)เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1985 เป็นนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส ปัจจุบันเล่นในลาลีกา สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด เล่นในตำแหน่ง กองกลาง.

ใหม่!!: ปารีสและลาซานา ดียารา · ดูเพิ่มเติม »

ลานพระราชวังดุสิต

ระบรมรูปทรงม้า ภาพถ่ายประมาณ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบรมรูปทรงม้า และ ลานพระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน ภาพน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ. 2485 หมุดคณะราษฎร พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน และสวนสนาม ของทหารรักษาพระองค์ ภาพแสดงที่ตั้งของหมุดคณะราษฎร (วงกลมสีเหลือง) พระลานพระราชวังดุสิต หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า ลานพระบรมรูปทรงม้า เป็นลานกว้างอยู่ด้านหน้าของพระที่นั่งอนันตสมาคมและสวนอัมพร ในเขตพระราชวังดุสิต ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ "พระบรมรูปทรงม้า" และหมุด 24 มิถุนายน 2475 ที่ระลึกการเปลี่ยนแปลงการปกครอง.

ใหม่!!: ปารีสและลานพระราชวังดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

ลาแมร์ (เพลง)

ลาแมร์ (La Mer แปลว่า "ทะเล") เป็นเพลงภาษาฝรั่งเศสที่แต่งโดยชาลส์ เทรเนต์ นักร้อง นักแต่งเพลงชาวฝรั่งเศส มีคำร้องบรรยายความงดงามของชายฝั่งทะเล ท่ามกลางคลื่นและลมฝนในฤดูร้อน เทรเนต์แต่งคำร้องเพลงนี้เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและลาแมร์ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ลาแมร์ (เดอบูว์ซี)

หน้าปกโน้ตดนตรีฉบับที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1905 เป็นภาพคลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ จากภาพพิมพ์แกะไม้ผลงานของคะสึชิกะ โฮะกุไซ บ้านพักของเดอบูว์ซี ในหมู่บ้านเล็กๆ ในอียอน สถานที่ที่เขาแต่งผลงานชิ้นนี้ La mer, trois esquisses symphoniques pour orchestre - L 109 (The sea, three symphonic sketches for orchestra) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ลาแมร์ (La mer) เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับบรรเลงด้วยวงออร์เคสตรา ผลงานของโกลด เดอบูว์ซี เริ่มแต่งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและลาแมร์ (เดอบูว์ซี) · ดูเพิ่มเติม »

ลาเดฟ็องส์

ลาเดฟ็องส์ (La Défense) เป็นชื่อเรียกย่านธุรกิจขนาดใหญ่ที่สำคัญทางทิศตะวันตกของกรุงปารีส มีประชากรราว 20,000 คน ลาเดฟ็องส์เป็นย่านเมืองใหม่เทียบได้กับย่านสยามในไทย เพราะฉะนั้นย่านนี้จึงมีอาคารใหม่เติบโตอย่างรวดเร็ว มีอาคารสูงมากมายในพื้นที่กว่า 77.5 เอเคอร์ โดยมีอาคารกระจกเสริมเหล็กราว 72 ตึก มีอาคารที่สูงกว่า 150 เมตร มากกว่า 14 ตึก มีพนักงานรายวันมากกว่า 180,000 คน และมีพื้นที่สำนักงานประมาณ 3.5 ล้านตารางเมตร เช่น ตูร์เฟิสต์ซึ่งเป็นอาคารที่สูงที่สุดในย่าน อาคารอาร์ชเดอลาเดฟ็องส์เป็นอาคารที่สร้างมาเพื่อเป็นอนุสรณ์รวมถึงเป็นสัญลักษณ์ของย่านนี้ด้วย อาคารตูร์ซอซีเยเตเฌเนราลเป็นสำนักงานใหญ่ของธนาคารซอซีเยเตเฌเนราลซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของฝรั่งเศส เป็นต้น ย่านลาเดฟ็องส์จึงเป็นศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป.

ใหม่!!: ปารีสและลาเดฟ็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1940 ทหารสกีของฟินแลนด์ - 12 มกราคม 1940 ทหารโซเวียตเสียชีวิตหลังจากถูกโจมตีที่ถนนราเต เส้นทางการรุกของกองทัพเยอรมันและกองทัพอังกฤษในการทัพนอร์เวย์ การรุกสายฟ้าแลบระหว่างยุทธการแห่งฝรั่งเศส - กลางเดือนพฤษภาคม 1940 อพยพจากดันเคิร์กระหว่างปฏิบัติการไดนาโม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในกรุงปารีส - 23 มิถุนายน 1940 เครื่องบินรบเยอรมันเตรียมทำการรบในยุทธการแห่งบริเตน เดอะบลิตซ์: กรุงลอนดอนถูกทิ้งระเบิดทางอากาศโดยกองทัพอากาศเยอรมัน.

ใหม่!!: ปารีสและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1940) · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503 เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน..

ใหม่!!: ปารีสและลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ลุก แบซง

ลุก แบซง (Luc Besson) เกิดเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2502 เป็นทั้งผู้กำกับ นักเขียนบท และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและลุก แบซง · ดูเพิ่มเติม »

ลุงบุญมีระลึกชาติ

ลุงบุญมีระลึกชาติ (Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives, Oncle Boonmee, celui qui se souvient de ses vies antérieures) เป็นภาพยนตร์ไทยนอกกระแส ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและลุงบุญมีระลึกชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ลูชาโน ปาวารอตตี

วารอตติ ลูชาโน ปาวารอตตี (Luciano Pavarotti) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2478 - 6 กันยายน พ.ศ. 2550) เป็นนักร้องโอเปร่าเสียงเทเนอร์ชาวอิตาลี ที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่ง เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ในผลงานที่ชื่อว่า "Three Tenors" ซึ่งเป็นการแสดงโอเปร่า โดยนักร้องชายเสียงเทเนอร์ ที่มีชื่อเสียงที่สุดในยุคปัจจุบันสามคน ประกอบด้วย ลูชาโน ปาวารอตตี, ปลาซิโด โดมิงโก และโฮเซ คาเรราส์ การแสดงของทรีเทเนอร์ส มีขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งที่ 14 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและลูชาโน ปาวารอตตี · ดูเพิ่มเติม »

ลูย ซาอา

ลูย โลร็อง ซาอา (Louis Laurent Saha) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1978 เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส ปัจจุบันเขาได้เลิกเล่นไปแล้ว.

ใหม่!!: ปารีสและลูย ซาอา · ดูเพิ่มเติม »

ลูนา

ลูนา (LOONA; มักเขียนว่า LOOΠΔ) หรือ อีดัลเอ โซนยอ (이달의 소녀; "หญิงสาวประจำเดือน") เป็นกลุ่มไอดอลหญิงชาวเกาหลีใต้ ซึ่งวางแผนจะเปิดตัวในอนาคต สังกัดบล็อกเบร์รีครีเอทีฟ (Blockberry Creative) บริษัทย่อยของโพลาริสเอนเตอร์เทนเมนต์ (Polaris Entertainment) ตามโครงการที่ให้สมาชิกเปิดตัวและออกซิงเกิลเดี่ยวเดือนละคน นับแต่เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและลูนา · ดูเพิ่มเติม »

ลีกเอิง

ลีกเอิง (Ligue 1) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของฟุตบอลในประเทศฝรั่งเศส โดยมีลีกรองลงมาคือ ลีกเดอ (League 2) ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2475 โดยมีการเล่นต่อเนื่องมาทุกปียกเว้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยในอดีตจำนวนทีมที่เล่นในลีกเอิงจะเปลี่ยนไปมาระหว่าง 18 และ 20 ทีม ซึ่งปัจจุบันมีทีมทั้งหมด 20 ทีม และมีการเล่นในแบบการแข่งเหย้าและเยือน ทีมละ 38 นัด เมื่อจบฤดูกาล 2 ทีมอันดับสุดท้ายของตารางจะตกชั้นลงในเล่นในลีกเดอ และทีมจากลีกเดอจะเลื่อนชั้นขึ้นมา ส่วน 3 ทีมที่อันดับดีสุดจะได้ผ่านเข้าไปเล่นในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยสองทีมอันดับแรกจะผ่านเข้าไปรอในรอบแบ่งกลุ่ม(ทีมชนะเลิศได้อยู่โถ 1) ในขณะที่ทีมอันดับ 3 จะต้องแข่งรอบเพลย์ออฟอีกทีหนึ่ง ส่วนอันดับ 4 จะมีสิทธิเข้าไปเล่นในยูฟ่ายูโรปาลีก ทีมที่ชนะลีกเอิงมากที่สุดคือ แซ็งเตเตียน (Saint-Étienne) ชนะเลิศ 10 ครั้ง ในขณะที่ทีมชนะเลิศติดต่อกันมากที่สุดคือลียง (Olympique Lyonnais) ชนะเลิศ 7 ฤดูกาล (2002-2008).

ใหม่!!: ปารีสและลีกเอิง · ดูเพิ่มเติม »

ลีกเอิง ฤดูกาล 2014–15

ฟุตบอลลีกเอิง ฤดูกาล 2014–15 เป็นฤดูกาลที่ 77 นับตั้งแต่การก่อตั้ง ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง เป็นทีมแชมป์เก่าจากเมื่อฤดูกาลที่แล้วที่จะต้องป้องกันแชมป์ในฤดูกาลนี้ให้ได้.

ใหม่!!: ปารีสและลีกเอิง ฤดูกาล 2014–15 · ดูเพิ่มเติม »

ลีกเอิง ฤดูกาล 2015–16

ลีกเอิง ฤดูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 78 ของลีกเอิงนับตั้งแต่การก่อตั้ง.

ใหม่!!: ปารีสและลีกเอิง ฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

ลีกเอิง ฤดูกาล 2016–17

ฟุตบอลลีกเอิง ฤดูกาล 2016–17 เป็นฤดูกาลที่ 79 นับตั้งแต่การก่อตั้งในฤดูกาล 1932–33 โดยแข่งขันระหว่างวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและลีกเอิง ฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

ลีกเอิง ฤดูกาล 2017–18

ฟุตบอลลีกเอิง ฤดูกาล 2017–18 เป็นฤดูกาลที่ 80 นับตั้งแต่การก่อตั้งในฤดูกาล 1932–33 โดยแข่งขันระหว่างวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและลีกเอิง ฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

ลีกเดอ ฤดูกาล 2017–18

ฟุตบอลลีกเดอ ฤดูกาล 2017–18 (หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ โดมิโนส์ ลีกเดอ ด้วยเหตุผลด้านสนับสนุน) ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่ 79 นับตั้งแต่การก่อตั้ง.

ใหม่!!: ปารีสและลีกเดอ ฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

ลียง

ลียง (Lyon) เป็นเมืองอยู่ทางตะวันออกตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโรน และเมืองหลวงของแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ตั้งอยู่ระหว่างปารีสกับมาร์แซย์ โดยอยู่ห่างจากปารีส 470 กิโลเมตร, ห่างจากมาร์แซย์ 320 กิโลเมตร, ห่างจากเจนีวา 160 กิโลเมตร, ห่างจากตูริน 280 กิโลเมตร และห่างจากมิลาน 450 กิโลเมตร ประชากรเมืองลียงมีชื่อว่า ลียงเน่ส์ ลียงเป็นเมืองสำคัญทางธุรกิจ มีประชากร 472,305 คน เป็นเมืองใหญ่อันดับสามของฝรั่งเศสรองจากปารีสและมาร์แซย์ ลียงมีชื่อเสียงในด้านของสถาปัตยกรรมและสถานที่ต่างๆทางประวัติศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการทอผ้าไหมโบราณ และได้รับขึ้นทะเบียนมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี 1998 ในคริสศรรษวรรษที่ 20 ลียงมีชื่อเสียงอย่างมากในด้านอาหารจนกลายเป็นศูนย์กลางทางโภชนาการที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ ลียงยังมีส่วนสำคัญกับประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ โดยเป็นบ้านเกิดของพี่น้องลูมิแยร์ (โอกุสต์ ลูมิแยร์ และหลุยส์ ลูแมร์) ผู้ประดิษฐ์เครื่องฉายภาพยนตร์ในลียง ทุกวันที่ 8 ธันวาคมของทุกปีจะมีเทศการ Fête des Lumières หรือเทศกาลแห่งแสงสว่าง โดยจะจัดขึ้นเป็นเวลา 4 วัน ทำให้ลียงได้รับการขนานนามว่าเป็น เมืองหลวงแห่งแสงสว่าง ในด้านเศรษฐกิจ ลียงเป็นศูนย์กลางขนาดใหญ่ของการธนาคาร อุตสาหกรรมเคมี ยาปฏิชีวนะและอุตสาหกรรมชีวภาพต่างๆ ลียงยังมีอุตสาหกรรมด้านซอฟแวร์ซึ่งมุ่งเน้นไปทางด้านวิดีโอเกมส์โดยเฉพาะ ในเมืองยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใญ่ของ Interpol Euronews และ International Agency of Research on Cancer โดยลียงเป็นเมืองที่ได้รับการจัดอันดับ (โดย Mercer) คุณภาพชีวิตประชากรอยู่ที่อันดับ 39 ของโลก (2015).

ใหม่!!: ปารีสและลียง · ดูเพิ่มเติม »

ลีล

ลีล (Lille) หรือ ไรเซิล เป็นเมืองหลวงของแคว้นนอร์-ปาดกาแล และเป็นเมืองบริหารของจังหวัดนอร์ในประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ลีลเป็นเมืองเอกของนครลีล (Lille Métropole) ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นลำดับสี่ของเมืองมหานคร รองจากปารีส ลียง และมาร์แซย์ ลีลตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเดิล ติดกับพรมแดนประเทศเบลเยียม ลีลที่ผนวกลอม (Lomme) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและลีล · ดูเพิ่มเติม »

ลต ฉาย

ลต ฉาย (Saloth Chhay) เกิดประมาณ..

ใหม่!!: ปารีสและลต ฉาย · ดูเพิ่มเติม »

วลาดิมีร์ โฮโรวิตซ์

วลาดิมีร์ ซามอยโลวิช โฮโรวิตซ์ (Владимир Самойлович Горовиц, Vladimir Samojlovich Gorovitz; Володимир Самійлович Горовiць, Volodymyr Samiylovych Horovitz) (1 ตุลาคม ค.ศ. 1903 – 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989)Schonberg, Harold C. (1992).

ใหม่!!: ปารีสและวลาดิมีร์ โฮโรวิตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ ตัตลิน

วลาดีมีร์ เยฟกราโฟวิช ตัตลิน (Влади́мир Евгра́фович Та́тлин, Vladimir Yevgraphovich Tatlin) เป็นจิตรกรและสถาปนิกชาวรัสเซียและโซเวียต ซึ่งเป็นหนึ่งในศิลปินชั้นนำของรัสเซียรูปแบบอาว็อง-การ์ด (ล้ำยุค) ปี..

ใหม่!!: ปารีสและวลาดีมีร์ ตัตลิน · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

วอลลิส ซิมป์สัน

วอลลิส ดัชเชสแห่งวินด์เซอร์ เดิมคือ นางวอลลิส ซิมป์สัน (พระนามแรกประสูติ เบสซี วอลลิส วอร์ฟิลด์, ประสูติ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1896 — สิ้นพระชนม์ 24 เมษายน ค.ศ. 1986) เป็นชาวอเมริกัน มีสามีคนที่สามเป็น เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งวินด์เซอร์ ซึ่งเดิมเป็น สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร แต่เป็นเพราะสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักรอภิเษกสมรสกับเธอจึงต้องสละราชสมบัต.

ใหม่!!: ปารีสและวอลลิส ซิมป์สัน · ดูเพิ่มเติม »

วอลต์ดิสนีย์พาร์กแอนด์รีสอร์ต

วอลต์ดิสนีย์พาร์กแอนด์รีสอร์ต (Walt Disney Parks and Resorts) เป็นสวนสนุกและสถานตากอากาศในเครือวอลต์ดิสนีย์ ปัจจุบันมีสวนสนุกและสถานตากอากาศตั้งอยู่ 6 แห่งทั่วโลก.

ใหม่!!: ปารีสและวอลต์ดิสนีย์พาร์กแอนด์รีสอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

วอลแตร์

ฟร็องซัว-มารี อารูเอ (François-Marie Arouet) หรือเป็นที่รู้จักกันในนามปากกาว่า วอลแตร์ (Voltaire) เป็นปราชญ์, นักเขียน และนักประวัติศาสตร์ในยุคเรืองปัญญาของฝรั่งเศส เขาเป็นผู้โจมตีการจัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรั่งเศส และยังสนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา, เสรีภาพในการพูด และยังผลักดันให้มีการแบ่งแยกศาสนจักรออกจากรั.

ใหม่!!: ปารีสและวอลแตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1951

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1951 (1951 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่สามของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองปารีส, ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 12 กันยายน – 22 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1951 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1986

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1986 (1986 FIVB Volleyball Men's World Championship) เป็นครั้งที่ 11 ของการแข่งขัน ถูกจัดขึ้นในเมืองปารีส, ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 25 กันยายน – 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1986 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก CEV หาสมาชิกทั้ง 8 ประเทศ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ที่โปแลนด์ ทั้งสองทีมที่ดีที่สุดการจัดอันดับจากปี 2013 วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรปบวกหกทีมจากการแข่งขันรอบคัดเลือกวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก.

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2014 รอบคัดเลือก โซนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980

วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชาย จำนวน 10 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 5 นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1951

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1951 (1951 Women's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่สามของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่เมืองปารีส, ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 12 กันยายน – 23 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 1951 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1956

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1956 (1956 FIVB Volleyball Women's World Championship) เป็นเป็นครั้งที่ 2 ของการแข่งขัน จัดขึ้นที่กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 12 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1956 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014 เป็นครั้งที่ 25 ของการแข่งขันวอลเลย์บอลชายประจำปีระดับนานาชาติมีทั้งหมด 28 ประเทศ ระหว่าง 23 พฤษภาคม - 20 กรกฎาคม 2014 กลุ่มที่ 1 รอบชิงชนะเลิศจะถูกจัดขึ้นในฟลอเรนซ์, ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ปารีสและวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2014 · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ปารีสและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วังปาฏิหาริย์

วังปาฏิหาริย์ (court of miracles; cour des miracles) เป็นเขตชุมชนแออัดในกรุงปารีสเมื่อครั้งอดีต โดยเป็นที่อาศัยของบรรดาผู้ลักลอบเข้าเมืองและผู้อพยพจากชนบทที่ปราศจากงานทำ กลายเป็นแหล่งที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นซ่องโจร ก่อนเจ้าหน้าที่บ้านเมืองจะเข้ากวาดล้างไปจนสิ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 วังปาฏิหาริย์มีชื่อเสียง เพราะวิกตอร์ อูโก (Victor Hugo) นำไปใช้แต่งนิยายเรื่อง นอทร์-ดามเดอปารี (Notre-Dame de Paris, คนค่อมแห่งนอทร์-ดาม).

ใหม่!!: ปารีสและวังปาฏิหาริย์ · ดูเพิ่มเติม »

วังเชอนงโซ

วังเชอนงโซ (Château de Chenonceau) ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านเชอนงโซ (Chenonceaux) ในจังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส วังเดิมสร้างบนโรงป่นแป้งเก่าบนฝั่งแม่น้ำแชร์ และสร้างมาก่อนหน้าที่จะมีหลักฐานทางเอกสารเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 วังปัจจุบันออกแบบโดยฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert De l'Orme) สถาปนิกเรอเนซองซ.

ใหม่!!: ปารีสและวังเชอนงโซ · ดูเพิ่มเติม »

วัตสันและปลาฉลาม

วัตสันและปลาฉลาม (Watson and the Shark) ที่เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอห์น ซิงเกิลทัน โคพลีย์จิตรกรชาวอเมริกัน เป็นภาพของการช่วยเหลือบรุค วัตสันผู้เป็นพ่อค้าบริติชและอดีตนายกเทศมนตรีของนครลอนดอนจากการถูกโจมตีโดยปลาฉลามที่ฮาวานาในคิวบา ภาพต้นฉบับสามภาพโดยโคพลีย์เป็นของ หอศิลป์แห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ปารีสและวัตสันและปลาฉลาม · ดูเพิ่มเติม »

วันบัสตีย์

วันบัสตีย์ เป็นวันชาติของฝรั่งเศส ซึ่งตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ในประเทศฝรั่งเศส วันดังกล่าวถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ" (La Fête Nationale) และเรียกโดยทั่วไปว่า "สิบสี่กรกฎา" (le quatorze juillet) วันดังกล่าวเป็นการรำลึกถึงวันหยุดสหพันธรัฐ (Fête de la Fédération) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและวันบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วันเพื่อการขจัดความยากจนระหว่างประเทศ

วันเพื่อการขจัดความยากจนระหว่างประเทศ (International Day for the Eradication of Poverty) ตรงกับวันที่ 17 ตุลาคมของทุกปี ซึ่งมีการจัดการเฉลิมฉลองขึ้นทั่วโลก เป็นวันที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากสหประชาชาติ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและวันเพื่อการขจัดความยากจนระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

วาซีลี คันดินสกี

วาซีลี วาซีเลียวิช คันดินสกี (Васи́лий Васи́льевич Канди́нский; Wassily Kandinsky) เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและวาซีลี คันดินสกี · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอร์ วาซาเรอลี

ผลงานของวิกตอร์ วาซาเรอลี วิกตอร์ วาซาเรอลี หรือ วิกโตร์ วอซอแรลี (ฝรั่งเศส, Victor Vasarely; 9 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่เปช - 15 มีนาคม พ.ศ. 2540 ที่ปารีส) เป็นชาวฝรั่งเศสเกิดที่ฮังการี เป็นจิตรกรที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งศิลปะลวงตา (op art) ทำงานเป็นศิลปินกราฟิกใน..

ใหม่!!: ปารีสและวิกตอร์ วาซาเรอลี · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอร์ อูโก

วิกตอร์-มารี อูโก (Victor-Marie Hugo; 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1802 — 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1885) เป็นกวี นักเขียนบทละคร นักประพันธ์ ศิลปิน รัฐบุรุษ และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนชาวฝรั่งเศส เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูงสำหรับการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมยุคโรแมนติกในประเทศฝรั่งเศส ชื่อเสียงของอูโกทางด้านงานวรรณกรรมในประเทศฝรั่งเศสมาจากงานกวีนิพนธ์และบทละคร ส่วนงานนวนิยายเป็นที่รู้จักรองลงมา ในบรรดางาน กวีนิพนธ์ของเขา Les Contemplations และ La Légende des siècles จัดเป็นงานที่โดดเด่นและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก บางครั้งอูโกได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะกวีผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศส ขณะที่เขาเป็นที่รู้จักภายนอกประเทศจากผลงานนวนิยาย เรื่อง Les Misérables (เหยื่ออธรรม) และ Notre-Dame de Paris (ฉบับแปลภาษาอังกฤษเรียกว่า The Hunchback of Notre Dame หรือ คนค่อมแห่งน็อทเทรอะ-ดาม).

ใหม่!!: ปารีสและวิกตอร์ อูโก · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรียส์ซีเคร็ต

วิกตอเรียส์ซีเคร็ต (Victoria's Secret) เป็นยี่ห้อของชุดชั้นในสตรีและผลิตภัณฑ์ด้านความงามชื่อดังของสหรัฐอเมริกา มีชื่อเสียงจากการจัดแฟชั่นโชว์และแค็ตตาล็อกประจำปี ซึ่งประกอบไปด้วยนางแบบชื่อดังในวงการ.

ใหม่!!: ปารีสและวิกตอเรียส์ซีเคร็ต · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์

ลลี เกล ในวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2014 วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ (Victoria's Secret Fashion Show) เป็นงานแสดงแฟชั่นโชว์ประจำปีของแบรนด์ชุดชั้นในวิกตอเรียส์ซีเคร็ต เพื่อเป็นการใช้โปรโมตสินค้า โดยมีนางแบบชื่อดังจากทั่วโลกมาร่วมเดินแบบ อย่างนางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ตในปัจจุบัน คือ อาดรียานา ลีมา, เบฮาตี ปรินส์ลัว, ลิลี ออลดริดจ์, กันดิส สวาเนปุล, แจสมิน ทุกส์, โจเซฟีน สไครเวอร์, ซารา ซังไปยู, เทย์เลอร์ ฮิลล์, มาร์ธา ฮันต์, โรเม สไตรด์, ไลส์ รีเบย์รู, สเตลลา แม็กซ์เวลล์, และเอลซา ฮอสค์ สถานีโทรทัศน์ของอเมริกันออกอากาศรายการนี้ในช่วงไพรม์ไทม์ โชว์ครั้งแรกจัดขึ้นก่อนวันวาเลนไทน์ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชันโชว์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016

หล่านางฟ้าและนางแบบวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016 วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016 (Victoria's Secret Fashion Show 2016) เป็นการแสดงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปีที่ได้รับการสนับสนุนจากวิกตอเรียส์ซีเคร็ต แบรนด์ชุดชั้นในและชุดนอน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตใช้เพื่อเป็นการโปรโมตและทำการตลาดสินค้า โดยการแสดงมีนางแบบชั้นนำของโลก เช่น นางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต คือ ลิลี ออลดริดจ์, เอลซา ฮอสค์, เทย์เลอร์ ฮิลล์, มาร์ธา ฮันต์, อาดรียานา ลีมา, สเตลลา แม็กซ์เวลล์, ไลส์ รีเบย์รู, ซารา ซังไปยู, โจเซฟีน สไครเวอร์, โรเม สไตรด์, แจสมิน ทุกส์, และอาเลซังดรา อังบรอซียู ส่วนเบฮาตี ปรินส์ลัว และกันดิส สวาเนปุล พลาดการแสดงในครั้งนี้ เนื่องจากพวกเธอตั้งครรภ์ การแสดงยังให้ความสำคัญ PINK spokesmodels คือ ราเชล ฮิลเบิร์ต, ซูรี ทิบบี้, เกรซ เอลิซาเบธ วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว..

ใหม่!!: ปารีสและวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

วิลลาซาวอย

วิลลาซาวอย (Villa Savoye.) เป็นที่พักอาศัยทรงโมเดิร์น ตั้งอยู่ที่พอยซี นอกเขตเมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส อาคารได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวสวิตเซอร์แลนด์ เลอกอร์บูซีเย ร่วมกับปิแอร์ ฌองเนเรต์ (Pierre Jeanneret) ลูกพี่ลูกน้องของเขา อาคารสร้างขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและวิลลาซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

วินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้น

วินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้น (世界之窗) ตั้งอยู่ในทางทิศตะวันตก ของเมืองเซินเจิ้น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2536 เป็นสถานจำลองสถานที่ต่างๆจากทั่วโลก.

ใหม่!!: ปารีสและวินโดวส์ ออฟ เดอะ เวิลด์ เซินเจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาฝรั่งเศส

วุฒิสภาฝรั่งเศส (Sénat français) เป็นสภาสูงในรัฐสภาฝรั่งเศส มีประธานวุฒิสภา (président) เป็นผู้ดำเนินการประชุม วุฒสิภามีความสำคัญน้อยกว่าสภาผู้แทนราษฎร เช่นเดียวกับการอภิปรายในวุฒิสภาที่มีความตึงเครียดน้อยกว่า ฉะนั้น วุฒิสภาจึงได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนน้อ.

ใหม่!!: ปารีสและวุฒิสภาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

วีละโดรมแว็งเซน

วีละโดรมแว็งเซน (Vélodrome de Vincennes) ตั้งอยู่ที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและวีละโดรมแว็งเซน · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ใหม่!!: ปารีสและศาลรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาโรเซตตา

ลาโรเซตตา ศิลาโรเซตตา (Rosetta Stone) เป็นศิลาจารึกทำจากหินแกรนด์โอไดโอไรต์ จารึกกฤษฎีกาซึ่งตราขึ้นในนามพระเจ้าทอเลมีที่ 5 (Ptolemy V) ณ เมืองเมมฟิส ประเทศอียิปต์ เมื่อ 196 ปีก่อน..

ใหม่!!: ปารีสและศิลาโรเซตตา · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ

ทางเข้าไอบีซีในฟุตบอลโลก 2010 ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcasting Center; อักษรย่อ: IBC) เป็นศูนย์กลางสำหรับการกระจายเสียงและการแพร่ภาพ ซึ่งรวมเรียกว่าวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในช่วงระหว่างการแข่งขันกีฬารายการสำคัญ มักจะเปิดทำการควบคู่ไปกับ ศูนย์สื่อมวลชนหลัก (Main Press Center; อักษรย่อ: MPC) ซึ่งเป็นศูนย์กลางสำหรับข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการแข่งขันครั้งนั้น เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้สื่อข่าว ในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อประสม สื่อดิจิตอล และสื่อประเภทอื่น.

ใหม่!!: ปารีสและศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติฌอร์ฌ ปงปีดู

ูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติฌอร์ฌ ปงปีดู (Centre national d'art et de culture Georges-Pompidou) หรือที่นิยมเรียกว่า ศูนย์ฌอร์ฌ ปงปีดู (Centre Georges-Pompidou), ศูนย์ปงปีดู (Centre Pompidou), ศูนย์โบบูร์ (Centre Beaubourg) และ โบบูร์ (Beaubourg) เป็นกลุ่มอาคารอเนกประสงค์ในย่านโบบูร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส อาคารได้รับการออกแบบนวัตกรรมเชิงไฮเทค โดยเรนโซ เปียโน และริชาร์ด รอเจอส์ ซึ่งต่างเป็นสถาปนิกรางวัลพริตซ์เกอร์และหนึ่งในผู้บุกเบิกคตินิยมหลังนวยุค และรวมไปถึงจันฟรันโค ฟรันคีนี (Gianfranco Franchini) สถาปนิกชาวอิตาลี อาคารประกอบด้วยหลายส่วน ได้แก่ ห้องสมุดสารสนเทศสาธารณะ (Bibliothèque publique d'information) ซึ่งเป็นห้องสมุดสาธารณะขนาดใหญ่, พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่แห่งชาติ (Musée National d'Art Moderne) เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป และในส่วนสุดท้ายคือ สถาบันการวิจัยและความร่วมมือทางเสียง/ดนตรี (IRCAM) ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยด้านเสียงและด้านดนตรี พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เดิมเป็นที่รู้จักในชื่อ "โบบูร์" ด้วยสาเหตุมาจากที่ตั้งของสถานที่ ส่วนในชื่อปัจจุบันมาจากชื่อของฌอร์ฌ ปงปีดู ประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนที่ 2 (ระหว่างปี ค.ศ. 1969-1974) ผู้ริเริ่มให้สร้างอาคารแห่งนี้ขึ้น ซึ่งได้เปิดอย่างเป็นทางการครั้งแรกในวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1977 โดยมีประธานาธิบดีวาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง เป็นประธานเปิด ข้อมูลในปี..

ใหม่!!: ปารีสและศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติฌอร์ฌ ปงปีดู · ดูเพิ่มเติม »

สกอตต์ อีสต์วุด

กอตต์ อีสต์วุด (Scott Eastwood; เกิด 21 มีนาคม ค.ศ. 1986) หรือชื่อเกิดว่า สกอตต์ คลินตัน รีฟส์ (Scott Clinton Reeves) เป็นนักแสดงและนายแบบชาวอเมริกัน เขาปรากฏตัวอยู่ในภาพยนตร์หลายเรื่อง เช่น Flags of Our Fathers (2006), Gran Torino (2008), Invictus (2009), The Forger (2012), Trouble with the Curve (2012) และ Fury (2014) เขายังร่วมแสดงในภาพยนตร์แนวสยองขวัญเรื่อง Texas Chainsaw 3D และแสดงในภาพยนตร์รักเรื่อง ระยะทางพิสูจน์รัก (2015) คู่กับบริตต์ รอเบิร์ตสัน นอกจากนี้เขาเป็นบุตรชายของคลินต์ อีสต์ว.

ใหม่!!: ปารีสและสกอตต์ อีสต์วุด · ดูเพิ่มเติม »

สภากงว็องซียงแห่งชาติ

สภากงว็องซียงแห่งชาติ (Convention nationale) คือคณะการปกครองประเทศฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส โดยเริ่มทำการปกครองตั้งแต่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1795 โดยทำหน้าที่บริหารประเทศและควบคุมอำนาจบริหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงช่วงสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 โดยสมาชิกที่มีชื่อเสียงจากสมัชชาแห่งนี้ได้แก่ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์, ฌ็อง-ปอล มารา, ฌอร์ฌ ด็องตง เป็นต้น โดยในภายหลังทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม หมวดหมู่:การปฏิวัติฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปารีสและสภากงว็องซียงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สภาห้าร้อย

ห้าร้อย (Conseil des Cinq-Cents) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติประเภทสภาล่างของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่หนึ่งในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ฝ่ายบริหารของประเทศฝรั่งเศสในช่วงนี้มีชื่อเรียกว่าคณะดีแร็กตัวร์ซึ่งทำหน้าที่ระหว่าง 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสภาห้าร้อย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส

ผู้แทนราษฎรแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (Assemblée Nationale,; National Assembly) เป็นสภาล่างในรัฐสภาฝรั่งเศส ประกอบด้วยสมาชิกห้าร้อยเจ็ดสิบเจ็ดคน เรียกว่า "ผู้แทน" (député; deputy) ผู้แทนสองร้อยแปดสิบเก้าคนถือเป็นจำนวนเสียงส่วนใหญ่ในสภา และมีประธานสภาคนหนึ่งเป็นผู้ควบคุมการประชุม และมีรองประธานสภาอีกหนึ่งคนหรือกว่านั้น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยจะสิ้นสุดวาระในวันอังคารของสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมิถุนายน ปีที่ 5 นับแต่วันเลือกตั้ง การเลือกตั้งครั้งใหม่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรชุดเดิมจะหมดอายุลง ประธานาธิบดีสามารถประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรได้ ภายหลังจากที่ได้ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีและประธานสภาทั้งสองแล้ว โดยเมื่อมีรัฐกฤษฎีกาประกาศยุบสภา จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปอย่างน้อยที่สุดภายใน 20 วัน แต่ต้องไม่เกิน 40 วัน อนึ่ง ในกรณีที่มีการยุบสภา หรือสมาชิกลาออก หรือตาย หรือไปปฏิบัติหน้าที่อื่นซึ่งรวมไปถึงงานของรัฐบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอาจจะมีการดำรงตำแหน่งน้อยกว่า 5 ปีได้ สภาผู้แทนราษฎรประชุม ณ พระราชวังบูร์บง ริมฝั่งแม่น้ำแซน ในกรุงปารี.

ใหม่!!: ปารีสและสภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สภาแห่งรัฐ (ฝรั่งเศส)

แห่งรัฐ (Conseil d'État; Council of State) เป็นหน่วยงานรัฐบาลระดับชาติในฝรั่งเศส มีบทบาทเป็นทั้งที่ปรึกษากฎหมายให้แก่ฝ่ายบริหาร และเป็นศาลสูงสุดสำหรับกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง นโปเลียน โบนาปาร์ต จัดตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ปารีสและสภาแห่งรัฐ (ฝรั่งเศส) · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติแบร์ตูวีล

มบัติแบร์ตูวีล (Berthouville Treasure) เป็นเครื่องเงินโรมันที่ขุดพบระหว่างการไถนาที่หมู่บ้านวีเลอเรที่เมืองแบร์ตูวีลในจังหวัดเออร์ แคว้นโอต-นอร์ม็องดี ทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศสในเดือนมีนาคมปี ค.ศ. 1830 สมบัติได้รับการซื้อเมื่อพบเป็นจำนวนเงินเพียง 15,000 ฟรังก์ ในปัจจุบันสมบัติแบร์ตูวีลได้รับการรักษาไว้ที่แผนกเหรียญตรา, หอสมุดแห่งชาติแห่งประเทศฝรั่งเศสในกรุงปารีสในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและสมบัติแบร์ตูวีล · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์

มศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์ หรือ สมศักดิ์ สิงห์ชัชวาลย์ มีชื่อจริงว่า สมศักดิ์ ต๊ะสิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ที่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง เป็นแชมป์โลกมวยสากลรุ่นซูเปอร์แบนตัมเวท WBA ที่คว้าแชมป์มาครองได้อย่างสะใจคนไทย ด้วยการชนะน็อคแชมป์โลกถึงถิ่นที่ประเทศฝรั่งเศสอย่างดุเดือด แม้จะได้ครองตำแหน่งเพียงระยะเวลาสั้น ๆ ก็ตาม.

ใหม่!!: ปารีสและสมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส (French Renaissance) หมายถึงการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมและศิลปะ ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ที่นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มต้นขึ้นในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสตามปกติแล้วถือว่าเริ่มขึ้น ตั้งแต่การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลีในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์

มเด็จพระราชินีฟารีดา (الملكة فريده; พระราชสมภพ: 5 กันยายน พ.ศ. 2464 – สวรรคต: 16 ตุลาคม พ.ศ. 2531) หรือพระนามเดิม ซาฟินาซ ษูลฟิการ (صافيناز ذوالفقار Sāfināz Dhū l-Fiqār) เป็นอดีตพระราชินีในพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงแอนน์ แอนโตแนต ฟรองซัวส์ ชาร์ล็อตต์ ซีต้า มาร์เกอริต แห่งบูร์บง-ปาร์มา (18 กันยายน พ.ศ. 2466 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย อดีตพระมหากษัตริย์แห่งโรมาเนีย พระองค์เป็นพระนัดดาใน เจ้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก เป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก ผ่านทางสายพระราชมาร.

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส ("Maria II de Portugal") (4 เมษายน 1819 - 15 พฤศจิกายน 1853) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกส พระนางเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเปดรูที่ 4กับอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย อภิเสกสมรสครั้งแรกกับออกุสต์ เดอ โบฮาร์เนส์ ดยุคแห่งเลาช์เทนเบิร์ก ครั้งที่สองกับเจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระนางครองราชสมบัติสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2369 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2371 ครั้งที่สองเมื่อ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2377 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2396.

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 2 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์(อังกฤษ:Rasoherina หรือ Rasoaherina) (พ.ศ. 2357 - 1 เมษายน พ.ศ. 2411) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งมาดากัสการ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีนาถราซอเฮอรินาแห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์ หรือ รานาวาโล มันจากาที่ 3 (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2460) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถพระองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรเมรีนาหรือประเทศมาดากัสการ์ปัจจุบัน ตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน

ซีเร คลารี หรือ เบอร์นาร์ดีน เออเฌนี เดซีเร คลารี (ฝรั่งเศส:Bernardine Eugénie Désirée Clary; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1777 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1860) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ โดยทรงเป็นพระมเหสีในพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน อดีตนายพลชาวฝรั่งเศสและเป็นผู้สถาปนาราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ และครั้งหนึ่งพระนางทรงเคยเป็นคู่หมั้นในนโปเลียน โบนาปาร์ต พระนางทรงเปลี่ยนพระนามอย่างเป็นทางการเป็น เดซีเดอเรีย (Desideria) พระนามในภาษาละติน ซึ่งพระนางก็ไม่ทรงเคยใช้แทนพระองค์เอง.

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

มเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ (សម្តេចព្រះនរោត្តម នរិន្រ្ទពង្ស, พ.ศ. 2497 - 2546) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุโดยมีพระเชษฐาคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุกซ็องบูร์

ระราชวังลุกซ็องบูร์และสวน พระราชวังลุกซ็องบูร์และสวน สวนแห่งพระราชวังลุกซ็องบูร์ (หลังเล็ก) สถานที่พักผ่อนหย่อนใจกลางกรุงปารีส วิวจากด้านนอก สวนลุกซ็องบูร์ หรือ ชาร์แดง ดู ลุกซ็องบูร์ (Jardin du Luxembourg; Luxembourg Gardens) เป็นสวนสาธารณะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในกรุงปารีส โดยกินพื้นที่กว่า 224,500 ตารางเมตร ตั้งอยู่ในเขตที่ 6 โดยเป็นสวนที่อยู่ในเขตพื้นที่ของพระราชวังลุกซ็องบูร์ ซึ่งเป็นที่ทำการของวุฒิสภา เวลาทำการของสวนจะปรับเปลี่ยนไปในแต่ละฤดู เวลาเปิดระหว่าง 7.00 - 8.15 น. และเวลาปิดระหว่าง 16.45 - 21.45 น.

ใหม่!!: ปารีสและสวนลุกซ็องบูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนหลวงสตัดลีย์

วนหลวงสตัดลีย์ (Studley Royal Park) เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมที่ตั้งอยู่ในมณฑลยอร์กเชอร์ แคว้นอังกฤษ สหราชอาณาจักร มีพื้นที่ทั้งหมด 323 ไร่ (800 เอเคอร์) โดยยูเนสโกได้บันทึกในชื่อ "Studley Royal Park including the Ruins of Fountains Abbey" ในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมร่วมกับฟาวน์ทินส์แอบบี.

ใหม่!!: ปารีสและสวนหลวงสตัดลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

หพันธรัฐรัสเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟันดาบนานาชาติ

หพันธ์ฟันดาบนานาชาติ (Fédération Internationale d'Escrime; International Fencing Federation) เป็นองค์กรที่ควบคุมดูแลกีฬาฟันดาบสากลระหว่างประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและสหพันธ์ฟันดาบนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลฝรั่งเศส

หพันธ์ฟุตบอลฝรั่งเศส (Fédération Française de Football; French Football Federation (FFF)) เป็นสมาคมฟุตบอลในฝรั่งเศส รวมถึงดูแลดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส (กัวเดอลุป เฟรนช์เกียนา มาร์ตีนิก มายอต นิวแคลิโดเนีย เฟรนช์โปลินีเซีย เรอูว์นียง) ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสหพันธ์ฟุตบอลฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ปารีสและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์มวยไทยและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องแห่งประเทศฝรั่งเศส

หพันธ์มวยไทยและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง (Fédération de Muaythaï et Disciplines Associées; อักษรย่อ: FMDA) เป็นสหพันธ์เพื่อการจัดการส่งเสริมกีฬามวยไทยสำหรับชาวฝรั่งเศส ในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและสหพันธ์มวยไทยและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องแห่งประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ปารีสและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union - ชื่อย่อ: ITU) เป็นองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งนับเป็นองค์การสากลที่เก่าแก่มากที่สุดอันดับสอง ที่ยังคงดำเนินการอยู่ โดยในระยะแรกเริ่ม ใช้ชื่อว่า สหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ (International Telegraph Union) จัดตั้งขึ้นที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมีโย

นมีโย (Viaduc de Millau; Viaducte de Milhau) เป็นสะพานเคเบิลที่เชื่อมหุบเขาแม่น้ำทาร์นไม่ไกลจากเมืองมีโยทางตอนใต้ของฝรั่งเศส สะพานมีโยที่ออกแบบโดยสถาปนิกด้านวิศวกรรมโครงสร้างชาวฝรั่งเศสมีแชล วีร์ลอเฌอ และสถาปนิกชาวอังกฤษนอร์มัน ฟอสเตอร์เป็นสะพานที่สูงที่สุดในโลกที่เสาที่สูงที่สุดสูง — ที่สูงกว่าหอไอเฟลเพียงเล็กน้อย และเตี้ยกว่าตึกเอ็มไพร์สเตตเพียง สะพานนี้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวง A75 - ทางหลวง A71 ที่เชื่อมระหว่างปารีสกับมงเปอลีเย ค่าก่อสร้างสะพานทั้งหมดตกประมาณ 400 ล้านยูโร สะพานเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2004 อีกสองวันหลังจากนั้นก็เปิดใช้ในการจราจร ในปี ค.ศ. 2006 สะพานมีโยได้รับรางวัลโครงสร้างดีเด่นจากสมาคมสะพานและวิศวกรรมโครงสร้างนานาชาติ (IABSE).

ใหม่!!: ปารีสและสะพานมีโย · ดูเพิ่มเติม »

สัก สุตสคาน

นายพลสัก สุตสคาน (Sak Sutsakhan) เป็นนักการเมืองและทหารชาวกัมพูชา ที่มีบทบาทอย่างยาวนานภายในประเทศ เขาเป็นประมุขรัฐคนสุดท้ายของสาธารณรัฐเขมรก่อนจะถูกล้มล้างโดยเขมรแดงใน..

ใหม่!!: ปารีสและสัก สุตสคาน · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: ปารีสและสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

สัปดาห์แฟชั่น

นางแบบขณะกำลังเดินแฟชั่นโชว์บนเวทีเดินแบบในงานสัปดาห์แฟชั่นบอสตัน สัปดาห์แฟชั่น (Fashion week) เป็นงานจัดแสดงสินค้าในอุตสาหกรรมแฟชั่น เป็นเวลานานหนึ่งสัปดาห์ โดยมีนักออกแบบ และแบรนด์ต่าง ๆ แสดงคอลเลกชันล่าสุดของพวกเขาในแฟชั่นโชว์บนเวทีเดินแบบ ให้กับผู้ซื้อและสื่อ งานจัดแสดงเหล่านนี้มีอิทธิพลต่อแนวโน้มความนิยมในปัจจุบันอย่างมาก สัปดาห์แฟชั่นที่โดดเด่นที่สุดที่จะมีขึ้นในเมืองหลวงแฟชั่นของโลก "บิ๊กโฟร์" ที่ได้รับความนิยมเป็นส่วนใหญ่จากสื่อต่าง ๆ ทั่วโลก คือนครนิวยอร์ก ลอนดอน มิลาน และปารีส ในขณะที่วงการแฟชั่นได้เปลี่ยนแปลงมากขึ้นในศตวรรษที่ 21 ก็มีงานสัปดาห์แฟชั่นเกิดขึ้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น เบอร์ลิน ลอสแอนเจลิส มาดริด โรม เซาเปาลู โตเกียว เซี่ยงไฮ้ ฮ่องกง ซิดนีย์ สิงคโปร์ ดูไบ และรวมถึงกรุงเทพมหานคร ก็เป็นเจ้าภาพสำคัญในการจัดงานสัปดาห์แฟชั่น.

ใหม่!!: ปารีสและสัปดาห์แฟชั่น · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตฟุตบอลอาชีพ (ฝรั่งเศส)

ันนิบาตฟุตบอลอาชีพ (Ligue de Football Professionnel) หรือที่รู้จักกันในชื่อ แอลแอ็ฟเป (LFP) คือองค์กรกีฬาของประเทศฝรั่งเศสที่เป็นผู้ดำเนินการแข่งขันฟุตบอลระหว่างสโมสรอาชีพที่จดทะเบียนในประเทศ โดยปฏิบัติหน้าที่ภายใต้อำนาจของสหพันธ์ฟุตบอลฝรั่งเศส สันนิบาตได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสันนิบาตฟุตบอลอาชีพ (ฝรั่งเศส) · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ พยัคฆ์อรุณ

มารถ พยัคฆ์อรุณ แชมป์โลกมวยสากลอาชีพคนที่ 10 ของไทย และอดีตยอดนักมวยไทยชื่อดัง.

ใหม่!!: ปารีสและสามารถ พยัคฆ์อรุณ · ดูเพิ่มเติม »

สามทหารเสือ

ประกอบโดย Maurice Leloir ปี 1894 สามทหารเสือ (Les Trois Mousquetaires; The Three Musketeers) เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ของอาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาฝรั่งเศส เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร Le Siècle ระหว่างเดือนมีนาคม ถึงกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสามทหารเสือ · ดูเพิ่มเติม »

สาวิตรี อมิตรพ่าย

วิตรี อมิตรพ่าย (ชื่อเล่น: เอ็มเอ็ม; 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 —) เป็นนักกีฬาแบดมินตันหญิงชาวไทย ผู้ซึ่งเข้าแข่งขันรายการเจแปนซูเปอร์ซีรีส์ 2012 โดยจับคู่กับทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ในประเภทหญิงคู่ และมณีพงศ์ จงจิตร ในประเภทคู่ผสม.

ใหม่!!: ปารีสและสาวิตรี อมิตรพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 (Deuxième République France) คือประเทศฝรั่งเศสในช่วงเวลาตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1848 ถึงการรัฐประหารในปี 1851 โดยหลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ตเพื่อก่อตั้งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 ตลอดช่วงเวลาสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 มีประมุขแห่งรัฐเพียงคนเดียวคือประธานาธิบดีหลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต.

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

รณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 เป็นสาธารณรัฐปัจจุบันของประเทศฝรั่งเศสที่ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เกิดจากการล่มสลายของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 โดยเปลี่ยนแปลงจากระบอบรัฐสภามาเป็นระบอบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐลิทัวเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

รณรัฐอิสลามอิหร่าน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐเอกวาดอร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐเอกวาดอร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

รณรัฐเฮติ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

รณรัฐเฮติ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและสาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ

อาคารสำนักงานที่ปารีส สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ (École française d'Extrême-Orient หรือ EFEO) เป็นสถาบันของฝรั่งเศสที่ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับโบราณคดี ประวัติศาสตร์ รวมทั้งสังคมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (โดยเฉพาะอินโดจีนของฝรั่งเศส) สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศก่อตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2443 โดยในตอนแรกมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ฮานอย และต่อมาได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ปารี.

ใหม่!!: ปารีสและสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ

ำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ (International Bureau of Weights and Measures, Bureau international des poids et mesuresอ่านว่า บูโรแองแตร์นาเซียนาลเดปัวเซเมอซูร์ แปลตรงตัวคือ สำนักระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งและการวัด ย่อ BIPM เบอีเปเอ็ม หรือบีไอพีเอ็ม) เป็นองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานหน่วยชั่งตวงวัด จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาเมตริก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สิงคโปร์แอร์ไลน์

อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้สร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่งในฐานะผู้สร้างปรากฏการณ์ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะความเป็นเลิศในด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย และบริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลมากมายและเป็นผู้นำทางอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Airport House ใกล้กับท่าอากาศยานชางงีในย่านชางงีในสิงคโปร.

ใหม่!!: ปารีสและสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอับดุล อะซีซ

ลต่านอัลดุล อะซีซ สุลต่านอัลดุล อะซีซ (Abdul Aziz; (ภาษาตุรกีออตโตมัน: عبد العزيز / `Abdü’l-`Azīz) เป็นสุลต่านแห่งจักรวรรดิออตโตมาน ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2404 – 2419 ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาคือสุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1 พระองค์ประสูติเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2372 ในรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิออตโตมานถูกคุกคามจากตะวันตกสูงมาก ทำให้พระองค์ต้องสานต่องานทางด้านการปฏิรูปที่พระเชษฐาของพระองค์ริเริ่มไว้ พระองค์เสด็จไปปารีสและเวียนนาใน พ.ศ. 2410 ซึ่งนับเป็นสุลต่านแห่งจักรวรรดิออตโตมานพระองค์แรกที่เสด็จต่างประเทศ เมื่อกลับมาแล้ว ได้นำสถาปัตยกรรมแบบยุโรปมาใช้ในประเทศ นอกจากนั้น ในรัชสมัยของพระองค์ยังมีปัญหาด้านการคลังเนื่องจากการกู้เงินต่างประเทศมาใช้ในรัชกาลก่อนหน้า ใน พ.ศ. 2418 นั้น ยอดเงินกู้ของจักรวรรดิออตโตมานสูงถึง 200 ล้านปอนด์ นอกจากนั้น ในรัชสมัยของพระองค์เกิดการจลาจลหลายแห่ง เริ่มจากชาวคริสต์ในเกาะครีตประกาศเอกราช และขอไปรวมกับกรีซใน พ.ศ. 2410 สุลต่านทรงส่งกำลังไปปราบจน พ.ศ. 2411 จึงยอมให้ชาวคริสต์ร่วมปฏิบัติงานกับเจ้าหน้าที่ชาวเติร์กในการเก็บภาษีและตัดสินคดี และให้มีสภาผู้แทนที่มาจากการเลือกตั้งได้ ใน พ.ศ. 2418 เกิดจลาจลในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาซึ่งเกิดจากความขัดแย้งระหว่างชาวนาที่เป็นชาวคริสต์กับเจ้าของที่ดินที่เป็นมุสลิม ที่มีการขูดรีดภาษีชาวนา ทำให้มีผู้ลี้ภัยเข้าไปในเซอร์เบีย มอนเตเนโกร และออสเตรีย-ฮังการี มหาอำนาจในตะวันตกได้แก่ ออสเตรีย-ฮังการี เยอรมัน และรัสเซียพยายามขัดขวางการจลาจลโดยจัดการประชุมที่เบอร์ลิน พ.ศ. 2419 และประกาศเป็นบันทึกช่วยจำเบอร์ลิน เพื่อให้ผู้ลี้ภัยกลับถิ่นเดิมและดูแลการปฏิรูปให้ได้ผล อังกฤษไม่ยอมรับบันทึกช่วยจำ ทำให้วิกฤตการณ์ขยายตัวออกไป เกิดการฆ่าฟันชาวคริสต์ในบัลแกเรียหลายพันคน เพื่อตอบโต้ที่เจ้าหน้าที่ชาวเติร์กถูกชาวคริสต์สังหาร การที่สุลต่านอับดุล อะซีซไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้ ทำให้อัครมหาเสนาบดีมิตฮัต ปาชาก่อการรัฐประหาร ปลดพระองค์ลงจากตำแหน่งเมื่อ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2419 และให้พระราชภาติยะของพระองค์ขึ้นครองราชย์แทนเป็นสุลต่านมูรัดที่ 5 สุลต่านอับดุล อะซีซสวรรคตเมื่อ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2419 หลังการสละราชสมบัติ โดยใช้กรรไกรตัดที่ข้อมือทั้งสองข้างขณะถูกคุมขังในหอคอย ทำให้เกิดความกังขาว่าทรงทำเช่นนั้นได้อย่างไร การชันสูตรพระศพไม่ได้รับอนุญาต เอกสารที่เป็นทางการระบุว่าทรงปลงพระชนม์ชีพเอง และพระบรมศพถูกฝังที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล โดยมีทั้งผู้ที่เชื่อว่าทรงปลงพระชนม์ชีพเองและถูกลอบปลงพระชนม์ ต่อมาในรัชสมัยของสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ที่ครองราชย์ต่อจากสุลต่านมูรัดที่ 5 ได้กล่าวหาว่ามิตฮัต ปาชาเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์สุลต่านอับดุล อะซีซ และพิพากษาให้เนรเทศปาชาไปยังคาบสมุทรอาระเบียใน พ.ศ. 2424 ก่อนที่ปาชาจะถูกลอบสังหารที่นั่นในอีกสองปีต่อม.

ใหม่!!: ปารีสและสุลต่านอับดุล อะซีซ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 มีชื่อเรียกในสื่อสารมวลชนว่า บิ๊กจ๊อ.

ใหม่!!: ปารีสและสุนทร คงสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สู้ไม่รู้จักตาย

ู้ไม่รู้จักตาย (Taken) ภาพยนตร์แอ็คชั่นระทึกขวัญสัญชาติฝรั่งเศส อำนวยการสร้างโดย ลุค แบซง แสดงนำโดย เลียม นีสัน, แม็กกี เกรซ และ แฟมเก แจนเซน บทภาพยนตร์โดย ลุค แบซง และ โรเบิร์ต มาร์ก คาเมน และกำกับฯโดย ปิแอร์ โมเรล.

ใหม่!!: ปารีสและสู้ไม่รู้จักตาย · ดูเพิ่มเติม »

สี่สิบห้าองครักษ์

ี่สิบห้าองครักษ์ (The forty-five guards) คือทหารองครักษ์จำนวนสี่สิบห้าคนที่ได้รับเลือกมาโดยฌอง หลุยส์ เดอ โนกาเรต์ เดอ ลา วาแลต ดยุคแห่งเอแปร์นง (Jean Louis de Nogaret de La Valette) เพื่อให้มาพิทักษ์พระเจ้าอองรีที่ 3 แห่งฝรั่งเศสระหว่างวิกฤติการณ์ของสงครามสามอองรี ทหารองครักษ์สี่สิบห้าคนที่ได้รับเลือกมาเป็นขุนนางชั้นรอง (บางคนมาจากกาสคอญ) ที่บ้างก็เป็นเจ้าของม้าเพียงตัวเดียวและแผ่นดินเพียงสองสามเอเคอร์สำหรับเลี้ยงตัวเอง เมื่อได้รับเลือกมาแล้วทหารองครักษ์ก็ได้ค่าจ้างอย่างสูงเป็นการแลกเปลี่ยนกับการรักษาความปลอดภัยให้แก่พระเจ้าอองรีที่ 3 ตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมงโดยการอยู่ยามครั้งละสิบห้าคน หลังจากที่สันนิบาตคาทอลิกทำการปฏิวัติในปารีส พระเจ้าอองรีก็จำต้องเสด็จหนีไปยังบลัวส์ ที่ทรงใช้เป็นที่ตั้งมั่นวางแผนยึดอำนาจคืนจากรัฐสภาทั่วไป โดยการให้ทหารองครักษ์สังหารอองรีที่ 1 ดยุคแห่งกีส เมื่อดยุคเดินทางมาเฝ้าพระเจ้าอองรีที่พระราชวังบลัวส์เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1588 และน้องชายหลุยส์ที่ 2 คาร์ดินัลแห่งกีสในวันต่อมา หลังจากที่พระเจ้าอองรีที่ 3 เองถูกลอบปลงพระชนม์โดยฌาคส์ เคลมงต์ (Jacques Clément) ราชบัลลังก์ฝรั่งเศสก็ตกไปเป็นของอองรีแห่งนาวาร์ กององครักษ์ก็ทำหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้แก่พระองค์ต่อมาจนกระทั่งเสด็จสวรรคต ที่อาจจะเป็นการถูกลอบปลงพระชนม์ เรื่องราวของกององครักษ์นี้เป็นแรงบันดาลใจให้อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มาเขียนนิยาย The Forty-Five Guardsmen ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสี่สิบห้าองครักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันฟรองเซดูเปโตรล

ันฟรองเซดูเปโตรล (Institut français du pétrole แองสตีตู ฟรองเซ ดู เปโตรล - สถาบันปิโตรเลียมแห่งฝรั่งเศส) เป็นสถาบันวิจัยอิสระในเมืองรูแอย-มัลเมซง (Rueil-Malmaison) ใกล้กรุงปารีส ใน ประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2487 โดยมีไซต์อยู่ที่เมืองลียงและโป ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสถาบันฟรองเซดูเปโตรล · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ

ท้องพระโรงเวสต์มินสเตอร์ที่เป็นเพดานแบบ “hammerbeam roof” ภาพจากคริสต์ศตวรรษที่ 18 สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ (English Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองขึ้นในอังกฤษระหว่างราวปี ค.ศ. 1180 ถึงราวปี ค.ศ. 1520 ลักษณะของสถาปัตยกรรมกอทิกของอังกฤษก็เช่นเดียวกับสถาปัตยกรรมกอทิกของส่วนอื่น ๆ ในยุโรป ที่บ่งลักษณะได้จากการใช้ซุ้มโค้งแหลม, เพดานโค้งแหลม, ค้ำยัน, หน้าต่างกว้างและสูง และหอหรือหลังคาที่เป็นยอดแหลม (spire) สถาปัตยกรรมกอทิกเข้ามาในอังกฤษจากฝรั่งเศส เมื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีลักษณะที่เรียกว่า “กอทิก” ได้รับการสร้างรวมกันในวัดเดียวที่บาซิลิกาแซงต์เดอนีส์นอกกรุงปารีสเป็นครั้งแรกโดยแอบบ็อตซูแกร์ ที่ได้รับการสถาปนาในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟฟ้าร้างในรถไฟฟ้าปารีส

นีรถไฟฟ้าผีในรถไฟฟ้าปารีส เป็นสถานีรถไฟฟ้าในกรุงปารีส ที่ปิดบริการหรือไม่ใช้งานอีกต่อไป โดยการปิดทำการนั้นมาจากหลายสาเหตุ เหตุผลหลักที่ปิดทำการ เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ปารีสและสถานีรถไฟฟ้าร้างในรถไฟฟ้าปารีส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟฮัมบูร์ก

นีรถไฟฮัมบูร์ก สถานีรถไฟฮัมบูร์ก เป็นสถานีรถไฟหลักแห่งหนึ่งในเยอรมนี ตั้งในเมืองฮัมบูร์ก เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสถานีรถไฟฮัมบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง

นที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: ปารีสและสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ปารีสและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์บอย (อัลบั้ม)

ตาร์บอย (Starboy) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่สามของนักร้องชาวแคนาดา เดอะวีกเอนด์ อัลบั้มออกจำหน่ายในวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและสตาร์บอย (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

สตาดเดอฟร็องส์

ตาดเดอฟร็องส์ (Stade de France) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในย่านแซ็งเดอนี ตอนเหนือของกรุงปารีส ทำให้เป็นสนามกีฬาที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ของยุโรป โดยใช้เป็นสนามเหย้าในการแข่งขันระหว่างประเทศทั้งของฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศสและรักบี้ทีมชาติฝรั่งเศส สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสนามกีฬาประเภทที่ 4 จัดโดยยูฟ่า สนามแห่งนี้ใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 1998 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพ และในนัดรองชิงชนะเลิศ ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายเอาชนะบราซิล ไปได้ 3–0 อย่างเหนือความคาดหมาย ได้แชมป์โลกไปครองเป็นสมัยแรกในที่สุด สตาดเดอฟร็องส์ เปิดใช้ในวันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและสตาดเดอฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

สต็องดาล

ต็องดาล (Stendhal) เป็นหนึ่งในนามปากกาของ มารี-อ็องรี แบล (Marie-Henri Beyle; 23 มกราคม ค.ศ. 1783 – 23 มีนาคม ค.ศ. 1842) นักเขียนชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและสต็องดาล · ดูเพิ่มเติม »

สปาย (ภาพยนตร์)

ปาย (Spy) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวตลกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสปาย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สปิริตออฟเซนต์หลุยส์

ภาพวาดจำลอง สปิริตออฟเซนต์หลุยส์ สปิริตออฟเซนต์หลุยส์ (Spirit of St.) ชื่อของเครื่องบินสร้างเองที่ ชาลส์ ลินด์เบิร์ก ใช้ในเดินทางคนเดียวโดยไม่หยุดพัก ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก จากนครนิวยอร์กไปยังปารีส เป็นเครื่องบินใบพัด ปีกชั้นเดียว ออกแบบโดยนาย โดนัลด์ ฮอลล์ โดยดัดแปลงมาจากเครื่องบินแบบ Ryan M-2 strut-braced monoplane ใช้เครื่องยนต์แบบ Wright Whirlwind J-5C มีกำลัง 223 แรงม้า มีความกว้างปีก 14 m ยาว 8 m สูง 3 m น้ำหนักรวมสัมภาระและผู้โดยสาร 2,330 kg น้ำหนักเครื่องเปล่า 975 kg ผู้ผลิตคือ บริษัท ไรอัน แอร์ไลน์ส จำกัด หมวดหมู่:เครื่องบิน.

ใหม่!!: ปารีสและสปิริตออฟเซนต์หลุยส์ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ

นามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ (横浜国際総合競技場) หรือรู้จักในชื่อ นิสสันสเตเดียม (日産スタジアム) เป็นสนามกีฬาในโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น เปิดใช้งานในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก

นามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) เป็นชื่อที่มักจะตั้งให้กับสนามกีฬากลางขนาดใหญ่ สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติ เป็นสนามซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด รวมถึงการแข่งขันประเภทลู่และลาน ซึ่งส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “สนามกีฬาโอลิมปิก” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสนามแข่งขันเหล่านี้ อนึ่ง สนามกีฬากลางของโอลิมปิกฤดูหนาวไม่ใช้ชื่อนี้ อย่างไรก็ตาม อาคารกีฬาบางแห่งอาจใช้ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งมักจะใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด โดยสนามกีฬาโอลิมปิกแต่ละแห่ง ใช้รองรับการแข่งขันเพียงครั้งเดียว ดังนั้นจึงมีสนามกีฬาโอลิมปิกมากกว่าหนึ่งแห่ง ในเมืองซึ่งเป็นเจ้าภาพมาแล้วสองครั้งขึ้นไป ขณะที่มีเพียง โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส (Los Angeles Memorial Coliseum) แห่งเดียวที่เป็นสนามกีฬาหลักถึงสองครั้ง สำหรับพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขันครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ไม่ได้จัดขึ้นที่สนามกีฬาเวมบลีย์ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ ที่เคยเป็นสนามกีฬาหลักในครั้งที่ 14 เมื่อปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แต่เป็นที่สนามกีฬาแห่งใหม่ในแขวงสแตรตเฟิร์ด อย่างไรก็ตาม เวมบลีย์คงเป็นสนามแข่งขันฟุตบอลบางนัด และกลายเป็นสนามกีฬาแห่งที่สอง ซึ่งใช้แข่งขันในโอลิมปิกสองครั้ง แต่เป็นศูนย์กลางเพียงครั้งเดียว ต่อจากสนามคริกเก็ตเมลเบิร์น ซึ่งใช้เป็นสนามแข่งขันกรีฑา ฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ กับฮอกกีในครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และเป็นสนามเหย้านัดแรก ของการแข่งขันฟุตบอลในครั้งที่ 27 เมื่อปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: ปารีสและสนามกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์

นามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์ (Stade Olympique Yves-du-Manoir) เป็นสนามรักบี้และสนามฟุตบอล ตั้งอยู่ที่เมืองกอลงบ์ ใกล้กับกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสนามกีฬาโอลิมปิกอีฟว์ ดูว์ มานัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 122

นธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร..

ใหม่!!: ปารีสและสนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 122 · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาปารีส

นธิสัญญาปารีส อาจหมายถึง ความตกลงหลายฉบับที่เจรจาและลงนามกันในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นต้นว.

ใหม่!!: ปารีสและสนธิสัญญาปารีส · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763)

นธิสัญญาปารีส หรือเรียกสนธิสัญญ..

ใหม่!!: ปารีสและสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763) · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2012–13

ูกาล 2012-13 ของ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 113 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 82 ของการได้อยู่บนลีกสูง.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2012–13 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2014–15

ูกาล 2014-15 ของ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 115 ของสโมสรและเป็นฤดูกาลที่ 84 ของการได้อยู่บนลีกสูงสุดของสเปน.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2014–15 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2016–17

มสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2016–17 ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 117 ของสโมสรและเป็นฤดูกาลที่ 86 ที่ได้อยู่บนลีกสูงสุดของสเปน บาร์เซโลนาจะมีส่วนร่วมในการแข่งขันสี่รายการหลังจากเป็นผู้ชนะเลิศการแข่งขันสองรายการในช่วงฤดูกาลฤดูกาลที่ผ่านม.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2017–18

การแข่งขัน สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิก ฤดูกาล 2017–18 ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 118 ของประวัติศาสตร์สโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 53 ติดต่อกันบนลีกสูงสุดของเยอรมัน.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิกในฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17

ูกาล 2016–17 เป็นฤดูกาลที่ 25 ของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในพรีเมียร์ลีก และเป็นฤดูกาลที่ 97 ติดต่อกันบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง

มสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (Paris Saint-Germain F.C.) หรือเรียกอย่างย่อว่า เปแอ็สเฌ (PSG) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส สโมสรก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2015–16

ูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 114 ของ สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี แต่เป็นฤดูกาลที่แปดสิบเจ็ดในฟุตบอลอังกฤษและเป็นฤดูกาลที่สิบเก้าในพรีเมียร์ลีกนับตั้งแต่ลีกได้กำเนิดก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกโดยแมนเชสเตอร์ซิตีเป็นหนึ่งใน 22 สมาชิกระบบลีกแบบดั้งเดิม พร้อมด้วยพรีเมียร์ลีก, สโมสรยังจะแข่งขันใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, เอฟเอคัพ และ ฟุตบอลลีกคัพ ฤดูกาลครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 เป็นฤดูกาลที่ 100 ของเชลซี, และเป็นฤดูกาลที่ 22 ของ พรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2013–14 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2014–15

ูกาล 2014-15 เป็นฤดูกาลที่ 101 ของเชลซี และเป็นฤดูกาลที่ 23 ของพรีเมียร์ลีก เชลซีได้เข้าไปเล่นในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกฤดูกาลนี้ในรอบแบ่งกลุ่ม หลังจบอันดับที่ 3 ของพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2013–14 สำหรับพรีเมียร์ลีกในฤดูกาลนี้ของเชลซี นับว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่ง เมื่อสามารถคว้าแชมป์ไปได้ นับเป็นแชมป์รายการนี้เป็นสมัยที่ 4 และเป็นแชมป์ลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษเป็นสมัยที่ 5 โดยถือเป็นการกลับมาเป็นผู้จัดการทีมอีกครั้งของ โชเซ มูรีนโย ผู้จัดการทีมเป็นฤดูกาลที่ 2 ซึ่งก่อนหน้านั้นราว 10 ปีก่อน มูรีนโย เคยเป็นผู้จัดการทีมให้กับเชลซีมาแล้ว และทำให้สโมสรได้แชมป์พรีเมียร์ลีกมาแล้ว 2 สมัย และนอกจากนี้แล้วในฤดูกาลนี้ เชลซียังได้แชมป์ลีกคัพอีกด้วย โดยเชลซีสามารถคว้าแชมป์ไปได้อย่างไม่ยากเย็น ทำคะแนนห่างจากสโมสรที่ได้อันดับ 2 ไปมากพอสมควร จนสามารถคว้าแชมป์ได้อย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่จบการแข่งขันนัดที่ 35 โดยทำสถิติแพ้ไปเพียง 3 นัด และเสมอ 9 นัดเท่านั้น จากการแข่งขันทั้งหมด 38 นัด ทำคะแนนไปทั้งหมด 87 คะแนน และสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการเป็นสโมสรที่มีคะแนนำเป็นที่หนึ่งในอับดับตารางคะแนนตั้งแต่เปิดฤดูกาล จนกระทั่งสิ้นสุด โดยไม่มีสโมสรใดสามารถแซงขึ้นมานำได้ มีแต่เพียง แมนเชสเตอร์ซิตี ซึ่งเป็นแชมป์เก่าเมื่อฤดูกาลที่แล้วเท่านั้นที่ทำคะแนนขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งร่วมกันได้ แต่ก็เพียงระยะเวลาสั้น ๆ ในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2014–15 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2015–16

ูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 102 ของเชลซี, และเป็นฤดูกาลที่ 24 ของ พรีเมียร์ลีก, และเป็นปีที่ 110 ในการดำรงก่อตั้ง สโมสรฟุตบอล เชลซีได้เข้ามาร่วมแข่งขันใน พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2015–16 หลังจากครองแชมป์พรีเมียร์ลีก เป็นสมัยที่สี่ได้สำเร็จใน ฤดูกาลที่ผ่านมา แต่ผลการแข่งขันโดยรวมในพรีเมียร์ลีกของเชลซี เมื่อผ่านไปเกือบครึ่งฤดูกาลไม่ดีเอาเสียเลย เมื่อเป็นฝ่ายแพ้ไปถึง 9 นัด จากการแข่งขันทั้งสิ้น 16 นัด อยู่ในอันดับที่ 16 ของตารางคะแนน ซึ่งเกือบที่จะตกชั้น โดยมีคะแนนเหนือทีมอันดับที่ 17 คือ สวอนซีซิตี เพียงคะแนนเดียวเท่านั้น ทำให้ในปลายปี 2015 ทางสโมสรได้ตัดสินใจปลด โชเซ มูรีนโย ผู้จัดการทีมชาวโปรตุเกส ที่หวนกลับมารับหน้าที่นี้เป็นครั้งที่ 2 และนำพาทีมคว้าแชมป์เมื่อฤดูกาลที่แล้ว ออกจากตำแหน่ง และได้แต่งตั้ง คืส ฮิดดิงก์ ซึ่งเคยเป็นผู้จัดการทีมมาแล้วเมื่อปี 2009 กลับมารับหน้าที่อีกครั้ง จนกระทั่งสิ้นสุดฤดูกาล.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16

การแข่งขัน ฤดูกาล 2015–16 ของ สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 112 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 85 ของการได้อยู่บนลีกสูง.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2017–18

การแข่งขัน ฤดูกาล 2017–18 ของ สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 114 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 87 ของการได้อยู่บนลีกสูง.

ใหม่!!: ปารีสและสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

สเกตลีลากร็องปรีไฟนอล

กตลีลากร็องปรีไฟนอล (Grand Prix of Figure Skating Final) หรือชื่อเดิมคือ แชมป์เปียนส์ซีรีส์ไฟนอล (Champions Series Final) หรือนิยมเรียกสั้นๆว่า กร็องปรี (Grand Prix) เป็นการแข่งขันสเกตลีลานานาชาติระดับผู้ใหญ่ การแข่งขันแบ่งออกเป็นสี่ประเภทคือ เดี่ยวชาย, เดี่ยวหญิง, สเกตคู่ และไอซ์แดนซิง การแข่งขันรายการนี้เป็นการแข่งขันที่ต่อเนื่องจากรายการ ISU Grand Prix โดยคัดเอาจากผู้มีคะแนนสูงสุด 6 อันดับแรกในแต่ละประเภท กติกาและโครงสร้างคะแนนการแข่งขันแตกต่างกันไปตามแต่ละฤดูกาล กร็องปรีไฟนอลจัดขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและสเกตลีลากร็องปรีไฟนอล · ดูเพิ่มเติม »

หมอกาฬโรค

มพ์แกะทองแดงของหมอกาฬโรคในกรุงโรม สมัยศตวรรษที่ 17 หมอกาฬโรค (plague doctor) เป็นแพทย์ผู้รักษาผู้ป่วยกาฬโรคCipolla, p. 65 หมอกาฬโรคได้รับการว่าจ้างจากชาวเมืองที่ได้รับผลกระทบ พวกเขารักษาทั้งคนรวยและคนจนและบางครั้งคิดค่ารักษาเพิ่มจากการดูแลและให้คำปรึกษาเพิ่มเติม หมอกาฬโรคไม่ใช่แพทย์หรือศัลยแพทย์ที่มีประสบการณ์สูง แต่ส่วนใหญ่เป็นแพทย์ที่ไม่ประสบความสำเร็จหรือแพทย์จบใหม่ โดยรักษาผู้ป่วยในฐานะหมอชุมชน ในฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ หมอกาฬโรคส่วนใหญ่ไม่ได้เรียนแพทย์และอาศัยความรู้จากประสบการณ์ การระบาดครั้งใหญ่ของกาฬโรคที่เรียกว่าแบล็กเดทในทวีปยุโรปสมัยศตวรรษที่ 14 ทำให้ประชาชนหลายล้านคนเสียชีวิตและเศรษฐกิจตกต่ำ อาชีพหมอกาฬโรคเป็นอาชีพที่มีค่ามากจนเคยเกิดเหตุจับตัวหมอกาฬโรคในเมืองบาร์เซโลนาไปเรียกค่าไถ่และชาวเมืองบาร์เซโลนายอมจ่ายเงินเพื่อไถ่ตัวByrne (Daily), p. 169 เมืองออร์เวียโตจ้างมัตตีโอ ฟู แองเจโลด้วยเงินมากกว่า 4 เท่าของค่าจ้างปกติของหมอกาฬโรคที่อยู่ที่ 50 ฟลอรินต่อปี หมอกาฬโรคใช้วิธีเจาะเลือดออกหรือใช้ปลิงหรือกบแตะที่ตุ่มน้ำเหลืองเพื่อ "ปรับสารน้ำให้สมดุล" หมอกาฬโรคมักจะไม่พบปะผู้คนเพื่อป้องกันการระบาดและบางครั้งก็ถูกกักตัว นอกเหนือจากการรักษาผู้ป่วย หมอกาฬโรคมีหน้าที่จดบันทึกจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต ในเมืองฟลอเรนซ์และเปรูเจีย หมอกาฬโรคได้รับการร้องขอให้ชันสูตรศพเพื่อหากลไกโรค รวมถึงให้คำแนะนำ เป็นพยานและจัดการพินัยกรรมของผู้ป่ว.

ใหม่!!: ปารีสและหมอกาฬโรค · ดูเพิ่มเติม »

หมอดู (คาราวัจโจ)

หมอดู (The Fortune Teller) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่มีด้วยกันสองฉบับที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ฉบับแรกเขียนในปี..

ใหม่!!: ปารีสและหมอดู (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

ซเลีย โฮวาร์ด (Celia Hovard) ชื่อเล่นภาษาสเปนว่า เชลีตา (Chelita) หรือรู้จักในนาม หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นสตรีชาวอาร์เจนตินาและเป็นหม่อมคนที่สองของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสกันในปี..

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล

หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล (หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล) (12 เมษายน 2479 -) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล เป็นบุตรของหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลและหม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ กิติยากร สมรสกับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา สกุลเดิม ศิริวงศ์ บุตรีของ.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย

ลตำรวจจัตวา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย (5 ตุลาคม พ.ศ. 2451 - 3 มกราคม พ.ศ. 2552) นักเขียน นักภาษาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักการศึกษา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย เป็นบุตรของ พันเอก หลวงเอนกนัยวาที (หม่อมราชวงศ์นารถ ชุมสาย) มีน้องสาวคือ หม่อมหลวงอนงค์ นิลอุบล เกิดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จบชั้นมัธยม 8 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวง ไปศึกษาอักษรศาสตร์จาก ทรินิตี้คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สำเร็จการศึกษาเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก

หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี (Catherine Desnitski) มีชื่อเต็มว่า เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา (Катерина Іванівна Десницька; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 — 3 มกราคม พ.ศ. 2503) เป็นอดีตหม่อมชาวรัสเซีย (ปัจจุบันส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน) ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานนามสกุล ณ พิศณุโลก อันเป็นนามสกุลพิเศษเนื่องจากไม่มีเลขลำดับที่พระราชทาน และมีผู้ใช้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทริน.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ประสูติกับหม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ที่กรุงปารีส หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาส รพีพัฒน์ทรงเป็นชายาองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หลังทรงหย่าร้างกับ หม่อมคัทริน แต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวมิยอมพระราชานุญาตให้ทรงทำการเสกสมรส หลังจากสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถเสด็จทิวงคต ในพินัยกรรม ทรงมอบทรัพย์สินมรดกทุกอย่างให้หม่อมเจ้าชวลิตโอภาสเพียงผู้เดียว ทรงมอบพระโอรสให้อยู่ในความดูแลของท่านหญิง และจะมีสิทธิ์ในมรดกก็ในเมื่อท่านหญิงสิ้นชีพิตักษัยแล้วเท่านั้น พระเจ้าอยู่หัวไม่ทรงเห็นด้วยกับพินัยกรรม ความไม่เห็นด้วยสะท้อนมาจาก ทรงยับยั้งพินัยกรรมไม่ให้มีผลบังคับใช้ ดังนั้นแทนที่หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสจะเข้าครอบครองทรัพย์สินทั้งหมด ก็กลายเป็นว่าทั้งแคทยา ท่านหญิงและพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่างได้รับเงินปันผลจากผลประโยชน์ของกองมรดก แต่มรดกส่วนใหญ่ยังอยู่เฉยๆ ต่อมาคือทรงเรียกวังปารุสกวันกลับคืนมาเป็นของพระมหากษัตริย์ ส่วนหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสต้องย้ายไปพำนักที่วังที่ท่าเตียน ซึ่งเคยอยู่มาก่อนจะได้เป็นชายา หนึ่งปีต่อมา เมื่อหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสจะเสกสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร พระเจ้าอยู่หัวก็ทรงเห็นชอบที่จะให้หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสคืนมรดกกลับไปให้พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เสียก่อน จึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เสกสมรสได้ พระองค์ทรงมีโอรส - ธิดากับหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากรดังนี้.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล

หม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล (ในหนังสือนิทานโบราณคดีสะกดเป็น "บรรลุศิริสาร") หรือ "ท่านหญิงเภา" (กันยายน พ.ศ. 2441 — 22 เมษายน พ.ศ. 2455) ทรงเป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเจิม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สนธิรัตน์) ซึ่งถึงชีพิตักษัยจากโรคพิษสุนัขบ้า การถึงชีพิตักษัยของท่านได้เป็นจุดเริ่มต้นของการก่อตั้งสถานเสาวภา สภากาชาดไทย เหตุแห่งการถึงชีพิตักษัยของหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ปรากฏรายละเอียดอยู่ในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง "นิทานโบราณคดี" นิทานที่ 13 เรื่องอนามัย ซึ่งระบุไว้ว่าในปี พ.ศ. 2455 ขณะนั้นพระองค์ในฐานะเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยพร้อมด้วยครอบครัวได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเสด็จออกไปประทับที่พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม บ่ายวันหนึ่งมีสุนัขบ้าวิ่งเข้ามาในบ้านพักของพระองค์และได้กัดขาหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ซึ่งทรงหกล้มขณะวิ่งหนีสุนัขบ้า ปรากฏเป็นแผลรอยเขี้ยว 2 แผล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจึงทรงรีบสืบหาแพทย์ที่ชำนาญการรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในเวลานั้น ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแนะนำให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ส่งตัวหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ไปรักษายังสถาบันปาสเตอร์ที่เมืองไซง่อน อินโดจีนของฝรั่งเศส เนื่องจากที่นั่นมียาสำหรับรักษาโรคนี้ แต่เรือเดินทะเลประจำทางที่ไปไซ่ง่อนได้ออกเดินทางไปก่อนหน้านั้นไม่กี่วัน จำเป็นต้องรอถึง 15 วันจึงจะมีเรือลำใหม่เข้ามาที่กรุงเทพ จึงได้แต่รักษาอาการตามแบบแพทย์แผนไทยจนแผลหาย หลังจากนั้นประมาณ 3 เดือน เช้าวันหนึ่งหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ทรงมีอาการของโรคกลัวน้ำ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงตามแพทย์ฝรั่งให้มาตรวจอาการ จึงทราบว่าหมดทางรักษาแล้ว อาการของหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ได้ทรุดลงอย่างรวดเร็วและถึงชีพิตักษัยในเวลาดึกของค่ำวันนั้น เมื่อหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์สิ้นชีพิตักษัย นายแพทย์ชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นมิตรคนหนึ่งของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้แนะนำพระองค์เกี่ยวกับการจัดตั้งสถานปาสเตอร์ในกรุงเทพขึ้นเพื่อผลิตยารักษาและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งพระองค์ทรงเห็นด้วย เพราะทรงเคยเห็นกิจการของสถาบันปาสเตอร์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อครั้งเสด็จไปราชการในทวีปยุโรปในปี พ.ศ. 2434 มาก่อน พระองค์จึงทรงขอพระบรมราชานุญาตประกาศบอกบุญเรี่ยไรเงิน และได้จัดตั้งสถานปาสเตอร์ขึ้นที่ตึกของกระทรวงมหาดไทยริมโรงเลี้ยงเด็ก ถนนบำรุงเมือง เมื่อปี พ.ศ. 2456 (ในเวลานั้นเรียกว่า "ปัสตุรสภา") ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 กิจการดังกล่าวได้โอนจากกระทรวงมหาดไทยไปอยู่ในความดูแลของกองวิทยาศาสตร์ สภากาชาดสยาม โดยใช้สถานที่เดิมเป็นที่ทำการไปพลางก่อน และในปี พ.ศ. 2465 ได้ย้ายที่ตั้งมาอยู่ที่ทำการแห่งใหม่ในชื่อสถานเสาวภาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้าบันลุศิริศานต์ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร

หม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร (25 สิงหาคม พ.ศ. 2474 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) ทรงเป็นจิตรกรหญิงชาวไทยซึ่งทรงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในแวดวงศิลปะ เนื่องจากผลงานของท่านสะท้อนถึงความหลากหลายของตัวงานและเอกภาพทางจิตวิญญาณ.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้ามารศีสุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร

ลโท หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร (29 เมษายน พ.ศ. 2429 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์กับหม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร

หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 28 มกราคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยบางขวางแล้ว ก็ทรงศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

ลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล มีพระนามเล่นว่า อั๋น เป็นโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก ประสูติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2436 ทรงศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย ที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยา และจึงเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก หลังจากนั้นเสด็จไปทรงศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยโกรลิชเตเฟลเดอ ประเทศเยอรมัน ต่อจากนั้นเข้าศึกษาที่โรงเรียนรบ Kriegschule ที่เมืองเมทซ์ เดินทางกลับประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: ปารีสและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ใหม่!!: ปารีสและหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)

อำมาตย์ตรี หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475, คณะกรรมานุการพิจารณาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (สมุดปกเหลือง), เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ปลัดกระทรวงคมนาคม,รัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ปารีสและหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง

หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง (Louis Philippe II, Duke of Orléans หรือ Louis Philippe Joseph d'Orléans) (13 เมษายน ค.ศ. 1747 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1793) หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง ผู้เป็นดยุกแห่งออร์เลอ็ององค์ที่ 5 เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสของสายย่อยของราชวงศ์บูร์บงซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ครองฝรั่งเศสอยู่ในขณะนั้น หลุยส์ ฟีลิปเป็นผู้สนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสอย่างขันแข็งและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ฟีลิป เอกาลีเต” (Philippe Égalité) แต่กระนั้นก็ยังตกเป็นเหยื่อของการถูกประหารชีวิตโดยกิโยตีนระหว่างสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ลูกชายของหลุยส์ ฟิลิปป์ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสหลังจากการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: ปารีสและหลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ วิตตอง

หลุยส์วิตตองมาย์ตีเยร์ (Louis Vuitton Malletier) หรือมักเรียกว่า หลุยส์วิตตอง (Louis Vuitton) และย่อว่า แอลวี (LV) เป็นบริษัทเครื่องแต่งกายตามสมัยนิยมซึ่งนายหลุยส์ วิตตอง ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและหลุยส์ วิตตอง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี

หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (ราว ค.ศ. 1908) หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany.) (18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1848 - 17 มกราคม ค.ศ. 1933) เป็นศิลปินผู้ออกแบบและสร้างงานกระจกสีผู้มีความสำคัญของประเทศสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีบทบาทในขบวนการอาร์ตนูโวและสุนทรียนิยม (Aestheticism) ทิฟฟานีมีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ออกแบบที่มีชื่อเสียงที่เรียกตนเองว่า “Associated Artists” ซึ่งในจำนวนสมาชิกก็มี ล็อกวูด เดอฟอเรสท์, แคนเดส วีลเลอร์ และแซมมูเอล โคลแมน ทิฟฟานีออกแบบหน้าต่างประดับกระจกสี, โคมตะเกียง, แก้วโมเสก, แก้วเป่า, เซรามิค, เครื่องเพชรพลอย, เครื่องเคลือบ และงานโลห.

ใหม่!!: ปารีสและหลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ เดอ มงฟอร์

นักบุญหลุยส์ มารี กรีญียง เดอ มงฟอร์ (Louis-Marie Grignion de Montfort) เป็นมิชชันนารี นักเทศน์ และบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ส่งเสริมการอุทิศตนต่อพระนางมารีย์พรหมจารีและสวดสายประคำ ผู้ก่อตั้งคณะนักบวชคาทอลิก ได้แก่ คณะธรรมทูตพระแม่มารีย์ คณะภราดาเซนต์คาเบรียล และคณะธิดาปรีชาญาณ.

ใหม่!!: ปารีสและหลุยส์ เดอ มงฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์-นีกอลา ดาวู

หลุยส์-นีกอลา ดาวู (Louis-Nicolas Davout) เป็นทหารและผู้บัญชาการทหารระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน เขาเป็นหนึ่งใน 18 จอมพลฝรั่งเศสดั้งเดิมที่นโปเลียนทรงสถาปนา เขามีส่วนที่ทำให้กองทัพฝรั่งเศสได้รับชัยชนะในการรบในยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและหลุยส์-นีกอลา ดาวู · ดูเพิ่มเติม »

หอพรรณไม้

ตัวอย่างอันหลากหลายของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติในปารีส, ประเทศฝรั่งเศส ในทางพฤกษศาสตร์ หอพรรณไม้ หรือ พิพิธภัณฑ์พืช (herbarium หรือบางครั้งแผลงเป็น herbar) เป็นการเก็บสะสมและรักษาตัวอย่างของพืช ตัวอย่างบางตัวอย่างพืชทั้งต้นหรือแค่บางส่วน ตัวอย่างเหล่านี้มักจะอยู่ในรูปแบบแห้ง ติดตั้งบนแผ่น แต่ขึ้นอยู่กับชนิดตัวอย่างซึ่งอาจจะเก็บรักษาไว้ในแอลกอฮอล์หรือสารกันบูด ในคำเดียวกันนี้มักใช้บ่อยในวิทยาเห็ดราเพื่ออธิบายถึงแหล่งเก็บสะสมและรักษาตัวอย่างของเห็ดราเช่นเดียวกัน คำนี้ยังสามารถใช้กับสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เก็บตัวอย่าง หรือสถาบันทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่ได้เพียงแค่จัดเก็บแต่วิจัยในตัวอย่างเหล่านี้ด้วย ตัวอย่างในหอพรรณไม้มักจะใช้เป็นสิ่งอ้างอิงในการอธิบายอนุกรมวิธานของพืช ตัวอย่างบางชิ้นอาจจะเป็นต้นแ.

ใหม่!!: ปารีสและหอพรรณไม้ · ดูเพิ่มเติม »

หอพระแก้ว

หอพระแก้ว (ຫໍພຣະແກ້ວ) คือสถานที่เคยประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ตั้งอยู่ที่นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ปัจจุบันเหลือเพียงพระแท่นที่ประดิษฐาน เพราะพระแก้วมรกตองค์ปัจจุบันได้รับการอัญเชิญลงมาประทับที่กรุงธนบุรีในสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นผู้อัญเชิญ.

ใหม่!!: ปารีสและหอพระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์

ในบริเวณหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หอศิลป์ในกรุงเทพมหานคร หอศิลป์ หรือ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ เป็นบริเวณหรืออาคารที่ใช้ในการแสดงนิทรรศการศิลปะ หอศิลป์มีทั้งแบบที่เปิดให้เข้าชมในลักษณะสาธารณะ หรือหอศิลป์ส่วนตัวที่เปิดให้ชมเฉพาะบุคคลขึ้นอยู่กับการบริหารของเจ้าของอาคาร โดยส่วนมากหอศิลป์จะแสดงภาพเขียน โดยนอกเหนือจากนี้หอศิลป์ยังมีการแสดง ประติมากรรม เฟอร์นิเจอร์ ลายผ้า ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย อีกด้วย ในปัจจุบันหอศิลป์ยังคงถูกเริ่มนิยมใช้เป็นสถานที่จัดงานสังสรรค์ ไม่ว่าการประชุม หรือการสัมมน.

ใหม่!!: ปารีสและหอศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

หอคอย

ตเกียวสกายทรี เป็นหอคอยที่สูงที่สุดของโลก หอคอย (Tower) เป็นอาคารสูงที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์สำหรับคอยระวังเหตุและสังเกตการณ์ หอคอยมักสร้างขึ้นในลักษณะทางสูงและสามารถยืนอยู่ด้วยโครงสร้างของตัวเอง.

ใหม่!!: ปารีสและหอคอย · ดูเพิ่มเติม »

หอไอเฟล

หอไอเฟล (Tour Eiffel, ตูร์แอแฟล) เป็นหอคอยโครงสร้างเหล็กตั้งอยู่บนช็องเดอมาร์ บริเวณแม่น้ำแซน ในกรุงปารีส เป็นสัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก ทั้งยังเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกอีกด้วย หอไอเฟลเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่โด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ตั้งชื่อตามกุสตาฟ ไอเฟล สถาปนิกและวิศวกรชั้นนำของฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ออกแบบหอคอยนี้ หอไอเฟลสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของงานแสดงสินค้าโลก ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและหอไอเฟล · ดูเพิ่มเติม »

หนังพาไป

หนังพาไป รายการสารคดีการเดินทางสู่เทศกาลหนังทั่วโลก ในรูปแบบที่นำเสนอการเดินทาง ของผู้กำกับหนังสั้นสองคน ออกเดินทางสู่เทศกาลหนังในประเทศต่างๆ ในลักษณะกึ่ง Reality ที่ให้ความบันเทิง ดูสนุก กระตุกต่อมคิด และเต็มไปด้วยข้อสังเกตรายทาง เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ให้ผู้ชมกล้าฝัน และทำมันให้สำเร็จ เหมือนกับหนังสั้นต้นทุน 200 บาท ที่กลายเป็นประตูบานใหญ่พาคนสองคนออกไปเผชิญชีวิตเรียนรู้โลก ผ่านระยะทางกว่า 33,422 ไมล์ การเดินทางเริ่มด้วยการนำหนังสั้นที่ถ่ายทำกัน ภายในหอพักของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เรื่อง "กลางวันแสกๆ" เป็นงานชิ้นหนึ่งที่จะต้องทำส่งอาจารย์ ในรายวิชาการทำภาพยนตร์เบื้องต้น ไปประกวดในเทศกาลหนังสั้นตามที่ต่างๆ ทั่วโลก หรือภายหลังมีการเดินทางไปยังประเทศเพื่อนบ้านโดยที่ไม่เกี่ยวกับหนังสั้นด้วยเป็นบางครั้ง.

ใหม่!!: ปารีสและหนังพาไป · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเพลงสวดสดุดีปารีส

หนังสือเพลงสวดสดุดีปารีส (Paris Psalter - หอสมุดแห่งชาติแห่งฝรั่งเศส, ปารีส, MS. gr. 139) เป็นหนังสือวิจิตรไบแซนไทน์ที่มีเนื้อหาเป็นเพลงสวดสดุดี ที่ประกอบด้วย 449 โฟลิโอ และ อีก 14 หน้าเต็มเป็นจุลจิตรกรรมในรูปแบบที่ “ยิ่งใหญ่ที่เกือบจะเช่นแบบคลาสสิก” ตามคำบรรยายของ “สารานุกรมบริตานิกา” “หนังสือเพลงสวดสดุดีปารีส” และ “หนังสือเซนต์เกรกอรี นาซิอันซัส” ของจักรพรรดิบาซิลที่ 1 เป็นกุญแจสำคัญของยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยามาซิโดเนียของศิลปะไบแซนไทน์ จุลจิตรกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดในหนังสือเพลงเล่มนี้คือภาพพระเจ้าเดวิดทรงเล่นฮาร์พ ข้างเมโลดีสตรีที่นั่งอยู่ข้างๆ รอบบุคคลทั้งสองเป็นภาพเทพเอ็คโค, สัตว์ต่างๆ ที่ชื่นชมท่วงทำนองดนตรีที่ทรงเล่น และ แม้แต่บุรุษคนหนึ่งที่เป็นสัญลักษณ์ของเมืองเบธเลเฮม การวางองค์ประกอบของน่าจะจำลองมาจากจิตรกรรมบนผนังกรีก-โรมัน ที่เป็นภาพออร์เฟียสสะกดโลกด้วยดนตรีที่เล่น ภาพนี้และจุลจิตรกรรมอื่นๆ ในหนังสือเพลงมีลักษณะลม้ายการเขียนงานแบบเฮเลนนิสต.

ใหม่!!: ปารีสและหนังสือเพลงสวดสดุดีปารีส · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ปารีสและหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งใจ..เดียวกัน

หนึ่งใ..เดียวกัน (Where The Miracle Happens) เป็นภาพยนตร์ไทยในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กำกับโดย สิริปปกรณ์ วงศ์จริยวัตร นำแสดงโดย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ, ศุกลวัฒน์ คณารศ, ศิรพันธ์ วัฒนจินดา, นิศารัตน์ อภิรดี, ซีแนม สุนทร, รอง เค้ามูลคดี, สมชาย ศักดิกุล และ วิทยา เจตะภัย (ถนอม สามโทน) เป็นภาพยนตร์แนวดราม่า สร้างสรรค์สังคม จากบทพระนิพนธ์ เรื่องสั้นที่...ฉันคิด ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ มีเนื้อหากล่าวถึงผู้หญิงคนหนึ่งที่ค้นหาความสุขที่แท้จริงของชีวิต โดยเริ่มต้นที่ เพียงหลวง โรงเรียนเล็ก ๆ ที่รายล้อมด้วยธรรมชาติ หนึ่งใ..เดียวกัน ได้แถลงข่าวภาพยนตร์เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ที่โรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ รายได้จากภาพยนตร์เรื่องนี้จะนำไปสมทบทุนโครงการ มิราเคิลออฟไลฟ์ เป็นโครงการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาและขาดโอกาสทางสังคม สืบเนื่องจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงตระหนักถึงปัญหาการด้อยโอกาสทางการศึกษาของเด็กไทย นอกจากการประชาสัมพันธ์ภายในประเทศแล้ว ภาพยนตร์เรื่องนี้ ยังได้มีการประชาสัมพันธ์ในต่างประเทศ อาทิ ที่เมืองคานส์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 และเข้าฉายที่กรุงปารีส ในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 อีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและหนึ่งใจ..เดียวกัน · ดูเพิ่มเติม »

หนีตามกาลิเลโอ

หนีตามกาลิเลโอ (Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท.

ใหม่!!: ปารีสและหนีตามกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยฐานเอสไอ

การขึ้นต่อการของนิยามในหน่วยฐานเอสไอทั้งเจ็ด หน่วยฐานเอสไอ เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่นๆที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ จะเกิดจากการนำหน่วยฐานเอสไอมาประกอบกันทั้งหมด หน่วยฐานเอสไอมีทั้งหมด 7 หน่วยได้แก.

ใหม่!!: ปารีสและหน่วยฐานเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ปารีสและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อริยา อรุณินท์

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: ปารีสและอริยา อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

อริสโตเติล โอนาซิส

อริสโตเติล โสกราตีส โอนาซิส (ΑριστοτέληςΩνάσης; 15 มกราคม ค.ศ. 1906 — 15 มีนาคม ค.ศ. 1975) หรือเรียกว่า อริสโตเติล โอนาซิส เป็นผู้มีอิทธิพลการจัดส่งสินค้าที่โดดเด่นกรีก บางแหล่งอ้างว่าเขาเกิดในปี 1900 แต่ว่าเขาภายหลังเปลี่ยนวันเดือนปีเกิดของเขาเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกเนรเทศออกจากตุรกี ต่อมาสมรสกับแจ็กเกอลีน เคนเนดี ภรรยาหม้ายของจอห์น เอฟ. เคนเนดี อริสโตเติลเสียชีวิตด้วยโรคปอดบวม.

ใหม่!!: ปารีสและอริสโตเติล โอนาซิส · ดูเพิ่มเติม »

อสุรกายดงดิบ

อสุรกายดงดิบ หรือ ปริศนาป่ามรณะ เป็นซีรีส์อเมริกันแนวดราม่า ที่มีเนื้อหากล่าวถึงผู้รอดชีวิตจากอุบัติเหตุเครื่องบินตก บนเกาะลึกลับ บนเส้นทางบินสักแห่งระหว่างซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย กับลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ตกในแปซิฟิกใต้ ในแต่ละตอนจะมีเนื้อหาหลักเป็นเรื่องบนเกาะ เนื้อหารองเป็นเรื่องชีวิตของตัวละครแต่ละคน รายการสร้างสรรค์โดยเดมอน ลินเดลอฟ, เจ. เจ. แอบรัมส์ และเจฟฟรีย์ ลีเบอร์ สถานที่ถ่ายทำหลักที่เกาะโอวาฮู รัฐฮาวาย ตอนแรกที่ออกฉายชื่อ "The pilot" เมื่อ 22 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและอสุรกายดงดิบ · ดูเพิ่มเติม »

ออกขุนชำนาญใจจง

ออกขุนชำนาญใจจงในปี ค.ศ. 1689 วาดโดย คาร์โล มารัตตา ออกขุนชำนาญใจจง เป็นนักการทูตสยามที่เดินทางเยือนประเทศฝรั่งเศสและโรมในฐานะคณะทูตในปี..

ใหม่!!: ปารีสและออกขุนชำนาญใจจง · ดูเพิ่มเติม »

ออร์เลอ็อง

ออร์เลอ็อง (Orléans) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส ราว 130 ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงปารีส เป็นเมืองหลักของจังหวัดลัวแรในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำลัวร์ ตรงที่แม่น้ำโค้งไปทางใต้ไปยังมาซิฟซ็องทราล.

ใหม่!!: ปารีสและออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

ออสการ์ ไวลด์

ออสการ์ ไวลด์ (Oscar Wilde หรือ Oscar Fingal O'Flahertie Wills Wilde) (16 ตุลาคม ค.ศ. 1854 - (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1900) ออสการ์ ไวลด์เป็นนักเขียนและกวีคนสำคัญชาวไอริชที่มีผลงานการเขียนบทละคร และเรื่องสั้นเป็นจำนวนมาก และนวนิยายหนึ่งเล่ม ไวลด์ผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบดีเป็นนักเขียนบทละครผู้มีความสำเร็จมากที่สุดของปลายสมัยวิกตอเรียและเป็นบุคคลผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของสมัย บทละครหลายเรื่องของไวลด์ก็ยังนิยมนำมาสร้างกันอยู่โดยเฉพาะ The Importance of Being Earnest หลังจากที่ถูกฟ้องร้องในคดีที่ถูกกล่าวหาว่ามี “พฤติกรรมอันเป็นการอนาจาร” (gross indecency) กับชายคนอื่นๆ ซึ่งเป็นคดีที่อื้อฉาว ซึ่งทำให้ไวลด์สูญเสียชื่อเสียงและถูกส่งตัวไปจำคุกอยู่เป็นเวลาสองปี ทันทีที่ถูกปล่อยตัวไวลด์ก็จับเรือจากดิเอปป์ และไม่ได้กลับมาไอร์แลนด์หรือบริเตนอีกจนเสียชีวิต "ดอเรียน เกรย์ (The Picture of Dorian Gray)" นวนิยายซึ่งมีชื่อเสียงมากของไวลด์ บอกเป็นนัยถึงความนิยมความรักร่วมเพศผ่านตัวละครต่างๆเช่น ดอเรียน เกรย์ หนุ่มชั้นสูงในลอนดอน และบาซิล ศิลปินวาดภาพเหมือน กฎหมายที่ทำร้ายชีวิตไวลด์ในศตวรรษที่ 19 มีโฉมหน้าที่เปลี่ยนไปแล้ว หากเขามีชีวิตอยู่ในหลายพื้นที่ในปัจจุบัน เขาคงไม่ต้องใช้ชีวิตรักอย่างหลบซ่อน ไร้ผิด ไร้โทษใด นอกเหนือจากประเด็นข้างต้น ในนวนิยายของเขา มีประเด็นทางอาชญาวิทยาเรื่องกรรมพันธุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางลบของบุคคลในครอบครัวนับแต่ครั้งบรรพบุรุษ ใน The Picture of Dorian Gray ไม่เพียงภาพเหมือนของดอเรียนเท่านั้นที่สะท้อนกรรมของเขาออกมา ยังมีภาพบาปอีกมากในคฤหาสถ์ชนบทของเขาที่สะท้อนกรรมแบบเดียวกันของดอเรียนและบรรพบุรุษ.

ใหม่!!: ปารีสและออสการ์ ไวลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ออสเตรเลียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล

ออสเตรเลีย เน็กซ์ ท็อป โมเดล (Australia's Next Top Model หรือในชื่อย่อว่า AusNTM) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหาสุดยอดนางแบบของประเทศออสเตรเลีย ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและออสเตรเลียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท สกอร์เซนี

ออทโท สกอร์เซนี(12 มิถุนายน 1908 - 5 กรกฎาคม 1975) เป็นทหารชาวออสเตรียในหน่วยเอสเอส ดำรงตำแหน่งยศเป็นโอแบร์สทุร์มบันน์ฟือแรร์ (พันโท)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.ในช่วงสงคราม,เขาได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ, รวมทั้งภารกิจช่วยเหลือในการปลดปล่อยผู้นำเผด็จการฟาสซิสต์อิตาลี เบนิโต มุสโสลินีออกจากการถูกคุมขัง.สกอร์เซนีได้นำการปฏิบัติการกรีฟ,ซึ่งทหารเยอรมันได้ทำการแทรกซึมเข้าไปในแนวข้าศึกโดยใช้ภาษาของฝ่ายข้าศึก, เครื่องแบบ, และศุลกากร.สำหรับเรื่องนี้ เขาได้ถูกตั้งข้อหากล่าวหาจากศาลทางทหารที่ดาเคาจากการละเมิดอนุสัญญานครเฮก ฉบับปี 1907(พ.ศ. 2450) แต่ได้รับการปล่อยตัว.ในช่วงท้ายสงคราม, เขาได้มีส่วนร่วมในขบวนทหารรบแบบกองโจรคือหน่วยมนุษย์หมาป่า(Werwolf).

ใหม่!!: ปารีสและออทโท สกอร์เซนี · ดูเพิ่มเติม »

อองโตนี กรัสตู

อองโตนี กรัสตู (Anthony Crastus; 7 เมษายน ค.ศ. 1985 —) เป็นจ๊อกกี้ชาวฝรั่งเศส ในสังกัดฟรานซ์แกลลอป และเป็นตัวแทนจากสโมสรจ๊อกกี้ฮ่องกง โดยใช้ชื่อภาษาจีนคือ 郭達成 ในการแข่ง.

ใหม่!!: ปารีสและอองโตนี กรัสตู · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลฌอร์ฌ-แซ็งก์

ออแตลฌอร์ฌ-แซ็งก์ (Hôtel George-V; "โรงแรมพระเจ้าจอร์จที่ 5") เป็นโรงแรมหรูหราระดับห้าดาวตั้งอยู่ใกล้เคียงช็องเซลีเซบนถนนพระเจ้าจอร์จที่ 5 กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยตั้งชื่อตามถนนอันเป็นตั้งดังกล่าวนั้น ห้องชุดรอยัล (Royal Suite) ของโรงแรมนี้ราคาคืนละ 24,550 ดอลลาร์สหรัฐ และซีเอ็นเอ็นโก (CNN Go) จัดเมื่อปี 2555 ว่าแพงเป็นอันดับที่ 11 ของโลก.

ใหม่!!: ปารีสและออแตลฌอร์ฌ-แซ็งก์ · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลปาร์ตีกูว์ลีเย

ออแตลเดอซูบีซ (hôtel de Soubise) ในกรุงปารีส ออแตลปาร์ตีกูว์ลีเย (hôtel particulier) เป็นบ้านพักอาศัยในเขตเมืองแบบหนึ่งที่มีขนาดใหญ่โตและตกแต่งอย่างหรูหรา พบได้ในประเทศฝรั่งเศส (รวมทั้งเบลเยียมด้วย) คำว่า hôtel นั้นมาจากภาษาอังกฤษในยุคกลางว่า "inn" ที่หมายถึงที่พักอาศัยในเขตเมืองของขุนนางหรือชนชั้นสูง ซึ่งในจะปัจจุบันจะเหลือการใช้งานเพียงแค่ "Inn of Court" ในประเทศอังกฤษ คำว่า particulier หมายความว่า "ส่วนบุคคล" หรือ "ส่วนตัว" ซึ่งในประเทศฝรั่งเศสนั้นมักจะเป็นที่พักขนาดใหญ่ (คฤหาสน์) ที่สร้างขึ้นเพื่อขุนนาง คหบดี หรือเป็นที่ประทับของสมาชิกราชวงศ์ รวมทั้งเจ้าชายสืบสายพระโลหิตในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ลักษณะของที่พักอาศัยแบบนี้จะต่างจากบ้านทั่วไปที่มักจะเป็นแถวและมีกำแพงติดกันทั้งสองด้านและมักจะหันหน้าเข้าถนนหลักเสมอ แต่ออแตลปาร์ตีกูว์ลีเยมักจะเป็นบ้านที่มีบริเวณสวนโดยรอบ และมักจะอยู่ในบริเวณสวน หรือถูกห้อมล้อมด้วยสวน มีทางเข้าใหญ่ด้านหน้า และถนนซึ่งนำมาสู่ตัวบ้าน ซึ่งบริเวณนั้นมักจะมีสนามเกียรติยศ และสวนอยู่ด้านหลัง ออแตลปาร์ตีกูว์ลีเยพบได้ในเมืองใหญ่ของฝรั่งเศส อาทิ ปารีส, บอร์โด, อาลบี, อาวีญง, ลียง, น็องซี, รูอ็อง, แรน, ทรัว และตูลูซ เป็นต้น ในปารีสสมัยปัจจุบันสามารถพบได้ถึง 400 แห่ง.

ใหม่!!: ปารีสและออแตลปาร์ตีกูว์ลีเย · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลเดอวีล

ออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville) เป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 4 โดยเป็นศาลาว่าการกรุงปารีส มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1357 และยังใช้เป็นจวนผู้ว่าราชการกรุงปารีส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 เป็นต้นมา รวมถึงห้องจัดงานต่าง ๆ ด้วย ราวปี..

ใหม่!!: ปารีสและออแตลเดอวีล · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลเดแซ็งวาลีด

ออแตลนาซียอนาลเดแซ็งวาลีด (Hôtel national des Invalides, "สถานพำนักทหารผ่านศึกผู้ทุพพลภาพแห่งชาติ"), ออแตลเดแซ็งวาลีด (Hôtel des Invalides, "สถานพำนักทหารผ่านศึกผู้ทุพพลภาพ") หรือ เลแซ็งวาลีด (Les Invalides) เป็นหมู่อาคารสถาปัตยกรรมบาโรกในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ปัจจุบันประกอบด้วยพิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์การทหารของฝรั่งเศส สถานที่แห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์เป็นสถานพยาบาลและที่พำนักของทหารผ่านศึก นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานและสุสานของวีรบุรุษนักการทหารของชาติ อาทิ สุสานของนโปเลียน โบนาปาร์ต.

ใหม่!!: ปารีสและออแตลเดแซ็งวาลีด · ดูเพิ่มเติม »

อะลาดิน

อะลาดินพบตะเกียงวิเศษในถ้ำ จาก ''อาหรับราตรี'' ฉบับพิมพ์เมื่อปี 1898 อะลาดิน (Aladdin) เป็นเทพปกรณัมเรื่องหนึ่งในแถบตะวันออกกลาง ว่าด้วยยาจกหนุ่มชาวจีนชื่อ อะลาดิน ซึ่งกลายเป็นราชาเพราะความช่วยเหลือของทาสยักษ์ เรื่องราวนี้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางขึ้นเมื่ออ็องตวน ก็อลล็อง (Antoine Galland) นักเขียนชาวฝรั่งเศส ประมวลเข้าเป็นนิทานตอนหนึ่งในหนังสือชุด พันหนึ่งราตรี (One Thousand and One Nights) หรือ อาหรับราตรี (The Arabian Nights).

ใหม่!!: ปารีสและอะลาดิน · ดูเพิ่มเติม »

อะเดย์

อะเดย์ (a day) เป็นนิตยสารเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปในสังคมไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นนิตยสารที่เป็นต้นแบบนิตยสารทางเลือกของวัยรุ่น ถึงขั้นวงการนิตยสารไทยยกให้นิตยสารอะเดย์เป็นดั่งนิตยสาร 'ขวัญใจเด็กแนว' นิตยสารอะเดย์ ผลิตโดย บริษัท เดย์ โพเอ็ทส์ จำกัด (Day Poets Co. Ltd.) โดยบริษัทก่อตั้งขึ้นโดยบุคคล 3 คน ได้แก่ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์, นิติพัฒน์ สุขสวย และ ภาสกร ประมูลวงศ์ ด้วยความเชื่อที่ว่า "ทำหนังสือเหมือนทำชีวิต" จนถึง..

ใหม่!!: ปารีสและอะเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

อักซิสตอริก

อักซิสตอริก (Axe historique, "แกนกลางอันเก่าแก่") เป็นแนวเส้นตรงของอนุสาวรีย์ ตึก และทางสัญจรขนาดใหญ่จากกลางกรุงปารีสไปยังทิศตะวันตก ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ "วัวทรียงฟาล" (Voie Triomphale, "ทางแห่งชัยชนะ") และ "วัวรัวยาล" (Voie royale, "ทางหลวง") อักซิสตอริกได้เริ่มขึ้นเมื่อมีการสร้างช็องเซลีเซ ซึ่งออกแบบในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อที่จะสร้างทัศนียภาพออกไปทางทิศตะวันตกและขยายถนนไปยังสวนและพระราชวังตุยเลอรี ในปัจจุบันสวนตุยเลอรี (Jardins des Tuileries) ยังมีถนนทางเดินขนาดกว้าง แม้ว่าพระราชวังจะถูกเผาทำลายไปในเหตุการณ์เทศบาลปารีสในปี พ.ศ. 2414 ก็ตาม 1000px หมวดหมู่:การออกแบบชุมชนเมือง หมวดหมู่:ตึกและสิ่งก่อสร้างในปารีส.

ใหม่!!: ปารีสและอักซิสตอริก · ดูเพิ่มเติม »

อัลโฟนส์ มูคา

อัลโฟนส์ มารียา มูคา (Alfons Maria Mucha) เป็นศิลปินแนวนวศิลป์ (Art Nouveau) ที่มีผลงานออกแบบอย่างหลากหลาย ทั้งภาพโปสเตอร์ ปฏิทิน ภาพประกอบหนังสือ งานพิมพ์ ภาพพิมพ์หิน งานโลหะ งานหนัง การออกแบบเครื่องประดับ และการออกแบบของตกแต่งบ้าน อีกทั้งยังมีผลงานวาดภาพเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย นับว่าเป็นศิลปินมากความสามารถ และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่นคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ปารีสและอัลโฟนส์ มูคา · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด ซิสลีย์

อัลเฟรด ซิสลีย์ (Alfred Sisley; 30 ตุลาคม ค.ศ. 1839 - 29 มกราคม ค.ศ. 1899) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศส คนสำคัญของประเทศอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ (Landscape painting).

ใหม่!!: ปารีสและอัลเฟรด ซิสลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินเทมพลาร์

ทหารผู้ยากแห่งพระคริสต์และพระวิหารแห่งโซโลมอน (Pauperes commilitones Christi Templique Solomonici) หรือที่รู้จักกันในชื่ออัศวินเทมพลาร์ หรือคณะแห่งพระวิหาร (Ordre du Temple หรือ Templiers) เป็นคณะทหารคริสตชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดMalcolm Barber, The New Knighthood: A History of the Order of the Temple.

ใหม่!!: ปารีสและอัศวินเทมพลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสปาซียา มาโนส

อัสปาซียา มาโนส (Ασπασία Μάνου ประสูติ 4 กันยายน ค.ศ. 1896 ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ – สิ้นพระชนม์ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1972 ณ เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี) พระวรราชชายาในสมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งกรีซ เนื่องด้วยเกิดการขัดแย้งกันจากการอภิเษกสมรสของเธอ หลังจากการสวรรคตของพระสวามี เธอจึงมีอิสริยยศเป็นเพียง เจ้าหญิงแห่งกรีซและเดนมาร์กมีพระยศที่ เจ้าหญิงแห่งกรีซและเดนมาร์ก ที่สถาปนาภายหลังการสวรรคตของพระภัสดา ไม่ใช่ที่ตำแหน่งเจ้าหญิงพระราชชายาฯ และเธอมิได้รับอิสริยยศเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ.

ใหม่!!: ปารีสและอัสปาซียา มาโนส · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี

อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี (Assassin's Creed Unity) เป็นซีรีส์เกมอิงประวัติศาสตร์แอ็คชันผจญภัย ที่พัฒนาโดย ยูบิซอฟท์ มอนทรีออล และจัดจำหน่ายโดย ยูบิซอฟท์ มีการกำหนดปล่อยตัวเกมในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม 2014 สำหรับเครื่องเล่นเพลย์สเตชัน 4,เอกซ์บอกซ์ วัน และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เป็นเกมชุดที่เจ็ดของเนื้อเรื่องหลักในซีรีส์อัสแซสซินส์ครีด และเป็นภาคต่อจากเกม อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก ในปี 2013 และเนื้อเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับ อัสแซสซินส์ครีด โร้ก ที่จะมาพร้อมกันในปี 2014 เรื่องราวในภาคนี้จะอยู่ในกรุงปารีสช่วงยุคการปฏิวัติฝรั่งเศส ในโหมดผู้เล่นเดี่ยว เราจะได้รับบทเป็น อาร์โน โดเรียน ผู้ที่พยายามจะเปิดเผยความจริงที่อยู่เบื้องหลังอำนาจการปฏิวัติ รูปแบบของเกมยังคงเป็นในลักษณะมุมมองบุคคลที่สาม การสำรวจโลกเปิด และระบบการต่อสู้รวมถึงการลักลอบที่พัฒนาดีขึ้น ที่สำคัญ อัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี ได้นำระบบการเล่นแบบ ที่สามารถให้ผู้เล่นร่วมทีมกันได้ถึง 4 คน ในการปฏิบัติภารกิจและสำรวจสถานที่ต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและอัสแซสซินส์ครีด ยูนิตี · ดูเพิ่มเติม »

อัครมุขมณฑลปารีส

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส อัครมุขมณฑลปารีส (Archidiocèse de Paris) เป็นหนึ่งในอัครมุขมณฑลทั้ง 23 แห่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิกในประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส อัครมุขมณฑลนี้ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 มีสถานะเป็นมุขมณฑล นักบุญเดนิสเป็นมุขนายกองค์แรก ต่อมาในวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอัครมุขมณฑลปารีส · ดูเพิ่มเติม »

อัตติลา

อัตติลา หรือที่ใช้อ้างอิงส่วนใหญ่ อัตติลาเดอะฮัน (Attila the Hun) (ค.ศ. 406 – ค.ศ. 453) เป็นจักรพรรดิชาวฮันผู้ครองจักรวรรดิฮัน (Hunnic Empire) ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มชนเผ่าต่างๆทั้ง ฮัน ออสโตรกอท อลานส์ และเผ่าอนารยชนอื่นๆ ในดินแดนยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระหว่าง ค.ศ. 434 จนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 453 ที่พระองค์ได้เสด็จสวรรคตลง ในรัชสมัยของพระองค์สามารถครอบครองดินแดนตั้งแต่ ประเทศเยอรมนีไปจนถึงแม่น้ำยูรัล และจากแม่น้ำดานูบไปจนถึงทะเลบอลติก กินพื้นที่มากกว่า 4 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นการครอบครองดินแดนที่มากที่สุดอาณาจักรหนึ่งในยุคมืด ในรัชสมัยการปกครองของอัตติลาทรงเป็นประมุขผู้สร้างความหวาดหวั่นและถือเป็นศัตรูที่อันตรายที่สุดแก่จักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตก พระองค์ทรงรุกรานคาบสมุทรบอลข่านถึงสองครั้ง แต่พระองค์ไม่สามารถรุกรานกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ และจากผลพวงของการพ่ายแพ้ในเปอร์เซีย ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอัตติลา · ดูเพิ่มเติม »

อัปแซ็งต์

แก้วและช้อนที่ใช้เพื่อละลายน้ำตาลก้อนลงไปในอัปแซ็งต์ ภาพเขียน ''ภูตเขียว'' โดยอาลแบร์ แมญ็อง (ค.ศ. 1895) แสดงภาพกวีคนหนึ่งที่ตกอยู่ภายใต้อำนาจของภูตเขียว อัปแซ็งต์ (absinthe) เป็นเหล้าอาหนีชนิดหนึ่ง กลั่นจากสมุนไพรหลายชนิด ได้แก่ ดอกและใบของพรรณไม้ชนิด Artemisia absinthium ร่วมกับเมล็ดเทียนสัตตบุษย์, เมล็ดผักชีล้อม และสมุนไพรชนิดอื่น ๆ ที่ใช้เป็นยาหรือทำอาหาร แต่เดิมจะมีสีเขียวตามธรรมชาติ แต่อาจไม่มีสีก็ได้ วรรณคดีตะวันตกเรื่องต่าง ๆ มักเรียกเหล้าชนิดนี้ว่า "เจ้าภูตเขียว" (la fée verte) ตามธรรมเนียมแล้ว อัปแซ็งต์จะถูกบรรจุขวดโดยมีปริมาณแอลกอฮอล์โดยปริมาตรในระดับสูง โดยได้รับการอธิบายว่าเป็นเครื่องดื่มกลั่นที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ร้อยละ 45–74 โดยปริมาตร แต่ตามปกติก็ถูกทำให้เจือจางด้วยน้ำก่อนบริโภค แม้ว่าบางครั้งอัปแซ็งต์จะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเหล้าหวาน (liqueur) แต่ก็ไม่มีการบรรจุอัปแซ็งต์ลงขวดโดยเติมน้ำตาลเพิ่ม ดังนั้นจึงจัดว่าเป็นเหล้า (spirit) ชนิดหนึ่ง อัปแซ็งต์มีต้นกำเนิดในรัฐเนอชาแตลของสวิตเซอร์แลนด์ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 และได้รับความนิยมอย่างสูงในฐานะเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในฝรั่งเศสช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ศิลปินและนักเขียนชาวปารีส แต่เนื่องจากเหล้าชนิดนี้มีความเกี่ยวข้องบางอย่างกับวัฒนธรรมโบฮีเมีย การบริโภคอัปแซ็งต์จึงถูกต่อต้านจากนักอนุรักษนิยมทางสังคมและผู้นิยมหลักการห้าม (prohibitionism) แต่ก็เป็นที่ทราบกันดีว่านักเขียน กวี จิตรกร และนักประพันธ์ดนตรีหลายคนต่างเป็นนักดื่มอัปแซ็งต์ เช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, เจมส์ จอยซ์, ชาร์ล โบดแลร์, ปอล แวร์แลน, อาร์ตูร์ แร็งโบ, อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก, อาเมเดโอ โมดิลยานี, ปาโบล ปีกัสโซ, ฟินเซนต์ ฟัน โคค, ออสการ์ ไวลด์, มาร์แซล พรุสต์, แอลัสเตอร์ โครว์ลีย์, เอริก ซาตี, เอดการ์ แอลลัน โพ, ลอร์ด ไบรอน, อาลแฟรด ฌารี เป็นต้น, Sarasota Herald-Tribune, September 18, 2008 ในอดีต อัปแซ็งต์มักได้รับการพรรณนาว่าเป็นยาเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและสารก่อประสาทหลอนที่มีอันตรายมาก โดยเชื่อกันว่าสารประกอบเคมีชนิดหนึ่งชื่อทูโจน (thujone) เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดผลดังกล่าว เมื่อถึงปี ค.ศ. 1915 อัปแซ็งต์ถือเป็นของต้องห้ามในสหรัฐอเมริกาและหลายประเทศในยุโรปซึ่งรวมถึงฝรั่งเศส, เบลเยียม, เนเธอร์แลนด์, สวิตเซอร์แลนด์ และออสเตรีย-ฮังการี แม้ว่าอัปแซ็งต์จะถูกกล่าวหาเช่นนั้น แต่ก็ไม่เคยมีการพิสูจน์ให้เห็นจริงว่ามันมีอันตรายมากกว่าเหล้าธรรมดาแต่อย่างใด ผลการวิจัยในยุคหลังแสดงให้เห็นว่าในอัปแซ็งต์มีสารทูโจนอยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น และสมบัติการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทของอัปแซ็งต์ (นอกเหนือจากที่มีอยู่ในแอลกอฮอล์) ก็ถูกขยายให้เกินความจริง การฟื้นฟูการผลิตอัปแซ็งต์เริ่มต้นในคริสต์ทศวรรษ 1990 หลังจากมีการประกาศใช้กฎหมายอาหารและเครื่องดื่มของสหภาพยุโรปซึ่งกำจัดอุปสรรคที่มีมายาวนานต่อการผลิตและการจำหน่าย เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 มีอัปแซ็งต์เกือบ 200 ยี่ห้อได้รับการผลิตในประเทศต่าง ๆ ประมาณ 12 ประเทศ ที่เด่นที่สุดได้แก่ ฝรั่งเศส, สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรเลีย, สเปน และเช็กเกี.

ใหม่!!: ปารีสและอัปแซ็งต์ · ดูเพิ่มเติม »

อันทวน เซ้งบ๊อกซิ่ง

อันทวน เซ้งบ๊อกซิ่ง (Antoine Siangboxing; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 —) มีชื่อจริงคือ อองตวน ปินโต (Antoine Pinto) เป็นนักมวยไทยชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียง และมีผลงานเป็นที่ยอมรับในสื่อต่างประเทศ เขาสามารถพูดภาษาไทย รวมทั้งภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส อันทวนเป็นชาวต่างชาติที่อายุน้อยที่สุดที่เข้าแข่งขันในสนามมวยเวทีลุมพินี เมื่ออายุ 14 ปี และเข้าแข่งขันในเวทีมวยราชดำเนิน เมื่ออายุได้ 15 ปี อันทวนได้พบกับโบวี่ ส.อุดมสร ในคืนวันที่ 22 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและอันทวน เซ้งบ๊อกซิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ

นี่คือ รายชื่อท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเท.

ใหม่!!: ปารีสและอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (พื้นที่)

หมวดหมู่:พื้นที่ หมวดหมู่:อันดับของขนาด (พื้นที่).

ใหม่!!: ปารีสและอันดับของขนาด (พื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อันตอน ลามาซาเรส

อันตอน ลามาซาเรส (Antón Lamazares; ค.ศ.1954 –) เป็นจิตรกรชาวสเปน ในสมัยเดียวกันกับโคเซ่ มาเรีย สิซิเลีย มิเกล บาร์เซโล่ และวิคเตอร์ มิรา พวกเขาเป็นสมาชิกของ "generación de los 80" เขาได้สร้างผลงานบนพื้นผิวของไม้ และกระดาษแข็งเคลือบเงา และอื่นๆ และเขายังได้สร้างภาษากลาง และศิลปะส่วนบุคคล จากการที่เขาเป็นคนสนุกสนาน จึงถูกนำมาถ่ายทอดลักษณะที่แสดงออกทางนามธรรมอย่างตรงไปตรงมา และต่อมาไม่นาน ได้มีการจัดบทสนทนาระหว่างชีวิตส่วนตัว หน่วยความจำจากจิตวิญญาณที่ร้อยกรอง และจากความฝัน ทำให้เกิดผลงานขึ้น ผลงานของเขาได้รับการจัดแสดงทั่วโลก ซึ่งจัดขึ้นโดยสถาบันที่สำคัญมากมาย รวมถึง National Museum Reina Sofía, the Galician Centre for Contemporary Art และ the Madrid Museum of Contemporary Art รวมถึงมูลนิธิที่สะสมของส่วนตัวมากมาย ลามาซาเรสในกรุงเบอร์ลิน 2005.

ใหม่!!: ปารีสและอันตอน ลามาซาเรส · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนิโอ ปินโต

ณพ่ออันโตนิโอ ปินโต (Antonio Pinto อังตอนีอู ปินตู) หรือ อ็องตวน ปินโต (Antoine Pinto; ค.ศ. 1664 – 24 สิงหาคม ค.ศ. 1696) ส่วนบันทึกโกษาปานเรียก อันตนภูธร ภูมะธน.

ใหม่!!: ปารีสและอันโตนิโอ ปินโต · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ ซาลีเอรี

thumb อันโตนีโอ ซาลีเอรี เกิดที่เลญญาโก (ใกล้กับเมืองเวโรนา) ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) เสียชีวิตที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2368 (ค.ศ. 1825) ซาลีเอรีมีบทบาทในประวัติศาสตร์ดนตรีคลาสสิก แตกต่างไปจากที่เราเห็นในภาพยนตร์เรื่อง อมาเดอุส ที่ทำให้เราเชื่อว่าเขาเป็นเช่นนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและอันโตนีโอ ซาลีเอรี · ดูเพิ่มเติม »

อันโตเนลโล ดา เมสสินา

อันโตเนลโล ดา เมสสินา (ภาษาอังกฤษ: Antonello da Messina หรือ Antonello di Giovanni di Antonio) (ราว ค.ศ. 1430 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1479) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวซิซิลีที่ได้รับอิทธิพลจากตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์สมัยต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและภาพเหมือน งานเขียนแม้จะมาจากทางไต้ของอิตาลีแต่ก็มีอิทธิพลต่อการเขียนทางภาคเหนือของอิตาลีโดยเฉพาะเวน.

ใหม่!!: ปารีสและอันโตเนลโล ดา เมสสินา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา มันเตญญา

“The Agony in the Garden” (ค.ศ. 1455) พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ เป็นลักษณะงานสมัยต้นของมานเทนยา อันเดรีย มานเทนยา (ภาษาอังกฤษ: Andrea Mantegna) (ราว ค.ศ. 1431 - 13 กันยายน ค.ศ. 1506) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน มานเทนยาเป็นนักศึกษาโบราณคดีโรมัน เป็นลูกเขยของ จาคโคโป เบลลินี และพี่เขยของจิโอวานนี เบลลินี มานเทนยาก็เช่นกันกับศิลปินรุ่นเดียวกันที่ทดลองวิธีต่างๆในการเขียนแบบทัศนียภาพ เช่นลดระดับขอบฟ้าให้ต่ำลงเพื่อทำให้สิ่งที่อยู่ในภาพดูใหญ่ขึ้น ภาพของมานเทนยาจะมีลักษณะแข็ง และ เหมือนรูปทำจากหินทำให้เห็นว่ามานเทนยาเขียนภาพจากมุมมองของรูปสลัก ก่อนปี..

ใหม่!!: ปารีสและอันเดรอา มันเตญญา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดล ซาร์โต

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราวปี ค.ศ. 1520 - 1530) สกอตแลนด์ อันเดรอา เดล ซาร์โต (Andrea del Sarto, ราว ค.ศ. 1486 - ค.ศ. 1531) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์และแมนเนอริสม์ยุคต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน จิตรกรร่วมสมัยยกย่องอันเดรอา เดล ซาร์โตว่า "Senza errori”"หรือผู้ไม่ทำผิดและถือกันว่ามีความสามารถไม่ด้อยไปกว่าราฟาเอล.

ใหม่!!: ปารีสและอันเดรอา เดล ซาร์โต · ดูเพิ่มเติม »

อาชญากลปล้นโลก

อาชญากลปล้นโลก (Now You See Me) เป็นภาพยนตร์แนวระทึกขวัญ/จารกรรม กำกับโดย หลุยส์ เลเทอเรียร์ นำแสดงโดย เจสซี ไอเซนเบิร์ก, มาร์ค รัฟฟาโล, มอร์แกน ฟรีแมน และไมเคิล เคน เข้าฉายในประเทศไทย วันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอาชญากลปล้นโลก · ดูเพิ่มเติม »

อาบู ดียาบี

วาซีรีกี อาบู ดียาบี (Vassiriki Abou Diaby) เป็นนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศสเชื้อสายโกตดิวัวร์ (ไอวอรีโคสต์) เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 ที่กรุงปารีส ปัจจุบันเล่นให้กับออแล็งปิกเดอมาร์แซย์ ในลีกเอิง ฝรั่งเศส หลังจากเล่นให้กับอาร์เซนอล ในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ จนมีชื่อเสียง โดยปกติแล้วจะเล่นในตำแหน่งกองกลางตัวกลาง แต่ในระยะหลัง ๆ มักจะโดนจับไปเล่นเป็นปีกให้ของอาร์เซนอล ดียาบีมักจะเป็นรู้จักกันในชื่อ อาบู ซึ่งเป็นชื่อกลางของ.

ใหม่!!: ปารีสและอาบู ดียาบี · ดูเพิ่มเติม »

อารามรัวโยมง

อารามรัวโยมง (Abbaye de Royaumont, Royaumont Abbey) เป็นแอบบีย์ของคณะซิสเตอร์เชียน ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเมืองอาเนียร์ซูว์รวซ (Asnières-sur-Oise) ในจังหวัดวาล-ดวซ แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส ราว 30 กิโลเมตรเหนือกรุงปารีส อารามรัวโยมงสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1228 ถึงปี ค.ศ. 1235 โดยการสนับสนุนของพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส เป็นที่ฝังพระศพของพระราชวงศ์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ เช่น พระราชโอรสธิดาสามพระองค์ และพระราชนัดดาสองพระองค์ของพระเจ้าหลุยส์เอง อารามรัวโยมงถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1791 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส หินจากอารามถูกขนไปใช้สร้างโรงงานแต่ห้องเก็บเครื่องพิธี ระเบียงฉันนบถ และหอฉันไม่ได้รับความเสียหาย เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตระกูล Goüin ทำการซื้อแอบบี และในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอารามรัวโยมง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชเดอลาเดฟ็องส์

อาร์ชเดอลาเดฟ็องส์ (Arche de la Défense) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ประตูใหญ่แห่งภราดรภาพ (Grande Arche de la Fraternité, "ช่องโค้งใหญ่แห่งภราดรภาพ") เป็นอนุสรณ์สถานตั้งอยู่บนย่านลาเดฟ็องส์ ทางทิศตะวันตกของกรุงปารีส ส่วนมากมักจะเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า "อาร์ชเดอลาเดฟ็องส์" หรือ "ลากร็องดาร์ช" (La Grande Arche, "ช่องโค้งใหญ่").

ใหม่!!: ปารีสและอาร์ชเดอลาเดฟ็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซล

อาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซล (Arc de triomphe du Carrousel) หรือรู้จักกันในชื่อ ประตูชัยแห่งการูแซล เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่กลางจัตุรัสดูว์การูแซล (Place du Carousel) ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของพระราชวังทุยเลอรี อยู่ในเขตที่ 1 ของกรุงปารีส ประตูชัยแห่งนี้สร้างขึ้นในระหว่างปีค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1808 เพื่อเป็นการสดุดีวีรชนทหารกล้าที่ได้ร่วมรบเพื่อประเทศฝรั่งเศสในระหว่างสงครามนโปเลียน สร้างในช่วงเดียวกันกับประตูชัยแห่งฝรั่งเศส และสร้างเสร็จก่อน ส่วนประตูชัยแห่งใหญ่นั้นเนื่องจากขนาดที่ใหญ่กว่าถึงสองเท่า จึงทำให้ใช้เวลาถึง 30 ปีในการสร้าง ประตูชัยแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1808.

ใหม่!!: ปารีสและอาร์กเดอทรียงฟ์ดูว์การูแซล · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล

อาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล (Arc de triomphe de l'Étoile) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ประตูชัยฝรั่งเศส เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่กลางจัตุรัสชาร์ล เดอ โกล (Place Charles de Gaulle) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม "จัตุรัสแห่งดวงดาว" (Place de l'Étoile) อยู่ทางทิศตะวันตกของช็องเซลีเซ ประตูชัยแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นการสดุดีวีรชนทหารกล้าที่ได้ร่วมรบเพื่อประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามนโปเลียน และในปัจจุบันยังเป็นสุสานของทหารนิรนามอีกด้วย ประตูชัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของ "แกนกลางอันเก่าแก่" (L'Axe historique) ซึ่งเป็นถนนเส้นตรงจากสวนพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ไปยังชานกรุงปารีส ประตูชัยแห่งนี้ออกแบบโดยฌ็อง ชาลแกร็งในปี พ.ศ. 2349 โดยมียุวชนเปลือยชาวฝรั่งเศสกำลังต่อสู้กับทหารเยอรมัน เต็มไปด้วยเคราและใส่เกราะเป็นสัญลักษณ์เพื่อเป็นการปลุกใจ และเป็นอนุสรณ์สถานจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1 อาร์กเดอทรียงฟ์มีความสูง 49.5 เมตร (165 ฟุต) กว้าง 45 เมตร (148 ฟุต) และลึก 22 เมตร (72 ฟุต) เป็นประตูชัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน แบบของอาร์กเดอทรียงฟ์นี้ได้แนวความคิดมาจากประตูชัยไตตัส อาร์กเดอทรียงฟ์มีความใหญ่มาก เพราะหลังจากมีการสวนสนามในปรุงปารีสเมื่อปี พ.ศ. 2462 ชาร์ล โกดฟรัว ได้ขับเครื่องบินนีอูปอร์ต (Nieuport) ผ่านกลางอาร์กเดอทรียงฟ์เพื่อเป็นการสดุดีเหล่าทหารอากาศที่ได้เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: ปารีสและอาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ

อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี พระคาร์ดินัลดยุกแห่งรีเชอลีเยอ (Armand Jean du Plessis de Richelieu, Cardinal-Duc de Richelieu; 9 กันยายน ค.ศ. 1585 - 4 ธันวาคม ค.ศ. 1642) เป็นขุนนาง บาทหลวง และรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศส อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซีได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายกแห่งลูว์ซงในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ม็อง ทราออเร

อาร์ม็อง ทราออเร (Armand Traoré) เป็นนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศสเชื้อสายเซเนกัล เกิดเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลควีนส์พาร์กเรนเจอส์ในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ ในตำแหน่งแบ็กซ้าย หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ผู้เล่นในเซเรียอา หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลควีนส์พาร์กเรนเจอส์ หมวดหมู่:นักกีฬาจากปารีส หมวดหมู่:ปีกฟุตบอล.

ใหม่!!: ปารีสและอาร์ม็อง ทราออเร · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ม็อง โอกุสแต็ง หลุยส์ เดอ โกแล็งกูร์

อาร์ม็อง โอกุสแต็ง หลุยส์ เดอ โกแล็งกูร์ (Armand Augustin Louis de Caulaincourt; 9 ธันวาคม ค.ศ. 1773 - 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1827) เป็นนายพลและนักการทูตในช่วงสงครามนโปเลียน อีกทั้งยังเป็นเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำรัสเซียอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและอาร์ม็อง โอกุสแต็ง หลุยส์ เดอ โกแล็งกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส ไททานิก

อาร์เอ็มเอส ไททานิก (RMS Titanic) เป็นเรือโดยสารซึ่งจมลงสู่ก้นมหาสมุทรแอตแลนติกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและอาร์เอ็มเอส ไททานิก · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญง

อาวีญง (Avignon) เป็นเมืองหลัก (Chef-lieu) ของเขตจังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโรน ประกอบด้วยประชากรทั้งหมด 94,787 คน (ณ ปีค.ศ. 2010) ในจำนวนนี้มีประมาณ 12,000 คนทีอาศัยอยู่ในเขตเมืองเก่าของอาวีญง ในปัจจุบันเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดโวกลูซ อาวีญงได้รับการขนานนามว่าเป็น "เมืองแห่งพระสันตะปาปา" เนื่องจากในอดีตนั้นเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปา (รวมทั้งพระสันตะปาปาเท็จ) ตั้งแต่ปีค.ศ. 1309 - ค.ศ. 1423 ในช่วงของการแตกแยกครั้งใหญ่ของคริสตจักร (Catholic Schism) นอกจากนี้อาวีญงยังเป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองในประเทศฝรั่งเศสที่ยังมีกำแพงเมืองเก่าที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และยังมีศูนย์ประวัติศาสตร์ พระราชวังพระสันตะปาปา สะพานอาวีญง ซึ่งยังอยู่ในสภาพดี ซึ่งทั้งหมดนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 1995 ในนาม Historic Centre of Avignon: Papal Palace, Episcopal Ensemble and Avignon Bridge (Centre historique d’Avignon: Palais des papes, ensemble épiscopal et Pont d’Avignon).

ใหม่!!: ปารีสและอาวีญง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ปารีสและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารชาทร์

อาสนวิหารชาทร์ (Cathédrale de Chartres) หรือ อาสนวิหารแม่พระแห่งชาทร์ (Cathédrale Notre-Dame de Chartres) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลชาทร์ ตั้งอยู่ที่เมืองชาทร์ในประเทศฝรั่งเศส (ราว 80 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้) ของกรุงปารีส เป็นสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศสชิ้นที่งามที่สุดชิ้นหนึ่งของฝรั่งเศส เมื่อมองจากนอกเมืองอาสนวิหารเหมือนกับผุดขึ้นมาจากทุ่งข้าวสาลี จนเมื่อเข้าไปใกล้เข้าจึงเห็นว่าตั้งอยู่เหนือกลุ่มบ้านเรือนที่เกาะกันเป็นกระจุกบนเนินรอบ ๆ ด้านหน้าอาสนวิหารเป็นหอสองหอที่มีลักษณะต่างกัน — หอหนึ่งเป็นหอพีระมิดเรียบ ๆ ที่สร้างราวคริสต์ทศวรรษ 1140 ที่สูง 105 เมตร อีกหอหนึ่งสูง 113 เมตร สร้างราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ตกแต่งอย่างวิจิตรกว่าหอแรก ภายนอกอาสนวิหารเป็นค้ำยันแบบปีกที่กางออกไปรอบตัวอาสนวิหาร อาสนวิหารชาทร์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอาสนวิหารชาทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาเมียง

รูปสลักนักบุญด้านหน้าอาสนวิหาร อาสนวิหารอาเมียง (Cathédrale d'Amiens) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งอาเมียง (Cathédrale Notre-Dame d'Amiens) เป็นอาสนวิหารที่สูงที่สุดในประเทศฝรั่งเศส มีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลอาเมียง มีเนื้อที่ภายในกว้างใหญ่ถึง 200,000 ตารางเมตร หลังคาโค้งกอทิกสูง 42.30 เมตรซึ่งเป็นหลังคาแบบกอทิกที่สูงที่สุดในฝรั่งเศส ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองอาเมียงซึ่งเป็นเมืองสำคัญของแคว้นโอดฟร็องส์ในหุบเขาซอม ห่างจากกรุงปารีสไปทางทิศเหนือประมาณ 100 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ปารีสและอาสนวิหารอาเมียง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส

"ครีบยันลอย" (flying buttress) ที่ยื่นออกไปรอบบริเวณร้องเพลงด้านหลังโบสถ์ อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส (Cathédrale Notre-Dame de Paris) เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขมณฑลปารีส ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส คำว่า Notre Dame แปลว่า แม่พระ (Our Lady) ซึ่งเป็นคำที่ชาวคาทอลิกใช้เรียกพระนางมารีย์พรหมจารี ปัจจุบันอาสนวิหารก็ยังใช้เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกและเป็นที่ตั้งคาเทดราของอาร์ชบิชอปแห่งปารีส อาสนวิหารน็อทร์-ดามถือกันว่าเป็นโบสถ์ที่สวยงามที่สุดในลักษณะกอทิกแบบฝรั่งเศส โบสถ์นี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก ผู้เป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส การก่อสร้างเป็นแบบกอทิก นับเป็นอาสนวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอทิก ประติมากรรม และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ ทำให้แตกต่างจากศิลปะโรมาเนสก์ที่สร้างก่อนหน้านั้น น็อทร์-ดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ "ครีบยันลอย" ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบอาสนวิหาร "บริเวณร้องเพลงสวด" หรือ รอบบริเวณกลางโบสถ์ เมื่อเริ่มสร้างกำแพงโบสถ์สูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง เพราะสถาปนิกสมัยกอทิกจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง เมื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม "กำแพงค้ำยัน" ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัวโบสถ์เอาไว้ เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น ฉะนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของโบสถ์ที่สร้างแบบกอทิกไปในตัว ในปี ค.ศ. 1793 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส โบสถ์ก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก อาสนวิหารได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำล.

ใหม่!!: ปารีสและอาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแวร์ซาย

อาสนวิหารแวร์ซาย (Cathédrale de Versailles) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งแวร์ซาย (Cathédrale Saint-Louis de Versailles) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งคาเทดราของมุขนายกประจำมุขมณฑลแวร์ซาย ตั้งอยู่ในเมืองแวร์ซาย ชานกรุงปารีส จังหวัดอีฟว์ลีน แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างตามพระบัญชาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะโบสถ์ประจำเขตแพริช ในสถาปัตยกรรมแบบโรโกโกอันวิจิตร เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและอาสนวิหารแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.

ใหม่!!: ปารีสและอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาดอลฟ์ ซักซ์

อ็องตวน-โฌแซ็ฟ "อาดอลฟ์" ซักซ์ (Antoine-Joseph "Adolphe" Sax; 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1814 – ราว 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1894) เป็นนักดนตรีเป่าฟลุตและคลาริเนตและนักออกแบบเครื่องดนตรี ชาวเบลเยียม เป็นที่รู้จักจากการคิดค้นเครื่องดนตรี แซกโซโฟน, แซ็กฮอร์น และ แซ็กทูบา ซึ่งคือเครื่องดนตรี ทรอมโบน ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและอาดอลฟ์ ซักซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคารผู้โดยสารสนามบิน

international passenger traffichttp://geography.about.com/od/urbaneconomicgeography/a/busiestairports.htm Busiest Airports – The Busiest Airports in the World. Geography.about.com. Retrieved on 2013-04-09. Tom Bradley International Terminal of Los Angeles International Airport, which handles the most origin and destination (O&D) flights in the world อาคารผู้โดยสารสนามบิน คืออาคารที่อยู่ในสนามบิน airport เป็นที่ๆ ผู้โดยสารถ่ายโอนระหว่างการขนส่งภาคพื้นดินและอำนวยความสะดวกให้ผู้โดยสารสามารถขึ้นและลงเครื่อง aircraft.

ใหม่!!: ปารีสและอาคารผู้โดยสารสนามบิน · ดูเพิ่มเติม »

อาซาเดห์ ชาฟิก

อาซาเดห์ ชาฟิก (พ.ศ. 2494 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554) เป็นพระธิดาในเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี กับอะห์มัด ชาฟิก ชาวอียิปต์ โดยเจ้าหญิงอัชราฟ พระชนนีในอาซาเดห์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน ภายหลังการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยในอิหร่าน อาซาเดห์ได้ทำการต่อต้านการปกครองอิหร่านของอยาตุลเลาะห์ โคมัยนีในต่างประเทศ โดยอาศัยในคฤหาสน์ดูปง (Villa Dupont) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส อาซาเดห์ทำงานทางด้านสิทธิมนุษยชน และช่วยเหลือผู้ลี้ภัยชาวอิหร่านในประเทศตุรกี ด้านชีวิตส่วนตัวได้สมรสทั้งหมดสองครั้ง โดยครั้งสุดท้ายได้สมรสกับอดีตพนักงานชาวอิหร่าน โดยบุตรเพียงคนเดียวจากการสมรสครั้งแรกคือ คัมราน ชาฟิก (Kamran Shafiq) หรือ คาเมรอน ปาห์ลาวี ชาฟิก (Cameron Pahlavi) และต่อมาเจ้าหญิงได้ทำการขายคฤหาสน์ดูปงในภายหลัง อาซาเดห์ ชาฟิก ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและอาซาเดห์ ชาฟิก · ดูเพิ่มเติม »

อาน-แอมอน ฌิสการ์ แด็สแต็ง

อาน-แอมอน ฌิสการ์ แด็สแต็ง (Anne-Aymone Giscard d'Estaing; เกิด 10 เมษายน พ.ศ. 2476 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส) เป็นภริยาของวาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสคนที่ 20 ถือเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศสคนที่ 19 ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอาน-แอมอน ฌิสการ์ แด็สแต็ง · ดูเพิ่มเติม »

อานาตอล ฟร็องส์

อานาตอล ฟร็องส์ (Anatole France,; ชื่อเมื่อเกิด: ฟร็องซัว-อานาตอล ตีโบ - François-Anatole Thibaultw:fr:Anatole France; 16 เมษายน ค.ศ. 1844 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1924) อานาตอล ฟร็องส์เป็นนักเขียนนวนิยาย กวี และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1921.

ใหม่!!: ปารีสและอานาตอล ฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อานน์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มเด็จพระราชินีอานน์แห่งออสเตรีย (22 กันยายน พ.ศ. 2144 - 20 มกราคม พ.ศ. 2209) เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเฟลิเปที่ 3 แห่งสเปนและมากาเร็ตแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนพระนางอภิเษกสมรสกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2158 และมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส และฟิลิปป์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลออง.

ใหม่!!: ปารีสและอานน์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อานโตนอฟ อาน-22

อานโตนอฟ อาน-22 (Antonov An-22) เป็นเครื่องบินลำเลียงขนาดใหญ่ของสหภาพโซเวียต เครื่องต้นแบบบินเป็นครั้งแรกในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965 และปรากฏตัวครั้งแรกในงานแสดงการบินที่ปารีสในปีเดียวกัน เริ่มประจำการในกองทัพอากาศโซเวียต เมื่อ ค.ศ. 1967.

ใหม่!!: ปารีสและอานโตนอฟ อาน-22 · ดูเพิ่มเติม »

อานโตนอฟ อาน-26

right อานโตนอฟ อาน-26 (Ан-26, Antonov An-26) นาโตกำหนดสัญลักษณ์เป็น (เคิล) อาน-26 เป็นเครื่องบินที่มีการดัดแปลงมาจาก อาน-24 เพื่อใช้ในการทหาร เริ่มปรากฏตัวเป็นครั้งแรกในงานแสดงการบินที่ปารีสในปี ค.ศ. 1971 ในชื่อ อาน-24.

ใหม่!!: ปารีสและอานโตนอฟ อาน-26 · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็กซิส แกลโร

อาแล็กซิส โกลด เดอ แกลโร (Alexis Claude de Clairaut; 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1713 - 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1765) เป็นนักคณิตศาสตร์และปราชญ์ชาวฝรั่งเศส เขาได้เข้าร่วมกับปีแยร์ หลุยส์ โมแปร์ตุย (Pierre Louis Maupertuis) เดินทางไปยังแลปแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ ในปี 1736 เพื่อการศึกษาเกี่ยวกับเส้นเมอริเดียน เมื่อกลับจากแลปแลนด์เขาได้ตีพิมพ์งานเขียนชื่อ Théorie de la figure de la terre ในปี 1743 งานชิ้นนี้เขาได้นำเสนอทฤษฎีซึ่งต่อมาได้ชื่อว่า ทฤษฎีแกลโร ว่าด้วยแรงดึงดูด ณ ตำแหน่งบนพื้นผิวของวัตถุทรงรีที่กำลังหมุนที่เกี่ยวพันกับแรงอัดและแรงดึงสู่ศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตร เขายังได้คิดค้นหาคำตอบโดยประมาณของปัญหาสามวัตถุ และได้รับรางวัลจาก St Petersburg Academy เมื่อปี 1750 จากผลงานเรื่อง Théorie de la lune ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอาแล็กซิส แกลโร · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็กซ็องดร์ ก็อสต์

อาแล็กซ็องดร์ เอริก สเตฟาน ก็อสต์ (Alexandre Éric Stéphane Coste, เกิด 24 สิงหาคม พ.ศ. 2546 -) พระโอรสนอกสมรสในเจ้าชายอัลแบร์แห่งโมนาโก ที่เกิดกับนางนีกอล ก็อสต์ สตรีผิวสีอดีตแอร์โฮสเตสชาวโตโก สัญชาติฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและอาแล็กซ็องดร์ ก็อสต์ · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา

อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา (Alexandre Dumas; 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1802 – 5 ธันวาคม ค.ศ. 1870) หรือ อาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา ผู้พ่อ (Alexandre Dumas, père) เป็นนักเขียนชาวฝรั่งเศส มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ สามทหารเสือ (ค.ศ. 1844) และ เดอะเคานต์ออฟมอนตีคริสโต (ค.ศ. 1844-1845).

ใหม่!!: ปารีสและอาแล็กซ็องดร์ ดูว์มา · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็ง ปอแอร์

อาแล็ง ปอแอร์ (Alain Poher) (17 เมษายน พ.ศ. 2452 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2539) อดีตรักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ประธานรัฐสภายุโรปและประธานสมาชิกวุฒิสภาฝรั่งเศส (พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2535).

ใหม่!!: ปารีสและอาแล็ง ปอแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็ง เดอลง

อาแล็ง ฟาเบียง มอริส มาร์แซล เดอลง (Alain Fabien Maurice Marcel Delon) เป็นนักแสดงและนักธุรกิจชาวฝรั่งเศสซึ่งปัจจุบันมีสถานะเป็นพลเมืองฝรั่งเศสและสวิส เกิดเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1935 (พ.ศ. 2478) ที่เมืองโซ (Sceaux) จังหวัดโอดแซน แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ไม่ไกลจากปารีส พ่อแม่ของเขา ฟาเบียงและเอดิตหย่ากันตั้งแต่เขายังเด็ก ๆ เพื่อกลับมาแต่งงานกันใหม่ เขามีพี่น้องต่างพ่อ-แม่อีก 3 คน (ชาย 2 หญิง 1) เข้าเรียนโรงเรียนประจำของโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นหนึ่งในหลาย ๆ โรงเรียนของเขา เพราะเขาจะโดนไล่ออกบ่อยครั้งเนื่องจากความเกกมะเหรกเกเร แต่สงสัยเห็นมีแววด้านศาสนา ครั้งหนึ่งครูเคยแนะนำให้เขาไปบวชเรียน เดอลง ออกจากโรงเรียนตอนอายุ 14 ขวบ และใช้เวลาช่วงสั้น ๆ ทำงานที่ร้านขายเนื้อของพ่อบุญธรรม จากนั้น 3 ปี เขาไปเกณฑ์เป็นทหาร และในปี ค.ศ. 1953 เขาถูกส่งตัวไปรบในสงครามอินโดจีนครั้งแรก โดยเดอลงเป็นทหารอยู่กว่า 11 เดือน ซึ่งในจำนวนมี 5 เดือนที่เขาอยู่ในห้องขัง จากความผิดเรื่องระเบียบวินัย จนโดนขับออกจากกองทัพ เขาเลยกลับไปปารีส เงินทองก็ไม่มี ทำงานทุกอย่างตามแต่คนจะจ้าง ทั้งบริกร คนเฝ้าประตู และพนักงานขาย ระหว่างนี้เอง เขาได้พบดาราสาว บรีฌิต โอแบร์ และไปงานเทศกาลภาพยนตร์เมืองกาน กับเธอเป็นก้าวแรกสู่วงการแสดงของเขา ที่กาน เดอลงไปเตะตาแมวมองคนดังอย่างเดวิด โอ.

ใหม่!!: ปารีสและอาแล็ง เดอลง · ดูเพิ่มเติม »

อาโลแล็งปียา

อาโลแล็งปียา (À l'Olympia, "ที่แล็งปียา") คืออัลบั้มการแสดงสดที่ 2 ของเซลีน ดิออน เป็นอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสที่ 16 และ 19 ในทั้งหมด วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ปารีสและอาโลแล็งปียา · ดูเพิ่มเติม »

อาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์

อาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์ (Adrien-Marie Legendre) (18 กันยายน ค.ศ. 1752 – 10 มกราคม ค.ศ. 1833) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งมีความสำคัญในการให้ความรู้ทางสถิติศาสตร์ ทฤษฎีจำนวน พีชคณิตนามธรรม และคณิตวิเคราะห.

ใหม่!!: ปารีสและอาเดรียง-มารี เลอฌ็องดร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์

อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ (Adélaïde Labille-Guiard; 11 เมษายน ค.ศ. 1749 - 24 เมษายน ค.ศ. 1803) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพขนาดเล็ก (minaturist) และภาพเหมือน.

ใหม่!!: ปารีสและอาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอของประเทศฝรั่งเศส

อำเภอ หรือ ก็องตง (canton) เป็นหน่วยบริหารหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส โดยแบ่งย่อยจาก 101 จังหวัด (département) และ 342 เขต (arrondissement) ตามเขตการปกครองของฝรั่งเศส นอกเหนือจากบทบาททางการปกครองและทางการศาลแล้ว จุดประสงค์หลักของการแบ่งอำเภอนั้นมีเพื่อใช้ในการแบ่งเขตเลือกตั้ง สำหรับการเลือกตั้งผู้แทน (conseiller général) ในสภาของแต่ละจังหวัด ซึ่งในปัจจุบันมีจำนวนอำเภอ 4,032 อำเภอในประเทศฝรั่งเศส โดยส่วนมากเป็นการรวมตัวกันของเทศบาล (อันเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุด) แต่ถึงแม้ว่าในบางเทศบาลที่มีขนาดใหญ่กินพื้นที่หลายอำเภอ แต่อำเภอมักจะมีจำนวนประชากรที่ไล่เลี่ยกัน ต่างจากเทศบาลซึ่งอาจจะมีขนาดประชากรตั้งแต่ 1 คน เช่น เมืองร็อชฟูชาร์ ไปจนถึงกว่า 2 ล้านคน เช่น กรุงปารีส ในแต่ละอำเภอ จะมีเมืองหลักที่เป็นศูนย์กลาง (chef-lieu) ซึ่งมักจะเป็นเทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในเขตอำเภอ อันเป็นที่ตั้งของกองตำรวจทหาร (gendarmerie) สรรพากรอำเภอ และผู้พิพากษาท้องถิ่น (justice de paix).

ใหม่!!: ปารีสและอำเภอของประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติ

อิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติ (ชื่อเล่น: คิวแชมเปี้ยนส์. ตามรอยมวยใหญ่. น็อกเอาต์ฉบับมวยสยาม. ปีที่ 24 ฉบับที่ 2044. วันที่ 19-25 ธันวาคม 2555. ISSN 15135438. หน้า 14; 6 ตุลาคม พ.ศ. 2532 —) เป็นนักมวยไทยชาวไทยที่มีชื่อเสียงของวงการน็อกเอาต์ฉบับมวยสยาม ปีที่ 23 ฉบับที่ 1945.

ใหม่!!: ปารีสและอิกคิวซัง ก.รุ่งธนเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

อิลยูชิน อิล-62

right อิลยูชิน ไอแอล-62 (Ilyushin Il-62) อิลยูชิน ไอแอล-62 บินครั้งแรกในเดือน มกราคม ค.ศ. 1963 เริ่มรับผู้โดยสารในการสายการบินแอโรฟลอต เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1967 อิล-62 เป็นเครื่องบินเจ๊ตพิสัยบินไกลแบบแรกของสหภาพโซเวียต อิล-62 เอ็ม ปรากฏตัวครั้งแรกในงานแสดงการบินที่ปารีส ซึ่งไอแอล-62 เอ็มเป็นรุ่นที่ให้เครื่องยนต์แรงขับสูงขึ้นและจุผู้โดยสารได้มากขึ้น.

ใหม่!!: ปารีสและอิลยูชิน อิล-62 · ดูเพิ่มเติม »

อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส หรือ อิซาโบแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Isabeau of Bavaria หรือ Isabeau de Bavière หรือ Isabella of Bavaria-Ingolstadt) (ราว ค.ศ. 1370 - 24 กันยายน ค.ศ. 1435) อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียประสูติราว ค.ศ. 1370 ทรงเป็นบุตรีของสตีเฟนที่ 3 ดยุคแห่งบาวาเรีย และทัดดิอา (Taddea Visconti) ผู้มาจากตระกูลขุนนางวิสคอนติผู้ครองมิลาน อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส หลังจากที่เสกสมรสเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1385 แล้วพระองค์ก็ทรงมีบทบาทสำคัญในทางการเมืองในปลายรัชสมัยอันมีวิกฤตการณ์ของพระสวามี อิสซาเบลลาแห่งบาวาเรียเป็นพระมารดาของพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส และพระราชินีอังกฤษสองพระองค์ -- พระราชินีอิสซาเบลลาในพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ และพระราชินีแคทเธอรินในพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: ปารีสและอิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อิสเซ ซะงะวะ

อิสเซ ซะงะวะ (26 เมษายน 2492 —) เป็นชายชาวญี่ปุ่นซึ่งฆ่าและกินเนื้อของเรเน ฮาร์ตเวลต์ (Renée Hartevelt) เพื่อนหญิงชาวฮอลันดา ในปี 2524 ครั้นได้รับการปล่อยตัวแล้ว ก็ได้มีชื่อเสียงอยู่ในประเทศแม่โดยอาศัยความที่สาธารณชนสนใจในการกระทำความผิดของเขาเป็นทางทำมาหาเลี้ยงชี.

ใหม่!!: ปารีสและอิสเซ ซะงะวะ · ดูเพิ่มเติม »

อิซัมบาร์ด คิงดอม บรูเนล

้านหลังของบรูเนลคือโซ่ของเรือเอสเอสเกรตอีสเทิร์น ซึ่งได้ถ่ายไว้ในปี ค.ศ. 1857 โดยโรเบิร์ต ฮาวเลตต์ ภาพนี้ถือว่าเป็นภาพที่มีชื่อเสียงที่สุดภาพหนึ่งของเขา อิซัมบาร์ด คิงดอม บรูเนล (Isambard Kingdom Brunel; 9 เมษายน ค.ศ. 1806 – 15 กันยายน ค.ศ. 1859) เป็นวิศวกรเครื่องกลและวิศวกรโยธาชาวอังกฤษ ผู้ออกแบบสถานีรถไฟที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของอังกฤษนามว่า เกรตเวสเทิร์นเรลเวย์ (Great Western Railway) ผู้ออกแบบอู่ท่าเรือหลายแห่งในสมัยนั้น รวมถึงเรือกลไฟบรูเนล เป็นคนแรกที่สามารถออกแบบเรือกลไฟของเขาให้สามารถข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก นอกจากนี้ บรูเนลยังออกแบบอุโมงค์และสะพานที่สำคัญจำนวนมาก ความสามารถของเขานั้นไม่ธรรมดา ถึงขนาดเคยออกแบบสะพานข้ามแม่น้ำอันเชี่ยวกราก และออกแบบอุโมงค์ลอดใต้แม่น้ำเทมส์ ซึ่งเป็นสิ่งที่แทบจะเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้เลยในช่วงนั้น จึงกล่าวได้ว่า เขาคือผู้บุกเบิกการปฏิวัติอุตสาหกรรมคนสำคัญของอังกฤษ ถึงแม้ว่า โครงการต่าง ๆ ที่เขาตั้งใจไว้จะไม่สำเร็จเสมอไปเพราะพวกเขามักจะมีปัญหาด้านวิศวกรรมอยู่บ่อยครั้ง แต่ถึงอย่างไรก็ดี เขาก็ยังได้ขึ้นชื่อว่าเป็น "คนแรก" ในหลาย ๆ ด้านทางวิศวกรรม โดยเฉพาะหลักการของเขาที่สามารถช่วยสร้างอุโมงค์ข้ามแม่น้ำ ซึ่งยากต่อการสร้างได้ และเขายังเป็นผู้พัฒนาออกแบบเรือเอสเอสเกรตบริเตน (SS Great Britain) ซึ่งเป็นเรือที่ทำด้วยเหล็กกล้าและใช้ใบจักรแบบสกรูครั้งแรกของโลก และได้ถูกนำไปใช้ในการข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นลำแรกของโลก และนอกจากนี้ยังเป็นเรือที่ใหญ่สุดในโลกเท่าที่มีการสร้างมาในขณะนั้น ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอิซัมบาร์ด คิงดอม บรูเนล · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Isabella of France; ค.ศ.1295 - 22 สิงหาคม ค.ศ.1358) บางครั้งถูกบรรยายไว้ว่าเป็น นางหมาป่าแห่งฝรั่งเศส เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษในฐานะพระมเหสีของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งอังกฤษตั้งแต..1326 จนถึง..1330 พระองค์เป็นพระราชบุตรที่รอดชีวิตคนสุดท้องและพระธิดาคนเดียวของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศสกับพระราชินีโจแอนแห่งนาวาร์ พระราชินีอิซาเบลลาเป็นที่เลื่องลือในตอนนั้นในเรื่องของความงาม, ทักษะการทูต และความเฉลียวฉลาด พระราชินีอิซาเบลลามาถึงอังกฤษตอนพระชนมายุ 12 พรรษา ในช่วงยุคแห่งความขัดแย้งที่เติบโตขึ้นระหว่างกษัตริย์กับกลุ่มของบารอนที่มีอำนาจ พระสวามีคนใหม่ของพระองค์มีชื่อเสียงฉาวโฉ่ในเรื่องของการอุปถัมภ์ค้ำชูคนโปรดของพระองค์ เพียซ กาเวสตัน จนมากเกินควร แต่พระราชินีสนับสนุนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดในช่วงปีแรกๆ ทรงสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นไปด้วยดีกับเพียซและใช้ความสัมพันธ์กับระบอบกษัตริย์ฝรั่งเศสของพระองค์ค้ำจุนพลังและอำนาจของตนเอง ทว่าหลังการตายด้วยน้ำมือของพวกบารอนของเพียซ กาเวสตันใน..1312 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดหันไปหาคนโปรดคนใหม่ ฮิวจ์ เดสเปนเซอร์ ผู้ลูก และพยายามเอาคืนพวกบารอน ผลที่ได้คือสงครามเดสเปนเซอร์และยุคแห่งความเก็บกดภายในประเทศทั่วทั้งอังกฤษ อิซาเบลลาไม่สามารถทนกับฮิวจ์ เดสเปนเซอร์ได้และใน..1325 ชีวิตแต่งงานกับพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดของพระองค์ก็มาถึงจุดแตกหัก ทรงเดินทางไปฝรั่งเศสภายใต้การอำพรางว่าเป็นภารกิจทางการทูต ราชินีอิซาเบลลาเริ่มต้นความสัมพันธ์ฉันท์ชู้สาวกับโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ และทั้งสองตกลงใจที่จะปลดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดลงจากตำแหน่งและขับไล่ตระกูลเดสเปนเซอร์ออกไป พระราชินีกลับมาอังกฤษพร้อมกับกองทัพทหารรับจ้างกลุ่มเล็กๆ ใน..1326 รีบเคลื่อนตัวไปทั่วอังกฤษอย่างรวดเร็ว กองทัพของกษัตริย์ทอดทิ้งพระองค์ พระราชนีอิซาเบลลาปลดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดลงจากตำแหน่ง ทรงกลายเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในนามของพระโอรส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 หลายคนเชื่อว่าหลังจากนั้นพระราชินีอิซาเบลลาจัดการฆาตกรรมพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 รัชสมัยของพระราชินีอิซาเบลลากับมอร์ติเมอร์เริ่มแตกเป็นเสี่ยงๆ ส่วนหนึ่งเพราะการใช้จ่ายที่สุรุ่ยสุร่ายของพระองค์ แต่ก็เป็นเพราะการแก้ไขปัญหาระยะยาวที่สำเร็จแต่ไม่เป็นที่นิยมของพระราชินี เช่น สงครามกับสกอตแลนด์ ด้วย ใน..1330 พระโอรสของอิซาเบลลา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ปลดมอร์ติเมอร์ลงจาตำแหน่งบ้าง ทรงยึดเอาอำนาจของพระองค์กลับมาและประหารชีวิตคนรักของพระราชินีอิซาเบลลา ทว่าพระราชินีไม่ได้ถูกลงโทษ และชีวิตที่เหลืออยู่อีกหลายปีของพระองค์มีความสำคัญ—แม้จะไม่ใช่ที่ราชสำนักของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด—จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ใน..1358.

ใหม่!!: ปารีสและอิซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลาแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

อิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Isabella of Valois) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1389 – 13 กันยายน ค.ศ. 1409) อิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1389 ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระมเหสีองค์ที่สองของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ อิสซาเบลลา เสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เมื่อพระชนมายุเพียง 7 ชันษา ดังนั้นอิสซาเบลลาและพระเจ้าริชาร์ดไม่มีพระโอรสธิดาด้วยกัน เนื่องจากอิสซาเบลลา อภิเษกสมรสเมื่อพระชนมายุเพียง 7 ชันษา ดังนั้นจึงไม่มีพิธีที่สมบูรณ์ พระเจ้าริชาร์ด กับอิสซาเบลลาเป็นสวามี แมเหสีที่เอาใจใส่กัน พระเจ้าริชาร์ด จะนำของขวัญมาให้อิสซาเบลลาเสมอ คำตรัสสุดท้ายของพระเจ้าริชาร์ด ที่ตรัสกับพระมเหสี คือ " ลาก่อน มาดาม เราคงจะพบกันอีกครั้ง " หลังจากที่พระสวามีถูกปลงพระชนม์ (ไม่แน่ชัด) อิสซาเบลลาก็ทรงเสกสมรสกับชาร์ลส์ ดยุคแห่งออร์ลีออง (Charles, Duke of Orléans) เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1406 อิสซาเบลลาสิ้นพระชนม์ในการให้กำเนิดพระราชธิดา จองแห่งวาลัวส์ (Jeanne of Valois) เมื่อวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1409 ที่ปราสาทคิมโบลตัน ในราชอาณาจักรอังกฤษ เมื่อพระชนมายุได้ 21 พรรษ.

ใหม่!!: ปารีสและอิซาเบลลาแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปน

อินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกา บิกโตเรีย อันโตเนีย เด ลา ซันตีซีมา ตรีนีดัด เด บอร์บอน อี เกรเซีย (Cristina Federica Victoria Antonia de la Santísima Trinidad de Borbón y Grecia; ประสูติ: 13 มิถุนายน พ.ศ. 2508) หรือพระอิสริยยศเดิมว่า อินฟันตากริสตีนา ดัชเชสแห่งปัลมาเดมายอร์กา (Infanta Cristina, Duquesa de Palma de Mallorca) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทั้งเป็นพระขนิษฐาในอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 อินฟันตากริสตีนา เสกสมรสกับอีญากี อูร์ดังการิน อี ลีบาร์ต เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก

อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก (Infanta Elena, Duquesa de Lugo; ประสูติ: 20 ธันวาคม พ.ศ. 2506) หรือพระนามเต็มว่า เอเลนา มารีอา อีซาเบล โดมีนีกา เด ซีโลส เด บอร์บอน อี เกรเซีย (Elena María Isabel Dominica de Silos de Borbón y Grecia) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทั้งเป็นพระเชษฐภคินีในอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกา และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 อินฟันตาเอเลนา เสกสมรสและหย่ากับไคเม เด มารีชาลาร์ มีพระบุตรด้วยกันสองคน ทั้งนี้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 3 ของการสืบราชบัลลังก์ของสเปน และทรงประกอบพระกรณียกิจในต่างประเทศในฐานะตัวแทนของพระราชวง.

ใหม่!!: ปารีสและอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีน (วงดนตรี)

อินโดจีน (Indochine) เป็นวงดนตรีร็อค และ นิวเวฟ จากฝรั่งเศส โดยวงก่อตั้งเมื่อ ปี 1981 เป็นวงดนตรีที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ในฝรั่งเศสในช่วงปี 1980 รวมทั้งประสบความสำเร็จในยุโรปและละตินอเมริกา โดยเพลงที่ประสบความสำเร็จคือ L' Aventurier และ Canary Bay และก็กวาดรางวัลมาได้มากมาย แต่ก็ยังไม่ประสบความความสำเร็จเท่าไร แต่ก็ยังกลับมาทำอัลบั้ม Paradize ในปี 2002 เป็นวงที่มียอดขาย กว่า 10 ล้านชุด และซิงเกิ้ลของพวกเขาก็ขายได้มากที่สุดใน ฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและอินโดจีน (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

อินไลน์สเกต

อินไลน์สเกต อินไลน์สเกต (โดยมากมักเรียกติดปากตามชื่อแบรนด์ โรลเลอร์เบลด) คืออุปกรณ์กีฬาที่มีลักษณะพิเศษคือ ทำจากรองเท้าที่มีความแข็งแรง และมีล้อ ข้างละ 4 ลูกเรียงต่อกันเป็นแนวยาว สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นมาราว 300 ปี โดยชาวดัตซ์ในศตวรรษที่ 17 ที่พยายามประดิษฐ์สเกตน้ำแข็งในช่วงฤดูร้อน โดยเขาได้หล่อยึดท่อนไม้กับแผ่นไม้และติดเข้ากับรองเท้าสเกต และในปี 1819 ได้รับการจดสิทธิบัตรโดย M.Petibled ในกรุงปารีส ต่อมาในปี 1979 Scott Olsen นักฮ็อกกี้น้ำแข็ง ได้เห็นอินไลน์สเกต ในร้านขายเครื่องกีฬา และเห็นศักยภาพในด้านการออกแบบ จึงเดินทางไปชิคาโกซื้อ บริษัท Chicago Roller Skate ที่ยังไม่มีชื่อเสียง และตั้งชื่อใหม่ว่า Rollerblade ในสหรัฐอเมริกา กีฬานี้ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 5 เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมอันดับ 1 ในหมู่ผู้ชายอายุระหว่าง 6-17 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและอินไลน์สเกต · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรส

อินเตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรส หรือ อีเซเอ เป็นชื่อของรถไฟความเร็วสูงที่มีชื่อเสียงในประเทศเยอรมนีและยุโรปตะวันตก ทำรายได้สูงสุดในกลุ่มของดอยท์เชบาห์น โดยรู้จักกันกว้างขวางที่สุดในเยอรมนี ปัจจุบัน อีเซเอ มีรถไฟฟ้าทั้งหมด 259 ขบวน ในรูปแบบที่แตกต่างกัน 5 รุ่น ได้แก่ อีเซเอ 1 (ปรับใช้งานใน ค.ศ. 1991), อีเซเอ 2 (ค.ศ. 1996), อีเซเอ ที (ค.ศ. 1999), อีเซเอ 3 (ค.ศ. 1999) และ อีเซเอ ทีดี (ค.ศ. 2001–2003 กลับมาให้บริการอีกครั้งใน ค.ศ. 2007) โดยอีซีเอ 3 มีรุ่นย่อยมากที่สุด ผลิตโดย การขนส่งบอมบาร์ดิเออร์ และ ซีเมนส์ นอกจากในเยอรมนีแล้ว อีเซเอยังให้บริการในประเทศใกล้เคียงอีกด้วย เช่น อีเซเอ 1 วิ่งไปถึงเมืองบาเซิลและซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กับอีเซเอ 3 วิ่งไปถึงเมืองลีแยฌและบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม และวิ่งไปไกลถึงกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและอินเตอร์ซิตี-เอ็กซ์เพรส · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2015

อินเตอร์เนชั่นแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2015 (2015 International Champions Cup) (หรือ ไอซีซี) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตร ฤดูกาลที่ 3.

ใหม่!!: ปารีสและอินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2016

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ 2016 (International Champions Cup) (หรือ ไอซีซี) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตร ฤดูกาลที่ 4 ซึ่งจะลงเล่นในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2017

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ 2017 (International Champions Cup) (หรือ ไอซีซี) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตร ฤดูกาลที่ 5 ซึ่งจะลงเล่นในช่วงเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

อึงโกโล ก็องเต

อึงโกโล ก็องเต (N'Golo Kanté) เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอึงโกโล ก็องเต · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติฟ็องญา-แก๋บ่าง

อุทยานแห่งชาติฟ็องญา-แก๋บ่าง (Vườn Quốc gia Phong Nha-Kẻ Bàng) เป็นอุทยานแห่งชาติของประเทศเวียดนามที่ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 ตั้งอยู่ในอำเภอโบ๊จักและอำเภอมิญฮว้า จังหวัดกว๋างบิ่ญ และติดชายแดนประเทศลาว ห่างจากกรุงฮานอยมาทางใต้ประมาณ 500 กิโลเมตร เป็นกลุ่มหินปูนมีขนาดพื้นที่ 857.54 ตารางกิโลเมตร อุทยานนี้มีชื่อเสียงในความสวยงามของถ้ำที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก และยังเป็นสถานที่ 1 ใน 2 ของโลกที่เป็นหินปูนที่มีลำธารใต้ดินขนาดใหญ.

ใหม่!!: ปารีสและอุทยานแห่งชาติฟ็องญา-แก๋บ่าง · ดูเพิ่มเติม »

อูร์แบ็ง เลอ แวรีเย

อูร์แบ็ง เลอ แวรีเย อูร์แบ็ง ฌ็อง โฌแซ็ฟ เลอ แวรีเย (Urbain Jean Joseph Le Verrier, 11 มีนาคม พ.ศ. 2354 - 23 กันยายน พ.ศ. 2366) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้เชี่ยวชาญด้านกลศาสตร์เทห์ฟ้า (Celestial mechanics) ทำงานประจำหอดูดาวปารีสตลอดชีวิต.

ใหม่!!: ปารีสและอูร์แบ็ง เลอ แวรีเย · ดูเพิ่มเติม »

อูว์แบร์ รีฟวซ์

อูว์แบร์ รีฟวซ์, ซีซี โอคิว (Hubert Reeves; 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1932 —) เป็นนักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศสและเป็นผู้เผยแพร่วิทยาศาสตร์อย่างง่ายผ่านสื่อต่าง ๆ นอกจากนี้ เขายังเคยแสดงความเห็นในเชิงบวกต่อเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ว่าอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของวงการฟิสิกส์อนุภาคตลอดกาล.

ใหม่!!: ปารีสและอูว์แบร์ รีฟวซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีฟว์ แกล็ง

อีฟว์ แกล็ง (Yves Klein) เกิดที่เมืองนิส ประเทศฝรั่งเศส เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส ผู้นำสีฟ้ามาจดเป็นลิขสิทธิ์และนำมาใช้ในการสร้างงานศิลปะ เขาเป็นหนึ่งในผู้นำกลุ่มศิลปะในลัทธิสัจนิยมใหม่ (Nouveau réalisme) ใช้ชีวิตและการทำงานศิลปะส่วนใหญ่ในกรุงปารีสและเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจที่นั่น งานของเขาสะท้อนให้เห็นถึงความคิดแปลกใหม่ นำเสนอผู้ชมด้วยรูปแบบที่ทำให้รู้สึกตื่นเต้นเร้าใจตลอดเวลา นิทรรศการ "Monochrome Proposition" เป็นหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงของ.

ใหม่!!: ปารีสและอีฟว์ แกล็ง · ดูเพิ่มเติม »

อีริส มีเตอนาร์

อีริส มีเตอนาร์ (Iris Mittenaere; 25 มกราคม ค.ศ. 1993 –) เป็นนางแบบและนางงามชาวฝรั่งเศสที่ครองตำแหน่งนางงามจักรวาล 2016 เมื่อวันที่ 30 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและอีริส มีเตอนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อีริค เปเวอร์นากี

อีกห้องว่างเปล่า Erik Pevernagie (80 x 100 ซม), น้ำมันบนผ้าใบ อีริค เปเวอร์นากี (Erik Pevernagie) (เกิดใน ปี ค.ศ 1939) เป็นจิตกรชาวเบลเยี่ยมที่ได้เคยจัดนิทรรศการในปารีส นิวยอร์ก เบอร์ลิน อัมสเตอร์ดัม ลอนดอน.

ใหม่!!: ปารีสและอีริค เปเวอร์นากี · ดูเพิ่มเติม »

อีล-เดอ-ฟร็องส์

อีล-เดอ-ฟร็องส์ (Île-de-France) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปารีสและอีล-เดอ-ฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อีลี เมตช์นิคอฟ

อิลียา อิลยิช เมชนิคอฟ (Ilya Ilyich Mechnikov, Илья́ Ильи́ч Ме́чников) หรือ อีลี เมตช์นิคอฟ (Élie Metchnikoff, Élie Metchnikoff) (15 พฤษภาคม (แบบเก่า 3 พฤษภาคม) ค.ศ. 1845 – 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1916) เป็นนักสัตววิทยาชาวรัสเซีย เป็นผู้ค้นพบกระบวนการฟาโกไซโทซิสจากการทดลองกับตัวอ่อนของดาวทะเล ผลงานดังกล่าวทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ร่วมกับเพาล์ เอร์ลิชในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอีลี เมตช์นิคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อีวอน เดอ โกล

อีวอน เดอ โกล (Yvonne de Gaulle; เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ที่เมืองกาแล แคว้นนอร์-ปาดกาแล ประเทศฝรั่งเศส) เป็นภริยาของชาร์ล เดอ โกล ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสคนที่ 18 ถือเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ 8 มกราคม พ.ศ. 2502 – 28 เมษายน พ.ศ. 2512 หมวดหมู่:สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2443.

ใหม่!!: ปารีสและอีวอน เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

อีวา กรีน

อวา กาแอล เกรน (Eva Gaëlle Green;; เกิดวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1980) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวฝรั่งเศส เธอได้เริ่มแสดงละครเวทีก่อนที่จะทำการเปิดตัวในฐานะนักแสดงภาพยนตร์ชุด The Dreamers (ค.ศ. 2003) ซึ่งเน้นการทะเลาะวิวาทมากกว่าหลายฉากเปลือยของเธอ เธอประสบความสำเร็จมีชื่อเสียงมากขึ้นเมื่อเธอได้ร่วมบทในภาพยนตร์ชุด มหาศึกกู้แผ่นดิน (ค.ศ. 2005) และภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ ชุด พยัคฆ์ร้ายเดิมพันระห่ำโลก ที่ทำให้ได้เธอรับรางวัลรางวัลบาฟต้าในเวลาต่อมา ตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและอีวา กรีน · ดูเพิ่มเติม »

อีซาแบล อาจานี

อีซาแบล ยัสมีน อาจานี (Isabelle Yasmine Adjani) นักร้องและนักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงในคริสต์ทศวรรษ 1980 เคยได้รับรางวัลซีซาร์ 4 ครั้ง จากเรื่อง Possession (ค.ศ. 1981), L'Été meutrier (ค.ศ. 1983), Camille Claudel (ค.ศ. 1989) และ La Reine Margot (ค.ศ. 1995) และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 2 ครั้งจากเรื่อง The Story of Adèle H. (ค.ศ. 1975) และ Camille Claudel (ค.ศ. 1988) นอกจากนี้ยังเคยได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองกาน เทศกาลภาพยนตร์นิวยอร์ก และเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน อีซาแบล อาจานี เกิดในย่านเฌินวีลีเย (Gennevilliers) ใกล้กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส บิดามีเชื้อสายตุรกีและแอลจีเรีย ส่วนมารดาเป็นชาวเยอรมัน เธอสามารถพูดได้ทั้งภาษาเยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษ เธอเริ่มเป็นนักแสดงตั้งแต่อายุ 14 ปี จากภาพยนตร์เรื่อง Le Petit bougnat ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอีซาแบล อาจานี · ดูเพิ่มเติม »

อีปอลิต ฟีโซ

อาร์ม็อง อีปอลิต หลุยส์ ฟีโซ (Armand Hippolyte Louis Fizeau; 23 กันยายน ค.ศ. 1819 – 18 กันยายน ค.ศ. 1896) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและอีปอลิต ฟีโซ · ดูเพิ่มเติม »

อีปอลิต แมฌ-มูเรียส

อีปอลิต แมฌ-มูเรียส (Hippolyte Mège-Mouriès; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1817 – 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1880) เป็นนักเคมีชาวฝรั่งเศส เกิดในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอีปอลิต แมฌ-มูเรียส · ดูเพิ่มเติม »

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี (Irène Joliot-Curie; 12 กันยายน พ.ศ. 2440 – 17 มีนาคม พ.ศ. 2499) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เธอเป็นลูกสาวของมารี กูว์รี และปีแยร์ กูว์รี และเป็นภรรยาของเฟรเดริก ฌอลีโย-กูว์รี เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับสามีของเธอจากการค้นพบกัมมันตรังสีเหนี่ยวนำ ทำให้ครอบครัวกูว์รีเป็นครอบครัวที่มีผู้ได้รับรางวัลโนเบลมากที่สุดในขณะนั้นเอแลนและปีแยร์ บุตรของอีแรนกับเฟรเดริกก็เป็นนักวิทยาศาสตร์เช่นกัน.

ใหม่!!: ปารีสและอีแรน ฌอลีโย-กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส (Eleftherios Venizelos; ชื่อเต็ม: อีเลฟเทรีออส คีรีอาคู เวนิเซลอส;Elefthérios Kyriákou Venizélos, กรีก: Ἐλευθέριος Κυριάκου Βενιζέλος; 23 สิงหาคม ค.ศ. 1864 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1936) เป็นผู้นำชาวกรีกที่ประสบความสำเร็จในขบวนการปลดปล่อยชาติกรีกและเป็นรัฐบุรุษที่มีเสน่ห์ในช่วงยุคต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นที่จดจำจากการส่งเสริมนโยบายแนวเสรีนิยมประชาธิปไตยKitromilides, 2006, p. 178, Time, Feb.18,1924 เขาได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งกรีซหลายสมัย โดยดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและอีเลฟเทริออส เวนิเซลอส · ดูเพิ่มเติม »

อีเลียด

ปกมหากาพย์ ''อีเลียด'' เชื่อว่าพิมพ์ในปี ค.ศ. 1572 อีเลียด (Ἰλιάς Ilias; Iliad) เป็นหนึ่งในสองบทกวีมหากาพย์กรีกโบราณของโฮเมอร์ ซึ่งเล่าเรื่องราวของสงครามเมืองทรอยในช่วงปีที่สิบอันเป็นปีที่สิ้นสุดสงคราม เชื่อกันว่า อีเลียด ถูกแต่งขึ้นในช่วงศตวรรษที่แปดก่อนคริสตกาล นักวิชาการหลายคนเชื่อว่า บทกวีเรื่องนี้เป็นวรรณกรรมที่เก่าแก่ที่สุดในภาษากรีกโบราณ จึงถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นแรกของยุโรป แม้จะมีชื่อผู้ประพันธ์ปรากฏเพียงคนเดียว แต่จากลักษณะของบทกวีที่บอกเล่าสืบต่อกันมาแบบปากเปล่ารุ่นต่อรุ่น จึงมีความเป็นไปได้ว่ามีผู้ประพันธ์มากกว่าหนึ่งคน เรื่องราวในบทกวีบรรยายถึงเหตุการณ์ในปีที่สิบซึ่งเป็นปีสุดท้ายของเหตุการณ์ที่ชาวกรีกบุกยึดนครอีเลียน หรือเมืองทรอย คำว่า "อีเลียด" หมายถึง "เกี่ยวกับอีเลียน" (ภาษาละตินเรียก อีเลียม (Ilium)) อันเป็นชื่อเรียกส่วนนครหลวง ซึ่งแตกต่างกับ ทรอย (Truva; Τροία, Troía; Troia, Troiae) อันหมายถึงนครรัฐที่อยู่ล้อมรอบอีเลียม แต่คำทั้งสองคำนี้มักใช้รวมๆ กันหมายถึงสถานที่แห่งเดียวกัน.

ใหม่!!: ปารีสและอีเลียด · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน

องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (ฝรั่งเศส: Reporters sans frontières, RSF; อังกฤษ: Reporters Without Borders, RWB) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชนนานาชาติซึ่งสนับสนุนและปกป้องเสรีภาพสื่อและเสรีภาพข้อมูลข่าวสาร องค์กรมีฐานดำเนินงานอยู่ที่ปารีส และมีสถานะที่ปรึกษาในสหประชาชาติ ก่อตั้งโดย โรแบร์ เมนาร์ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดนมีสองกิจกรรมหลัก อย่างแรกคือการมุ่งด้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตและสื่อใหม่ และอีกอย่างคือการจัดหาเครื่องมือ งบประมาน และความช่วยเหลือทางจิตใจแก่นักข่าวที่ถูกส่งไปในพื้นที่อันตราย, Reporters Without Borders, 16 April 2012, retrieved 21 March 2013 โดยมีพันธกิจดังนี้.

ใหม่!!: ปารีสและองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศ

องค์การระหว่างประเทศ (international organisation) หมายถึง องค์การที่ประเทศหรือรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปรวมกัน จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาต.

ใหม่!!: ปารีสและองค์การระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอวกาศยุโรป

องค์การอวกาศยุโรป หรือ อีเอสเอ (European Space Agency, ESA; Agence spatiale européenne, ASE) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1975 โดยเป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในยุโรป มีเป้าหมายเพื่อการสำรวจอวกาศ ปัจจุบันมีสมาชิก 20 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีจำนวนพนักงานเกือบ 2,000 คน และมีงบประมาณประจำปีราว 2.9 พันล้านยูโรในปี..

ใหม่!!: ปารีสและองค์การอวกาศยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนิทรรศการนานาชาติ

องค์การนิทรรศการนานาชาติ (Bureau of International Expositions; Bureau International des Expositions, บูโรแองแตร์นาชียงนาลเดแซ็กซ์โปซีชียง; ย่อ: BIE) ภาษาปากว่า "สำนักงานมหกรรมโลก" เป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งขึ้นตามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดแสดงนิทรรศการนานาชาติ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 เพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการระดับนานาชาติ ปัจจุบัน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส และมีประเทศสมาชิก 170 ประเท.

ใหม่!!: ปารีสและองค์การนิทรรศการนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถานแห่งชาติ

อนุสรณ์สถานแห่งชาติ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ สร้างขึ้นในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่บูรพมหากษัตริย์และวีระชนไทยผู้เสียสละชีวิตเพื่อประเทศชาติ ตั้งอยู่บริเวณทางแยกต่างระดับอนุสรณ์สถานแห่งชาติ ช่วงถนนวิภาวดีรังสิต บรรจบกับถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ในพื้นที่ 38 ไร่ 1 งาน 97 ตารางวา ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกองประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: ปารีสและอนุสรณ์สถานแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม

อนุสัญญากรุงปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม หรือ อนุสัญญากรุงปารีส (Paris Convention for the Protection of Industrial Property) ลงนามที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ปารีสและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาเมตริก

ผู้เกี่ยวข้อง อนุสัญญาเมตริก (Convention du Mètre, Metre Convention) หรือสนธิสัญญาเมตริก เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ลงนามในกรุงปารีส เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 1875 โดยผู้แทนสิบเจ็ดชาติซึ่งจัดตั้งสถาบันโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมมือด้านมาตรวิทยาระหว่างประเทศ และเพื่อร่วมือพัฒนาระบบเมตริก สนธิสัญญาดังกล่าวยังตั้งองค์การที่เกี่ยวข้องเพื่อกำกับดูแลการดำเนินการสถาบันดังกล่าว เดิม อนุสัญญาฯ สนใจเฉพาะหน่วยมวลและความยาว แต่ในปี 1921 ที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัด ครั้งที่หก มีการทบทวนและขยายอาณัติไปครอบคลุมการวัดเชิงกายภาพทั้งหมด ในปี 1960 ที่ประชุมใหญ่ฯ ครั้งที่สิบเอ็ด มีการปรับปรุงระบบหน่วยวัดซึ่งที่ประชุมกำหนดขึ้นใหม่ และเริ่ม "ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ" (SI) หมวดหมู่:การวัด หมวดหมู่:มาตรวิทยา หมวดหมู่:ระบบหน่วยวัด หมวดหมู่:สนธิสัญญาในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ปารีสและอนุสัญญาเมตริก · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ

อนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ หรือ เทพีเสรีภาพ เป็นอนุสาวรีย์ที่ยิ่งใหญ่ และมีคุณค่าทางจิตใจ ในภาษาอังกฤษ เรียกว่า Statue of Liberty แต่เดิมชื่อว่า Liberty Enlightening the World ตั้งอยู่ ณ เกาะลิเบอร์ตี อ่าวนิวยอร์ก ที่นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นของขวัญที่ชาวฝรั่งเศสมอบให้แก่ชาวอเมริกัน ในวันที่อเมริกาเฉลิมฉลองวันชาติครบ 100 ปี ณ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2419 โดยส่งมอบอย่างเป็นทางการ โดยมี ประธานาธิบดีโกรเวอร์ คลีฟแลนด์ ในวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2429 เทพีเสรีภาพ เป็นประติมากรรมโลหะสำริด รูปเทพีห่มเสื้อคลุม มือขวาชูคบเพลิง มือซ้ายถือแผ่นจารึกคำประกาศอิสรภาพของสหรัฐฯ และมีอักษรสลักว่า "JULY IV MDCCLXXVI" หรือ วันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี รูโซ

อ็องรี ฌูว์เลียง เฟลิกซ์ รูโซ (Henri Julien Félix Rousseau; 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 2 กันยายน ค.ศ. 1910) at the Guggenhiem เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีลักษณะการเขียนแบบศิลปะนาอีฟ (Naïve art) และ แบบบรรพกาลนิยม (Primitivism) รูโซเป็นที่รู้จักกันว่า “Le Douanier” (เจ้าหน้าที่ศุลกากร) ตามหน้าที่การงาน ระหว่างที่มีชีวิตอยู่รูโซก็ถูกเย้ยหยัน แต่ต่อมาก็เป็นที่นับถือในการที่เป็นผู้สอนตนเองผู้เป็นอัจฉริยะผู้เขียนภาพที่มีคุณภาพสูง pages 7 & 8.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องรี รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก

อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก “ลากูลู (หลุยส์ เวเบ) มาถึงมูแล็งรูฌ” (La Goulue arriving at the Moulin Rouge) (ค.ศ. 1892) อ็องรี มารี แรมง เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก-มงฟา (Henri Marie Raymond de Toulouse-Lautrec-Monfa; 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1864 - 9 กันยายน ค.ศ. 1901) เป็นจิตรกร ช่างพิมพ์ ช่างเขียนแบบ และอิลลัสเตรเตอร์ (Illustrator) สมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังคนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนโปสเตอร์ของชีวิตผู้คนในบริเวณมงมาตร์ และผู้ชอบใช้ชีวิตในวงการของความฟุ้งเฟ้อและโรงละครในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษ (fin de siècle) ของปารี.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน กรีแยซมาน

อ็องตวน กรีแยซมาน (Antoine Griezmann;; เกิดวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1991) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวฝรั่งเศส ปัจจุบันเล่นให้กับอัตเลตีโกมาดริดในลาลีกาในตำแหน่งกองหน้า กรีแยซมานเป็นที่รู้จักในด้านการควบคุมลูกบอล การเร่งความเร็วได้อย่างรวดเร็ว และการเลี้ยงลูก เขาเคยเล่นใหักับฟุตบอลเยาวชนทีมชาติฝรั่งเศส โดยเป็นตัวแทนแข่งให้กับทีมชาติในรุ่นอายุต่ำกว่า 19 ปี, 20 ปี และ 21 ปี ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอ็องตวน กรีแยซมาน · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน ลาวัวซีเย

อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย (Antoine-Laurent de Lavoisier; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดยกิโยติน เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้งกฎการอนุรักษ์มวล (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้างทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมี.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องตวน ลาวัวซีเย · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน วาโต

วาโตในปีสุดท้ายของชีวิตเขา โดยโรซัลบา การ์รีเอรา (Rosalba Carriera) พ.ศ. 2264 ฌ็อง-อ็องตวน วาโต เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของ “ชนชั้นสูง” (fêtes galantes) อ็องตวน วาโตเป็นหนึ่งนักวาดภาพร่างยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ของศิลปะยุโรป.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องตวน วาโต · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน หลุยส์

อ็องตวน หลุยส์ (Antoine Louis; 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1723 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1792) เกิดที่เมืองแม็ส เป็นศัลยแพทย์และนักสรีรวิทยาชาวฝรั่งเศส หลุยส์ได้รับการอบรมด้านวิชาการแพทย์จากพ่อของเขาซึ่งเป็นศัลยแพทย์ ณ โรงพยาบาลทหารในท้องถิ่น ในขณะเป็นหนุ่มเขาได้ย้ายไปอยู่ที่กรุงปารีสโดยรับหน้าที่เป็น gagnant-maîtrise ณ โรงพยาบาลซาลแปเทรียร์ (Salpêtrière) ใน..

ใหม่!!: ปารีสและอ็องตวน หลุยส์ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โน

อ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โน อ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โน เป็นนักปรัชญา นักคณิตศาสตร์และนักเศรษฐศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้รับการกล่าวขานว่าเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงในเรื่อง"หลักหน่วยสุดท้ายดั้งเดิม" (Proto-Marginalists) คนหนึ่ง โดยงานหลักของเขาจะเป็นงานเขียนทางด้านเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นการค้นคว้าใน"หลักคณิตศาสตร์แห่งความมั่งคั่ง" (Principle of Wealth) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ยังไม่มีใครสามารถที่จะล้มล้างได้ในขณะนั้น ทั้งนี้ผลงานเขาก็ยังคงมีอิทธิพลในปัจจุบันด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โน · ดูเพิ่มเติม »

อ็องแซลม์ ปาแย็ง

อ็องแซลม์ ปาแย็ง (Anselme Payen; 6 มกราคม ค.ศ. 1795 – 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1878) เป็นนักเคมีชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีส ได้รับการศึกษาจากบิดาก่อนจะเรียนต่อด้านเคมีที่วิทยาลัยสารพัดช่าง (École Polytechnique) เมื่อปาแย็งอายุได้ 23 ปี เขาทำงานเป็นผู้จัดการโรงงานผลิตบอแรกซ์ ปาแย็งพัฒนากระบวนการสังเคราะห์บอแรกซ์จากโซเดียมและกรดบอริก วิธีนี้ช่วยลดการนำเข้าบอแรกซ์จากอินเดียตะวันออกและสิ้นสุดการผูกขาดตลาดการค้าบอแรกซ์ของดัตช์ นอกจากนี้เขายังพัฒนากระบวนการผลิตน้ำตาล แป้งและแอลกอฮอล์จากมันฝรั่ง คิดค้นวิธีคำนวณหาปริมาณไนโตรเจนและประดิษฐ์ดีคัลเลอริมิเตอร์ (decolorimeter) เพื่อใช้ศึกษาคุณสมบัติของน้ำตาล ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและอ็องแซลม์ ปาแย็ง · ดูเพิ่มเติม »

อ็องเฌ

อ็องเฌ (Angers) เป็นเมืองในภาคตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส ประมาณ 300 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้จากปารีส เมืองแห่งนี้เคยเป็นเมืองเอกของมณฑลอ็องฌูก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมืองนี้และมณฑลนี้จะเรียกตัวเองว่า อ็องฌ์แว็ง เฉพาะเทศบาลเมืองอ็องเฌ (ไม่นับรวมเขตปริมณฑล) เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ของภาคตะวันตกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส รองจากน็องต์และแรน และมากเป็นอันดับที่ 17 ของประเท.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องเฌ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องเดร มาเซนา

อ็องเดร มาเซนา (André Masséna; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1758 - 4 เมษายน ค.ศ. 1817) เป็นทหารและผู้บัญชาการทหารระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสและสงครามนโปเลียน เขาเป็นหนึ่งใน 18 จอมพลฝรั่งเศสดั้งเดิมที่นโปเลียนทรงสถาปนา มีบทบาทในช่วงสงครามคาบสมุทร.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องเดร มาเซนา · ดูเพิ่มเติม »

อ็องเดรเดอะไจแอนต์

อังเดร เรเน รุสสิมอฟฟ์ (André René Roussimoff) (19 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 – 27 มกราคม ค.ศ. 1993) นักมวยปล้ำอาชีพชาวฝรั่งเศส เชื้อสายบัลแกเรียน-โปลิช อดีตนักมวยปล้ำของเวิลด์เรสต์ลิงเฟเรเดชั่น (WWF) ที่รู้จักกันในชื่อ อ็องเดรเดอะไจแอนต์ (André the Giant) เป็นอดีตแชมป์ WWF 1 สมัย และแชมป์แท็กทีม WWF คู่กับ ฮากุ ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงด้วยอายุ 46 ปี ที่กรุงปารีส และได้บรรจุชื่อเข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำปี 1993 เป็นคนแรกใน WWF หรือ WWE ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและอ็องเดรเดอะไจแอนต์ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (America's Next Top Model หรือในชื่อย่อว่า ANTM) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ที่ทำการคัดเลือกหญิงสาวจากรัฐต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา ที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ โดยผู้เข้าแข่งขันต้องขับเคี่ยวกันจากบททดสอบมากมาย ตั้งแต่การถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ที่ล้วนต้องอาศัยความสามารถระดับสูงก่อนจะมาเป็นสุดยอดนางแบบของอเมริกา ซึ่งผู้ชนะในแต่ละฤดูกาลจะได้รับรางวัลดังนี้.

ใหม่!!: ปารีสและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (หรือที่รู้จักกันในชื่อ America's Next Top Model, Cycle 1) รายการเรียลลิตี้ที่จัดทำโดยสุดยอดนางแบบและพิธีกรรายการโทรทัศน์ ไทร่า แบงส์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อ "ค้นหาสุดยอดนางแบบเพียงหนึ่งเดียว" ออกอากาศครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกา ทางช่อง UPN เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 โดยมีผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 10 คน ในรอบ 5 คนสุดท้ายของฤดูกาลนี้ ได้ไปแข่งขันต่อที่ เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส และผู้ชนะจะได้เซ็นสัญญากับบริษัท Wilhelmina ได้รับการสัญญาการทำงานกับบริษัทเครื่องสำอาง Revlon และถ่ายแบบขึ้นปกนิตยสาร Marie Claire และผู้ชนะก็คือ เอเดรียน เคอร์รี สาวสวยวัย 20 ปีจาก อิลลินอยส์ แต่ภายหลังเธออ้างว่าไม่ได้รับรางวัลใดๆ จากรายการนี้เลย ทำให้ความสัมพันธ์อันดีของเธอกับ ไทร่า แบงส์ หยุดชะงัก และเกิดอาการมองหน้าไม่ติดกันในที.

ใหม่!!: ปารีสและอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

อเมดิโอนโตลี

อเมดิโอนโตลี (อิตาลี: Amedeo Natoli, เกิดที่เมืองปาแลร์โมวินชี วันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1888 - เสียชีวิตที่เมืองปารีส ในวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1953) เป็นนักเขียน นายธนาคาร และ ใจบุญ อิตาโล-ภาษาฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและอเมดิโอนโตลี · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์

อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ หรือ แซนดี้ คาลเดอร์ (Alexander Calder หรือ Sandy Calder) (22 กรกฎาคม ค.ศ. 1898 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976) เป็นประติมากรของขบวนการลัทธิเหนือจริงคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาลเดอร์มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ริเริ่มการสร้าง “ประติมากรรมจลดุล” (mobile sculpture) นอกจากประติมากรรมจลดุลแล้วคาลเดอร์ก็ยังสร้างงานที่เป็น “ประติมากรรมศักยดุล” หรือ “ประติมากรรมสถิต” (stabile), จิตรกรรม, ภาพพิมพ์หิน, ของเล่น, พรมทอแขวนผนัง และ เครื่องประดับด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและอเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮวาง งี

วาง งี (Hoang Nghi) หรือชื่ออังกฤษ มาร์ก ฮวาง (Marc Hoang) เกิดวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฮวาง งี · ดูเพิ่มเติม »

ฮอ นำฮง

ฮิลลารี คลินตัน และฮอ นำฮง ในนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 2009 ฮอ นำฮง (ហោ ណាំហុង โห ณำหุง; เกิด 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1935) เป็นรองนายกรัฐมนตรีกัมพูชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศกัมพูชา และกรรมการบริหารพรรคประชาชนกัมพูชา พรรครัฐบาลของกัมพูชาในปัจจุบัน ฮอ นำฮงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชาอย่างยาวนานตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและฮอ นำฮง · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ แม็มลิง

ันส์ แม็มลิง (Hans Memling; ราว ค.ศ. 1430 - 11 สิงหาคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา คริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ปารีสและฮันส์ แม็มลิง · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์บิน

ตำแหน่งของเมืองฮาร์บิน ถนนหัวเอ๋อในเขตเต้าหลี่ ฮาร์บิน หรือสำเนียงจีนกลางว่า ฮาเอ่อร์ปิน (แมนจู: 20px) เป็นเมืองเอกของมณฑลเฮย์หลงเจียง ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของแม่น้ำซงหัว ฮาร์บินเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และยังเป็นศูนย์กลางทางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการสื่อสารคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน จึงถือได้ว่าเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของจีนและของเอเชียด้านตะวันออกเฉียงเหนือ คำว่า ฮาร์บิน เป็นคำในภาษาแมนจู มีความหมายว่า "สถานที่ตากแห (จับปลา)".

ใหม่!!: ปารีสและฮาร์บิน · ดูเพิ่มเติม »

ฮาง ทุน ฮัก

ง ทุน ฮัก (ហង្ស ធុន ហាក់ Hang Thun Hak) เป็นนักการเมือง นักเขียนบทละคร และนักวิชาการฝ่ายซ้ายในกัมพูชา เกิดเมื่อ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฮาง ทุน ฮัก · ดูเพิ่มเติม »

ฮิระอิซุมิ

ประกอบด้วยแหล่งวัฒนธรรม ๕ แหล่งรวมทั้งภูเขากินไกซันอันศักดิ์สิทธิ์ ปรากฏเป็นหลักฐานร่องรอยของสถานที่ราชการ กำหนดอายุตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๑ และ ๑๒/ พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ ในช่วงสมัยที่ฮิไรอิสุมิเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรทางเหนือ และเป็นคู่แข่งกับเกียวโต อาณาจักรนี้สร้างอยู่บนพื้นฐานความคิด ตามคติความเชื่อเรื่องจักรวาล ของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน สุขาวดีที่แพร่หลายเข้ามาในญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๘/ พุทธศตวรรษที่ ๑๓ สมบัติทางวัฒนธรรมชิ้นนี้แสดงถึงความเป็นดินแดนสุขาวดีอันเป็นที่ปรารถนาของมนุษย์ภายหลังความตาย รวมทั้งความสงบของจิตใจในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ นิกายสุขาวดีจึงพัฒนาขึ้นในการออกแบบและวางผังสวนที่เป็นลักษณะเฉพาะของญี่ปุ่น ด้วยการผสมผสานกันระหว่างการบูชาธรรมชาติตามความเชื่อดั้งเดิมและลัทธิชินโตของชาวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ปารีสและฮิระอิซุมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์ฮิสทรี (HIStory World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 3 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน โดยจัดทั้งหมด 82 รอบ และมีผู้เข้าร่วมประมาณ 4.5 ล้านคน ซึ่งก่อนหน้านี้ในคอนเสิร์ตทัวร์แบด 4.4 ล้านคน เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยโดยศิลปินเดี่ยวในแง่ของการเข้าร่วมประชุมในช่วงเวลาที่ทำรายได้รวมมากกว่ากว่า 165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ยกเว้นคอนเสิร์ตฟรี).

ใหม่!!: ปารีสและฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะโอะ ซะซะกิ

อะ ซะซะกิ ฮิเดะโอะ ซะซะกิ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 – 30 สิงหาคม พ.ศ. 2543) ภูมิสถาปนิกชาวอเมริกันเชื้อสายญี่ปุ่นผู้มีชื่อเสียง ผู้บุกเบิกแนวทางการออกแบบเชิงสหสาขาและนักการศึกษ.

ใหม่!!: ปารีสและฮิเดะโอะ ซะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุย กานทวล

กานทวล(ហ៊ុយ កន្ធុល; 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 – 13 กันยายน พ.ศ. 2534) เป็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ตั้งแต่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฮุย กานทวล · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ บีแซ

อร์ฌ บีแซ ฌอร์ฌ บีแซ (Georges Bizet,; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2381 – 3 มิถุนายน พ.ศ. 2418) คีตกวีชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ปารีสและฌอร์ฌ บีแซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ ฌีล เดอ ลา ตูแร็ต

อร์ฌ อาลแบร์ เอดัวร์ บรูว์ตุส ฌีล เดอ ลา ตูแร็ต (Georges Albert Édouard Brutus Gilles de la Tourette; 30 ตุลาคม ค.ศ. 1857 – 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1904) เป็นนายแพทย์ชาวฝรั่งเศส เกิดในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌอร์ฌ ฌีล เดอ ลา ตูแร็ต · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ ปงปีดู

จอร์จ จ็อง แรมง ปงปีดู (Georges Jean Raymond Pompidou, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 – 2 เมษายน พ.ศ. 2517) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:ประธานาธิบดีฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปารีสและฌอร์ฌ ปงปีดู · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ เมเลียส

มารี-ฌอร์ฌ-ฌ็อง เมเลียส (Marie-Georges-Jean Méliès) เป็นผู้กำกับและอำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศส เขาสร้างภาพยนตร์มากกว่า 500 เรื่อง และเป็นคนแรกที่ใช้ผลพิเศษ (special effects) ผลงานที่โด่งดังของเขาคือ A Trip to the Moon (ค.ศ. 1902).

ใหม่!!: ปารีสและฌอร์ฌ เมเลียส · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ เลอกล็องเช

ซลล์เลอกล็องเช ฌอร์ฌ เลอกล็องเช (Georges Leclanché; ค.ศ. 1839 – 14 กันยายน ค.ศ. 1882) เป็นวิศวกรไฟฟ้าชาวฝรั่งเศส เกิดที่เมืองปาร์แม็ง เป็นบุตรชายของเลออปอล เลอกล็องเช (Léopold Leclanché) และยูเชนีแห่งวีลเนิฟว์ (Eugenie of Villeneuve) เขาได้รับการศึกษาที่ประเทศอังกฤษ และเรียนจบจากวิทยาลัยกลางศิลปะและผลิตกรรม (École Centrale des Arts et Manufactures) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌอร์ฌ เลอกล็องเช · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา

อร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา (Georges-Pierre Seurat"C.U.S.D. Art Masterpiece Manual", Mary Lynne Lasure, p.38, web:.) (2 ธันวาคม ค.ศ. 1859 - 29 มีนาคม ค.ศ. 1891) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยอิมเพรสชันนิสม์ใหม่ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานเขียนชิ้นที่มีชื่อเสียงที่สุดของเซอราคือภาพ “บ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต” ที่เขียนระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา · ดูเพิ่มเติม »

ฌอง เฮย์

อง เฮย์ (ภาษาอังกฤษ: Jean Hey หรือ Jean Hay) (ราว ค.ศ. 1475 - ราว ค.ศ. 1505) เป็นจิตรกรที่เดิมรู้จักกันในนามว่า “มาสเตอร์แห่งมูแลงส์” เฮย์เป็นจิตรกรชาวเนเธอร์แลนด์ของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพศิลปะคริสต์ศาสนา และจิตรกรรมหนังสือวิจิตร ฌอง เฮย์ทำงานในฝรั่งเศสและในอาณาบริเวณของดยุคแห่งเบอร์กันดีและมีส่วนเกี่ยวข้องกับดยุคแห่งบูร์บอง.

ใหม่!!: ปารีสและฌอง เฮย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ชีรัก

ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.

ใหม่!!: ปารีสและฌัก ชีรัก · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ปีแยร์ บรีโซ

ัก ปีแยร์ บรีโซ (Jacques Pierre Brissot) เป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคฌีรงแด็ง กลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศฝรั่งเศสระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสและเป็นได้รองประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายตรงข้ามเขาได้ใช้กำลังอาวุธเข้าบีบบังคับสภาให้ปลดและจับกุมตัวเขาตลอดจนสมาชิกฌีรงแด็งคนอื่น ๆ ท้ายที่สุดเขาถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีน.

ใหม่!!: ปารีสและฌัก ปีแยร์ บรีโซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก เอแบร์

ัก-เรอเน เอแบร์ (Jacques-René Hébert) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ ลาแปร์ดูว์แชน (Le Père Duchesne) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ลัทธิหัวรุนแรงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และทำให้เขาเป็นผู้นำของกลุ่มเอแบร์ (Hébertist) ในวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฌัก เอแบร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌักแห่งมอแล

ตราอาร์มของฌักแห่งมอแล ฌักแห่งมอแล (Jacques de Molay; James of Molay; c. 1240/1250 – มีนาคม ค.ศ. 1314Demurger, pp. 1-4. "So no conclusive decision can be reached, and we must stay in the realm of approximations, confining ourselves to placing Molay's date of birth somewhere around 1244/5 – 1248/9, even perhaps 1240–1250.") เป็นผู้นำคนที่ 23 และคนสุดท้ายของอัศวินเทมพลาร์ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและฌักแห่งมอแล · ดูเพิ่มเติม »

ฌากอแบ็ง

การประชุมใหญ่สโมสรฌากอแบ็งในปีค.ศ. 1791 สมาคมเหล่าสหายของรัฐธรรมนูญ (Société des amis de la Constitution) หรือหลังเปลี่ยนชื่อในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌากอแบ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌาน ดาร์ก

น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌาน ดาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฌานแห่งบูร์บง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

นแห่งบูร์บง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Jeanne de Bourbon; Joanna of Bourbon; 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1338 - 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1378) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสในพระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ. 1364 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1378 ฌานแห่งบูร์บงประสูติเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1338 ที่แว็งแซนในฝรั่งเศส เป็นพระธิดาในปีเตอร์ ดยุคแห่งบูร์บง และอีซาแบลแห่งวาลัว ดัชเชสแห่งบูร์บง และสิ้นพระชนม์เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1378 ในกรุงปารีสในฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและฌานแห่งบูร์บง สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล บาดว็อง

ประธานาธิบดีชาร์ล เดอ โกล (หันหลัง) มอบเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ให้แก่ตุลาการบาดว็อง (ยืนอยู่หน้าประธานาธิบดี ประดับเครื่องอิสริยาภรณ์อยู่บนคอ) ในปี 2507 ฌูล บาดว็อง (Jules Basdevant,; 15 เมษายน 2420 — 17 มีนาคม 2511) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ นักกฎหมาย และตุลาการ เขาเกิดที่ตำบลอาน็อสต์ จังหวัดโซเนลัวร์ แคว้นบูร์กอญ เมื่อสำเร็จเป็นนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตเมื่อปี 2446 ก็เริ่มทำงานเป็นข้าราชการเรียก "อาเกรเฌ" (agrégé) ทำหน้าที่สอนกฎหมายอยู่ในกรุงปารีสได้ไม่ถึงปี ก็ได้รับการย้ายไปประจำเมืองแรน สอนกฎหมายอยู่ที่นั้นตั้งแต่ปี 2446 จนถึงปี 2450 ครั้นแล้ว จึงย้ายไปประจำเมืองเกรอนอบล์จนถึงปี 2461 จึงกลับไปเมืองหลวง หลังจากนั้น เขาได้รับการเลื่อนตำแหน่งหลายครั้ง เป็นต้นว่า ปี 2462 ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการในคณะผู้แทนประเทศฝรั่งเศสประจำการประชุมสันติภาพขั้นต้น ต่อมาปี 2465 เลื่อนเป็นศาสตราจารย์ประจำสาขากฎหมายระหว่างประเทศและสนธิสัญญาทางประวัติศาสตร์ และปี 2467 ได้เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขากฎหมายมหาชน ปี 2473 เขาได้ตำแหน่งที่ปรึกษากฎหมายประจำกระทรวงการต่างประเทศ และอยู่ในตำแหน่งนั้นจนถึง 2484 ครั้นปี 2487 จึงได้รับเลือกเป็นสมาชิกบัณฑิตยสถานธรรมศาสตร์และการเมือง (Academy of Political and Moral Sciences) ครั้นปี 2486 เขาได้รับเรื่องเป็นตุลาการชุดแรกของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ปฏิบัติหน้าที่นั้นจนถึงปี 2507 แล้วจึงได้รับเลือกเป็นรองประธานศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 2489 ถึงปี 2492 และได้เลื่อนเป็นประธานตั้งแต่ปี 2492 ถึงปี 2495 จากนั้น จึงกลับไปดำรงตำแหน่งตุลาการจนถึงปี 2507 แล้วกลับไปอยู่ตำบลบ้านเกิดกระทั่งเสียชีวิตในปี 2511 ในด้านครอบครัวนั้น เขาเป็นบิดาของซูว์ซาน บาดว็อง (Suzanne Basdevant) นักกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองผู้เลื่องชื่อ.

ใหม่!!: ปารีสและฌูล บาดว็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล กอตาร์

ูล กอตาร์ (Jules Cotard; 1 มิถุนายน ค.ศ. 1840 – 19 สิงหาคม ค.ศ. 1889) เป็นประสาทแพทย์ชาวฝรั่งเศส เกิดที่เมืองอีซูเดิง เรียนวิชาแพทย์ที่กรุงปารีสก่อนจะทำงานที่โรงพยาบาลปีตีเย-ซาลแปทรีแยร์ ที่นั่นกอตาร์ได้ร่วมงานกับฌ็อง-มาร์แต็ง ชาร์โก แพทย์ผู้บุกเบิกการศึกษาโรคทางระบบประสาท กอตาร์ทำงานที่นี่จนถึงปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌูล กอตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล มาซาแร็ง

รูปของมาซาแร็ง ฌูล พระคาร์ดินัลมาซาแร็ง (Jules Cardinal Mazarin) ดยุกแห่งเรอแตล มาแยน และเนอแวร์ เกิดที่ราชอาณาจักรเนเปิลส์ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌูล มาซาแร็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์

ูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ (Jules Hardouin-Mansart,; 16 เมษายน ค.ศ. 1646 - 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1708) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ที่ผลงานถือกันว่าเป็นผลงานของสมัยบาโรกฝรั่งเศสที่รุ่งเรืองที่สุดที่เป็นสัญลักษณ์ของอำนาจและความยิ่งใหญ่โอ่อ่าของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ม็องซาร์ถือกันว่าเป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของยุโรปของคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ปารีสและฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌูว์ลี แดลปี

ูว์ลี แดลปี (21 ธันวาคม ค.ศ. 1969) นักแสดง ผู้กำกับ นักเขียนบท นักแต่งเพลงและนักร้องชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านภาพยนตร์จากโรงเรียนศิลปะทิสช์ในนิวยอร์ก ปัจจุบันใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และได้รับสัญชาติอเมริกันตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและฌูว์ลี แดลปี · ดูเพิ่มเติม »

ฌีมโนเปดี

ีมโนเปดี (Gymnopédies) เป็นผลงานประพันธ์สำหรับเปียโนจำนวน 3 ชิ้นที่แต่งโดยเอริก ซาตี คีตกวีชาวฝรั่งเศส เผยแพร่ครั้งแรกในปารีสเมื่อปี ค.ศ. 1888 ผลงานทั้งสามชิ้นเขียนขึ้นในจังหวะ 3/4 โดยมีธีมและโครงสร้างดนตรีร่วมกัน คือเน้นบรรยากาศและสภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้นแบบของดนตรีแอมเบียนต์ในปัจจุบัน ชื่อ "ฌีมโนเปดี" มีที่มาจากศัพท์ภาษากรีก γυμνοπαιδία ("gumnopaidia") มาจากคำว่า γυμνός (gymnos - "naked") และ παίς (pais - "child") หรือ παίζω (paizo - "play") เป็นชื่อเทศกาลเต้นรำเปลือยกายของนักรบสปาร์ตา เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌีมโนเปดี · ดูเพิ่มเติม »

ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต

มารี-ฌอแซ็ฟ ปอล อีฟว์ ร็อก ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย, มาร์กี เดอ ลา ฟาแย็ต (Marie-Joseph Paul Yves Roch Gilbert du Motier, Marquis de Lafayette; 6 กันยายน ค.ศ. 1757 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1834) เป็นขุนนางทหารชาวฝรั่งเศส ผู้ช่วยเหลือชาวอเมริกันทำสงครามปฏิวัติ เป็นเพื่อนสนิทของจอร์จ วอชิงตัน อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน และทอมัส เจฟเฟอร์สัน นอกจากนี้ยังมีบทบาทในการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ลาฟาแย็ตเกิดในตระกูลขุนนางมั่งคั่งในจังหวัดโอแวร์ญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศส และได้รับราชการทหารตามครอบครัวตั้งแต่อายุได้ 13 ปี ต่อมาได้เข้าร่วมสงครามปฏิวัติอเมริกาและได้รับยศพลตรีตั้งแต่อายุเพียง 19 ปี เมื่อได้รับบาดเจ็บในยุทธการที่แบรนดีไวน์ ลาฟาแย็ตยังสามารถจัดถอยทัพได้อย่างเป็นระเบียบ และมีผลงานในยุทธการที่โรดไอแลนด์ ในช่วงกลางสงคราม เขากลับฝรั่งเศสเพื่อขอให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณสนับสนุน เขากลับอเมริกาอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง มักซีมีเลียง ลามาร์ก

็อง มักซีมีเลียง ลามาร์ก (Jean Maximilien Lamarque; ค.ศ. 1770 – ค.ศ. 1832) นิยมเรียกอย่างลำลองว่า นายพลลามาร์ก เป็นผู้บัญชาการทหารชาวฝรั่งเศส ยศพลโท (général de division) ในสมัยสงครามนโปเลียนและในภายหลังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภา นายพลลามาร์กเป็นหนึ่งในผู้นำคนสำคัญของกองทัพภายใต้จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และได้รับการยกย่องอย่างมากจากคือการยึดครองกาปรีจากการปกครองของอังกฤษ รวมทั้งความพ่ายแพ้ของเขาแก่กองกำลังฝ่ายนิยมกษัตริย์ที่จังหวัดว็องเดเมื่อปี ค.ศ. 1815 ชัยชนะของเขาได้รับการชื่นชมอย่างมากโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ว่าเขาเป็นคนที่ "สร้างปาฏิหาริย์ และเหนือความคาดหวังอยู่เสมอ" ภายหลังจากการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง นายพลลามาร์กก็ได้กลายมาเป็นฝั่งตรงข้ามทันทีในยุคของการกลับมาของการปกครองระบบเก่า (Ancien Régime) และต่อมาในการปฏิวัติโค่นล้มราชวงศ์บูร์บงอีกครั้งในปี ค.ศ. 1830 เขาก็ได้ถูกแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองกำลังเพื่อเฝ้าระวังผู้นิยมราชวงศ์บูร์บง ที่เรียกตัวเองว่า "เหล่าผู้สืบสิทธิโดยนิติธรรม"(légitimistes) อันเป็นฝ่ายตรงข้ามกับราชวงศ์ออร์เลอ็อง ต่อมาในยุคของการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (July Monarchy) เขาเป็นผู้นำฝ่ายซ้าย (เสรีนิยม) หนึ่งในผู้สนับสนุนพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1ให้ขึ้นครองราชย์ ซึ่งในภายหลังก็เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก เนื่องจากการปกครองแบบใหม่นี้ก็ยังไม่ได้ช่วยเรื่องสิทธิมนุษยชน และความมีเสรีภาพของพรรคการเมือง เขายังเป็นอีกผู้หนึ่งที่สนับสนุนการให้เอกราชของโปแลนด์และอิตาลีในขณะนั้น นายพลลามาร์กยังเป็นนักเขียนที่มีความคิดแนวเสรีนิยมคนหนึ่งในสมัยนั้น แนวความคิดต่างๆ ของนายพลลามาร์กทำให้เขาเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญในฝรั่งเศส การถึงแก่อสัญกรรมของเขาเป็นตัวแปรสำคัญที่กระตุ้นการกบฎของประชนชาวปารีสในเดือนมิถุนายน (June Rebellion) ปี ค.ศ. 1832 ซึ่งเป็นที่มาของฉากและบทประพันธ์เรื่องเลมีเซราบล์ (Les Misérables) ของวิกตอร์ อูโก.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง มักซีมีเลียง ลามาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง มีแชล ฌาร์

็อง-มีแชล อ็องเดร ฌาร์ (Jean-Michel André Jarre) นักแต่งเพลง นักดนตรีชาวฝรั่งเศส ได้รับการยอมรับเป็นผู้บุกเบิกแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ นิวเอจ และแอมเบียนต์ มีการจัดการแสดงสดประกอบเอฟเฟกต์แสง สี เสียง เลเซอร์ พลุอย่างยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะการแสดงครั้งสำคัญในงานฉลอง 850 ปีของกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง มีแชล ฌาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง ซีลแว็ง บายี

็อง ซีลแว็ง บายี (Jean Sylvain Bailly) เป็นนักดาราศาสตร์, นักคณิตศาสตร์, สมาชิกฟรีเมสัน และเป็นผู้นำทางการเมืองในช่วงสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเป็นนายกเทศมนตรีกรุงปารีสระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง ซีลแว็ง บายี · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง นูแวล

็อง นูแวล (Jean Nouvel; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2488 —) สถาปนิกชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงระดับโลก เจ้าของรางวัลพริตซ์เกอร์ ทางสถาปัตยกรรมแห่งปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง นูแวล · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง เลอ รง ดาล็องแบร์

ฌ็อง เลอ รง ดาล็องแบร์ (Jean le Rond d'Alembert; 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1717 - 29 ตุลาคม ค.ศ. 1783) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักฟิสิกส์ วิศวกร และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส การคำนวณสมการของคลื่นชื่อ วิธีดาล็องแบร์ (D'Alembert's method) ตั้งชื่อตามนามสกุลของเขา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2260 หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง เลอ รง ดาล็องแบร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญี

ฌ็อง โฌแซ็ฟ มารี กาเบรียล เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญี (Jean Joseph Marie Gabriel de Lattre de Tassigny) เป็นผู้ปัญชาการฝรั่งเศสในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, สงครามโลกครั้งที่สอง และ สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง เดอ ตาซีญี ได้รับยศจอมพลแห่งฝรั่งเศสหลังเขาเสียชีวิตในปี 1952 ช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขาได้ร่วมรบในแนวรบด้านตะวันตก เขาได้รับบาดเจ็บจากการรบในยุทธการที่แวร์เดิงต่อมา เดอ ตาซีญี ได้รับ เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์และ Military Cross ในสมัยระหว่างสงคราม เดอ ตาซีญี ได้ถูกส่งตัวไปรบที่โมร็อกโกเขาได้รับบาดเจ็บจากการรบอีกครั้ง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเขากลายเป็นนายพลแห่งกองทัพฝรั่งเศสเขาได้บัญชาการรบใน ยุทธการที่ Rethel, Champagne-Ardenne, และ Loire ระหว่างยุทธการที่ฝรั่งเศส และหยุดรบหลังการยอมแพ้ของประเทศฝรั่งเศสต่อนาซีเยอรมนี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2432 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2495 หมวดหมู่:ทหารชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:ทหารในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญี · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง เดอกู

็อง เดอกู (Jean Decoux; 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 – 21 ตุลาคม พ.ศ. 2506) นายทหารเรือแห่งกองทัพเรือฝรั่งเศสชาวเมืองบอร์โด อดีตข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีนฝรั่งเศสในช่วง..

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง เดอกู · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ บีโย

็อง-บาติสต์ บีโย (Jean-Baptiste Biot; 21 เมษายน พ.ศ. 2317, ปารีส - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405, ปารีส) เป็นนักฟิสิกส์ นักดาราศาสตร์ และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขาได้ศึกษาถึงทิศทางของแสงเมื่อเดินทางผ่านสารเคมีใดสารเคมีหนึ่ง รวมไปถึงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก กฎบีโย-ซาวาร์ซึ่งอธิบายถึงสนามแม่เหล็กที่สร้างโดยกระแสที่คงที่ ได้รับการช่วยเหลืออย่างมากจากเฟลี ซาวาร์ บีโยเป็นคนแรก ๆ ที่ได้พบถึงคุณสมบัติของแสงของแร่ไมกา และเพราะฉะนั้นสสารที่อยู่ในไมกาก็ใช้ชื่อแทนเขาคือไบโอไทต์ แก-ลูว์ซักอยู่ในบัลลูนอากาศร้อน ค.ศ. 1804 ภาพวาดจากคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-บาติสต์ บีโย · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์

็อง-บาติสต์ กอลแบร์ ฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์ (Jean-Baptiste Colbert; 29 สิงหาคม พ.ศ. 2162 - 6 กันยายน พ.ศ. 2226) เป็นเลขานุการส่วนตัวของมาซาแร็ง เข้ามาอยู่ในกรุงปารีสตั้งแต่ยังเยาว์ และได้รับราชการในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ภายในเวลา 22 ปี กอลแบร์ได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงถึง 8 กระทรวง.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล

นักบุญฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล (Jean-Baptiste de La Salle; 30 เมษายน ค.ศ. 1651 – 7 เมษายน ค.ศ. 1719) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ก่อตั้งคณะภราดาลาซาล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่มีบทบาทสำคัญในด้านการจัดการศึกษาแก่เยาวชน ท่านได้รับการประกาศเป็นนักบุญเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง

็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง (Jean-Baptiste-Siméon Chardin; 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1699 - 6 ธันวาคม ค.ศ. 1779) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพนิ่ง ชาร์แด็งผู้เกิดและใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในในปารีสเป็นบุตรของช่างทำตู้ ชาร์แด็งพำนักอยู่ที่เลฟต์แบงก์จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์

็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ (Jean-Honoré Fragonard; 5 เมษายน ค.ศ. 1732 (birth/baptism certificate) - 22 สิงหาคม ค.ศ. 1806) เป็นจิตรกรรมสมัยบาโรกชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีลักษณะงานที่มีชีวิตชีวา และออกไปในเชิงสุขารมณ์นิยม (hedonism) ฟรากอนาร์เป็นจิตรกรที่มีความสามารถดีเด่นของปลาย สมัยอ็องเซียงเรฌีม ผู้มีผลงานกว่า 550 ภาพที่ไม่รวมงานวาดเส้นและงานแกะพิมพ์ แต่เพียงห้าชิ้นเท่านั้นที่ระบุเวลาเขียนที่แน่นอน ในบรรดาภาพเขียน ภาพชีวิตประจำวันเป็นประเภทการเขียนที่มีชื่อเสียงที่สุด ที่ฟรากอนาร์สื่อบรรยากาศของความใกล้ชิดและเชิงความดึงดูดทางเพศ (eroticism).

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็ส

็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็ส (Jean Jacques Régis de Cambacérès) เป็นขุนนาง รัฐบุรุษ และนักกฎหมายชาวฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 เขาเป็นหนึ่งในคณะผู้ร่างประมวลกฎหมายนโปเลียน ซึ่งกลายเป็นรากฐานของประมวลกฎหมายแพ่งของฝรั่งเศสตลอดจนกฎหมายแห่งในหลายประเทศ ก็องบาเซแร็สเกิดในเมืองมงเปอลีเยในตระกูลขุนนางยากจน ในปี 1744 เขาสำเร็จการศึกษาด้านกฎหมายและสืบทอดงานต่อจากบิดาในตำแหน่งที่ปรึกษาประจำสำนักบัญชีและการเงินในเมืองตูลูซ เขาเป็นผู้สนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสซึ่งเริ่มขึ้นในปี 1789 ต่อมาในปี 1792 เขาได้เป็นผู้แทนในสภากงว็องซียงแห่งชาติ และต่อมาได้เข้าเป็นสมาชิกในคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมหลังการสิ้นอำนาจของรอแบ็สปีแยร์ เมื่อนายพลนโปเลียนก่อรัฐประหาร 18 บรูว์แมร์ในปี 1799 เขาก็ได้รับแต่งตั้งเป็น "กงสุลโท" ในคณะกงสุลฝรั่งเศส ซึ่งตลอดช่วงที่เป็นกงสุลนี้ เขารับผิดชอบด้านการร่างประมวลกฎหมายแพ่งฉบับใหม่ของฝรั่งเศสซึ่งเรียกว่า "ประมวลกฎหมายนโปเลียน" อันเป็นกฎหมายที่ปรับปรุงมาจากกฎหมายโรมัน ประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับการยอมรับนับถือเป็นประมวลกฎหมายสมัยใหม่ฉบับแรกของฝรั่งเศส ประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับการประกาศใช้โดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ในปี 1804 แม้ก็องบาเซแร็สไม่เคยเห็นด้วยกับการปราบดาตนขึ้นเป็นจักรพรรดิของนโปเลียน แต่เขาก็ยอมรับใช้จักรพรรดินโปเลียน เขาได้รับการอวยยศขึ้นเป็นเจ้าชาย และในปี 1808 ก็ได้เป็นดยุกแห่งปาร์มา โดยพื้นฐานแล้ว เขาถือเป็นข้าราชการพลเรือนผู้มีอำนาจเป็นอันดับสองของฝรั่งเศสในยุคจักรพรรดินโปเลียน ก็องบาเซแร็สเป็นบุคคลรักร่วมเพศ รสนิยมทางเพศของเขาเป็นที่รับรู้กันในคนหมู่มาก และเขาก็ไม่ได้มีความพยายามจะปิดบังเลย นโปเลียนมักจะนำประเด็นเรื่องนี้มีมาแซวเล่นกับเขาอยู่เสมอ เขามีสไตล์การใช้ชีวิตฟุ่มเฟือยและหรูหรา มื้อค่ำในบ้านของเขาเป็นที่เลื่องลือว่าดีเลิศที่สุดในฝรั่งเศส เขามีทรัพย์สินราว 7.3 ล้านฟรังค์ (ราว 2,000 ล้านบาท ณ ปี 2015) ณ วันที่เขาถึงแก่อสัญกรรมในปี 1824.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-ฌัก-เรฌิส เดอ ก็องบาเซแร็ส · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ปอล ซาทร์

็อง-ปอล ซาทร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (Jean-Paul Sartre, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448 กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส - 15 เมษายน พ.ศ. 2523 ที่กรุงปารีส) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นักปรัชญา และผู้มีบทบาทสำคัญในแนวคิดอัตถิภาวนิยมหรือทฤษฎีที่ว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าว.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-ปอล ซาทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์

็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ (Jean-Auguste-Dominique Ingres; 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 - 14 มกราคม ค.ศ. 1867) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูคลาสสิกชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนประวัติศาสตร์และภาพเหมือน แอ็งกร์เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 ในจังหวัดตาร์เนการอน ประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1867 ที่ปารีส แอ็งกร์ถือว่าตนเองเป็นจิตรภาพประวัติศาสตร์ตามแบบนีกอลา ปูแซ็ง และฌัก-หลุยส์ ดาวิด (Jacques-Louis David) แต่ในบั้นปลายความสามารถในการเขียนภาพเหมือนภาพเหมือนทั้งภาพเขียนและการวาดเส้นเป็นสิ่งที่ทำให้แอ็งกร์เป็นที่รู้จัก แอ็งกร์เป็นผู้ที่นับถือชื่นชมประวัติศาสตร์และเป็นผู้ที่พยายามพิทักษ์ความรู้แบบสถาบันต่อขบวนการลัทธิจินตนิยมที่กำลังคืบคลานเข้ามาที่นำโดยเออแฌน เดอลาครัว แอ็งกร์กล่าวสรรเสริญจิตรกรรมของจิตรกรสำคัญ ๆ ที่ผ่านมาเช่นราฟาเอล และประกาศตนว่าเป็นผู้รักษากฎเกณฑ์การวาดภาพที่สูงส่งเช่นนั้นและไม่ใช่เป็นผู้ “คิดค้น” วิธีใหม่ แต่อย่างไรก็ตามในความเห็นสมัยใหม่เห็นว่าแอ็งกร์และศิลปินฟื้นฟูคลาสสิกเป็นผู้ที่โอบอุ้มปรัชญาจินตนิยมของสมัยนั้น นอกจากนั้นการแสดงความบิดเบือนของรูปทรงและช่องว่างของแอ็งกร์เป็นแนวโน้มของของศิลปะสมัยใหม่ที่จะมาถึง.

ใหม่!!: ปารีสและฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอมโจรคิด

อมโจรคิด; (Kid the Phantom Thief) เป็นฉายาของตัวละครในมังงะเรื่อง จอมโจรอัจฉริยะ แต่งโดย โกโช อาโอยาม่า จอมโจรคิดเป็นที่รู้จักมากจากบทบาทในมังงะและอะนิเมะเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ที่แต่งโดยผู้เขียนคนเดียวกัน จอมโจรคิดในปัจจุบันมีทั้งหมด 2 รุ่น โดยชื่อจริงของจอมโจรคิดรุ่นแรกคือ คุโรบะ โทอิจิ แต่หลังจากโทอิจิเสียชีวิตจากการถูกสังหาร บุตรชายของเขา คุโรบะ ไคโตะ ได้สืบทอดตำแหน่งจอมโจรคิดต่อเป็นรุ่นที่ 2 โดยหวังว่าจะพบเบาะแสของบุคคลที่สังหารพ่อของเขา ซึ่งจอมโจรอัฉริยะเล่ม 5 ตอน มิดไนท์โครว์ อาจจะมีเบาะแสว่า คุโรบะโทอิยังนั้นยังไม่ตาย ในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงจอมโจรคิด จะหมายถึงจอมโจรคิดรุ่นที่ 2 คือ คุโรบะ ไคโตะ ยกเว้นจะมีการกล่าวว่าเป็นโทอิจิโดยเฉ.

ใหม่!!: ปารีสและจอมโจรคิด · ดูเพิ่มเติม »

จอร์ดาโน บรูโน

รูปปั้นสัมฤทธิ์ของจอร์ดาโน บรูโน โดยเอตโตเร แฟร์รารี ที่กัมโปเดฟีโอรีในกรุงโรม ประเทศอิตาลี จอร์ดาโน บรูโน (Giordano Bruno; ค.ศ. 1548 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1600) เป็นไฟรเออร์, นักคณิตศาสตร์ และนักปรัชญาชาวอิตาลี ผลงานที่เป็นที่รู้จักดี คือ แนวคิดที่ว่า "จักรวาลนั้นไม่มีที่สิ้นสุด" และ "อาจจะมีดาวเคราะห์แบบโลกอีกหลายดวงในจักรวาล และแต่ละดวงอาจจะมีสิ่งมีชีวิตเช่นมนุษย์".

ใหม่!!: ปารีสและจอร์ดาโน บรูโน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจเน

“ภาพเหมือนตนเอง?” (ราว ค.ศ. 1500-1510) “ลอรา” (ค.ศ. 1506) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์, เวียนนา จอร์โจเน (ภาษาอังกฤษ: Giorgione หรือ Giorgio Barbarelli da Castelfranco) (ราว ค.ศ. 1477 - ค.ศ. 1510) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของเวนิสในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 มีชื่อเสียงว่าเขียนภาพอย่างมีอรรถรส (elusive poetic quality) ทั้งๆ ที่มีภาพที่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเขียนโดยจอร์โจเนเพียงประมาณ 6 ภาพไม่นับภาพอื่นที่สันนิษฐานว่าเขียนโดยจอร์โจเนด้วย เพราะความที่ไม่ทราบว่าเป็นใครแน่และความหมายของภาพเขียนจึงทำให้งานเขียนของจอร์โจเนเป็นงานที่ยังลึกลับต่อการตีความหมายที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ปารีสและจอร์โจเน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แวนบรูห์

ซอร์จอห์น แวนบรูห์โดยเจฟฟรี เนลเลอร์ (Godfrey Kneller) จอห์น แวนบรูห์ หรือ เซอร์จอห์น แวนบรูห์ (John Vanbrugh) (24 มกราคม ค.ศ. 1664? – 26 มีนาคม ค.ศ. 1726) เป็นสถาปนิกชาวอังกฤษ และนักเขียนบทละคร (dramatist) งานชิ้นเอกของแวนบรูห์ก็เห็นจะเป็น วังเบล็นไฮม์ และ ปราสาทฮาวเวิร์ด งานอื่นก็ได้แก่บทละครฟื้นฟูราชวงศ์ (Restoration comedy) ซึ่งเป็นบทละครชวนหัวที่แรงๆ สองเรื่อง -- “คืนตัว” (The Relapse) ในปี ค.ศ. 1696 และเรื่อง “ภรรยาผู้ถูกยุ” (The Provoked Wife) ในปี ค.ศ. 1697 ซึ่งเป็นละครที่เล่นกันบ่อยแต่เป็นบทละครที่ทำให้มีความขัดแย้งกันมากเมื่อออกมาใหม่ๆ แวนบรูห์ค่อนข้างจะเป็นผู้มีหัวรุนแรง เมื่อหนุ่มๆ แวนบรูห์ก็เป็นสมาชิกพรรควิกและมีส่วนเกี่ยวข้องกับการโค่นราชบัลลังก์ของ, he was part of the scheme to overthrow สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และสนับสนุนการขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 เพื่อพิทักษ์ระบบรัฐสภาประชาธิปไตยของอังกฤษ และมีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมืองจนถูกจับเป็นนักโทษการเมืองที่ถูกจำขังที่คุกบาสตีย์ในปารีส ส่วนทางด้านการเขียนบทละครแวนบรูห์มักจะเขียนบทละครแบบเสียดสี เช่นบทละครฟื้นฟูราชวงศ์ และเรื่องที่เกี่ยวกับสังคมในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 นอกจากจะเป็นงานเขียนที่ออกจะเปิดเผยในเรื่องทางเพศแล้วก็ยังสื่อความหมายในการป้องกันสิทธิสตรีในการแต่งงานอีกด้วย ซึ่งก็ถูกโจมตีทั้งสองประเด็นและเป็นผู้ที่ถูกวิจารณ์ในค่านิยมโดย เจอเรอมี คอลลีเออร์ (Jeremy Collier) ในหนังสือ “ความคิดเห็นสั้นเกี่ยวกับความขาดศีลธรรมและความหยาบคายในวงการละครอังกฤษ” (Short View of the Immorality and Profaneness of the English Stage) ทางด้านสถาปัตยกรรมแวนบรูห์เป็นผู้นำในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างที่มารู้จักกันในนาม “สถาปัตยกรรมบาโรกแบบอังกฤษ” งานของแวนบรูห์ทางสถาปัตยกรรมก็เป็นการแสดงออกอย่างรุนแรงเช่นเดียวกับความคิดเห็นทางการเมือง.

ใหม่!!: ปารีสและจอห์น แวนบรูห์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิพอลล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย (Па́вел I Петро́вич; Pavel Petrovich; Paul I of Russia) (พระราชสมภพ: 1 ตุลาคม (นับตามแบบเก่า: 20 กันยายน) พ.ศ. 2297 - 23 มีนาคม (นับตามแบบเก่า: 11 มีนาคม) พ.ศ. 2344) ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซีย ระหว่างปี พ.ศ. 2339 - พ.ศ. 2344 (5 ปี) สวรรคตโดยการถูกปลงพระชนม์ขณะครองราชย์ พระโอรสของพระองค์ จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 จึงขึ้นสืบราชสมบัติต่อจากพระอง.

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิญ หมั่ง

มิญ หมั่ง (Minh Mạng, 明命; 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 — 20 มกราคม ค.ศ. 1841) หรือในพงศาวดารไทยเรียก มินมาง มีพระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก ด๋าม (Nguyễn Phúc Đảm, 阮福膽) เป็นจักรพรรดิแห่งเวียดนามจากราชวงศ์เหงียน ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงเป็นผู้นำของเวียดนามในช่วงสงครามอานามสยามยุทธ จักรพรรดิซา ล็อง พระบิดาของจักรพรรดิมิญ หมั่ง ได้กอบกู้เวียดนามจากกบฏเต็ยเซิน จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงรับช่วงต่อบ้านเมืองจากพระบิดาและทรงจัดระเบียบการปกครองของราชสำนักเวียดนามให้เรียบร้อย จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo–Confucianism) เป็นอย่างมาก เป็นกษัตริย์ที่ใส่พระทัยในการปกครองและความเป็นอยู่ของราษฎร แต่ทว่าความเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อของพระองค์ทำให้ราชสำนักเวียดนามเกิดความขัดแย้งกับมิชชันนารีชาวตะวันตก ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเวียดนามกับชาติตะวันตกโดยเฉพาะฝรั่งเศสเสื่อมถอยลงอย่างมากในรัชสมัยของพระองค์ จนนำไปสู่การสูญเสียเอกราชแก่ฝรั่งเศสในที.

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดิมิญ หมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 จนกระทั่งสวรรคต และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอำนาจของยุโรปในสมัยนั้น ในช่วงระยะเวลาของรัชสมัยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างประเทศเป็น “จักรวรรดิ” ที่เป็นที่น่าเกรงขามได้สำเร็จ การติดต่อด้านการค้าและการทูตกับต่างประเทศ การรับเอาความเจริญทางด้านการทหาร การช่างและวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยต้นราชวงศ์โรมานอฟล้วนแต่เป็นการแผ้วทางไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเป็นมหาอํานาจของรัสเซีย เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (شهبانو فرح پهلوی) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล

ักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล (ภาษาโปรตุเกส: Dom Pedro II, ภาษาอังกฤษ: Peter II; 2 ธันวาคม ค.ศ. 1825 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1891) มีพระสมัญญานามว่า "ผู้มีจิตใจสูงส่ง" (the Magnanimous) ทรงเป็นพระประมุขพระองค์ที่สองและพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิบราซิล ทรงครองราชบัลลังก์มานานกว่า 58 ปี พระองค์ประสูติที่รีโอเดจาเนโร เป็นพระบุตรพระองค์ที่เจ็ดในจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิลกับอาร์คดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดิน่าแห่งออสเตรีย และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ราชวงศ์บราแกนซาสายบราซิล พระราชบิดาของพระองค์สละราชบัลลังก์อย่างทันทีทันใดและเสด็จไปยังยุโรปในปี..

ใหม่!!: ปารีสและจักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1

ักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 (First Bulgarian Empire, Първo Българско царство, Părvo Bălgarsko Tsarstvo) เป็นอาณาจักรในยุคกลางของบัลแกเรียที่ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง

ักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง (Premier Empire) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า (L'Empire des Français; ล็องปีร์เดส์ฟร็องแซส์ แปลว่า จักรวรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส) ยังรู้จักกันในนาม มหาจักรวรรดิฝรั่งเศส และ จักรวรรดินโปเลียน โดยเป็นจักรวรรดิที่สถาปนาขึ้นโดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ภายหลังจากที่พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส โดยเป็นจักรวรรดิที่มีส่วนสำคัญและมีอำนาจอย่างมากในทวีปยุโรปในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเปลี่ยนผ่านมาจากคณะกงสุลฝรั่งเศส จักรวรรดิยังเป็นผู้ริเริ่มการทำสงครามมากมายในยุโรปจากนโยบายการต่างประเทศของจักรพรรดินโปเลียน ที่มุ่งเน้นจะยึดครองทวีปยุโรปไว้กับฝรั่งเศสแต่เพียงผู้เดียว.

ใหม่!!: ปารีสและจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดช็องปาญ

ังหวัดช็องปาญในประเทศฝรั่งเศส ช็องปาญ (Champagne) เป็นอดีตจังหวัดทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศสปัจจุบันที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันดีในการทำไวน์ที่เรียกว่าเหล้าแชมเปญ เดิมเป็นอาณาจักรที่ปกครองโดยเคานต์แห่งช็องปาญที่ตั้งอยู่ราว 160 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงปารีส เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการค้าของช็องปาญคือทรัว, แร็งส์ และเอแปร์แน ในปัจจุบันดินแดนส่วนใหญ่ของช็องปาญอยู่ภายใต้การปกครองของแคว้นช็องปาญาร์แดน ที่ประกอบด้วย 4 จังหวัดคือ อาร์แดน, โอบ, โอต-มาร์น และมาร์น "Champagne" มาจากภาษาละตินว่า "campania" ที่เป็นนัยยะถึงความคล้ายคลึงของภูมิประเทศที่เป็นเนินสูง ๆ ต่ำ ๆ ของช็องปาญกับชนบทของอิตาลีในบริเวณกัมปาเนีย ทางตอนใต้ของกรุงโรม.

ใหม่!!: ปารีสและจังหวัดช็องปาญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดวาล-เดอ-มาร์น

180px วาล-เดอ-มาร์น (Val-de-Marne) เป็นจังหวัดในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดวาล-เดอ-มาร์นตั้งตามชื่อแม่น้ำมาร์น ตัวจังหวัดตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของของกรุงปารีส โดยมีเครแตย์ เป็นเมืองหลวง วาล-เดอ-มาร์น, แซน-แซ็ง-เดอนี และโอดแซนเป็นจังหวัดเล็ก ๆ สามจังหวัดที่ตั้งอยู่รอบปารีสที่รู้จักกันว่า "petite couronne" หรือวงแหวนรอบใน สถานที่สำคัญและน่าสนใจในจังหวัดวาล-เดอ-มาร์นก็ได้แก่มหาวิหารแซ็ง-หลุยส์และแซ็ง-นีกอลาแห่งชัวซีที่ชัวซี-เลอ-รัว (Cathédrale Saint-Louis-et-Saint-Nicolas de Choisy) และปราสาทแว็งแซน (Château de Vincennes).

ใหม่!!: ปารีสและจังหวัดวาล-เดอ-มาร์น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศฝรั่งเศส

ังหวัดในประเทศฝรั่งเศส (départements; departments) ในบริบทของการเมืองและภูมิศาสตร์คือหน่วยการบริหาร (administrative division) ของประเทศฝรั่งเศสและอดีตอาณานิคมในระดับรองจากแคว้น ในปัจจุบันประกอบด้วย 101 จังหวัด แบ่งเป็นจังหวัดในฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ 96 จังหวัด และจังหวัดโพ้นทะเล (départements d'outre-mer, DOM) 5 จังหวัด แต่ละจังหวัด (ยกเว้นมายอต) แบ่งย่อยออกเป็นเขต (arrondissements) รวม 335 เขต.

ใหม่!!: ปารีสและจังหวัดของประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแซน-แซ็ง-เดอนี

แซน-แซ็ง-เดอนี (Seine-Saint-Denis) เป็นจังหวัดในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงปารีส แซน-แซ็ง-เดอนีมีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "neuf-trois" หมายถึง "93" ซึ่งเป็นรหัสจังหวัด ชาวจังหวัดแซน-แซ็ง-เดอนีเรียกว่า "Sequano-Dyonisians".

ใหม่!!: ปารีสและจังหวัดแซน-แซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอดแซน

อดแซน (Hauts-de-Seine) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส ตัวจังหวัดตั้งอยู่ในบริเวณปริมณฑลด้านตะวันตกของกรุงปารีส โดยมีน็องแตร์เป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: ปารีสและจังหวัดโอดแซน · ดูเพิ่มเติม »

จัตุรัส

ัตุรัส อาจหมายถึง; คณิตศาสตร.

ใหม่!!: ปารีสและจัตุรัส · ดูเพิ่มเติม »

จัตุรัสชาร์ล เดอ โกล

ัตุรัสชาร์ล เดอ โกล (Place Charles de Gaulle) หรือในอดีต จัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) เป็นจัตุรัสในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยมีถนน 12 สายมาบรรจบกันทำให้มีลักษณะเหมือนดวงดาว ตรงกลางของจัตุรัสเป็นที่ตั้งของประตูชัยฝรั่งเศสอีกด้วย จัตุรัสชาร์ล เดอ โกลเป็นส่วนหนึ่งของแกนกลางอันเก่าแก่ (Axe historique) อันเลื่องชื่อ.

ใหม่!!: ปารีสและจัตุรัสชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี

อัลอัฟกานี จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี (Jamal ad-Din al-Afghani) เป็นนักคิดเจ้าของลัทธิรวมกลุ่มอิสลามและเป็นปัญญาชนคนสำคัญในโลกอิสลาม เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและจามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี · ดูเพิ่มเติม »

จาง จวีเจิ้ง

ง จวีเจิ้ง (ชาตะ: 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1525, เทศมณฑลเจียงหลิง มณฑลหูเป่ย์; มตะ: 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1582, กรุงปักกิ่ง) เป็นมหาอำมาตย์ (Grand Secretary) แห่งราชวงศ์หมิงของประเทศจีน ในรัชศกหลงชิ่งและว่านลี.

ใหม่!!: ปารีสและจาง จวีเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโม บัลลา

กโม บัลลา (Giacomo Balla) ศิลปินชาวอิตาลี ซึ่งถือได้ว่าเป็นจิตรกรที่สำคัญที่สุดของลัทธิฟิวเจอริสม์คนหนึ่ง เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานที่หลากหลาย ทั้งงานจิตรกรรม ประติมากรรม การออกแบบ ที่มีบทบาทอย่างมาก อีกทั้งมีช่วงเวลาการทำงานตามแนวทางฟิวเจอริสม์ยาวนานที.

ใหม่!!: ปารีสและจาโกโม บัลลา · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช

"ยกร่างพระเยซู" โดยปีเตอร์ พอล รูเบนส์ ราว ค.ศ. 1610–1611 จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช (Flemish Baroque painting) เป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในบริเวณเนเธอร์แลนด์ใต้ ระหว่างราว..

ใหม่!!: ปารีสและจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: ปารีสและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรมภาพเหมือน

ันส์ โฮลไบน์ ราว ค.ศ. 1540 จุลจิตรกรรมภาพเหมือน (Portrait miniature) คือภาพเหมือนขนาดจิ๋วที่มักจะเขียนด้วยสีน้ำทึบหรือสีน้ำหรือเป็นกระเบื้องเคลือบ จุลจิตรกรรมภาพเหมือนที่เริ่มมารุ่งเรืองในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุโรปและต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ต่อมา เป็นศิลปะอันมีค่าสำหรับการแนะนำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลกันได้ทำความรู้จักหรือเห็นหน้าเห็นตากัน ขุนนางที่เสนอการสมรสของบุตรีอาจจะส่งภาพเหมือนของบุตรีไปกับผู้เดินสาส์นไปให้ผู้หมายปองต่างๆ หรือ ทหารหรือกะลาสีก็อาจจะพกภาพเหมือนของบุคคลผู้เป็นที่รักติดตัวไปในระหว่างการเดินทาง หรือภรรยาอาจจะมีภาพเหมือนของสามีขณะที่สามีเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกล จุลจิตรกรรมภาพเหมือนในสมัยแรกเป็นภาพที่เขียนด้วยสีน้ำบนหนังลูกสัตว์ (vellum) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 การเขียนด้วยกระเบื้องเคลือบที่เหมือนแก้วบนทองแดงก็กลายมาเป็นที่นิยมกันมากขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลจิตรกรรมภาพเหมือนจะเขียนด้วยสีน้ำบนงาช้าง ความที่มีขนาดเล็กราว 40 × 30 มิลลิเมตรทำให้จุลจิตรกรรมภาพเหมือนใช้เป็นของที่ระลึกส่วนตัว หรือ เป็นเครื่องประดับ หรือใช้ในการประดับฝาปิดตลับตกแต่ง การวิวัฒนาการตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของดาแกโรไทป์และภาพถ่ายทำให้ความนิยมในการมีจุลจิตรกรรมภาพเหมือนลดน้อยลง.

ใหม่!!: ปารีสและจุลจิตรกรรมภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของการบินไทย

โบอิง 747-400 ของการบินไทยกำลังบินขึ้น ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 การบินไทย ได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 64 แห่ง ใน 35 ประเทศ (รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศไทย) ครอบคลุม 3 ทวีป ดังรายการต่อไปนี้ โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา เมืองเวียนนา เป็นท่าอากาศยานที่ 64 ที่ทำการบินไทยทำการบินประจำ ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์

รายชื่อนี้เป็นจุดหมายปลายทางการเดินทางที่สายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์เปิดให้บริการ ตามข้อมูลในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินมาเลเซียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

This is a list of airports to which Swiss International Air Lines flies (as of March 2009).

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์

รายชื่อสนามบินจุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์ The new CEO of ANA has laid out a future expansion plan, including new services to the Philippines, Indonesia, the Russian Far East and resuming services to Malaysia.

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินออลนิปปอนแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค

Cathay Pacific operates services to the following destinations (at February 2009, this does not include codeshare destinations): Destinations marked as cargo only, are served by Cathay Pacific Cargo.

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โคเรียนแอร์ให้บริการเที่ยวบินระหว่างอินช็อนกับอีก 22 เมืองในจีนแผ่นดินใหญ่ พร้อมกับ เอเชียนาแอร์ไลน์ ซึ่งให้บริการเที่ยวบินไปจีนเช่นกัน.

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเนปาลแอร์ไลน์

รื่องบิน โบอิง 757-200 ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย จุดหมายปลายทางของสายการบิน เนปาลแอร์ไลน์ มีดังต่อไปนี้ (ข้อมูลเดือนมกราคม ค.ศ. 2015).

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสายการบินเนปาลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์

หน้านี้คือรายชื่อจุดหมายปลายทางของเที่ยวบินต่าง ๆ ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก ซึ่งเป็นสายการบินขนส่งสินค้.

ใหม่!!: ปารีสและจุดหมายปลายทางของสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จูลี คลารี สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

มารี จูลี โบนาปาร์ต (วงศ์เดิม คลารี) หรือ จูลี คลารี สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน, สมเด็จพระราชินีแห่งเนเปิลส์และซิชิลี (26 ธันวาคม ค.ศ. 1771, มาร์แซย์ - 7 เมษายน ค.ศ. 1845, ฟลอเรนซ์) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสเปนและหมู่เกาะอินดิส, เนเปิลส์และซิชิลี ในฐานะพระมเหสีในโจเซฟ โบนาปาร์ต ผู้ครองราชบัลลังก์เนเปิลส์และซิชิลีตั้งแต่มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและจูลี คลารี สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป อาร์ชิมโบลโด

ูเซปเป อาร์ชิมโบลโด (Giuseppe Arcimboldo หรือ Giuseppe Arcimboldi) (ค.ศ. 1527 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1593) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้เขียนภาพเหมือนแบบมีจินตนาการเช่นเขียนเป็นภาพที่ใช้ผลไม้, ผัก, ดอกไม้, ปลา และหนังสือ ที่จัดประกอบเข้าด้วยกันจนเป็นหน้าตาที่ทราบว่าเป็นภาพเหมือนของผู้ใ.

ใหม่!!: ปารีสและจูเซปเป อาร์ชิมโบลโด · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป แวร์ดี

Verdi จูเซปเป ฟอร์ตูนีโน ฟรันเชสโก แวร์ดี (Giuseppe Verdi) เป็นคีตกวีชาวอิตาลี เกิดเมื่อวันที่10 ตุลาคม พ.ศ. 2356 (ค.ศ. 1813) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) โด่งดังจากอุปรากรเรื่อง ลา ทราเวียตตา ไอด้า โอเทลโล ผลงานของเขาได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อเขายังมีชีวิตอยู่ และต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน แวร์ดีเกิดที่หมู่บ้าน Le Roncole ในอำเภอตาโร ซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ต ในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) เขาได้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่เมืองบุสเชโต ที่ซึ่งเขาได้เรียนดนตรีกับเฟอร์ดินานโด โปรแวร์สิ เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี ขึ้นมาบทหนึ่งจากเพลงโหมโรงของอุปรากรเรื่อง กัลบกแห่งเมืองเซวิลล์ (Il barbiere di Siviglia) ของ จิโออัคคิโน รอสสินี จากนั้นก็ได้ย้ายไปอยู่ที่นครมิลาน เพื่อสมัครเข้าเรียนที่วิทยาลัยดนตรีแต่ก็ถูกปฏิเสธ เขาจึงเรียนแบบส่วนตัวกับวินเซนโซ ลาวินยา ผลงานประพันธ์อุปรากรเรื่องแรกของเขาคือ Oberto, conte di San Bonifacio (เปิดการแสดงครั้งแรกที่กรุงมิลาน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2382) ตามด้วยเรื่อง Un giorno di regno (ซึ่งเป็นความพยายามประพันธ์อุปรากรชวนหัวเพียงครั้งเดียว ซึ่งมีเพียง Falstaff อีกเรื่องในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขา) แต่เขาประสบความสำเร็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) จากเรื่อง Nabucco ที่ได้เปิดแสดงที่โรงละครลา สกาล่า ในนครมิลาน โดยมีนักแสดงนำได้แก่จูเซปปินา สเตร็ปโปนี ร้องเสียงโซปราโน ในบทของอาบิไก นักร้องสาวได้กลายเป็นภรรยาน้อยของแวร์ดี เขาได้แต่งงานกับหล่อนในอีกหลายปีให้หลัง ภายหลังการเสียชีวิตของภรรยาของเขา หลังจากที่อุปรากรเรื่อง I Lombardi alla prima crociata (เปิดแสดงครั้งแรกที่นครมิลาน เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386) ที่มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การเมือง เรื่องErnani ก็ประสบความสำเร็จในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซเช่นกัน ในปีต่อมา อุปรากรเรื่อง Giovanna d'Arco และ La Forza del Destino ก็ตอกย้ำความโด่งดังของแวร์ดี แต่เขาเห็นว่าการแสดงงานของเขาที่โรงละครลา สกาล่านั้นยังไม่เข้าขั้น เป็นเหตุให้เขาปฏิเสธการเปิดแสดงอุปรากรเรื่องต่อ ๆ มาในมิลาน อันได้แก่เรื่อง Atilla, Alzira และ แมคเบ็ท ในได้ถูกนำออกแสดงในเมืองต่าง ๆ ทั่ว ประเทศอิตาลี ส่วนเรื่อง I Masnadieri นั้นได้ถูกประพันธ์ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในขณะที่นครมิลาน พ่ายแพ้และถูกจักรวรรดิออสเตรียเข้ายึดครอง แวร์ดีได้ประพันธ์อุปรากรเรื่อง Il Corsaro, La Battaglia di Legnano และ Luisa Miller รวมทั้งเรื่อง Manon Lescaut ที่แต่งไม่จบ หลังจากข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับบทประพันธ์เรื่อง Stiffelio ในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) เรื่อง Rigoletto ก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้นในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซ ในปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) เขาประสบความสำเร็จครั้งสำคัญอีกครั้งจากเรื่องIl Trovatore ที่โรงละครอพอลโลในกรุงโรม แต่การเปิดการแสดงภาคภาษาฝรั่งเศสในนครเวนีซไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก อุปรากรเรื่องอื่น ๆ ที่ประพันธ์ขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ งูพิษแห่งเกาะซิซิลี (เปิดแสดงที่กรุงปารีส) Aroldo (งานที่สร้างขึ้นมาจากเรื่อง Stiffelioเดิม) และเรื่อง Simon Boccanegra กับ Un ballo in maschera (ที่ถูกห้ามนำออกแสดง) แวร์ดีได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างมากในการรวมชาติของประเทศอิตาลี (เขาได้ประพันธ์บทเพลง Inno delle Nazioni ซึ่งได้รวมเอาเพลงชาติต่าง ๆ ในยุโรปไว้ด้วยกัน เช่น เพลง Fratelli d'Italia Marseillaise และ God Save the King ในปี พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) และได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งวุฒิสมาชิก จากนั้นก็ได้นำผลงานเก่ามาแก้ไขเล็กน้อย จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เมื่อDon Carlos ได้ถูกนำออกแสดงครั้งแรกที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) เมื่อเขานำเรื่องไอด้า ออกแสดงที่โรงละครลา สกาล่าก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้น เขาได้ประพันธ์ให้แก่ผู้สำเร็จราชการแห่งอียิปต์กับเนื่องในโอกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งใหม่ในกรุงไคโร และสำหรับการเปิดคลองสุเอซ ผลงานของแวร์ดีมีความเป็นชาตินิยมของชาวอิตาลีอยู่ในตัว (เป็นต้นว่าเพลงชาวยิวสำหรับกลุ่มนักร้องประสานเสียงขับร้องในเรื่อง Nabucco ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า Va Pensiero นั้น ได้รับการเสนอให้เป็นเพลงชาติอิตาลีมาอย่างสม่ำเสมอ โดยไม่ได้มีความหมายในเชิงเหยียดเชื้อชาติ) เป็นที่น่าประหลาดใจ เมื่อมีคนพบว่าชื่อของเขา Verdi เป็นตัวอักษรย่อของคำว่า Vittorio Emanuele Re D’Italia (วิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กษัตริย์แห่งอิตาลี) ในช่วงเวลาที่ชาวเมืองมิลาน (ซึ่งยังตกอยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย) ได้เริ่มหันมาสนับสนุนความพยายามรวมชาติอิตาลีของวิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กลุ่มแนวร่วมหลบหนีเข้าเมืองได้เริ่มคบคิดที่จะให้กษัตริย์ Sardaigne บุกมิลาน เนื่องจากการกดขี่ของชาวออสเตรียนั้นรุนแรงเกินไป กลุ่มคนเหล่านี้ได้เริ่มการปลุกระดมที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า « Viva VERDI » (« V.E.R.D.I. จงเจริญ ») แวร์ดีทราบเรื่องการนำชื่อของเขาไปใช้ ซึ่งโดยหลักแล้วเขาควรจะห้าม แต่เขาก็ไม่ได้ห้าม เรื่องราวอื่น ๆ ที่เกี่ยวพันกับการเมืองของแวร์ดีได้ถูกนำเสนอในบทอุปรากรเรื่อง I Lombardi แวร์ดีเสียชีวิตอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) ที่นครมิลาน หลังจากการก่อสร้างคฤหาสน์ Casa di Riposo เสร็จสิ้น (เขาตั้งใจให้เป็นที่พักชั่วคราวของเหล่าศิลปินตกยาก) พีธีศพของเขาจัดขึ้นอย่างอลังการ ผู้เข้าร่วมราว 250,000 คนได้มาแสดงความคารวะต่อปูชนียบุคคลผู้หนึ่งของวงการดนตรีอิตาลี.

ใหม่!!: ปารีสและจูเซปเป แวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ใหม่!!: ปารีสและจี7 · ดูเพิ่มเติม »

จีเซลล์

ีเซลล์ (Giselle) เป็นบัลเลต์ความยาว 2 องก์ ออกแบบท่าเต้นโดยฌอง คอราลลี (Jean Coralli, 1779-1854) และชูลส์ เพอโรต์ (Jules Perrot, 1810-1892) ประกอบดนตรีที่แต่งโดยอดอล์เฟ แอดัม (Adolphe Adam, 1803-1856) คำร้องโดยชูลส์-อองรี เวอร์นอย เดอ แซงต์-จอร์จส (Jules-Henri Vernoy de Saint-Georges, 1799-1875) ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากบทกวีของไฮน์ริช ไฮน์ กวีชาวเยอรมันคนสำคัญ และจากผลงานของวิกตอร์ อูโก กวีชาวฝรั่งเศส บัลเลต์เรื่องนี้ออกแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและจีเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จ็องโก เรนาร์ต

็อง "จ็องโก" เรนาร์ต (Jean "Django" Reinhardt,; 23 มกราคม ค.ศ. 1910 - 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1953) นักแต่งเพลงและนักกีตาร์แจ๊สชาวฝรั่งเศส เล่นดนตรีในแบบที่เรียกว่า "ยิปซีแจ๊ส" โดยได้ร่วมกับนักไวโอลินจากปารีสชื่อ สเตฟาน กรัปลี และพี่ชายของเขา ตั้งวงควินเทตแจ๊สชื่อวง Quintette du Hot Club de France เรนาร์ตเกิดที่หมู่บ้านเล็ก ๆ ทางตะวันตกของเบลเยียม ใช้ชีวิตในวัยเด็กกับพวกยิปซี โดยชื่อเล่น "จ็องโก" ของเขาก็มาจากภาษาโรมานี (ภาษายิปซี) แปลว่า "I awake" เริ่มหัดเล่นแบนโจ กีตาร์ และไวโอลินมาตั้งแต่เด็ก เรนาร์ตได้ร่วมเล่นและบันทึกเสียงกับนักดนตรีแจ๊สอเมริกันที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น โคลแมน ฮอว์กินส์, เบนนี คาร์เตอร์, เร็กซ์ สจวร์ต, หลุยส์ อาร์มสตรอง และดิซซี กิลเลสพี เขาได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในนักดนตรีแจ๊สชาวยุโรปคนแรก ๆ ที่ได้รับการยกย่องในระดับตำนาน.

ใหม่!!: ปารีสและจ็องโก เรนาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหายาก

แร่หายาก ขนาดเมื่อเทียบกับเหรียญเพนนีของสหรัฐอเมริกา accessdate.

ใหม่!!: ปารีสและธาตุหายาก · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุแรเอิร์ธ

แร่หายาก ขนาดเมื่อเทียบกับเหรียญเพนนีของสหรัฐอเมริกา accessdate.

ใหม่!!: ปารีสและธาตุแรเอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฝรั่งเศส

งชาติฝรั่งเศส (le tricolore หรือ le drapeau bleu-blanc-rouge, เลอทรีกอลอร์ - แปลว่า ธงไตรรงค์ หรือ ธงสามสี ส่วน เลอดราโปเบลอ-บล็อง-รูฌ - แปลว่า ธงน้ำเงิน-ขาว-แดง) ธงนี้เป็นธงต้นแบบที่หลายๆ ประเทศนำมาดัดแปลงใช้เป็นธงชาติของตนเอง รวมทั้งธงชาติไทยด้วย ลักษณะของธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยริ้วธง 3 สี คือ สีน้ำเงิน สีขาว และสีแดง เรียงกันตามแนวตั้ง แต่ละริ้วมีความกว้างเท่ากัน สำหรับธงเรือประจำชาติฝรั่งเศส ใช้เป็นธงค้าขายและธงรัฐนาวีนั้นคล้ายกับธงชาติ แต่สัดส่วนความกว้างของริ้วธงแต่ละสีจะเป็น 30:33:37.

ใหม่!!: ปารีสและธงชาติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปาเลสไตน์

23px ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ (พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2501) สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ (علم فلسطين) มีที่มาจากธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ และ ใช้แทนประชาชนชาวปาเลสไตน์ในทาง (พฤตินัย) ตั้งแต่ พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: ปารีสและธงชาติปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: ปารีสและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถ้ำมั่วเกา

้ำมั่วเกา (มั่วเกาคู) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองตุนหวง มณฑลกานซู่ ประเทศจีน ในอดีตเป็นหนึ่งในจุดค้าขายและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่สำคัญในเส้นทางสายไหม ภายในถ้ำงดงามด้วยพุทธศิลป์จีนทั้งพระพุทธรูป และจิตรกรรมฝาผนังที่มีอายุกว่า 1,000 ปี ปัจจุบันได้ร่วมกันลงทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก ถ้ำมั่วเกาพร้อมด้วยถ้ำหลงเหมินและถ้ำยฺหวินกังเป็นที่ที่รู้จักกันดีในจีนในฐานะเป็นแหล่งที่มีปฏิมากรรมโบราณอันงดงาม.

ใหม่!!: ปารีสและถ้ำมั่วเกา · ดูเพิ่มเติม »

ทรัว

ทรัว (Troyes) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโอบในแคว้นช็องปาญาร์แดนในประเทศฝรั่งเศส เมืองทรัวตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำแซน ราว 150 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงใต้ของปารีส ผู้อาศัยอยู่ในเมืองทรัวเรียกว่า "Troyens" หรือ "Troyennes".

ใหม่!!: ปารีสและทรัว · ดูเพิ่มเติม »

ทริสตอง โด

ทริสตอง สมชาย โด (Tristan Somchai Do; 31 มกราคม พ.ศ. 2536) เป็นนักฟุตบอลไทยเชื้อสายฝรั่งเศสและเวียดนาม ปัจจุบันเล่นตำแหน่งแบ็คขวาให้กับเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ดในไทยพรีเมียร์ลีก ทริสตองเป็นหนึ่งในนักฟุตบอลทีมชาติไทยชุดอายุไม่เกิน 23 ปี ที่คว้าเหรียญทองได้ในกีฬาซีเกมส์ 2015 ที่ประเทศสิงคโปร์ โดยยิงประตูให้ทีมชาติในทัวนาเมนต์ดังกล่าวได้ 2 ประตู จากตำแหน่งแบ็คขว.

ใหม่!!: ปารีสและทริสตอง โด · ดูเพิ่มเติม »

ทรงชัย รัตนสุบรรณ

ทรงชัย รัตนสุบรรณ เกิดวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2489 ที่อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นโปรโมเตอร์สำคัญของวงการมวยไทย ในการผลักดันมวยไทยให้เป็นที่รู้จักในระดับสากล รวมถึงเป็นเจ้าของสโลแกน "มวยไทย มรดกไทย มรดกโลก" และเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ในวงการมวยไทยด้วยการเก็บเงินได้เกินหนึ่งล้านบาทได้ถึงสองครั้งภายในช่วงระยะเวลาไม่เกินหนึ่งเดือน รวมถึงมีผลงานที่ได้รับการกล่าวขวัญจากผู้ชมทั่วประเทศ คือการจัดคู่ชกระหว่างแรมโบ้ กับไพโรจน์น้อย ส.สยามชัย ในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2529 ที่สนามมวยเวทีลุมพินีศักดิ์อำนว.

ใหม่!!: ปารีสและทรงชัย รัตนสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ปารีสและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส แบ็กกิต

นักบุญทอมัส แบ็กกิต (Thomas Becket) ต่อมารู้จักกันในชื่อ Thomas à Becket เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดใน..

ใหม่!!: ปารีสและทอมัส แบ็กกิต · ดูเพิ่มเติม »

ทะกะชิมะยะ

ห้างทะกะชิมะยะสาขาโอซะกะ ทะกะชิมะยะสาขาเกียวโต สาขาโตเกียวที่ชินจุกุ ทะกะชิมะยะ เป็นกลุ่มธุรกิจห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่สัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและทะกะชิมะยะ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบตะวันตก

ทะเลสาบตะวันตก หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทะเลสาบซีหู (西湖.; พินอิน: Xī Hú; อู๋: Si-wu) ทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ของเมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง เป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ที่มีทัศนียภาพสวยงามเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ทะเลสาบมีความยาวจากทิศใต้ถึงทิศเหนือ 3.3 กิโลเมตร ความกว้างจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก 2.8 กิโลเมตร รอบด้านประกอบด้วยภูเขา 3 ลูก น้ำมีความใสราวกับกระจก และมีสิ่งก่อสร้างทางวัฒธรรมที่สวยงามอยู่รายรอบทั้งเจดีย์, เก๋งจีน, วัด, สวนแบบจีน, สวนแบบญี่ปุ่น, ศาลเจ้า จนถูกขนานนามว่าเป็น "สวรรค์บนดิน" ทะเลสาบตะวันตก จึงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อ และได้รับความนิยมมาตั้งแต่ยุคโบราณ กวีชาวจีนหลายคนได้ชื่นชมและรจนาความงามของทะเลสาบแห่งนี้ มาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 และเป็นแหล่งกำเนิดของนิทานพื้นบ้านเรื่องนางพญางูขาว อันเป็นที่รู้จักกันดี.

ใหม่!!: ปารีสและทะเลสาบตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ทันน์ฮอยเซอร์

ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก (Tannhäuser und der Sängerkrieg auf Wartburg; Tannhäuser and the Singers' Contest at Wartburg) เป็นอุปรากรภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ปารีสและทันน์ฮอยเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทาสใกล้ตาย

ทาสใกล้ตาย (Dying Slave) เป็นประติมากรรมที่สร้างโดยไมเคิล แอนเจโลประติมากรคนสำคัญชาวอิตาลีของสมัยเรอเนสซองซ์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส ประติมากรรม “ทาสใกล้ตาย” สลักโดยไมเคิล แอนเจโล ราวระหว่างปี ค.ศ. 1513 ถึงปี ค.ศ. 1516 เป็นประติมากรรมคู่กับประติมากรรม “ทาสหัวรั้น” (Rebellious Slave) ที่สร้างขึ้นประดับอนุสรณ์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 งานชิ้นนี้สลักจากหินอ่อน มีความสูง 2.28 เมตร ข้อมือซ้ายมัดได้กับด้านหลังของคอ และรอบอกมีแถบคาด นอกจากนั้นก็มีลิงที่แกะไว้บางส่วนเกาะอยู่ที่หน้าแข้งซ้าย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเกี่ยวพันกับโลก งานชิ้นนี้ได้รับอิทธิพลมาจาก งานประติมากรรมของประติมากรจากเกาะโรดส์ชื่อ “เลอาโคอันและบุตร” ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและทาสใกล้ตาย · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบมาตีญง

ทำเนียบมาตีญง หรือ ออแตลเดอมาตีญง (L'hôtel de Matignon) ตั้งอยู่เลขที่ 57 ถนนรูเดอวาแรน ในเขตที่ 7 ของปารีส เป็นที่ทำการของรัฐบาล (ทำเนียบรัฐบาล) นายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐฝรั่งเศสใช้ที่นี่เป็นที่ทำงานตั้งแต่ค.ศ. 1935 เป็นต้นมา สถานที่แห่งนี้เคยเป็นคฤหาสน์ส่วนบุคคล (Hôtel particulier) ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 เพื่อสร้างเป็นบ้านพักของคหบดีตระกูลมงมอร็องซี (Maison de Montmorency) ซึ่งต่อมาภายหลักถูกริบและเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ไปหลายตระกูล จนกระทั่งถูกขายให้เป็นทรัพย์สินของรัฐเมื่อ ค.ศ. 1922 ตัวอาคารถูกห้อมล้อมด้วยสวนขนาดใหญ่โดยรอบ นอกจากนี้คำว่า มาตีญง มักจะเรียกอย่างสั้น ๆในภาษาพูดหรือภาษาเขียนโดยสื่อมวลชนเพื่อต้องการสื่อถึงนายกรัฐมนตรี เจ้าบ้าน (ประจำตำแหน่ง) คนปัจจุบัน ได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส * ออแตลปาร์ตีกูว์ลีเย สถานีย่อยประเทศฝรั่งเศส สถานที่ท่องเที่ยวในปารีส หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในปารีส หมวดหมู่:ทำเนียบนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ปารีสและทำเนียบมาตีญง · ดูเพิ่มเติม »

ทีมผสมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ทีมผสม (Mixed Team) เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและทีมผสมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัด

ที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัด (General Conference on Weights and Measures; Conférence générale des poids et mesures, ย่อ: CGPM) เป็นหนึ่งในสามองค์การซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อรักษาระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI) ภายใต้เงื่อนไขของอนุสัญญาสนธิสัญญาเมตริก..

ใหม่!!: ปารีสและที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัด · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ใหม่!!: ปารีสและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ใหม่!!: ปารีสและท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.

ใหม่!!: ปารีสและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ข้าพเจ้าเป็นคนบาป

้าพเจ้าเป็นคนบาป หรือ โอ้บาปข้าพเจ้า - อาสนวิหารอัสสัมชัญ (mea culpa; mea culpa) หรือ ข้าพเจ้ายอมรับว่าเป็นคนบาป หรือ โอ้บาปข้าพเจ้าหนักหนา (mea maxima culpa) เป็นคำอุทานในคริสต์ศาสน.

ใหม่!!: ปารีสและข้าพเจ้าเป็นคนบาป · ดูเพิ่มเติม »

ดรูปัล

รูปัล (Drupal; สัท. /ˈdruː-pʌl/) เป็นเฟรมเวิร์กสำหรับมอจูลในการสร้างเว็บไซต์และระบบจัดการเนื้อหาเว็บในลักษณะโอเพนซอร์ซ เขียนขึ้นด้วยภาษาพีเอชพี โดยเริ่มพัฒนาใน พ.ศ. 2543 และกลายมาเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซในปี..

ใหม่!!: ปารีสและดรูปัล · ดูเพิ่มเติม »

ดร็องซี

ร็องซี (Drancy) เป็นเทศบาลในชานเมืองทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงปารีส ในจังหวัดแซน-แซ็ง-เดอนี ทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากศูนย์กลางของกรุงปารีส 10.8 กม.

ใหม่!!: ปารีสและดร็องซี · ดูเพิ่มเติม »

ดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์

อมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ (Dominique-France Loeb Picard; 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1948) หรือ เจ้าหญิงฟาดิลาแห่งอียิปต์ อดีตคู่สมรสของพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ อดีตกษัตริย์ซึ่งครองราชสมบัติขณะที่มีพระชันษาเพียง 5 เดือน และเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งอียิปต์และซูดาน (ครองราชย์ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 — 18 มิถุนายน ค.ศ. 1953).

ใหม่!!: ปารีสและดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดองเซิงโนตเรอมงด์

"ดองเซิงโนตเรอมงด์" (Dans un autre monde, "ในโลกอื่นๆ") คือซิงเกิลวิทยุจากอัลบั้มอูร์เกอร์ดูสตาด เผยแพร่ในฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เพลงนี้เดิมบรรจุในอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม ปี..

ใหม่!!: ปารีสและดองเซิงโนตเรอมงด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาฟต์พังก์

ฟต์พังก์ หรือ ดาฟท์ พั้งก์ (อังกฤษ: Daft Punk) เป็นชื่อกลุ่มดนตรีแนวเทคโนแดนซ์ ประกอบด้วยนักดนตรีชาวฝรั่งเศส 2 คน Thomas Bangalter และ Guy-Manuel de Homem Christo.

ใหม่!!: ปารีสและดาฟต์พังก์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาการ์แรลลี

การ์แรลลี หรือ เดอะ ดาการ์ ในอดีตรู้จักกันในชื่อ ปารีส-ดาการ์ เป็นการแข่งขันรถประจำปี ที่จัดการแข่งขันโดยองค์กรกีฬาอามอรี (Amaury Sport Organisation - ASO) บริษัทสัญชาติฝรั่งเศสที่ก่อตั้งโดยฟิลิปเป อามอรี จัดการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1978 เส้นทางการแข่งขันส่วนใหญ่เริ่มต้นจากปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีเส้นทางผ่านภูมิประเทศทุรกันดารหลากหลายชนิดทั้งทะเลทราย บ่อโคลน ทุ่งหญ้า ทุ่งหิน หุบผาสูงชัน เนินทรายในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ไปสิ้นสุดที่ดาการ์ ประเทศเซเนกัล แต่หลังจากเกิดเหตุการณ์สังหารนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสในประเทศมอริเตเนียในช่วงปลายปี 2007 โดยกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ทำให้เกิดความกังวลเรื่องความปลอดภัยของผู้ร่วมแข่งขัน จนต้องงดการแข่งขันในช่วงต้นปี 2008 และย้ายการแข่งขันไปจัดในทวีปอเมริกาใต้ ที่อาร์เจนตินาและชิลี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและดาการ์แรลลี · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ปารีสและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดานอนเนชันส์คัพ

น่อนเนชันส์คัพ (Danone Nations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ ในระดับเยาวชนอายุระหว่าง 10 - 12 ปี จาก 40 ประเทศทั่วโลก ริเริ่มโดยกลุ่มบริษัทดาน่อน และได้รับการสนับสนุนโดยซีเนดีน ซีดานในการเป็นแบรนด์แอมบาสเดอร์ การแข่งขันจะมีการคัดเลือกตัวแทนของจากแต่ละประเทศทั่วโลกทุกทวีป จากนั้นจะนำผู้ชนะเลิศของแต่ละประเทศมาแข่งขันในรอบสุดท้ายจำนวน 40 ประเทศ โดยในรอบแรกจะเป็นการแข่งแบบแบ่งกลุ่มจำนวน 8 กลุ่มกลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมดนำเอาอันดับหนึ่งและสองของกลุ่มเข้าแข่งขันในรอบต่อไปซึ่งเป็นแบบแพ้คัดออก เพื่อหาทีมชนะเลิศเพียงทีมเดียว ในแต่ละปีมีเยาวชนเข้าร่วมการแข่งขันรวมทุกประเทศไม่ต่ำกว่า 2.5 ล้านคน.

ใหม่!!: ปารีสและดานอนเนชันส์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

ดานีเอเล เกรโก

นีเอเล เกรโก (Daniele Greco; 1 มีนาคม ค.ศ. 1989 —) เป็นนักกรีฑาชาวอิตาลีในประเภทเขย่งก้าวกร.

ใหม่!!: ปารีสและดานีเอเล เกรโก · ดูเพิ่มเติม »

ดาเนียล มีแตร็อง

นียล มีแตร็อง (Danielle Mitterrand; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 — 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส เธอเกิดในเมืองแวร์เดิง จังหวัดเมิซ ประเทศฝรั่งเศส เธอกลายเป็นแม่หม้ายหลังจากฟร็องซัว มีแตร็อง อดีตประธานาธิบดีฝรั่งเศส เสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: ปารีสและดาเนียล มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ดิสนีย์แลนด์ (แก้ความกำกวม)

นีย์แลนด์ (Disneyland) อาจหมายถึง; รีสอร์ต โรงแรมและสวนสนุก.

ใหม่!!: ปารีสและดิสนีย์แลนด์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ดิสนีย์แลนด์พาร์ก (ปารีส)

นีย์แลนด์พาร์ก (Disneyland Park) ชื่อเดิม ยูโรดิสนีย์ (Euro Disney) เป็นสวนสนุกที่ดิสนีย์แลนด์ปารีส ในเมือง Marne-la-Vallée ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เปิดบริการเมื่อ 12 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและดิสนีย์แลนด์พาร์ก (ปารีส) · ดูเพิ่มเติม »

ดิสนีย์แลนด์ปารีส

นีย์แลนด์ปารีส (Disneyland Paris) ชื่อเดิม ยูโรดิสนีย์รีสอร์ต (Euro Disney Resort) เป็นสวนสนุกและสถานพักตากอากาศตั้งอยู่ใน Marne-la-Vallée ซึ่งเป็นเมืองใหม่ทางตะวันออกห่างจากใจกลางกรุงปารีส 32 กิโลเมตร เป็นสวนสนุกที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในยุโรป เจ้าของคือบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ ผ่านการดูแลโดยบริษัทยูโรดิสนีย์ เอส.ซี.เอ. ขนาดรีสอร์ตมีพื้นที่ถึง 4,800 เอเคอร์ (19 ตารางกิโลเมตร) มีสวนสนุก 2 แห่งคือ ดิสนีย์แลนด์พาร์ก เปิดให้บริการเมื่อ 12 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและดิสนีย์แลนด์ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 1

อะเมซิ่ง เรซ 1 (The Amazing Race 1) เป็นฤดูกาลที่ 1 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส สำหรับฤดูกาลที่ 1 นี้ออกอากาศวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: ปารีสและดิอะเมซิ่งเรซ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 10

อะเมซิ่ง เรซ 10 (The Amazing Race 10) เป็นฤดูกาลที่ 10 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ปารีสและดิอะเมซิ่งเรซ 10 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 16

อะเมซิ่ง เรซ 16 (The Amazing Race 16) เป็นฤดูกาลที่ 16 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ปารีสและดิอะเมซิ่งเรซ 16 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 2

อะเมซิ่ง เรซ 2 (The Amazing Race 2) เป็นฤดูกาลที่ 2 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ปารีสและดิอะเมซิ่งเรซ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 4

อะเมซิ่ง เรซ 4 (The Amazing Race 4) เป็นฤดูกาลที่ 4 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่รางวัลเอ็มมีมีการแจกรางวัลประเภทเรียลลิตี้โชว์การแข่งขันและรายการก็คว้ามาได้แบบผูกขาดอยู่รายการเดียวจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและดิอะเมซิ่งเรซ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ดูไบ

ูไบ (دبيّ, Dubayy; Dubai) เป็นนครใหญ่สุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน เมืองดูไบถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งบนโลก และมีอัตราการเจริญเติบโตของเมืองสูงมาก.

ใหม่!!: ปารีสและดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ดีร์ก เบาตส์

ีร์ก เบาตส์ (Dirk Bouts; ราว ค.ศ. 1410/ค.ศ. 1420 - ค.ศ. 1475) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพับภาพ จากหนังสือ Het Schilderboeck (ค.ศ. 1604) โดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) เบาตส์เกิดที่เมืองฮาร์เลมและทำงานส่วนใหญ่ที่เมืองเลอเฟิน มันเดอร์เขียนชีวประวัติของจิตรกรสองคน "ดีร์กแห่งฮาร์เลม" และ "ดีร์กแห่งเลอเฟิน" ซึ่งเป็นคนคนเดียวกัน ชีวิตเบื้องต้นไม่มีหลักฐานเท่าใดนัก แต่ดีร์ก เบาตส์ได้รับอิทธิพลจากยัน ฟัน ไอก์ และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน ซึ่งอาจจะเป็นผู้ที่ดีร์กศึกษาด้วย หลักฐานครั้งแรกเกี่ยวกับดีร์กพบครั้งแรกที่เลอเฟินเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและดีร์ก เบาตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีฌง

ีฌง (Dijon) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโกต-ดอร์ในแคว้นบูร์กอญในประเทศฝรั่งเศส เมืองดีฌงเป็นอดีตเมืองของจังหวัดเบอร์กันดี ดีฌงเป็นที่ตั้งของมหาวิหารดีฌง ซึ่งเป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ที่มีการผสมผสานของสถาปัตยกรรรมยุโรปอย่างหลากหลายในรอบหนึ่งพันปี ตั้งแต่สถาปัตยกรรมแบบกาเปเซียง สถาปัตยกรรมกอธิก และมาถึงยุคเรอเนสซองส์ และตัวอาคารบ้านเรือนในเขตเมืองปัจจุบันยังมีอายุราวช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 หรือก่อนหน้านั้น สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นแบบดิฌง ได้แก่ หลังคาเบอร์กันดี ที่ผลิตแผ่นหลังคาจากดินเผาเคลือบ หรือ แทร์ราคอตตา (terracotta) อันมีสีสันฉูดฉาด เช่น เขียว เหลือง ดำ ที่จัดเรียงบนหลังคาอย่างสวยงามตามแบบเรขาคณิต ประวัติศาสตร์ของดีฌงเริ่มจากการตั้งรกรากของชาวโรมันยุคโบราณ โดยชื่อเมืองว่า ดีวีโอ (Divio) ตั้งอยู่ระหว่างเส้นทางไปเมืองลียง และปารีส นอกจากนั้นยังเป็นที่ตั้งสำคัญของอาณาเขตปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีในระหว่างช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึงช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยในช่วงนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด และเป็นอาณาจักรที่มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม การเรียนรู้ และวิทยาศาสตร์ ในปัจจุบันดิฌงมีจำนวนประชากร 151,576 คน (สำรวจเมื่อค.ศ. 2008) และ 250,516 คน รวมประชากรในเขตปริมณฑลด้วย (สำรวจเมื่อค.ศ. 2007) ดีฌง ยังเป็นแหล่งจัดงานอาหารนานาชาติประจำปี International and Gastronomic Fair ช่วงฤดูใบไม้ร่วงของแต่ละปี โดยถือเป็นหนึ่งในสิบงานที่สำคัญที่สุดในประเทศฝรั่งเศส โดยมีผู้จัดงานกว่า 500 ราย และผู้เข้าชมกว่า 200,000 รายในแต่ละปี นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่จัดเทศกาลดอกไม้นานาชาติ Florissimo ทุกๆ 3 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและดีฌง · ดูเพิ่มเติม »

ดีทรอยต์: บีคัมฮิวแมน

ีทรอยต์: บีคัมฮิวแมน (Detroit: Become Human) เป็นเกมแนวผจญภัยที่พัฒนาขึ้นโดย ควอนติกดรีม และจัดจำหน่ายโดย โซนี่อินเตอร์แอ็กทีฟเอ็นเตอร์เทนเมนต์ สำหรับเครื่องเล่นเพลย์สเตชัน 4 ตัวเกมวางจำหน่ายทั่วโลกในวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและดีทรอยต์: บีคัมฮิวแมน · ดูเพิ่มเติม »

ดีเจสเนก

วิลเลียม ซามี เอเตียนน์ กริเกห์ซีน (William Sami Etienne Grigahcine) หรือที่รู้จักกันดีในนามของ ดีเจสเนก (DJ. Snake) เป็นดีเจ และโปรดิวเซอร์บันทึกเสียงชาวฝรั่งเศส ดีเจสเนกเป็นโปรดิวเซอร์และศิลปินที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ที่เข้าร่วมในซิงเกิลสากล "Bird Machine" และ "Turn Down for What" ในปี 2013 "Bird Machine" เป็นการร่วมงานกับเพื่อนนักดนตรีชาวฝรั่งเศส Alesia ทรับเชิญจาก Diplo ให้ทำรายการสดทางวิทยุของเขา "Diplo & Friends" ซึ่งออกอากาศอยู่ทางBBC Radio 1 ดีเจสเนกได้รับการประกาศในการทำงานร่วมกับ Diplo มีกำหนดจะเปิดตัวครั้งแรกในปี 2014 แต่ก็ออกจำหน่ายในปี 2015 ในซิงเกิลชื่อ "Lean On" ในการร่วมงานของ MØ และ Diplo's Major Lazer.

ใหม่!!: ปารีสและดีเจสเนก · ดูเพิ่มเติม »

คริสตียาน มาร์แตล

ริสตียาน มาร์แตล คริสตียาน มาร์แตล (Christiane Martel) หรือชื่อเดิม คริสตียาน มาญานี (Christiane Magnani) เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและคริสตียาน มาร์แตล · ดูเพิ่มเติม »

คริสตีส์

ห้องค้าแห่งที่สองของคริสตีส์ ที่เซาท์เคนซินตัน ลอนดอน สำนักงานที่อาคารร็อกกิเฟลเลอร์ นิวยอร์ก คริสตีส์ (Christie's) เป็นบริษัทรับจัดประมูลผลงานศิลปะชั้นนำ คริสตีส์ ก่อตั้งโดยนายเจมส์ คริสตี ชาวอังกฤษ เริ่มจัดการประมูลตั้งแต่ ค.ศ. 1759 โดยในเอกสารของบริษัทระบุว่า บริษัทจัดการประมูลครั้งแรกในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1766 ห้องค้าหลักของคริสตีส์ตั้งอยู่ที่ถนนเคนซิงตันในย่านเซนต์เจมส์ ลอนดอน เปิดดำเนินการมาตั้งแต่ ค.ศ. 1823 โดยมีห้องค้าแห่งที่สองอยู่ที่เซาท์เคนซิงตัน เปิดดำเนินการตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและคริสตีส์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตีน ลาการ์ด

ริสตีน ลาการ์ด (ชื่อเต็มว่า คริสตีน มาดแลน โอแด็ด ลาการ์ด Christine Madeleine Odette Lagarde) หรือ คริสติน ลาการ์ด เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและคริสตีน ลาการ์ด · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1670

..

ใหม่!!: ปารีสและคริสต์ทศวรรษ 1670 · ดูเพิ่มเติม »

คร็อก-เมอซีเยอ

ร็อก-เมอซีเยอ (croque-monsieur) คือแซนด์วิชไส้เนยแข็งและแฮมที่นำไปอบในเตาอบหรือนาบบนกระทะให้ผิวกรอบและเป็นสีน้ำตาล (มักจะทาซอสเบชาแมลหรือโรยเนยแข็งขูดบนขนมปังอีกชั้นหนึ่งก่อนอบ โดยปกติใช้เนยเอ็มเมินทาลหรือกรูว์แยร์เป็นส่วนผสม) คร็อก-เมอซีเยอแบบที่เสิร์ฟโดยมีไข่ดาวหรือไข่ดาวน้ำวางอยู่ข้างบนสุดจะเรียกว่า "คร็อก-มาดาม" (croque-madame) ซึ่งในพื้นที่บางส่วนของนอร์ม็องดีเรียกว่า "ครอกาเชอวาล" (croque-à-cheval) ชื่อ "คร็อก-เมอซีเยอ" มาจากคำกริยา croquer (แปลว่า "เคี้ยวกร้วม ๆ") ประสมกับคำนาม monsieur (แปลว่า "นาย" หรือ "คุณ" ที่เป็นคำนำหน้าชื่อบุคคลชาย) อาหารชนิดนี้มีต้นกำเนิดจากอาหารว่างที่เสิร์ฟในร้านเครื่องดื่มและบาร์ของประเทศฝรั่งเศส โดยปรากฏเป็นครั้งแรก (เท่าที่สืบค้นได้) ในรายการอาหารของร้านกาแฟในกรุงปารีสเมื่อปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: ปารีสและคร็อก-เมอซีเยอ · ดูเพิ่มเติม »

ความจำ

ประเภทและกิจหน้าที่ของความจำในวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ในจิตวิทยา ความจำ (memory) เป็นกระบวนการที่ข้อมูลต่าง ๆ รับการเข้ารหัส การเก็บไว้ และการค้นคืน เนื่องจากว่า ในระยะแรกนี้ ข้อมูลจากโลกภายนอกมากระทบกับประสาทสัมผัสต่าง ๆ (มีตาเป็นต้น) ในรูปแบบของสิ่งเร้าเชิงเคมีหรือเชิงกายภาพ จึงต้องมีการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งก็คือการเข้ารหัส เพื่อที่จะบันทึกข้อมูลไว้ในความจำได้ ระยะที่สองเป็นการเก็บข้อมูลนั้นไว้ ในสภาวะที่สามารถจะรักษาไว้ได้เป็นระยะเวลาหนึ่ง ส่วนระยะสุดท้ายเป็นการค้นคืนข้อมูลที่ได้เก็บเอาไว้ ซึ่งก็คือการสืบหาข้อมูลนั้นที่นำไปสู่การสำนึกรู้ ให้สังเกตว่า การค้นคืนความจำบางอย่างไม่ต้องอาศัยความพยายามภายใต้อำนาจจิตใจ จากมุมมองเกี่ยวกับกระบวนการประมวลข้อมูล มีระยะ 3 ระยะในการสร้างและค้นคืนความจำ คือ.

ใหม่!!: ปารีสและความจำ · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม

วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..

ใหม่!!: ปารีสและความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คองคอร์ด

รื่องบินคองคอร์ด 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 เครื่องบินคองคอร์ด (Concorde) เป็นเครื่องบินขนส่งชนิดมีความเร็วเหนือเสียง เป็นหนึ่งในสองแบบของเครื่องบินเร็วเหนือเสียงที่ใช้เป็นเครื่องบินโดยสาร และนำมาให้บริการในเชิงพาณิชย์ โดยใช้เวลาศึกษาวิจัยเป็นเวลา 7 ปี เครื่องคองคอร์ดต้นแบบเครื่องแรกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1969 ทดสอบและพัฒนาอีก 4 ปี โดยคองคอร์ดเครื่องแรกออกจากสายการผลิตและเริ่มบินทดสอบเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1973 รวมตั้งแต่เริ่มโครงการจนนำมาผลิตใช้เวลากว่า 13 ปีเต็มใช้เงินในการพัฒนากว่า 1,000 ล้านปอนด์ เครื่องบินคองคอร์ดมีความเร็วปกติ 2,158กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเพดานบินสูงสุด 60,000 ฟุต (18.288กิโลเมตร) มีปีกสามเหลี่ยม การบินเชิงพาณิชย์ของคองคอร์ด ดำเนินการโดยบริติชแอร์เวย์ (British Airways) และแอร์ฟรานซ์ (Air France) เริ่มต้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1976 และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2003 และมีเที่ยวบิน “เกษียณอายุ” เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003 เที่ยวบินลอนดอน-นิวยอร์ก และปารีส-นิวยอร์ก ใช้เวลาเดินทางเฉลี่ยประมาณ 3 ชม.

ใหม่!!: ปารีสและคองคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

คอปเปเลีย

Giuseppina Bozzachi รับบทเป็นสวอนฮิลด์ เป็นคนแรก เมื่อปี 1870 คอปเปเลีย (Coppélia) เป็นบัลเลต์ชวนหัวความยาว 3 องก์ ออกแบบท่าเต้นโดยอาร์เทอร์ แซงต์-ลีออง (Arthur Saint-Léon, 1821-1870) ประกอบดนตรีที่แต่งโดยลีโอ ดีลิบีส ประพันธ์คำร้องโดยแซงต์-ลีออง กับชาลส์ นุตตีเยร์ (Charles-Louis-Étienne Nuitter, 1828-1899) ดัดแปลงจากเรื่องสั้นภาษาเยอรมันสองเรื่องของอี. ที. เอ. ฮอฟมานน์ คือเรื่อง Der Sandmann (The Sandman) และ Die Puppe (The Doll) บัลลเต์เรื่องนี้ออกแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและคอปเปเลีย · ดูเพิ่มเติม »

คอนสตันติน ซีออลคอฟสกี

แบบร่างจรวดลำแรกของซีออลคอฟสกี คอนสตันติน เอดูอาร์โดวิช ซีออลคอฟสกี หรือไซออลคอฟสกี (Konstantin Eduardovich Tsiolkovsky; Константи́н Эдуа́рдович Циолко́вский; Konstanty Ciołkowski; 17 กันยายน ค.ศ. 1857 - 19 กันยายน ค.ศ. 1935) เป็นนักวิทยาศาสตร์ในยุคจักรวรรดิรัสเซีย และนักวิทยาศาสตร์ด้านจรวดของสหภาพโซเวียตและเป็นผู้บุกเบิกศาสตร์ด้านวิศวกรรมอวกาศและการสำรวจอวกาศ และเป็นแรงบันดาลใจในการผลักดันโครงการสำรวจอวกาศของสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา ซีออลคอฟสกีได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในสามของบิดาแห่งวิทยาการจรวดและการสำรวจอวกาศร่วมกับแฮร์มัน โอแบร์ธและโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด แม้ทั้งสามคนนี้จะไม่เคยทำงานร่วมกันเลยก็ตาม.

ใหม่!!: ปารีสและคอนสตันติน ซีออลคอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตไลฟ์เอิร์ธ

ัญลักษณ์งาน Live Earth คอนเสิร์ตไลฟ์เอิร์ธ (Live Earth) คือการจัดคอนเสิร์ตติดต่อกัน 24 ชม.ใน 7 ทวีปทั่วโลกในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 หรือวันที่ 7 เดือน 7 ปี 2007 ในชื่อว่า Live Earth เพื่อรณรงค์จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับชาวโลก ภายใต้การจัดงานของกลุ่มองค์กร Save Our Selves (SOS) มีลักษณะคล้ายกับ ไลฟ์เอท (Live 8) มหกรรมคอนเสิร์ตที่ใช้ในการต่อสู้กับความยากจนในทวีปแอฟริกา ในการแถลงข่าวที่ลอสแอนเจลิส "อัล กอร์" อดีตรองประธานาธิบดีของสหรัฐฯได้พานักแสดงสาวแสนสวย คาเมรอน ดิแอซ และแร็ปเปอร์ ฟาเรล วิลเลียมส์ มาร่วมแถลงข่าว คอนเสิร์ตจัดขึ้นใน 10 เวทีใน 6 ทวีปทั่วโลกพร้อมกันอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง คอนเสิร์ตในครั้งนี้จะจัดขึ้นที่ริโอ เดอ จาเนโร และ นิวยอร์กเป็นที่สุดท้าย หลังจากเปิดฉากที่ซิดนีย์, โตเกียว, เซี่ยงไฮ้, โยฮานเนสเบิร์ก, ฮัมบูร์ก, ลอนดอน, วอชิงตัน, เกียวโต โดยจะมีศิลปินมาร่วมการแสดงนับร้อยราย ที่เซ็นสัญญาเป็นที่แน่นอนแล้วได้แก่ เรด ฮ็อต ชิลิ เป็ปเปอร์ส, แบล็ค อายด์ พีส์, บอง โจวี, คอร์น, ฟู ไฟเตอร์, ดูแรน ดูแรน, ฟอลล์ เอาท์ บอย, เลนนี คราวิทซ์, จอห์น เลเจนด์, จอห์น เมเยอร์, เชอริล โครว์, มาริสสา เอเธอริดจ์, เคลลี่ คลาร์กสัน, เฟธ ฮิล, ทิม แม็คกราว, เอ็นริเก อิเกลเซียส, ฟาเรล วิลเลียมส์, เอคอน และสนู๊ฟ ด็อก นอกจากนี้ คอนเสิร์ตไลฟ์ เอิร์ธยังจัดขึ้นอีกกว่า 7,000 แห่งใน 129 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ปารีสและคอนเสิร์ตไลฟ์เอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตไลฟ์เอท

อนเสิร์ตไลฟ์ 8 (Live 8) เป็นชุดคอนเสิร์ตและงานที่จัดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม และ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ในประเทศกลุ่ม จี 8 และแอฟริกาใต้ คอนเสิร์ตถูกกำหนดให้จัดขึ้นก่อนการประชุมสุดยอดผู้นำของประเทศในจี 8 ที่จะจัดขึ้นที่โรงแรม Gleneagles ใน Perthshire สก็อตแลนด์ ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและคอนเสิร์ตไลฟ์เอท · ดูเพิ่มเติม »

คารูโซ

รูโซ (Caruso) เป็นบทเพลงผลงานการประพันธ์ของลุซิโอ ดัลลา ในปี พ.ศ. 2529 เพื่ออุทิศให้แด่เอ็นริโก คารูโซ นักร้องโอเปร่าชาวอิตาลีที่มีชื่อเสียง เพลงนี้ได้นำมาร้องใหม่หลายครั้ง อาทิ Antonio Forcione กับ Sabina Scubbia ในปี พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) กับอัลบั้ม "Meet Me In London" และในปี พ.ศ. 2546 กับการนำมาร้องใหม่ของ จอช โกรแบน ในอัลบั้ม Closer นักร้องชาวอเมริกัน คารูโซยังนำมาร้องใหม่โดยอานเดรอา โบเชลลี ในอัลบั้ม โรมันซา และ ลูชิอาโน ปาวารอตติ นำเพลงนี้มาแสดงหลายครั้ง ครั้งหนึ่งได้นำไปแสดงในคอนเสิร์ต "The Three Tenors" และอยู่ในอัลบั้มขายดีที่สุดในปารีส ในปี พ.ศ. 2541.

ใหม่!!: ปารีสและคารูโซ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ปารีสและคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ลาร์สสัน

ร์ล ลาร์สสัน (Carl Larsson) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1853 - 22 มกราคม ค.ศ. 1919) เป็นจิตรกรและนักตกแต่งภายในชาวสวีเดนของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการศิลปะหัตถกรรม.

ใหม่!!: ปารีสและคาร์ล ลาร์สสัน · ดูเพิ่มเติม »

คาร์สัน แมคคัลเลอส์

ร์สัน แมคคัลเลอส์ (Carson McCullers; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 – 29 กันยายน ค.ศ. 1967) เป็นนักเขียนชาวอเมริกัน ผลงานส่วนใหญ่ของเธอเป็นแนวเซาเทิร์นกอทิก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลที่แปลกแยก โดดเดี่ยวและถูกทอดทิ้ง มักมีฉากอยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ปารีสและคาร์สัน แมคคัลเลอส์ · ดูเพิ่มเติม »

คิม อึน-กุก

ม อึน-กุก (28 ตุลาคม ค.ศ. 1988 —) เป็นนักยกน้ำหนักชาวเกาหลีเหนือ เขาได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ในประเภท 62 กก.

ใหม่!!: ปารีสและคิม อึน-กุก · ดูเพิ่มเติม »

คืนกระจกแตก

ืนกระจกแตก หรือเรียกอีกชื่อว่า คริสทัลล์นัคท์ (Kristallnacht) เป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ชาวยิวในนาซีเยอรมนีเมื่อวันที่ 9-10 พฤศจิกายน 1938 ที่ได้ถูกดำเนินการโดยหน่วยชตูร์มับไทลุง (SA) และกองกำลังพลเรือนชาวเยอรมัน เจ้าหน้าที่ตำรวจเยอรมันได้แต่เฝ้าดูสถานการณ์โดยไม่เข้าแทรกแซงใดๆเลย คำเรียกว่า คริสทัลล์นัคท์ มาจากเศษกระจกที่ได้แตกเกลื่อนไปตามถนน หลังจากที่หน้าต่างของอาคารร้านค้าที่มีชาวยิวเป็นเจ้าของและธรรมศาลาถูกทุบตีจนแตก จำนวนของการเสียชีวิตที่เกิดจากการสังหารหมู่ที่มีความแตกต่างกัน รายงานในช่วงแรกคาดว่าชาวยิว 91 คนถูกฆ่าตายระหว่างการโจมตี การวิเคราะห์สมัยใหม่แหล่งวิชาการเยอรมันโดยนักประวัติศาสตร์ เช่น ริชาร์ด เจอีแวนส์ ทำให้จำนวนเพิ่มสูงขึ้นมาก เมื่อเสียชีวิตจากการกระทำผิดหลังการจับกุมและการฆ่าตัวตายที่ตามมาจะถูกรวมยอดผู้เสียชีวิตปีนขึ้นไปเป็นจำนวนร้อย นอกจากนั้นชาวยิวกว่า 30,000 คนถูกจับกุมและคุมขังในค่ายกักกันนาซี บ้านของชาวยิว, โรงพยาบาลและโรงเรียนถูกรื้อค้น, การโจมตีทำลายอาคารด้วยค้อน.

ใหม่!!: ปารีสและคืนกระจกแตก · ดูเพิ่มเติม »

คู่ระห่ำ ฝรั่งแสบ

ู่ระห่ำ ฝรั่งแสบ (อังกฤษ: From Paris with Love) เป็นภาพยนตร์ สัญชาติอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อปี ..

ใหม่!!: ปารีสและคู่ระห่ำ ฝรั่งแสบ · ดูเพิ่มเติม »

คู่ใหญ่ฟัดเต็มสปีด 3

ู่ใหญ่ฟัดเต็มสปีด 3 (Rush Hour 3) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นคอเมดี้เกี่ยวกับคู่หูสัญชาติจีน-อเมริกา ในปี ค.ศ. 2007 กำกับโดย เบรตต์ รัตเนอร์ นำแสดงโดย เฉินหลง และ คริส ทักเกอร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคสามของภาพยนตร์ชุดภาพยนตร์ไตรภาคคู่ใหญ่ฟัดเต็มสปีด ซึ่งเป็นภาพยนตร์ภาคต่อจากเรื่อง คู่ใหญ่ฟัดเต็มสปีด 2.

ใหม่!!: ปารีสและคู่ใหญ่ฟัดเต็มสปีด 3 · ดูเพิ่มเติม »

คูเวตซิตี

ูเวตซิตี (Kuwait City) หรือ มะดีนะฮ์อัลกุวัยต์ (مدينة الكويت) เป็นเมืองหลวงของคูเวต ตั้งอยู่ในเขตอัลอาสิมะห์ มีประชากร 32,403 คน (จากการสำรวจเมื่อพ.ศ. 2548) เป็นที่รู้จักภายในประเทศในชื่อ อัล เดียรา (Al-Diera - ألديره) แปลว่า เมือง เป็นที่ตั้งของรัฐสภาของคูเวต (มัจลิสัล อุมมา) สำนักงานส่วนใหญ่ของรัฐบาล และหอคูเวต (Kuwait Towers) มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ 29°22'11" เหนือ 47°58'42" ตะวันออก (29.369722, 47.978333) ความต้องการทางการค้าและการขนส่งของคูเวตซิตีสนองด้วยท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต ท่าชูไวค์ (Shuwaik Port) และท่าอาห์มาดิ บนชายฝั่งอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: ปารีสและคูเวตซิตี · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการมรดกโลก

ลโก้ของยูเนสโกในคณะกรรมการมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee) ถูกก่อตั้งโดยเป็นส่วนหนึ่งของของมรดกโลกของยูเนสโก คณะกรรมการมรดกโลกจะมีการประชุมร่วมกันหลายครั้งในแต่ละปี เพื่ออภิปรายถึงแผนการจัดการเกี่ยวกับแหล่งมรดกโลกที่ยังคงอยู่ และรับรายชื่อสถานที่ที่ประเทศต่างๆเสนอให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และจะมีการประชุมครั้งหนึ่งที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ (World Heritage Committee Session) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่ได้รับการเสนอชื่อแห่งใดที่จะได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัยสามัญประจำปีจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันจัดในเมืองสำคัญต่างๆจากทั่วโลก ซึ่งนอกจากครั้งที่จัดขึ้นที่กรุงปารีส อันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโกแล้ว จะมีเพียงประเทศที่สมาชิกของคณะกรรมการมรดกโลกเท่านั้นที่จะได้รับสิทธิในการจัดการประชุมครั้งต่อไป โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และรับรองได้ว่าสมาชิกภาพของประเทศนั้นๆจะไม่หมดวาระลงเสียก่อนที่จะได้จัดการประชุม.

ใหม่!!: ปารีสและคณะกรรมการมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ และกีฬาแห่งประเทศฝรั่งเศส

ณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ และกีฬาแห่งประเทศฝรั่งเศส (Comité national olympique et sportif français, CNOSF) เป็นหน่วยงานภายใต้ความดูแลของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส มีหน้าที่จัดส่งและนำคณะนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และกีฬาระดับภูมิภาค ระดับทวีป หรือระดับโลก ซึ่งรับรองโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น ยังเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติใดๆ ของคณะนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ประจำทีม ที่เข้าร่วมการแข่งขันดังกล่าวด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ และกีฬาแห่งประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกโปแลนด์

ณะกรรมการโอลิมปิกโปแลนด์ (Polski Komitet Olimpijski, PKOl) เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของประเทศโปแลนด์ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปารีสและคณะกรรมการโอลิมปิกโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะภราดาลาซาล

ณะภราดาแห่งโรงเรียนคริสตชน (Institute of the Brothers of the Christian Schools) มักรู้จักกันในนาม คณะภราดาลาซาล (La Salle Brothers) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล ก่อตั้งขึ้น เน้นปฏิบัติงานด้านการจัดการศึกษาแก่เยาวชนและเด็กที่ยากจน ปัจจุบันมีภราดาลาซาลอยู่ประมาณ 5,000 คน ปฏิบัติหน้าที่อยู่ใน 80 ประเทศทั่วโลก.

ใหม่!!: ปารีสและคณะภราดาลาซาล · ดูเพิ่มเติม »

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส

ณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส (Missions Étrangères de Paris; M.E.P) เป็นคณะชีวิตแพร่ธรรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก (ไม่ใช่คณะนักบวชคาทอลิก) สมาชิกประกอบด้วยบาทหลวงประจำมุขมณฑลและฆราวาสที่อุทิศตนทำงานเป็นมิชชันนารีในต่างประเทศ คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว..

ใหม่!!: ปารีสและคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีไตรภาคี

ณะกรรมาธิการ 3 ฝ่าย ไทรเลทีรัลคอมมิสชั่น เป็นองค์กรภาคเอกชน ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1973 โดย เดวิด ร็อกกีเฟลเลอร์ (David Rockefeller) อันประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศต่างๆในทวีปอเมริกา ยุโรป และ เอเชียแปซิฟิค (ญี่ปุ่น ในฐานะตัวแทนภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค) โดยมีจุดประสงค์ให้ความร่วมมือกันทางด้านการเงินและอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ปารีสและคณะมนตรีไตรภาคี · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: ปารีสและคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบรูไนดารุสซาลาม

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตบรูไน สถานทูตและสถานกงสุลบรูไนนอกประเท.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบรูไนดารุสซาลาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศบังกลาเทศในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตบาห์เรน สถานทูตและสถานกงสุลบาห์เรนในต่างแดน.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์

นทูตและสถานกงสุลฟิลิปปินส์ในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่า

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของพม่า สถานทูตพม่าในกรุงวอร์ชิงตัน สถานทูตและสถานกงสุลพม่าในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศกัมพูชา

นทูตกัมพูชาในกรุงเบอร์ลิน สถานทูตกัมพูชาในกรุงวอร์ซอ สถานทูตกัมพูชาในกรุงปักกิ่ง สถานทูตและสถานกงสุลกัมพูชาในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตกาตาร์ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศกาตาร์ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตญี่ปุ่นประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมองโกเลีย สถานทูตและสถานกงสุลมองโกเลียในต่างแดน.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตมาเลเซีย สถานทูต สถานกงสุล ฯลฯ มาเลเซียในต่างแดน.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศลาว

นทูตและสถานกงสุลลาวนอกประเท.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศศรีลังกาในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตของสิงคโปร์ สถานทูตและสถานกงสุลสิงคโปร์ในประเทศต่าง ๆ สิงคโปร์เปิดความสัมพันธ์ทางการทูตครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2508 กับประเทศมาเลเชีย และสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอาร์มีเนีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอาร์มีเนียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจาน

นเอกอัครราชทูต รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอาเซอร์ไบจานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรัก

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิรัก รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิรักในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิตาลี รายชื่อข้างล่างคือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิตาลีในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอุซเบกิสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของอุซเบกิสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์แดน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของจอร์แดนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์เจีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของจอร์เจียในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจีน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตคาซัคสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของคาซัคสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวต

นทูตและสถานกงสุลของประเทศคูเวตในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซาอุดีอาระเบียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศซีเรียในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตปากีสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศปากีสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโอมาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโอมาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศโอมานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส

ประเทศที่มีคณะทูตไซปรัสประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไซปรัสในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีใต้ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีใต้ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเยเมน สถานทูตและสถานกงสุลเยเมนในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเลบานอน รายชื่อสถานทูตและสถานกงสุลเลบานอนในประเทศต่าง.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเวียดนาม สถานทูตและสถานกงสุลเวียดนามในต่างแดน.

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเติร์กเมนิสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเติร์กเมนิสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเติร์กเมนิสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเติร์กเมนิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเนปาลในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: ปารีสและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

คณะดอมินิกัน

ณะนักเทศน์ (Order of Preachers; Ordo fratrum Praedicatorum) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า คณะดอมินิกัน.

ใหม่!!: ปารีสและคณะดอมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: ปารีสและคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505

แผนที่ฝรั่งเศส ฉบับที่กัมพูชาส่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศใช้พิจารณา คดีปราสาทพระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดนไทยด้านอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิดจากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ทำให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลกได้ตัดสินให้ตัวปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปารีสและคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น

มพ์โปสเตอร์โดยอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก ค.ศ. 1892 คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น (Japonism หรือ Japonisme) เดิมมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในภาษาอังกฤษด้วย เป็นคำที่หมายถึงศิลปะตะวันตกที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะของญี่ปุ่น คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกโดยชูลส์ แคลตีในหนังสือ L'Art Français en 1872 (ศิลปะฝรั่งเศสของปี ค.ศ. 1872) ที่ตีพิมพ์ในปีเดียวกันColta F. Ives, "The Great Wave: The Influence of Japanese Woodcuts on French Prints", 1974, The Metropolitan Museum of Art, ISBN 0-87099-098-5 งานที่ถ่ายทอดจากพื้นฐานของศิลปะญี่ปุ่นโดยตรงในศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะงานที่สร้างโดยศิลปินชาวฝรั่งเศสเรียกว่า "japonesque" ("แบบญี่ปุ่น") ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1860 ภาพพิมพ์แกะไม้ภาพอุกิโยะ (ukiyo-e) ของญี่ปุ่นกลายเป็นแหล่งของแรงบันดาลใจสำหรับจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ชาวยุโรปในฝรั่งเศสและในประเทศตะวันตกและในที่สุดก็รวมไปถึงจิตรกรนวศิลป์และบาศกนิยม (cubism) ต่อมา สิ่งที่กระทบความรู้สึกของศิลปินของศิลปะญี่ปุ่นคือการละการใช้ทัศนมิติและเงา, การใช้สีจัดในบริเวณภาพที่ราบ, เสรีภาพในการจัดองค์ประกอบในการวางหัวเรื่องของภาพจากศูนย์กลางของภาพ ที่ส่วนใหญ่อยู่ในมุมทแยงด้านต่ำจากฉากหลัง.

ใหม่!!: ปารีสและคตินิยมศิลปะญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คนอึดต้องกลับมาอึด 2

นอึดต้องกลับมาอึด 2 (RED 2) เป็นภาพยนตร์โลดโผน/ตลกอเมริกันปี..

ใหม่!!: ปารีสและคนอึดต้องกลับมาอึด 2 · ดูเพิ่มเติม »

คนครุ่นคิด (รอแด็ง)

นครุ่นคิด (Le Penseur; The Thinker) เป็นประติมากรรมที่สร้างโดย''โอกุสต์ รอแด็ง'' ประติมากรชาวฝรั่งเศส ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์รอแด็ง กรุงปารีส ในประเทศฝรั่งเศส "คนครุ่นคิด" เป็นประติมากรรมบรอนซ์และหินอ่อนที่เป็นรูปชายนั่งคิดเหมือนมีความขัดแย้งภายใน รูปปั้นมักจะใช้เป็นสัญลักษณ์ของปรัชญ.

ใหม่!!: ปารีสและคนครุ่นคิด (รอแด็ง) · ดูเพิ่มเติม »

คนค่อมแห่งนอเทรอดาม (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2539)

นค่อมแห่งนอเทรอดาม (The Hunchback of Notre Dame) เป็น ภาพยนตร์แอนิเมชัน สร้างสรรค์โดย วอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอส์ และนำออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2539 โดย วอลต์ดิสนีย์พิกเชอส์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับแรงบันดาลใจมาจากนิยายอมตะของวิกตอร์ อูโก (Victor Hugo) เรื่อง คนค่อมแห่งนอทร์-ดาม (Notre Dame de Paris) และมีแก่นเรื่องว่าด้วย ควอซีโมโด (Quasimodo) ชายพิการซึ่งเป็นคนตีระฆังวัดนอทร์-ดามในกรุงปารีส ผู้พยายามให้สังคมยอมรับตน ภาพยนตร์เรื่องนี้ มี เคิร์ก ไวส์ (Kirk Wise) และ แกรี เทราส์เดล (Gary Trousdale) กำกับ และ ดอน แฮห์น (Don Hahn) ผลิต ทั้งสามคนนี้เคยร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง โฉมงามกับเจ้าชายอสูร (Beauty and the Beast) และ เดอะไลออนคิง (The Lion King) มาก่อน ส่วนดนตรีนั้น อลัน เมนเคน (Alan Menken) กับ สตีเฟิน ชฺวอตซ์ (Stephen Schwartz) เขียน และในภาคภาษาอังกฤษ ตัวละครเด่น ๆ นั้นให้เสียงโดย ทอม ฮูลซ์ (Tom Hulce), โทนี เจย์ (Tony Jay), เดมี มัวร์ (Demi Moore) และ เคลวิน ไคฺลน์ (Kevin Kline) สมาคมภาพยนตร์แห่งอเมริกา (Motion Picture Association of America) จัดอันดับภาพยนตร์นี้ไว้ที่ G (general หรือ เหมาะสมสำหรับผู้ชมทั่วไป) และ คณะกรรมการจัดประเภทภาพยนตร์แห่งอังกฤษ (British Board of Film Classification) จัดที่ U (universal หรือ เหมาะสมสำหรับผู้ชมทั่วไป) อย่างไรก็ดี ถือกันว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้นำเสนอความรุนแรงมากที่สุดในบรรดาภาพยนตร์ของดิสนีย์ พอ ๆ กับเรื่อง The Black Cauldron อันเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของดิสนีย์ที่ได้อันดับ PG (parents' guidance หรือ บิดามารดาควรแนะนำ).

ใหม่!!: ปารีสและคนค่อมแห่งนอเทรอดาม (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2539) · ดูเพิ่มเติม »

คนค่อมแห่งน็อทร์-ดาม

นค่อมแห่งน็อทร์-ดาม (the Hunchback of Notre Dame; Notre-Dame de Paris) เป็นนวนิยาย ประพันธ์โดย วิกตอร์ อูโก (Victor Hugo) และเผยแพร่ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ปารีสและคนค่อมแห่งน็อทร์-ดาม · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: ปารีสและงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลรอธส์ไชลด์

Waddesdon Manor ในบักกิงแฮมเชอร์, อังกฤษ เป็นหนึ่งในคฤหาสน์หลายสิบหลังของตระกูล ถูกบริจาคให้เป็นสมบัติชาติในปี 1957 ตระกูลรอธส์ไชลด์ (Rothschild family) เป็นตระกูลอภิมหาเศรษฐีที่ร่ำรวยที่สุดในโลก สืบเชื้อสายมาจากไมเออร์ อัมส์เชล รอธส์ไชลด์ ชาวยิวที่อพยพไปยังเยอรมนี และได้เริ่มจัดตั้งธนาคารขึ้นที่นั่นในทศวรรษที่ 1760 ต่อมาเขาให้บุตรชายทั้ง 5 คนช่วยบุกเบิกธนาคารของครอบครัวไปยังต่างประเทศ ซึ่งตั้งสาขาอยู่ใน 5 เมืองใหญ่ได้แก่ ลอนดอน, ปารีส, แฟรงก์เฟิร์ต, เวียนนา และเนเปิลส์ ในศตวรรษที่ 19 ตระกูลรอธส์ไชลด์กลายเป็นครอบครัวที่ถือครองทรัพย์สินมากที่สุดในโลก ในปัจจุบันธุรกิจของตระกูลนี้มีทั้งสถาบันการเงิน, อสังหาริมทรัพย์, เหมือง, พลังงาน, ฟาร์มแบบผสม ทรัพย์สินของตระกูลรอธส์ไชลด์มีมากมายมหาศาลเกินกว่าประเมินได้ โดยอาจมีมูลค่ารวมกันถึงสี่แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ด้วยทรัพย์สินที่มากมายมหาศาลเช่นนี้ทำให้เกิดเป็นทฤษฎีสมคบคิดมากมายว่าตระกูลนี้คือผู้บงการกระแสเงินและสถาบันการเงินต่าง ๆ ในโลกThe Rough Guide to Conspiracy Theories, James McConnachie, Robin Tudge Edition: 2 – 2008 และบงการรัฐบาลต่างๆให้ทำสงครามหรือยุติสงครามระหว่างกัน ตระกูลรอธส์ไชลด์เคยเป็นผู้สนับสนุนทางการเงินแก่รัฐบาลอังกฤษในการทำสงครามกับฝรั่งเศสในช่วงสงครามนโปเลียน ในปี 1815 เพียงปีเดียวตระกูลนี้ได้สนับสนุนเงินกู้ถึง 9.8 ล้านปอนด์ (ราว 2.9 หมื่นล้านบาทในปัจจุบัน) ให้แก่พันธมิตรของอังกฤษThe Ascent of Money: A Financial History of the World, (London 2008), page 78.

ใหม่!!: ปารีสและตระกูลรอธส์ไชลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ

ตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (International Bill of Human Rights) เป็นชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของข้อมติหนึ่งของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ และสนธิสัญญาระหว่างประเทศอีกสองฉบับซึ่งบัญญัติขึ้นโดยสหประชาชาติ ประกอบด้วยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR, ผ่านมติรับใน ค.ศ. 1948), กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ค.ศ. 1966) และพิธีสารเลือกรับสองฉบับ และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966) กติกาทั้งสองมีผลใช้บังคับใน..

ใหม่!!: ปารีสและตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ตริสตัน ซารา

ตริสตัน ซารา (Tristan Tzara; 16 เมษายน ค.ศ. 1896 – 25 ธันวาคม ค.ศ. 1963) เป็นกวีและนักเขียนชาวฝรั่งเศส/โรมาเนีย เป็นหนึ่งในศิลปินที่ก่อตั้งคต.

ใหม่!!: ปารีสและตริสตัน ซารา · ดูเพิ่มเติม »

ตักศิลา

ตักศิลา (Taxila; ตัก-กะ-สิ-ลา) หรือ ตักสิลา (Takkaśilā; ตัก-กะ-สิ-ลา) ในภาษาบาลี หรือ ตักษศิลา (Takṣaśilā; ตัก-สะ-สิ-ลา) ในภาษาสันสกฤต เป็นชื่อเมืองอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปัญจาบ เป็นมหาวิทยาลัยและเป็นศูนย์กลางของศิลปวิชาการ ในอดีตของอินเดียตั้งแต่ก่อนพุทธกาล มีสำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์สั่งสอนศิลปวิทยาต่างๆ แก่ศิษย์ที่มาเล่าเรียนในแถบดินแดนชมพูทวีป บุคคลสำคัญและมีชื่อเสียงหลายท่านที่สำเร็จการศึกษาจากที่แห่งนี้ เช่น พระเจ้าปเสนทิโกศล หมอชีวกโกมารภัจจ์ องคุลีมาล ปัจจุบันนี้ตักศิลาอยู่ในเขตประเทศปากีสถาน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงอิสลามาบาด คงเหลือแต่ซากเมืองให้ได้เห็น มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือ พิพิธภัณฑ์ตักศิลา ซึ่งได้เก็บรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับความเป็นอยู่และภูมิปัญญาของชาวตักศิลายุคต่าง ๆ เอาไว้อย่างเป็นระบบระเบียบ รวมถึง ซากสถูปเจดีย์ วัดวาอาราม และปฏิมากรรม แบบศิลปะคันธาระ จำนวนมาก อันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของผู้คน จนรัฐบาลปากีสถานได้อนุรักษ์ไว้เป็นโบราณสถานภายใต้การสนับสนุนขององค์การยูเนสโก เมืองตักศิลาถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่ดึกดำบรรพ์เป็นนครหลวงแห่งแคว้นคันธาระ เป็นหนึ่งในบรรดา 16 แคว้นของชมพูทวีป สถาปนาขึ้นโดยชาวอารยัน ตักศิลาตกอยู่ภายใต้อารยธรรมมากมาย เช่น อารยธรรมกรีกโดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช และอารยธรรมฮินดูหลายราชวงศ์ ในสมัยพุทธกาลมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำแคว้นและรุ่งเรืองมานับพันปี โดยมีความรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ได้สร้างตักศิลาให้มีชื่อเสียงพร้อมๆ กับการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชนชาติเฮฟทาไลต์ (Hephthalite) ได้ยกทัพมาตีอินเดียและทำลายพระพุทธศาสนา ทำให้เมืองตักศิลาพินาศสูญสิ้นแต่บัดนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและตักศิลา · ดูเพิ่มเติม »

ตัวร์ ดาร์จอง

รรยากาศหน้าภัตตาคารตัวร์ ดาร์จอง ตัวร์ ดาร์จอง (La Tour d'Argent,Silver Tower) เป็น ภัตตาคาร ที่เก่าแก่และโด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งใน ฝรั่งเศส และตั้งอยู่ที่ กรุงปารีส ภัตตาคารตัวร์ ดาร์จอง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1582 (พ.ศ. 2125) ได้รับการอุปถัมภ์จาก พระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส จึงทำให้มีกษัตริย์และบุคคลสำคัญจากทั่วโลกมาเสวยและรับประทานอาหารที่นี่เป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปทั้ง 2 ครั้งได้เสด็จมาเสวยพระกระยาหารที่ภัตตาคารแห่งนี้โดยในการประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เสด็จมาถึง 2 ครั้งและพระกระยาหารที่ทรงโปรดปรานคือ เป็ดอั.

ใหม่!!: ปารีสและตัวร์ ดาร์จอง · ดูเพิ่มเติม »

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและตั้ว ลพานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

ตาลิส

280px รถไฟตาลิส 4346 ในเมืองโคโลญ ประเทศเยอรมนี ตาลิส (Thalys) เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงระหว่างประเทศ วิ่งระหว่างกรุงปารีสกับกรุงบรัสเซลส์ ใช้ระบบรางร่วมกับรถไฟยูโรสตาร์และรถไฟเตเฌเว (TGV) รถไฟตาลิสให้บริการถึงอัมสเตอร์ดัมและโคโลญด้วย รถไฟตาลิสบริหารงานโดยตาลิสแอ็งแตร์นาซียอนาล (Thalys International) ซึ่งเป็นการร่วมทุนกันของบริษัทระหว่างประเทศ 4 ประเทศคือ ฝรั่งเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และเยอรมนี.

ใหม่!!: ปารีสและตาลิส · ดูเพิ่มเติม »

ตึกหุ่นยนต์

ตึกหุ่นยนต์ (Robot Building) เป็นอาคารสำนักงานสูง 20 ชั้นของธนาคารยูโอบี (ประเทศไทย) ตั้งอยู่ที่ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เดิมอาคารนี้เป็นของธนาคารเอเซีย แต่เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อจึงถูกขายให้กับธนาคารยูโอบีในปัจจุบัน อาคารออกแบบโดย ดร.

ใหม่!!: ปารีสและตึกหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและตุลาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กตาแม่ลูกดก

ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่ง เมื่อถอดออกมาทั้งหมด ตุ๊กตาแม่ลูกดก หรือ มาโตรชก้า (матрёшка) เป็นตุ๊กตาของรัสเซียที่เรียงซ้อน ๆ กันหลายตัว ชื่อนี้แผลงมาจากชื่อสตรีภาษารัสเซีย ว่า "มาตรีโยนา" หรืออาจจะถูกเรียกว่าตุ๊กตาคุณยาย ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่ง ประกอบด้วยตุ๊กตาไม้หลายตัวเรียงซ้อนกันอยู่ข้างใน แต่ละตัวประกอบด้วยสองส่วน คือส่วนบนและส่วนล่าง นำมาประกบกันได้สนิทตามร่องที่เซาะเอาไว้ ตุ๊กตาทุกตัวมีโพรงข้างใน เว้นแต่ตัวสุดท้ายซึ่งมีขนาดเล็กสุด จะเป็นตุ๊กตาเต็มตัว ตัน ชิ้นเดียว ตุ๊กตาแม่ลูกดกชุดหนึ่งจะมีตุ๊กตาซ้อนข้างในกี่ตัวก็ได้ ถ้ามีจำนวนมาก ตุ๊กตาตัวใหญ่สุดที่อยู่นอกสุดก็จะต้องมีขนาดใหญ่มากด้วย ตุ๊กตาทุกตัวจะมีรูปร่างเหมือนกันหมด คือ คล้ายกระบอก โป่งตรงกลาง ด้านบนโค้งมน ส่วนฐานเรียบ ไม่มีมือหรือส่วนใดยื่นออกมา แต่จะใช้สีวาดเป็นหน้าเป็นตาหรือขาทั้งหมด ให้ตุ๊กตาแต่ละตัวมีใบหน้าและเสื้อผ้าที่เหมือนกันด้วย ทั้งยังเคลือบเงาอย่างสวยงาม หน้าตาของตุ๊กตาแม่ลูกดกนั้นเดิมนั้นทำเป็นหญิงชาวนา แต่งกายแบบดั้งเดิม มีผ้าคลุมศีรษะ แต่ในภายหลังมีการวาดตุ๊กตาเป็นรูปเทพธิดา นางฟ้า และบุคคลที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำของรัสเซีย เช่นเลนิน ปูติน หรือจะดาราระดับตำนานอย่างมาริลิน หรือนักร้องชื่อดังอย่างไมเคิล แจ็คสัน และมาดอนน่า ไม่เว้นแม้แต่คาแรคเตอร์ของตัวละครชื่อดังอย่างหมีพูห์ มิคกี้เม.

ใหม่!!: ปารีสและตุ๊กตาแม่ลูกดก · ดูเพิ่มเติม »

ตูร์แน

ตูร์แน (Tournai) หรือ โดร์นิก (Doornik) เป็นเมืองในเขตวัลลูน มณฑลแอโน และเขตเทศบาลหนึ่งของเบลเยียม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงบรัสเซลส์ไปประมาณ 85 กิโลเมตร ตัวเมืองมีแม่น้ำสเกลต์พาดผ่านกลางเมือง เมืองตูร์แนยังเป็นที่ตั้งของมุขมณฑลตูร์แน (Diocese of Tournai) อีกด้วย ตูร์แนเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์แห่งเบลเยียม คู่กับอาร์ลงและตองเคอเรน อันเป็นเมืองสำคัญส่วนหนึ่งของเคาน์ตีฟลานเดอร์ (Comté de Flandre) ตั้งแต่สมัยยุคกลาง โดยเป็นที่ตั้งของหอระฆังที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในเบลเยียม และอาสนวิหารแม่พระแห่งตูร์แน ซึ่งทั้งสองแห่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก โดยมหาวิหารนั้นเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ของยุคกลางที่ผสมผสานกันด้วยสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และกอทิกอย่างสวยงาม พร้อมทั้งหอคอยขนาดใหญ่จำนวนห้าหออันเป็นเอกลักษณ์สำคัญและเป็นที่มาของชื่อเล่นของตูร์แนว่า "เมืองแห่งหอระฆังทั้งห้า".

ใหม่!!: ปารีสและตูร์แน · ดูเพิ่มเติม »

ตูร์เฟิสต์

ตูร์เฟิสต์ (Tour First) เดิมเรียกว่า ตูร์อาอิกซ์อา (Tour AXA) เป็นตึกระฟ้าตั้งอยู่บนบริเวณลาเดฟ็องส์ ซึ่งเป็นย่านเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันตกของกรุงปารีส ตึกดังกล่าวสร้างในปี พ.ศ. 2517 มีชื่อว่า "ตูร์อูว์อาเป" (Tour UAP) ก่อสร้างโดยบริษัทประกันชีวิตอูว์อาเป (UAP) โดยมีความสูง 159 เมตร (522 ฟุต) โดยมีลักษณะเป็นรูปดาวสามแฉก โดยแต่ละข้างจะมีมุม 120 องศา ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของบริษัทประกันชีวิตแรกเริ่ม 3 บริษัทที่เป็นจุดเริ่มต้นของอูว์อาเป ตูร์อูว์อาเปได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "ตูร์อาอิกซ์อา" (Tour AXA) เมื่อบริษัทประกันชีวิตอาอิกซ์อาซื้อบริษัทอูว์อาเปในปี พ.ศ. 2539 การปรับปรุงซ่อมแซมตึกครั้งใหญ่เริ่มต้นในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 โดยลักษณะรูปร่างภายนอกจะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง และจะมีการเพิ่มความสูงของตึกอีกด้วย โดยมีความสูงจากหลังคา 225 เมตร (738 ฟุต) และ 240 เมตร (787 ฟุต) จากยอดเสาอากาศ มีพื้นที่ใช้สอย 86,707 เมตร² (933,306 ฟุต²) และเมื่อการปรับปรุงของตึกเสร็จแล้ว จะทำให้ตูร์เฟิสต์เป็นตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในประเทศฝรั่งเศสอีกด้วย อย่างไรก็ตาม การครองตำแหน่งตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในประเทศฝรั่งเศสของตูร์เฟิสต์คงอยู่ได้ไม่นาน เพราะเมื่อตูร์เฌอเนอราลี (Tour Generali) ที่มีความสูง 318 เมตร และตูร์ฟาร์ (Tour Phare) สูง 300 เมตร ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ ตำแหน่งดังกล่าวจะไปตกอยู่กับทั้งสองตึกไปตาม ๆ กัน ในนครนิวยอร์กมีตึกเอเอกซ์เอ (AXA Tower) ซึ่งสูง 229 เมตร (751 ฟุต) อีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและตูร์เฟิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ตูร์เดอฟร็องส์

ตูร์เดอฟร็องส์ (Tour de France หมายถึง การท่องฝรั่งเศส) หรือบางครั้งเรียกว่า ลากร็องด์บุกล์ (La Grande Boucle) และ เลอตูร์ (Le Tour) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลา 3 สัปดาห์ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 จนถึงปัจจุบัน (เว้นการจัดแข่งขันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง) ตูร์เดอฟร็องส์ เป็นการแข่งขันจักรยานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลหนึ่งในสามรายการใหญ่ที่จัดการแข่งขันในยุโรป รวมเรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยอีกสองรายการคือ.

ใหม่!!: ปารีสและตูร์เดอฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตูร์เดอฟร็องส์ 1903

ตูร์เดอฟร็องส์ 1903 เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ครั้งแรก โดยได้รับการสนับสนุนจากหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) ซึ่งเป็นชื่อเดิมของหนังสือพิมพ์รายวัน L'Équipe การแข่งขันจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-19 กรกฎาคม โดยแบ่งเป็น 6 สเตจ (stage) รวมระยะทางกว่า โดยผู้ชนะในรายการนี้ได้แก่ โมรีซ กาแรง (Maurice Garin) การแข่งขันถูกจัดขึ้นมาเพื่อโปรโมทหนังสือพิมพ์โลโต้ (L'Auto) ภายหลังจากที่ยอดจำหน่ายเริ่มดิ่งลงจากการแข่งขันกับหนังสือพิมพ์ Le Vélo ที่วางจำหน่ายมาอย่างยาวนาน เดิมการแข่งขันมีกำหนดจะเริ่มต้นในเดือนมิถุนายน แต่ถูกเลื่อนออกไป 1 เดือน และเพิ่มเงินรางวัลมากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากมีจำนวนผู้สมัครเข้าแข่งขันน้อยจนเป็นที่น่าผิดหวัง การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและตูร์เดอฟร็องส์ 1903 · ดูเพิ่มเติม »

ตูร์เดอฟร็องส์ 2015

ตูร์เดอฟร็องส์ 2015 (2015 Tour de France) เป็นการแข่งขันครั้งที่ 102 ของตูร์เดอฟร็องส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของรายการใหญ่ โดยการแข่งขันเริ่มขึ้นที่ ยูเทรกต์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในวันที่ 4 กรกฎาคม จนถึงช็องเซลีเซ ปารีส ในวันที่ 26 กรกฎาคม รวมเป็นระยะทาง 3,360.3 กิโลเมตร (2,088 ไมล์) การแข่งขันนี้มีนักปั่นจักรยานเข้าร่วม 198 คน จาก 22 ทีมที่เข้ารอบในรอบ 21 ทีม โดยมีผู้ชนะคือ คริส ฟรูม ของทีมสกาย ส่วนอันดับสองและสามเป็นของไนโร ควินตานา และ อาเลคันโดร บัลเบร์เด นักปั่นทีมโมวิสตาร์ ตามลำดั.

ใหม่!!: ปารีสและตูร์เดอฟร็องส์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ตูลูซ

ตูลูซ (Toulouse) เป็นเทศบาลในจังหวัดโอต-การอน ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ซึ่งติดกับประเทศสเปน แต่มีพรมแดนธรรมชาติ คือ เทือกเขาพิเรนีสคั่นไว้ ตูลูซเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันมีประชากรอยู่ราว 1,300,000 คน เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินของโลก โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่และโรงงานของแอร์บัส นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของอินเทลภาคพื้นยุโรปตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและตูลูซ · ดูเพิ่มเติม »

ตูแปรดูบอเนอร์

"ตูแปรดูบอเนอร์" (Tout près du bonheur, "ความสุขเพียงเอื้อมมือ") คือเพลงจากการร้องคู่กันระหว่าง เซลีน ดิออน และ มาร์ก ดูเปร วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2549 ในรัฐควิเบก, ประเทศแคนาดา เป็นซิงเกิลที่ 4 ของ มาร์ก จากอัลบั้ม Refaire le monde.

ใหม่!!: ปารีสและตูแปรดูบอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตูโปเลฟ ตู-144

right ตูโปเลฟ ตู-144 (Tupolev Tu-144) เป็นเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงแบบแรกของโลก เครื่องต้นแบบ ตู-144 เครื่องต้นแบบบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1968 และปรากฏต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรก ที่อากาศยานเชเรเม็ทเยโวในกรุงมอสโก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1970 ในงานแสดงการบินที่ปารีสในปี ค.ศ. 1973 ตู-144 หมายเลข 2 ซึ่งเป็นเครื่องบินต้นแบบ ได้เกิดระเบิดต่อหน้าผู้ชมกว่า 30,000 คน ทำให้พัฒนาช้าลงไปอีกหลายปี ตู-144 เริ่มรับผู้โดยสารเป็นครั้งแรกในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1977 และเป็นคูแข่งข้นของเจ๊ตโดยสารคองคอร์ด ซึ่ง ตู-144 มีขนาดใหญ่กว่าคองคอร์ดและเร็วกว่าและได้บินเป็นครั้งแรกก่อนคองคอร์ด 2 เดือน แต่รับผู้โดยสารช้ากว่าคองคอร์ต 21 เดือน ตูโปเลฟ ตู-144 มีข้อจำกัดในการออกแบบด้านพลศาสตร์ ซึ่งส่วนหัวของเครื่องบินจะต้องเชิดขึ้น ส่งผลให้ทัศนวิสัยของนักบินไม่ดี ผู้ออกแบบได้แก้ไขโดยเพิ่มกลไกปรับส่วนหัวของเครื่องบิน ให้กดลงมา เพื่อให้นักบินมองเห็นสนามบินขณะเครื่องบินขึ้น ลงจอด และขณะอยู่บนแทกซี่เวย์ ตู-144 ต้องใช้ร่มชูชีพช่วยลดความเร็วในการลงจอ.

ใหม่!!: ปารีสและตูโปเลฟ ตู-144 · ดูเพิ่มเติม »

ตีแยรี อ็องรี

ตีแยรี ดานีแยล อ็องรี (Thierry Daniel Henry) เกิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและตีแยรี อ็องรี · ดูเพิ่มเติม »

ตีเยมูเอ บากายอโก

ตีเยมูเอ บากายอโก (Tiemoué Bakayoko) เกิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและตีเยมูเอ บากายอโก · ดูเพิ่มเติม »

ฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี

ฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี (Baronci altarpiece) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีสมัยเรอเนซองส์ ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซิวิคา โทซิโอ มาร์ติเน็นยาที่เบรสเชียในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียนภาพ “ฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี” ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึงปี ค.ศ. 1501 เป็นงานชิ้นแรกที่มีหลักฐานการจ้างสำหรับเป็นฉากประดับแท่นบูชาในโบสถ์น้อยบารอนชี ในโบสถ์ซานอากอสติโน ที่ซิตาดิคาสเตลโลใกล้เมืองอูร์บีโน ฉากประดับแท่นบูชาได้รับความเสียหายอย่างหนักระหว่างแผ่นดินไหวในปี ค.ศ. 1789 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1849 ส่วนต่างที่ยังคงหลงเหลืออยู่ก็ถูกแบ่งแยกกันไปเป็นของเจ้าของหลายคน.

ใหม่!!: ปารีสและฉากประดับแท่นบูชาบารอนชี · ดูเพิ่มเติม »

ฉี ไห่เฟิง

ฉี ไห่เฟิง (7 สิงหาคม ค.ศ. 1983 –) นักกีฬาทศกรีฑาชาวจีน สถิติที่ดีที่สุดของเขาคือ 8290 คะแนน ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและฉี ไห่เฟิง · ดูเพิ่มเติม »

ซอฟียาน บูฟัล

ซอฟียาน บูฟัล (سفيان بوفال; เกิดวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1993) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวโมร็อกโก ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองกลางตัวรุกให้กับสโมสรฟุตบอลเซาแทมป์ตันและทีมชาติโมร็อกโก บูฟัลย้ายมาร่วมทีมเซาแทมป์ตันเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและซอฟียาน บูฟัล · ดูเพิ่มเติม »

ซอน ซาน

ซอน ซาน ซอน ซาน (សឺន សាន สืน สาน; 5 ตุลาคม พ.ศ. 2454 - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของกัมพูชา (พ.ศ. 2510 – 2511) และต่อมาเป็นประธานสมัชชาแห่งชาติ (พ.ศ. 2536) ตำแหน่งเต็มยศของเขาคือ สมเด็จบวรเศรษฐาธิบดี ซอน ซาน (ภาษาเขมร: សម្តេចបវរសេដ្ឋាធិបតី សឺន សាន).

ใหม่!!: ปารีสและซอน ซาน · ดูเพิ่มเติม »

ซัมวันไลก์ยู (เพลงอะเดล)

"ซัมวันไลก์ยู" (Someone Like You) เป็นเพลงของอะเดล นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ เพลงนี้แต่งโดยอะเดล และแดน วิลสัน สำหรับสตูดิโออัลบั้ม 21 มิวสิกวิดีโอเพลงนี้ถ่ายทำในปารีส กำกับโดน เจค นาวา จากการแสดงอันยอดเยี่ยมของเธอบนเวทีประกาศผลรางวัล BRIT Awards ในปี 2011 เพลง Someone Like You กลายเป็นเพลงที่ถูกปล่อยเป็น ซิงเกิลแรกในสหราชอาณาจักรและขึ้นอยู่อันดับ 1 บนชาร์ตได้นานถึง 5 สัปดาห์ และกลายเป็นเพลงที่สองของอะเดล ซึ่งขึ้นสู่อันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกา จากความสำเร็จดังกล่าว อะเดลกลายเป็นศิลปินหญิงเดี่ยวชาวอังกฤษคนแรกในประวัติศาสตร์ของBillboard Hot 100 ซึ่งมีเพลงในอัลบั้มเดียวกันถึง 2 เพลง ที่สามารถขึ้นสู่อันดับ 1 ได้ หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในบิลบอร์ดฮอต 100 หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ซิงเกิลในปี พ.ศ. 2554 หมวดหมู่:เพลงของอะเดล หมวดหมู่: เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยอะเดล หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในชาร์ตซิงเกิลแห่งไอร์แลนด์ หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในประเทศนิวซีแลนด์ หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในประเทศฝรั่งเศส หมวดหมู่:ซิงเกิลอันดับ 1 ในประเทศออสเตรเลีย หมวดหมู่:มิวสิกวิดีโอภาพขาวดำ.

ใหม่!!: ปารีสและซัมวันไลก์ยู (เพลงอะเดล) · ดูเพิ่มเติม »

ซัมซุง กาแลคซีเอส 3

ซัมซุง กาแลคซีเอส 3 (Samsung Galaxy S III; ชื่อรหัส i9300) คือสมาร์ตโฟนระบบจอสัมผัส ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ที่พัฒนาโดย ซัมซุง อิเล็คทรอนิคส์ ซึ่งพัฒนาเพิ่มซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ต่อจากรุ่นซัมซุง กาแลคซีเอส 2 เปิดตัวเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและซัมซุง กาแลคซีเอส 3 · ดูเพิ่มเติม »

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ (Samuel Beckett) (13 เมษายน ค.ศ. 1906 - 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนเรื่องสั้น, นักเขียนบทละคร, นักเขียนบทความ และ กวีคนสำคัญชาวไอริช งานของเบ็คเค็ทท์ที่แสดงภาพพจน์อันมืดมนของวัฒนธรรมของมนุษย์ทั้งอย่างเป็นทางการและในทางปรัชญาค่อยกลายมาที่มีลักษณะเป็นงานจุลนิยม (minimalism) มากขึ้นต่อมา ขณะที่เป็นลูกศิษย์ ผู้ช่วย และเพื่อนของเจมส์ จอยซ์ เบ็คเค็ทท์ถือว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนแบบสมัยใหม่นิยมคนสุดท้ายผู้เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเขียนหลายคนต่อมา และบางครั้งก็ถือว่าเป็นนักเขียนคนแรกของสมัยใหม่นิยมสมัยหลัง (Postmodernism) นอกจากก็ยังถือกันว่าเบ็คเค็ทท์เป็นนักเขียนคนสำคัญคนหนึ่งของลักษณะการเขียนที่มาร์ติน เอสส์ลิน (Martin Esslin) เรียกว่า "ละครแปลกวิสัย" (Theatre of the Absurd) ซึ่งทำให้เบ็คเค็ทท์กลายเป็นนักเขียนผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เบ็คเค็ทท์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและซามูเอล เบ็คเค็ทท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาดีโย มาเน

ซาดีโย มาเน (Sadio Mané; เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1992) เป็นนักฟุตบอลชาวเซเนกัล ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งปีกในพรีเมียร์ลีก ให้กับลิเวอร์พูลและทีมชาติเซเนกัล.

ใหม่!!: ปารีสและซาดีโย มาเน · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโก กาลาตราบา

Puente del Alamillo สะพานในประเทศสเปนออกแบบโดยซานเตียโก ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ (บาเลนเซีย: Santiago Calatrava Valls) เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 ในเมืองเบนีมาเมต ประเทศสเปน.

ใหม่!!: ปารีสและซานเตียโก กาลาตราบา · ดูเพิ่มเติม »

ซาโมเทรซ

ท่าเรือสำคัญในซาโมเทรซ ซาโมเทรซ หรือ ซาโมทรากี (Σαμοθράκη, Samothrace) เป็นเกาะในประเทศกรีซ ตั้งอยู่ทางเหนือของทะเลอีเจียน เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดเอวรอส ห่างจากเกาะเกิกเชอาดาของประเทศตุรกีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 23 กิโลเมตร เกาะมีความยาว 17 กิโลเมตร มีพื้นที่ 178 ตร.กม.

ใหม่!!: ปารีสและซาโมเทรซ · ดูเพิ่มเติม »

ซุปเปอร์แบงค์ ม.รัตนบัณฑิต

ซุปเปอร์แบงค์ ม.รัตนบัณฑิต หรือ ซุปเปอร์แบงค์ ศักดิ์ชัยโชติ เป็นนักมวยไทยชาวไทย แชมป์ราชดำเนินในรุ่น 105 ปอนด์ และ 115 ปอนด์ ซึ่งได้รับการกล่าวขานว่ามีทักษะด้านจังหวะและอาวุธมวยที่หลากหลาย ซุปเปอร์แบงค์ได้สร้างผลงานโดดเด่นจากการเป็นฝ่ายชนะเก้าแต้ม ลูกพระบาท และมงคลชัย ลูกเจ้าพ่อมเหศักดิ์ และใน..

ใหม่!!: ปารีสและซุปเปอร์แบงค์ ม.รัตนบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ซูว์ลี พรูว์ดอม

ซูว์ลี พรูว์ดอม (Sully Prudhomme) เป็นนามปากกาของ เรอเน-ฟร็องซัว อาร์ม็อง พรูว์ดอม (René-François-Armand Prudhomme) กวีและนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม เป็นบุตรของเจ้าของร้านค้าชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านวิศวกรรม แต่สนใจด้านงานเขียนจนเข้ารับการศึกษาใหม่ด้านวรรณคดี และหันมาเอาดีด้านวรรณกรรมนับแต่บัดนั้น ได้รับเกียรติให้เป็นสมาชิกของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศสเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและซูว์ลี พรูว์ดอม · ดูเพิ่มเติม »

ซูว์แรน

ซูว์แรน (Suresnes) เป็นเมืองในจังหวัดโอดแซน (Hauts-de-Seine) ในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ (Île-de-France) ตั้งอยู่ในชานเมืองด้านตะวันออกของกรุงปารีส (Paris) บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำแซน (Seine) หมวดหมู่:เมืองในจังหวัดโอดแซน.

ใหม่!!: ปารีสและซูว์แรน · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์นักรบดับทัพอสูร

ซูเปอร์นักรบดับทัพอสูร (อังกฤษ: Edge of Tomorrow) คือ ภาพยนตร์อเมริกันปี..

ใหม่!!: ปารีสและซูเปอร์นักรบดับทัพอสูร · ดูเพิ่มเติม »

ซีมอน ซีญอแร

ซีมอน ซีญอแร (Simone Signoret; 25 มีนาคม ค.ศ. 1921 − 30 กันยายน ค.ศ. 1985) เป็นนักแสดงชาวฝรั่งเศสที่ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในดาราภาพยนตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในฝรั่งเศส เธอกลายเป็นชาวฝรั่งเศสคนที่สองที่ได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากการแสดงในภาพยนตร์เรื่อง รูมแอสเดอะท็อป (1959) ตลอดอาชีพการแสดงของเธอ เธอได้รับรางวัลซีซาร์ 2 ครั้ง รางวัลแบฟตา 3 ครั้ง รางวัลเอ็มมี 1 ครั้ง และเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำ 2 ครั้ง.

ใหม่!!: ปารีสและซีมอน ซีญอแร · ดูเพิ่มเติม »

ซีมอน เดอ โบวัวร์

ซีมอน-ลูว์ซี-แอร์แน็สตีน-มารี แบร์ทร็อง เดอ โบวัวร์ (Simone-Lucie-Ernestine-Marie Bertrand de Beauvoir) หรือที่รู้จักกันในนาม ซีมอน เดอ โบวัวร์ (Simone de Beauvoir; 9 มกราคม ค.ศ. 1908 - 14 เมษายน ค.ศ. 1986) เป็นนักเขียน นักปรัชญา และนักทฤษฎีทางสังคมชาวฝรั่งเศส ในขณะที่ตัวเธอไม่ได้มองตัวเองเป็นนักปรัชญา แต่ความคิดของเธอกับมีอิทธิพลอย่างมากต่อทฤษฎีของนักสตรีนิยม งานเขียนของโบวัวร์นั้นมีทั้งนิยาย ความเรียง ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ และเอกสารเฉพาะเรื่องที่มีประเด็นทางปรัชญา การเมือง และสังคม ผลงานของเธอที่มีชื่อเสียงคือ She Came to Stay และ The Mandarins.

ใหม่!!: ปารีสและซีมอน เดอ โบวัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีรีส

ซีรีส หรือ เซเรส (Ceres) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า 1 ซีรีส เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดและเป็นดาวเคราะห์แคระดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดยจูเซปเป ปีอาซซี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและซีรีส · ดูเพิ่มเติม »

ซ็องลิส (จังหวัดอวซ)

ซ็องลิส (Senlis) เป็นเมืองในจังหวัดอวซในแคว้นปีการ์ดีในประเทศฝรั่งเศส เมืองซ็องลิสตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำนอแน็ตซึ่งเป็นแควย่อยของแม่น้ำอวซทางตอนเหนือของฝรั่งเศส และทางตะวันออกของกรุงปารีส ซ็องลิสเดิมเป็นเมืองโรมันโบราณชื่อ “เอากุสโตมากุส” (Augustomagus) และต่อมาเปลี่ยนเป็น “กีวีตัสซิลวาเนกตีอุม” (Civitas Silvanectium หรือ เมืองแห่งซิลวาเนกติส) ซ็องลิสเป็นที่ตั้งของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งซ็องล.

ใหม่!!: ปารีสและซ็องลิส (จังหวัดอวซ) · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด

ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เป็นส่วนหนึ่งของการรบในแนวรบด้านตะวันตก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองในปี..

ใหม่!!: ปารีสและปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี

แผ่นจารึกประมวลกฎหมายฮัมมูราบี ประมวลกฎหมายฮัมบูราบี เป็นบทบัญญัติที่รวบรวมกฎหมายต่าง ๆ และพระราชกฤษฎีกาของพระเจ้าฮัมมูราบี ราชาแห่งบาบิโลเนีย และเป็นประมวลกฎหมายที่เก่าแก่ที่สุด ประมวลกฎหมายนี้คัดลอกไว้โดยการแกะสลักลงบนหินบะซอลต์สีดำสูง 2.25 เมตร ซึ่งต่อมาทีมนักโบราณคดีฝรั่งเศสขุดพบที่ Sūsa ประเทศอิรัก ในช่วงฤดูหนาวปี 1901 ถึง 1902 หินสลักนี้แตกเป็น 3 ชิ้น และได้รับการบูรณะ ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีอยู่ในพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายอาญา โดยยึดหลักที่ปัจจุบันเรียกว่า "ตาต่อตา ฟันต่อฟัน" อันหมายถึงทำผิดอย่างไรได้โทษอย่างนั้น ซึ่งแม้บทลงโทษตามกฎหมายฮัมมูราบีจะดูว่าโหดเหี้ยมตามความคิดของคนสมัยใหม่ แต่การทำกฎหมายให้เป็นลายลักษณ์อักษรและพยายามใช้บังคับอย่างเป็นระบบกับทุกคน และการ "ถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้ก่อนจนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าผิด" นับเป็นหลักการสำคัญที่นับเป็นวิวัฒนาการทางอารยธรรมของมนุษย์ มีทฤษฎีใหม่บางทฤษฎีถือว่า การนับกฎหมายฮัมมูราบีให้สถานะอย่างประมวลกฎหมายอย่างปัจจุบันนั้นไม่ถูกต้องนัก ความจริงเป็นเพียงอนุสรณ์ว่ากษัตริย์ฮัมมูราบีเป็น "ตัวอย่างกษัตริย์ที่ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม" เท่านั้น เพราะในชีวิตของคนย่อมมีความผิดอย่างอื่นที่ไม่ใช่การลักขโมย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์กฎหมาย หมวดหมู่:นิติศาสตร์ หมวดหมู่:กฎหมาย.

ใหม่!!: ปารีสและประมวลกฎหมายฮัมมูราบี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ปารีสและประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ปารีสและประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: ปารีสและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สหรัฐ

วันเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐมีการถกเถียงกันในหมู่นักประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ปารีสและประวัติศาสตร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: ปารีสและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เวียดนาม

วียดนาม เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเนื้อที่ทั้งหมด 337,912 ตารางกิโลเมตร มีประชากรร่วม 89 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวงคือ ฮานอย ประชากรส่วนใหญ่ของชาวเวียดนาม คือ ชาวเวียดนาม มีอยู่ประมาณร้อยละ 86 นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยอีก ได้แก่ โท้ ไต ม้ง เขมร และอื่นๆ ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ส่วนภาษาอื่นๆที่นิยมใช้ คือ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาของแต่ละชนชาติ ประวัติความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อนกลับไปได้มากกว่า 4000 ปีก่อน การค้นพบทางโบราณคดีจากปี..

ใหม่!!: ปารีสและประวัติศาสตร์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส

ประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส (Président de la République française) เป็นตำแหน่งสูงสุดฝ่ายอำนาจบริหารของประเทศฝรั่งเศสโดยมาจากการเลือกตั้ง และดำรงตำแหน่งเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐ จอมทัพ ผู้รับรองรัฐธรรมนูญและผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา ตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2391 (สมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2) ซึ่งทำให้ระบอบประธานาธิบดีของประเทศฝรั่งเศสนั้น เป็นระบอบที่มีความเป็นมายาวนานที่สุดประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป จวบจนปัจจุบัน มีผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวทั้งสิ้น 25 คน ซึ่งทุกคนได้พำนักในปาแลเดอเลลีเซมาแล้ว รัฐธรรมนูญในแต่สาธารณรัฐนั้น ได้กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานาธิบดีแตกต่างกันไป ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 เป็นต้นมา ประเทศฝรั่งเศสอยู่ในยุคสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนปัจจุบันคือ แอมานุแอล มาครง ซึ่งเข้าดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ปารีสและประธานาธิบดีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประตูบรันเดินบวร์ค

ประตูบรันเดินบวร์ค ประตูบรันเดินบวร์ค (Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนอีบัทสทราสเซ่ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของ อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค ประตูแห่งนี้เป็นอนุสรณ์ของทางเข้าสู่ถนนอุนเทอร์ เดน ลินเดน ซึ่งเป็นถนนหลวงที่มีชื่อเสียงมาจากต้นลินเดน (บางที่เรียกต้นทิเลีย หรือต้นไลม์) ซึ่งเป็นถนนที่ตรงไปสู่พระราชวังเมือง (Stadtschloss/Berlin City Palace) ของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย (Prussia) พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียทรงมีรับสั่งให้สร้างประตูบรันเดินบวร์คเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ใช้เวลาสร้างตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2331 ถึงปี 2334 โดยนายคาร์ล ก็อทท์ฮาร์ด แลงฮานส์ แล้วได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาประตูบรันเดินบวร์คก็ได้รับการบูรณะจนเสร็จสิ้นในช่วงปีพุทธศักราช 2543 ถึง 2545 โดยมูลนิธิอนุรักษ์อนุสาวรีย์เบอร์ลิน (Stiftung Denkmalschutz Berlin) ในช่วงหลังสงครามที่ได้แบ่งประเทศเยอรมนีออกเป็นสองส่วน ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ในเยอรมนีตะวันออก และได้แยกออกจากเยอรมนีตะวันตก ซึ่งมีกำแพงเบอร์ลินกั้นไว้ บริเวณโดยรอบประตูถือว่าเป็นจุดเด่นที่เด่นชัดที่สุดในการคุ้มครองสื่อในการเผยแพร่การเปิดผนังกำแพงในปีพุทธศักราช 2532 ตั้งแต่มีการสร้างประตู บ่อยครั้งเกิดเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของเยอรมนีในบริเวณประตูบรันเดินบวร์ค และวันนี้ก็ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของความปั่นป่วนในประวัติศาสตร์ยุโรป แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเอกภาพและสันติภาพของยุโรปด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและประตูบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ประตูชัย

ประตูชัย (triumphal arch, arc de tromphe) เป็นสิ่งก่อสร้างมีลักษณะเป็นซุ้มโค้งประดับด้วยประติมากรรม คำจารึก และสิ่งตกแต่งอย่างอื่น กำเนิดในยุคสาธารณรัฐโรมโดยสร้างเพื่อฉลองชัยชนะในการรบแต่ละคราว ตัวอย่างเช่น ประตูชัยของลูชียุส สเตอริตินุส (Lucius Steritinus) สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและประตูชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประตูชัย (แก้ความกำกวม)

ประตูชัย (Triumphal arch) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปารีสและประตูชัย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ประตูชัยเวลลิงตัน

ประตูชัยเวลลิงตัน ประตูชัยเวลลิงตัน หรือซุ้มเวลลิงตัน (Wellington Arch) หรือเรียกชื่ออื่นว่าประตูชัยรัฐธรรมนูญ (Constitution Arch) หรือประตูชัยสวนกรีนพาร์ก (Green Park Arch) เป็นประตูชัยตั้งที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของสวนไฮด์พาร์ก กลางกรุงลอนดอน สร้างระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและประตูชัยเวลลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

ประตูนรก

ประตูนรก (La Porte de l'Enfer; The Gates of Hell) เป็นประติมากรรมกลุ่มขนาดใหญ่ที่สร้างโดยโอกุสต์ รอแด็งประติมากรคนสำคัญชาวฝรั่งเศส ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์แซในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นภาพฉาก “นรกภูมิ” (Inferno) ซึ่งเป็นภูมิแรกของ “ไตรภูมิดันเต” โดยดันเต อาลีกีเอรี มีขนาดสูง 6 เมตร, กว้าง 4 เมตร และ หนา 1 เมตร และประกอบด้วยตัวแบบ 180 ตัว ตัวแบบมีขนาดตั้งแต่ 15 เซนติเมตร จนถึงกว่า 1 เมตร ตัวแบบบางตัวก็นำมาขยายเป็นประติมากรรมชิ้นอิสระโดยรอแด็ง.

ใหม่!!: ปารีสและประตูนรก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศญี่ปุ่น เข้ประเทศญี่ปุ่นาร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซียใน ค.ศ. 1717

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1717 ในประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศรัสเซียใน ค.ศ. 1717 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศอุรุกวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศองค์ประกอบ

ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) เป็นคำที่บางครั้งใช้เรียกประเทศที่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทางการเมืองที่ใหญ่กว่า เช่น รัฐเอกราช คำว่าประเทศองค์ประกอบนี้ไม่มีความหมายในทางกฎหมาย และใช้เรียก ประเทศ ที่เป็นส่วนประกอบหนึ่งของหน่วยอื่นเท่านั้น.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศองค์ประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโบฮีเมียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศโบฮีเมีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศโบฮีเมียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2410

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2410 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศไทยใน พ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2454

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2454 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศไทยใน พ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศเปรู เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 2..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8..

ใหม่!!: ปารีสและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ใหม่!!: ปารีสและปราสาทพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ (The 39 Clues) เป็นวรรณกรรมแนวผจญภัยที่ผสมผสานกับเกมออนไลน์และการสะสมการ์ด ในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอลาสทิก ส่วนฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เนมแอนด์โนเบิล ในเครือบันลือกรุ๊ป ซึ่งเป็นเครือเดียวกับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นวรรณกรรมชุดที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน โดยมีริก ไรออร์แดน (ผู้เขียน เพอร์ซีย์ แจ็กสัน) เป็นผู้เขียนเล่มแรก หนังสือฉบับภาษาไทยตีพิมพ์มาแล้วทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย ผจญค่ายกลกระดูก, หนึ่งโน้ตมรณะ, จอมโจรจอมดาบ, ความลับสุสานฟาโรห์, วงล้อมทมิฬ, ปฏิบัติการทะเลใต้, บุกรังอสรพิษ, รหัสลับจักรพรรดิโลกไม่ลืม, ฝ่าพายุแคริบเบียน และมหันตภัยปลายทาง.

ใหม่!!: ปารีสและปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ ตอน ผจญค่ายกลกระดูก

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ ตอน ผจญค่ายกลกระดูก เป็นนวนิยายเล่มแรกในชุดปริศนาสมบัติอัจฉริยะ ประพันธ์โดยริก ไรออร์แดน ตีพิมพ์ครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551 โดยสำนักพิมพ์สกอลาสติก เนื้อเรื่องเริ่มต้นขึ้นที่สองพี่น้องกำพร้า แดนและเอมี่ คาฮิลล์ ทั้งสองค้นพบว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของคาฮิลล์ ตระกูลที่มีพลังอำนาจมากที่สุดในโลก ซึ่งสมาชิกในตระกูลต้องฝ่าฟันกันเพื่อค้นหาคำไขปริศนาทั้ง 39 คำ.

ใหม่!!: ปารีสและปริศนาสมบัติอัจฉริยะ ตอน ผจญค่ายกลกระดูก · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลัสเดอลากงกอร์ด

ปลัสเดอลากงกอร์ด ใจกลางกรุงปารีส ปลัสเดอลากงกอร์ด (Place de la Concorde; จัตุรัสแห่งความปรองดอง) เป็นจัตุรัสกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 86,400 ตารางเมตร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวแนตถูกประหารด้วยกิโยตีน ณ จัตุรัสแห่งนี้ในสมัยการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและปลัสเดอลากงกอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ปอล ดูแมร์

แซ็ฟ อาตานาซ ปอล ดูเม (Joseph Athanase Paul Doumer; 22 มีนาคม พ.ศ. 2400 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2475) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและผู้ว่าการอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและปอล ดูแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปอล ปูเดอรู

ปอล ปูเดอรู (Paul Pouderoux; ค.ศ. 1874 — ค.ศ. 1956) เป็นนายทหารชาวฝรั่งเศส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขาได้เป็นนักบินของกองทัพอากาศคนแรก และหลังจากนั้น ก็ได้เป็นผู้บัญชาการกองทหารแห่งทหารช่าง เมื่อครั้งสิ้นสุดสงคราม เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการนักดับเพลิงทหารในกรุงปารีส ส่วนใน..

ใหม่!!: ปารีสและปอล ปูเดอรู · ดูเพิ่มเติม »

ปอล โกแก็ง

ออแฌน อ็องรี ปอล โกแก็ง (Eugène Henri Paul Gauguin, 7 มิถุนายน ค.ศ. 1848 - 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน โกแก็งเกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1848 ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1903 ที่เกาะในเฟรนช์โปลินีเซีย นอกจากการเป็นจิตรกรสมัยลัทธิประทับใจยุคหลังแล้ว โกแก็งยังทดลองการเขียนที่ใช้สีฉูดฉาดที่นำไปสู่การเขียนแบบสังเคราะห์นิยม (Synthetist) ของศิลปะสมัยใหม่ การเขียนของโกแก็งเป็นวิธีที่มีอิทธิพลมาจากลัทธิคลัวซอนนิสม์ที่นำไปสู่งานเขียนที่เป็นแบบที่เรียกว่าบรรพกาลนิยม (Primitivism) และกลับไปสู่จิตรกรรมท้องทุ่ง (pastoral) นอกจากนั้นโกแก็งก็ยังมีอิทธิพลต่อภาพพิมพ์ลายแกะ (engraving) และภาพพิมพ์แกะไม้ที่ยกระดับขึ้นเป็นงานศิลป.

ใหม่!!: ปารีสและปอล โกแก็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปอล เซซาน

ปอล เซซาน (Paul Cézanne) จิตรกรชาวฝรั่งเศสในลัทธิประทับใจยุคหลัง สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน งานของเซซานเป็นงานที่วางรากฐานสำหรับการเปลี่ยนแปลงจากศิลปะในลัทธิประทับใจของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ไปสู่ศิลปะบาศกนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นแนวที่ทั้งอ็องรี มาติส และปาโบล ปีกัสโซ ยกย่องเซซานว่าเป็น "the father of us all".

ใหม่!!: ปารีสและปอล เซซาน · ดูเพิ่มเติม »

ปอง มณีศิลป์

ลอากาศเอกปอง มณีศิลป์ อดีตผู้บัญชาการทหารอาก.

ใหม่!!: ปารีสและปอง มณีศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

ปะตูไซ

ปะตูไซ (ປະຕູໄຊ; ในอดีตเรียกว่า "อะนุสาวะลี") เป็นอนุสรณ์สถานตั้งอยู่ท้ายสุดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของถนนล้านช้าง ใจกลางนครเวียงจันทน์ ประเทศลาว ก่อสร้างในระหว่างปี..

ใหม่!!: ปารีสและปะตูไซ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาของฮิลแบร์ท

ปัญหาของฮิลแบร์ท (Hilbert's problems) คือ ปัญหาคณิตศาสตร์ทั้ง 23 ข้อ ที่ตั้งโดย ดาฟิด ฮิลแบร์ท (David Hilbert) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้นำเสนอต่อที่ประชุมสภานักคณิตศาสตร์นานาชาติ (International Congress of Mathematicians) ณ กรุงปารีส เมื่อ ค.ศ. 1900 ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาที่ยังไม่มีใครแก้ได้ในเวลานั้น และมีอิทธิพลต่อวงการคณิตศาสตร์เป็นอย่างมากในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ฮิลแบร์ทได้เสนอปัญหา 10 ข้อต่อที่ประชุม (ปัญหาข้อ 1, 2, 6, 7, 8, 13, 16, 19, 21 และ 22) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม และได้เสนอปัญหาข้ออื่น ๆ ในภายหลัง.

ใหม่!!: ปารีสและปัญหาของฮิลแบร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส-แบร็สต์-ปารีส

ปารีส-แบร็สต์-ปารีส (Paris-Brest-Paris (PBP) หรือ Paris-Brest et retour) เป็นกิจกรรมการขี่จักรยานทางไกลระยะทาง 1,200 กิโลเมตรในประเทศฝรั่งเศส เส้นทางจากปารีส ไปยังแบร็สต์ เมืองชายฝั่งตะวันตกของจังหวัดฟีนิสแตร์ แคว้นเบรอตาญ แล้วกลับไปสิ้นสุดที่ปารีส เริ่มจัดตั้งแต่ปี ค.ศ. 1891 จัดเป็นกิจกรรมการขี่จักรยานรายการหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุด ที่ยังคงจัดอยู่จนถึงปัจจุบัน กิจกรรมนี้ในระยะแรกถือเป็นการจัดการแข่งขัน มีการประกาศผลผู้ชนะ จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1931 ได้มีการจัดกิจกรรมจักรยานทางไกลของนักกีฬาสมัครเล่น ออแดกซ์ โดยสหภาพออแดกซ์แห่งฝรั่งเศส (Union des Audax Françaises) และเบรอแว โดยชมรมออแดกซ์แห่งปารีส (Audax Club Parisien) ควบคู่กันไป กิจกรรมของสหภาพออแดกซ์แห่งฝรั่งเศส และชมรมออแดกซ์แห่งปารีส จัดทุก 4 ปีต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนรายการแข่งขันสำหรับนักกีฬาอาชีพได้ยกเลิกไปหลังการแข่งขันครั้งสุดท้ายในปี ค.ศ. 1951 กิจกรรมปารีส-แบร็สต์-ปารีส ในปัจจุบัน กำหนดให้ผู้เข้าร่วมต้องผ่านกิจกรรมร็องดอเนอร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งระยะ 200, 300, 400 และ 600 กิโลเมตรภายในหนึ่งปีนั้นมาก่อน นักกีฬาจะต้องขี่จักรยานเป็นระยะทาง 1,200 กิโลเมตร ภายในเวลา 90 ชั่วโมง และย้ายจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดไปที่เมืองแซ็ง-ก็องแต็ง-อ็อง-อีฟว์ลีนทางตะวันออกเฉียงใต้ของปารี.

ใหม่!!: ปารีสและปารีส-แบร็สต์-ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปารีสวอลเลย์

ปารีสวอลเลย์ (Paris Volley) เป็นสโมสรวอลเลย์บอลอาชีพในปารีส, ประเทศฝรั่งเศส โดยทีมนี้เข้าแข่งขันในลีกอา นอกจากนี้สโมสรได้รับรางวัลชนะเลิศวอลเลย์บอลลีกอา 9 สมัย วอลเลย์บอลชายกุปเดอฟร็องส์ 4 สมัย และวอลเลย์บอลชายซูแปร์กุปเดอฟร็องส์ 3 สมั.

ใหม่!!: ปารีสและปารีสวอลเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาร์กเดแพร็งส์

ปาร์กเดแพร็งส์ (Parc des Princes) เป็นสนามฟุตบอล ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีที่นั่ง 48,712 ที่นั่ง เป็นสนามกีฬาเหย้าของปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและปาร์กเดแพร็งส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาทริส เอวรา

ปาทริส ลาตีร์ เอวรา (Patrice Latyr Evra) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและปาทริส เอวรา · ดูเพิ่มเติม »

ปาแล-รัวยาล

ปาแล-รัวยาล (Palais-Royal) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เดิมชื่อ “วังคาร์ดินัล” (Palais-Cardinal) ปาแล-รัวยาลและสวนอยู่หน้า “จตุรัสปาแล-รัวยาล” ตรงกันข้ามกับปีกเหนือของพระราชวังลูฟวร์ และ ลานเกียรติยศ (cour d'honneur) อันมีชื่อเสียง ด้านหน้ารายด้วยคอลัมน์ และ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและปาแล-รัวยาล · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลเดอชาโย

ปาแลเดอชาโย (Palais de Chaillot) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหอไอเฟลคนละฝั่งของแม่น้ำแซน ในเขตที่ 16 ของปารีส ตั้งอยู่บนที่ตั้งเดิมของ ปาแลดูว์ทรอกาเดโร (Palais du Trocadéro) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเรียกสั้นของสถานที่นี้ว่า ทรอกาเดโร (Trocadéro) อาคารขนาดใหญ่แห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้จัดงานนิทรรศการ Exposition Internationale des Arts et Techniques dans la Vie Moderne ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงปารีส ในระหว่างวันที่ 25 พฤษภาคม - 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1937 สร้างในสถาปัตยกรรมแบบฟื้นฟูคลาสสิก (Neo-Classic) อาคารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1980.

ใหม่!!: ปารีสและปาแลเดอชาโย · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลเดอเลลีเซ

ทำเนียบประธานาธิบดี หรือ ปาแลเดอเลลีเซ (Palais de l'Élysée) ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 55 รูว์ดูว์โฟบูร์-แซ็งตอนอเร (Rue du Faubourg-Saint-Honoré) ในเขตที่ 8 ของนครปารีส ใช้เป็นที่ทำการและที่พำนักประจำตำแหน่งของประธานาธิบดี ตั้งแต่สมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 ตั้งอยู่ใกล้กับช็องเซลีเซ สร้างในปี..

ใหม่!!: ปารีสและปาแลเดอเลลีเซ · ดูเพิ่มเติม »

ปิแอร์ โอมิดดียาร์

ปิแอร์ โอมิดดียาร์ ปิแอร์ โอมิดดียาร์ (Pierre Omidyar, อาหรับ: پیر امیدی) เกิดเมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) นักธุรกิจชาวอเมริกัน และนักสังคมสงเคราะห์ (philanthropist) ผู้ก่อตั้งธุรกิจออนไลน์อีเบย์ ธุรกิจออนไลน์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ปารีสและปิแอร์ โอมิดดียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีดาราศาสตร์สากล

ปีดาราศาสตร์สากล (International Year of Astronomy; IYA2009) ใน ค.ศ. 2009 เป็นปีการเฉลิมฉลองครบรอบ 400 ปีการค้นพบครั้งสำคัญทางดาราศาสตร์ คือการใช้กล้องโทรทรรศน์สำรวจดวงดาวเป็นครั้งแรกโดยกาลิเลโอ และการตีพิมพ์ผลงานเรื่อง Astronomia nova ของโยฮันเนส เคปเลอร์ ประกาศในการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติครั้งที่ 62 โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ ที่สหภาพดาราศาสตร์สากลจัด และองค์การยูเนสโก ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสหประชาชาติที่รับผิดชอบงานด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม สนับสนุน ทั้งนี้ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการที่กรุงปารีส ในวันที่ 15-16 มกราคม ค.ศ. 2009.

ใหม่!!: ปารีสและปีดาราศาสตร์สากล · ดูเพิ่มเติม »

ปีต โมนดรียาน

ต โมนดรียานคายโรเรน (Piet Mondriaan) มีชื่อเต็มว่า ปีเตอร์ กอร์เนลิส โมนดรียาน ยือนียอร์ (ผู้ลูก) (Pieter Cornelis Mondriaan, Jr.) เป็นศิลปินชาวดัตช์ เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1872 ที่เมืองอาเมอร์สโฟร์ต ประเทศเนเธอร์แลนด์ARK ปีต โมนดรียานเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาศิลปะแบบนามธรรม ในปี ค.ศ. 1915 เขาและเตโอ ฟัน ดุสบืร์ค (Theo van Doesburg) ร่วมกันก่อตั้งกลุ่มเดอสไตล์ (De Stijl) โดยสร้างงานเรขาคณิตอันมีลักษณะเฉพาะตัว โดยเจริญเติบโตขึ้นจากแนวทางของลัทธิรูปทรงแนวใหม่ (neo-plasticism) โมนดรียานจำกัดองค์ประกอบศิลป์ในงานของตนเองให้เหลือเป็นเพียงเส้นตรงในแนวตั้ง-แนวนอน และสีพื้นฐานไม่กี่สี เช่น เหลือง น้ำเงิน และแดง ได้ผลลัพธ์เป็นงานศิลปะที่ชัดเจนและเป็นระเบียบ ซึ่งโมนดรียานเชื่อว่าสามารถสะท้อนให้เห็นกฎแห่งจักรวาลได้.

ใหม่!!: ปารีสและปีต โมนดรียาน · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ บูล

ปีแยร์-ฟร็องซัว-มารี-หลุยส์ บูล (Pierre-François-Marie-Louis Boulle) วิศวกรและนักเขียนชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงจากผลงานเขียนหนังสือเรื่อง Le Pont de la Rivière Kwai (1952) และ La Planète des singes (1963) ทั้งสองเรื่องถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง เดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว (1957) และ พิภพวานร (1963) และภาพยนตร์ภาคต่อ บูลเคยเป็นช่างเทคนิคของโรงงานยางพาราของอังกฤษในมลายู เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเข้าร่วมกับกองทัพเสรีฝรั่งเศสและปฏิบัติการเป็นสายลับในสิงคโปร์ จีน พม่า และอินโดจีนของฝรั่งเศส จนกระทั่งถูกจับโดยฝ่ายวิชีฝรั่งเศสที่แม่น้ำโขง และถูกนำตัวไปเป็นเชลยศึกเพื่อใช้แรงงาน หลังสงครามโลก เขากลับไปทำงานที่มลายู จากนั้นได้เดินทางกลับปารีส และนำประสบการณ์ระหว่างตกเป็นเชลยมาเขียนนวนิยาย "Le Pont de la Rivière Kwai" เกี่ยวกับเชลยศึกทหารสัมพันธมิตรที่ถูกทหารญี่ปุ่นเกณฑ์ไปสร้างทางรถไฟสายมรณะ ซึ่งกลายเป็นนิยายติดอันดับขายดี และถูกนำไปสร้างภาพยนตร์โดยแซม สปีเกล และเดวิด ลีน ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ประจำปี 1957.

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์ บูล · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ กูว์รี

ปีแยร์ กูว์รี (Pierre Curie; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 – 19 เมษายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สามีของมารี กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์ กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ มีญาร์

ปีแยร์ มีญาร์ (Pierre Mignard; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1612 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1695) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “Le Romain” เพื่อให้แตกต่างกันจากพี่ชายที่ชื่อนีกอลา เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีญาร์ผู้ถือกำเนิดที่ทรัวมาจากครอบครัวศิลปิน นอกจากจะต้องแยกความแตกต่างจากพี่ชายแล้ว มีญาร์ก็ยังมีหลานชื่อปีแยร์ ที่มักจะเรียกกันว่า “ปีแยร์ที่ 2” หรือ “Le Chevalier” ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์ มีญาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต

ปีแยร์ มารี ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต (Pierre Lambert de la Motte) บาทหลวงชาวฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งผู้แทนพระสันตะปาปาประจำมิสซังโคชินไชนา และมุขนายกเกียรตินามแห่งเบรุต ผู้ร่วมก่อตั้งคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส และก่อตั้งคณะรักกางเขน.

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ โอเฌอโร

ร์ล ปีแยร์ ฟร็องซัว โอเฌอโร (Charles Pierre François Augereau) เป็นจอมพลแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง เขาเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการในสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส หลังเขานำกองทัพต่อต้านสเปนและเข้าเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาของนายพลนโปเลียน โบนาปาร์ตในอิตาลี หน้าที่การงานของเขาก็เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เขาเข้าร่วมการต่อสู้ในทุกยุทธการของสงครามนโปเลียนในปี 1796 โดยทำผลงานอย่างยอดเยี่ยม หลังนโปเลียนขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส นโปเลียนก็ยังคงไว้วางใจมอบหมายให้โอเฌอโรคุมกำลังสำคัญ แต่หลังนโปเลียนสิ้นอำนาจและถูกส่งตัวไปยังเกาะเอลบาแล้ว โอเฌอโรก็เข้าร่วมการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง แม้เขาจะย้ายข้างมาอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับนโปเลียน แต่เมื่อเขาได้ยินข่าวว่านโปเลียนสามารถหนีออกมาจากเกาะเอลบาได้และกำลังรวบรวมกองทัพใหม่ เขาได้เดินทางไปไปเข้าร่วมกับนโปเลียนแต่ถูกนโปเลียนจับกุมข้อหาทรยศแยะกักขังเขาไว้ ภายหลังจากที่นโปเลียนพ่ายแพ้และถูกส่งตัวไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา พระเจ้าหลุยส์ที่ 18ได้ขึ้นครองบัลลังก์ฝรั่งเศสโดยสมบูรณ์ ก็ทรงปลดโอเฌอโรออกจากทุกตำแหน่งในกองทัพและริบฐานันดรและเบี้ยหวัด โอเฌอโรเสียชีวิตที่บ้านของเขาในลาอูแซย์เมื่อมีอายุได้ 53 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์ โอเฌอโร · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง

ปีแยร์ เฟรดี บารง เดอ กูแบร์แต็ง (Pierre Frédy, Baron de Coubertin) เป็นขุนนางชั้นบารอนของประเทศฝรั่งเศส เป็นที่รู้จักในฐานะของผู้ก่อตั้งกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ และเป็นผู้ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล กูแบร์แต็งเกิดในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1863 ในตระกูลขุนนาง เป็นลูกคนที่ 4 ของบารอน Charles Louis de Frédy กับ Marie-Marcelle Gigault de Crisenoy เมื่อกูแบร์แต็งเติบโตขึ้น ก็ได้ไปศึกษาในโรงเรียนของสหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา และได้เห็นการศึกษาที่ดี ต่อมา เมื่อเป็นผู้ใหญ่ กูแบร์แต็งจึงเริ่มมีความคิดในการปฏิรูปการศึกษาในฝรั่งเศสให้ทันสมัยขึ้น กูแบร์แต็งเชื่อว่า ปัจจัยหนึ่งที่สามารถยกระดับการศึกษาฝรั่งเศสได้ก็คือ การศึกษาด้านกีฬา (sports education) ซึ่งจะช่วยพัฒนาศักยภาพของคนรุ่นใหม่ไฟแรงในยุคนั้น ส่วนตัวของกูแบร์แต็งเอง ก็มีความชื่นชอบในกีฬารักบี้ เขาได้เป็นกรรมการตัดสิบกีฬารักบี้ชิงชนะเลิศระดับประเทศฝรั่งเศสในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1892 ต่อมา ดร.

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์-ซีมง ลาปลัส

ปีแยร์-ซีมง มาร์กี เดอ ลาปลัส (Pierre-Simon, Marquis de Laplace,; 23 มีนาคม พ.ศ. 2292 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2370) นักคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในสมัยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ใหม่!!: ปารีสและปีแยร์-ซีมง ลาปลัส · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เดอ โฮค

ปีเตอร์ เดอ โฮค (Pieter de Hooch, Hoogh หรือ Hooghe; 20 ธันวาคม ค.ศ. 1629 (รับศีลจุ่ม) - ค.ศ. 1684) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ปีเตอร์ เดอ โฮคมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันและเป็นจิตรกรที่มีลักษณะการเขียนที่คล้ายคลึงกับโยฮันเนิส เฟอร์เมร.

ใหม่!!: ปารีสและปีเตอร์ เดอ โฮค · ดูเพิ่มเติม »

ปงอาแล็กซ็องดร์-ทรัว

ปงอาแล็กซ็องดร์-ทรัว หรือ สะพานอะเลคซันดร์ที่ 3 (Pont Alexandre-III) เป็นสะพานโค้งพาดผ่านแม่น้ำแซน เชื่อมต่อทั้งสองฝั่งแม่น้ำด้านฝั่งหอไอเฟลกับฝั่งช็องเซลีเซเข้าด้วยกัน โดยได้ถูกกล่าวขานว่าเป็นสะพานที่ประดับประดาไปด้วยงานศิลปะชั้นเลิศ และหรูหราที่สุดในปารีส โดยในปัจจุบันได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและปงอาแล็กซ็องดร์-ทรัว · ดูเพิ่มเติม »

ปงตวซ

ปงตวซ (Pontoise) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดวาล-ดวซในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส เมืองปงตวซเป็นเมืองปริมณฑลทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงปารีส ปงตวซเป็นที่ตั้งของมหาวิหารแซ็ง-มากลูแห่งปงตวซ.

ใหม่!!: ปารีสและปงตวซ · ดูเพิ่มเติม »

ปงเดซาร์

ปงเดซาร์ (Pont des Arts) เป็นสะพานคนเดินเท้าข้ามแม่น้ำแซนในปารีส เชื่อมระหว่างสถาบันแห่งฝรั่งเศส (Institut de France) กับจัตุรัสหน้าพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ชื่อสะพานตั้งชื่อตามชื่อของพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ซึ่งเคยมีชื่อเรียกว่า "ปาแลเดซาร์" (Palais des Arts) ในช่วงจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 เป็นสะพานเหล็กแห่งแรกที่สร้างขึ้นในปารีส สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นราว..

ใหม่!!: ปารีสและปงเดซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปงเนิฟ

ปงเนิฟ (Pont Neuf) แปลตรงตัวว่า "สะพานใหม่" ซึ่งมีความหมายตรงกันข้าม เพราะเป็นสะพานข้ามแม่น้ำแซนที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยถูกตั้งชื่อเพื่อแสดงให้เห็นความแตกต่างกับสะพานแบบเก่าที่มักจะมีบ้านพักอาศัยอยู่ริมสองข้างของราวสะพานในสมัยนั้น ปงต์เนิฟเป็นสะพานโค้งพาดผ่านแม่น้ำแซน ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของอีลเดอลาซีเตซึ่งเป็นเกาะกลางแม่น้ำแซนที่มีอยู่ตั้งแต่ยุคกลาง ตัวสะพานแบ่งออกเป็น 2 ช่วง โดยช่วงแรกประกอบด้วยฐานโค้งจำนวน 5 ฐานเชื่อมฝั่งซ้ายของแม่น้ำกับอีลเดอลาซีเต และช่วงที่สองประกอบด้วยฐานโค้งจำนวน 7 ฐาน เชื่อมจากเกาะไปยังฝั่งขวาของแม่น้ำ การก่อสร้างสะพานในยุคนั้นทำให้มีการสะสมของดินตะกอนแม่น้ำ ทำให้เกาะมีขนาดยาวขึ้นดั่งในปัจจุบัน ส่วนปลายที่แหลมที่สุดของอีลเดอลาซีเตเป็นที่ตั้งของจัตุรัสแวร์-กาล็อง ซึ่งเป็นสวนสาธารณะตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแด่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 โดยในปัจจุบันได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและปงเนิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ป่ากงเปียญ

ป่ากงเปียญ (Forêt de Compiègne) เป็นป่าใหญ่ในแคว้นปีการ์ดี ประเทศฝรั่งเศส ใกล้กับเมืองกงเปียญและอยู่ห่างจากกรุงปารีสขึ้นมาทางเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ปารีสและป่ากงเปียญ · ดูเพิ่มเติม »

นวน เจีย

นวน เจีย (2011) นวน เจีย (នួន ជា นวน ชา; เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1926) อาจรู้จักในชื่อ ลอง บุญรอด หรือ ฬง บุนรวต (ឡុង រិទ្ធិ ฬง ริทฺธิ; Long Bunruot) และมีชื่อภาษาไทยว่า รุ่งเลิศ เหล่าดี เป็นนักการเมืองสายคอมมิวนิสต์ของกัมพูชา เป็นผู้นำอันดับสองของเขมรแดงรองจากพล พต จนถูกเรียกกันว่า "พี่ชายหมายเลขสอง" หรือ "พี่รอง" เขาเป็นที่ต้องการตัวจากสหประชาชาติ เพื่อนำตัวไปดำเนินคดีข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา พร้อมกับเอียง ซารี, เขียว สัมพัน และเอียง ธิริธ (เขียว ธิริธ) ภริยาของนายเอียง ซารี โดยวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและนวน เจีย · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญจอร์จ (ราฟาเอล)

นักบุญจอร์จ (St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส ภาพ “นักบุญจอร์จ” เขียนในปี ค.ศ. 1504 ต่อมาระหว่าง ค.ศ. 1504 ถึง ค.ศ. 1506 ราฟาเอลเขียนภาพในหัวข้อเดียวกัน “นักบุญจอร์จและมังกร” (หอศิลป์แห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี.).

ใหม่!!: ปารีสและนักบุญจอร์จ (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล)

นักบุญจอร์จและมังกร (ภาษาอังกฤษ: Saint George and the Dragon) เป็นจิตรกรรมตู้ (cabinet painting) ซึ่งเป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในประเทศสหรัฐอเมริกา ราฟาเอลเขียนภาพ “นักบุญจอร์จและมังกร” ระหว่างปี ค.ศ. 1504 ถึงปี ค.ศ. 1506 ภาพนี้และภาพ “นักบุญจอร์จ” ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในปารีส และ “นักบุญไมเคิล” ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในปารีส มีความคล้ายคลึงกันสองประการ ประการแรกคือหัวเรื่องซึ่งทั้งสามภาพเป็นเรื่องของอัศวินหนุ่มที่ต่อสู่กับมังกร ประการที่สองคือลักษณะการเขียน ทั้งสามภาพจัดอยู่ในภาพเขียนสมัยฟลอเรนซ์ของราฟาเอลที่ได้รับอิทธิพลบางอย่างจากช่างเขียนแบบเออร์บิโนที่ทำงานอยู่ในหรือมีภาพเขียนในฟลอเรนซ์ในขณะนั้น แต่อิทธิพลส่วนใหญ่ของสามภาพนี้มาจากภาพเขียน “ยุทธการอันเกียริ” โดย เลโอนาร์โด ดา วินชี ที่พาลัซโซเวคคิโอ (Palazzo Vecchio) ซึ่งเป็นตัวอย่างของฉากการต่อสู้ในยุทธการ (สภาพของภาพเขียนเสื่อมลงอย่างรวดเร็วและในปัจจุบันไม่มีเหลือไห้เห็นแล้ว เพราะดา วินชีทดลองใช้วิธีการเขียนใหม่แต่ไม่ได้ผล) อิทธิพลอื่นก็เป็นภาพเขียนเฟล็มมิช --โดยเฉพาะภาพเขียนโดย เฮียโรนิมัส บอส ราฟาเอลใช้แสงสว่างจัดและลักษณะอัปลักษณ์ของสัตว์ในภาพที่เป็นลักษณะเด่นของงานเขียนของบอส -- ซึ่งทำให้เห็นว่างานจากทางเหนือของยุโรปยังมีอิทธิพลต่องานเขียนบริเวณเออร์บิโน ภาพเขียนนี้แสดงถึงอิทธิพลต่างๆ ที่ราฟาเอลได้ศึกษาและรับมา ในขณะเดียวกันก็แสดงถึงปัญหาทางการเขียนภาพซึ่งราฟาเอลยังประสพอยู่และมาแก้ไขและวิวัฒนาการในภาพต่างๆ ที่เขียนขึ้นต่อมา ภาพเขียนนี้เดิมเป็นงานเขียนชิ้นเอกของงานสะสมของปิแอร์ โครซาท์ ซึ่งขายผ่านเดนนิส ดิเดโรท์ (Denis Diderot) ให้แก่ พระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1772 ภาพเขียนตั้งแสดงอยู่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กราวร้อยห้าสิบปี และเป็นภาพที่นิยมที่สุดภาพหนึ่งในบรรดางานสะสมของพระเจ้าซาร์ แต่ในเดือนมีนาคมปี ค.ศ. 1931 บอลเชวิค (Bolsheviks) ขายภาพเขียนให้แก่แอนดรูว์ เมลลอน (Andrew Mellon) ผู้มอบให้แก่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: ปารีสและนักบุญจอร์จและมังกร (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญถือศีรษะ

นักบุญเดนิส นักบุญถือศีรษะ (Cephalophore) ในภาษาอังกฤษ "Cephalophore" มาจากภาษากรีกโบราณที่แปลว่า "ผู้ถือศีรษะ" หมายถึงนักบุญผู้ที่มักจะแสดงเป็นภาพผู้ถือศีรษะของตนเอง ที่โดยทั่วไปหมายถึงมรณสักขีในศาสนาคริสต์ที่ถูกสังหารโดยการบั่นคอ เมื่อถือศีรษะอยู่ในอ้อมแขนก็ทำให้ยากต่อจิตรกรในการพยายามวาดรัศมีที่เป็นสัญลักษณ์ว่าเป็นบุคคลศักดิ์สิทธิ์ ศิลปินบางคนก็วาดรัศมีในบริเวณที่เคยเป็นศีรษะ หรือบางครั้งนักบุญก็จะประคองศีรษะที่มีรัศมี ที่มาของการถือศีรษะมีด้วยกันสองแหล่ง ในความเห็นเกี่ยวกับนักบุญจูเวนตินัสและแม็กซิมัส นักบุญจอห์น คริสซอสตอมกล่าวว่าศีรษะของมรณสักขีเป็นสิ่งที่ทำให้เป็นที่สยดสยองแก่ปีศาจยิ่งไปกว่าเมื่อนักบุญสามารถพูดได้ และคริสซอสตอมเปรียบเทียบต่อไประหว่างทหารที่ได้รับบาดเจ็บในสนามรบกับผู้พลีชีพที่ประคองศีรษะของตนเองและถวายแก่พระเยซู อีกแหล่งหนึ่งมาจาก “ตำนานทอง” เกี่ยวกับประวัติชีวิตของนักบุญเดนิสผู้ก่อตั้งมุขมณฑลปารีสผู้ที่กล่าวกันว่าเป็นคนคนเดียวกับดิโอนิสิอัสผู้เป็นสมาชิกสภาอาเรโอปากัส ฉะนั้นนักบุญถือศีรษะคนแรกที่มีชื่อเสียงที่สุดก็เห็นจะเป็นนักบุญเดนิสนักบุญองค์อุปถัมภ์ปารีส ที่ใน “ตำนานทอง” บรรยายว่าแม้ว่าหลังจากที่ถูกตัดหัวแล้วก็ยังคงเดินต่อไปได้อีกเจ็ดไมล์ไปยังที่ที่เสียชีวิตที่มงมาตร์ขณะที่ดำเนินการเทศนาไปด้วย แม้ว่านักบุญเดนิสจะมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดาผู้ถือศีรษะของตนเอง แต่ก็ยังมีนักบุญอื่นอีกหลายองค์ที่อีมิล นูร์รีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับตำนานพื้นบ้านกล่าวว่ามีด้วยกันอย่างน้อยก็อีก 134 องค์เฉพาะในวรรณกรรมเกี่ยวกับนักบุญของฝรั่งเศสเท่านั้น การที่เรลิกของนักบุญมักจะถูกโขมยกันบ่อยครั้งในสมัยยุคกลางของยุโรป ฉะนั้นการที่นักบุญเองทำการระบุสถานที่ที่ตนต้องการที่จะฝังศพจึงอาจจะเป็นการช่วยหลีกเลี่ยง “การเคลื่อนย้ายเรลิก” (furta sacra หรือ Translation of relics) ก็เป็นได้.

ใหม่!!: ปารีสและนักบุญถือศีรษะ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเดนิส

นักบุญเดนิสแห่งปารีส เรียกโดยย่อว่านักบุญเดนิส (Dionysius; Denis de Paris เดอนี เดอ ปารี, Denis of Paris; Dionysius; Dennis; Denys) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 ในอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อราวปี..

ใหม่!!: ปารีสและนักบุญเดนิส · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (Premier ministre français) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลและคณะรัฐมนตรีของประเทศฝรั่งเศส ส่วนประมุขแห่งรัฐของประเทศฝรั่งเศสคือประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส การตัดสินใจหรือกฤษฎีกาของนายกรัฐมนตรี เสมือนกับการตัดสินใจทั้งหมดของฝ่ายบริหาร โดยรวมถึงหน้าที่การสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างๆ เพื่อให้ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง โดยจะถูกสอดส่องดูแลในระบบสภาโดยศาลปกครองสูงสุด (Conseil d'État) ซึ่งบางครั้งนายกรัฐมนตรีพึงรับคำปรึกษาก่อนจะประกาศใช้กฤษฎีกา เป็นที่รู้กันว่ารัฐมนตรีแต่ละท่านต้องการปกป้องนโยบายและโครงการในกระทรวงของตน แต่ก็ยังติดอยู่ที่งบประมาณ ซึ่งนายกรัฐมนตรีนี้เองเป็นคนชี้ขาดในเรื่องเหล่านี้ แม้ว่าบางครั้งประธานาธิบดีจะมีนาจและอิทธิพลเหนือกว่าก็ตาม เนื่องจากนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแลนโยบายของรัฐบาล เมื่อเกิดความผิดพลาดและล้มเหลวก็จะกลายเป็นผู้ที่ถูกประณามและตำหนิไปโดยปริยาย ผลที่ตามมาก็คือความนิยมที่มีสูงในช่วงแรกและลดฮวบลงขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หลายคนคิดว่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นการส่งเสริมความสำเร็จของประธานาธิบดี และยังเป็นที่โต้เถียงอย่างมากว่าเป็นตำแหน่งที่อันตรายเพราะความเป็นไปได้ของการลดความนิยม.

ใหม่!!: ปารีสและนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

นาดาร์

Nadar (self-portrait) นาดาร์ (Nadar) หรือ กัสปาร์ด-เฟลิกซ์ ตูร์นาคง (Gaspard-Félix Tournachon) (6 เมษายน พ.ศ. 2363 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2453) ไม่ได้เป็นที่รู้จักเฉพาะงานที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพเท่านั้น เขายังเป็นที่รู้จักในความมีพรสวรรค์ของเขาในด้าน นักวารสาร, นักแต่งนวนิยาย, นักประดิษฐ์บอลลูน และนักสังคม เขาเป็นชาวฝรั่งเศสผู้ที่แม้ว่าจะเริ่มต้นอย่างต่ำต้อยแต่เขาก็ก้าวสู่ระดับของสังคมที่สูงขึ้นได้.

ใหม่!!: ปารีสและนาดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นาซลี ศ็อบรี

มเด็จพระราชินีนาซลี (الملكة نازلي; พระราชสมภพ: 25 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – สวรรคต: 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) มีพระนามแต่แรกประสูติว่า นาซลี ศ็อบรี (نزلي صبري / نازلى صبرى‎ Nāzlī Ṣabrī; Nazlı Sabri) และหลังเข้ารีตคริสตังพระองค์มีพระนามทางศาสนาว่า แมรี อีลิซาเบท (Mary Elizabeth) เป็นพระราชินีและพระชายาพระองค์ที่สองในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ปารีสและนาซลี ศ็อบรี · ดูเพิ่มเติม »

นิกโกเลาะ ปากานีนี

นิกโกเลาะ ปากานีนี (Niccolò Paganini; 27 สิงหาคม ค.ศ. 1782 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1840) เป็นนักไวโอลิน วิโอลา กีตาร์ในยุคโรแมนติกชาวอิตาลีที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับถึงฝีมือการเล่นว่าเป็นที่หนึ่งในยุคนั้น ทั้งยังได้พัฒนาเทคนิคการสีไวโอลินแบบใหม่ เขายังมีผลงานประพันธ์โซนาตา คอนแชร์โต และคาปรีซสำหรับการเดี่ยวไวโอลินจำนวนหลายชิ้น ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ Caprice No. 24 นอกจากนี้ปากานินียังเป็นแรงบันดาลใจให้กับคีตกวีสำคัญในยุคต่อมา เช่น โยฮันเนส บราห์ม และ เซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ ปากานีนีหัดเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเล่นแมนโดลินของบิดา เริ่มเล่นไวโอลินเมื่ออายุ 7 ปี และเริ่มแสดงพรสวรรค์ออกมาจนได้รับทุนการศึกษาด้านดนตรี เมื่อโตขึ้นได้ย้ายไปเรียนไวโอลินที่ปาร์มา ก่อนจะย้ายไปฟลอเรนซ์ โดยมีชื่อเสียงในระดับท้องถิ่น ปากานีนีเริ่มมีชื่อเสียงในวงกว้างจากการเล่นคอนเสิร์ตที่โรงอุปรากรลา สกาลา เมืองมิลาน ในปี ค.ศ. 1813 ต่อมาได้เดินทางไปเล่นในต่างเมือง เช่นที่ เวียนนา ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและนิกโกเลาะ ปากานีนี · ดูเพิ่มเติม »

นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์

นิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์ (New7Wonders of the World) เป็นการริเริ่มตั้งแต่ปี 2543 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการรอบสหัสวรรษในการเลือกสิ่งมหัศจรรย์ของโลกจากการคัดเลือกอนุสรณ์สถานที่มีอยู่ 200 แห่ง การสำรวจความเห็นของประชาชนนี้มี Bernard Weber เป็นผู้นำ และมูลนิธิ New7Wonders เป็นผู้จัดระเบียบ ซึ่งเป็นองค์การตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ประกาศผลเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2550 ที่กรุงลิสบอน.

ใหม่!!: ปารีสและนิว7วันเดอส์ออฟเดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

นิทรรศการศิลปะตกรอบ

อาหารกลางวันบนลานหญ้า” โดยเอดวด มาเนท์ที่ถูกปฏิเสธโดยคณะกรรมการตัดสินของซาลอน นิทรรศการศิลปะตกรอบ (Salon des Refusés, Exhibition of rejects) คือนิทรรศการแสดงงานศิลปะที่ถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าแสดงในนิทรรศการศิลปะแห่งปารีส หรือ “ซาลอน” ซึ่งเป็นนิทรรศการศิลปะที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการโดยสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศสในกรุงปารีส แต่นิทรรศการศิลปะตกรอบครั้งสำคัญคือนิทรรศการศิลปะตกรอบของปี..

ใหม่!!: ปารีสและนิทรรศการศิลปะตกรอบ · ดูเพิ่มเติม »

นิทรรศการศิลปะแห่งปารีส

“เรือดานเต” (The Barque of Dante) โดย เออแฌน เดอลาครัวซ์ได้รับเข้าแสดงที่นิทรรศการศิลปะแห่งปารีสในปี ค.ศ. 1822 นิทรรศการศิลปะแห่งปารีส (Salon หรือ Salon de Paris, Paris Salon) ที่เริ่มขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและนิทรรศการศิลปะแห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

นิโคติน

นิโคติน (Nicotine) เป็นสารประกอบอัลคาลอยด์ชนิดหนึ่ง ไม่มีสี ซึ่งพบในต้นยาสูบทุกสายพันธุ์ และความเข้มข้นจะมีมากในใบยาสูบมากกว่าส่วนอื่นๆ เมื่อนำใบยาสูบมาตากแห้งแล้ว จะมีนิโคตินประกอบอยู่ 0.3-5% ของน้ำหนักทั้งหมด ปฏิกิริยาทางชีวเคมีจะเกิดขึ้นที่รากของต้น และเปลี่ยนมาสะสมที่ใบ นิโคตินมีฤทธิ์เป็นพิษกับระบบประสาท และถือเป็นยาฆ่าแมลงอย่างหนึ่ง แต่ถ้าได้รับในจำนวนไม่มาก จะก่อให้เกิดการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง แต่ถ้าได้รับในจำนวนมาก อาจจะถึงตายได้ โดยเมื่อได้รับมากถึงจำนวนหนึ่ง จะเปลี่ยนจากการกระตุ้นสมองเป็นการกดสมอง สารนิโคติน ยังสามารถพบได้ในพืชจำพวกอื่นอีกคือ พืชตระกูล Solanaceae (nightshade) ได้แก่ มะเขือเทศ, มันฝรั่ง, มะเขือม่วง, พริกไทยเขียว และในใบของต้น Coca แต่พบว่ามีจำนวนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับน้ำหนัก.

ใหม่!!: ปารีสและนิโคติน · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: ปารีสและนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โน

ซาดี การ์โน นีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โน (Nicolas Léonard Sadi Carnot; 1 มิถุนายน ค.ศ. 1796 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1832) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส และนายช่างวิศวกรประจำกองทัพ ซึ่งคิดค้นทฤษฎีเครื่องจักรความร้อนได้สำเร็จจริง จากงานวิจัยเรื่อง Reflections on the Motive Power of Fire ในปี..1824 ปัจจุบันทฤษฎีนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "วัฏจักรการ์โน" เป็นผู้วางรากฐานกฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ หรืออาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นนักอุณหพลศาสตร์คนแรกของโลก ซึ่งคิดค้นหลักการพื้นฐานต่าง ๆ มากมายเช่น ประสิทธิภาพการ์โน ทฤษฎีการ์โน เครื่องจักรความร้อนการ์โน เป็นต้น การ์โนเกิดในกรุงปารีส เป็นบุตรชายคนโตของนักเรขาคณิตและนายทหารผู้มีชื่อเสียง คือ ลาซาร์ นีกอลา มาร์เกอริต การ์โน (Lazare Nicholas Marguerite Carnot) น้องชายของเขาคือ อีปอลิต การ์โน (Hippolyte Carnot) ซึ่งเป็นบิดาของมารี ฟร็องซัว ซาดี การ์โน (Marie François Sadi Carnot ประธานาธิบดีของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ.1887-1894) เมื่อการ์โนอายุ 16 ปี (ค.ศ. 1812) ได้เข้าศึกษาที่วิทยาลัยโพลีเทคนิค École ที่ซึ่งมีอาจารย์ผู้มีชื่อเสียงเช่น ซีเมอง เดอนี ปัวซง (Siméon Denis Poisson) และอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ (André-Marie Ampère) หลังจบการศึกษาเขาได้เป็นนายทหารในกองทัพบกฝรั่งเศส ต่อมาจึงได้ให้ความสนใจในงานวิจัยทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะทฤษฎีเกี่ยวกับความร้อน ปี..1815 หลังจากนโปเลียนถูกโค่นอำนาจ พ่อของเขาก็ต้องลี้ภัย การ์โนต้องออกจากกองทัพฝรั่งเศส และใช้เวลาไปกับการวิจัยและเขียนหนังสือ การ์โนเผยแพร่บทความเรื่อง Réflexions sur la puissance motrice du feu ("Reflections on the Motive Power of Fire") ในปี..1824 ขณะอายุ 28 ปี ซึ่งเป็นยุคเครื่องจักรไอน้ำเฟื่องฟู บทความอธิบายถึงเครื่องจักรความร้อนในลักษณะต่างๆ โดยพยายามอธิบายเหตุผลว่า เครื่องจักรไอน้ำที่ใช้ไอน้ำความร้อนสูงจะทำงานได้ดีกว่าเนื่องจากอุณหภูมิของระบบที่สูงกว่าอุณหภูมิภายนอก ทฤษฎีของการ์โนไม่ได้ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องจักรไอน้ำ มันจึงไม่ค่อยได้รับความสนใจนัก การ์โนเสียชีวิตจากอหิวาตกโรคเมื่อปี ค.ศ. 1832 ขณะอายุเพียง 36 ปี เครื่องใช้ส่วนตัวรวมทั้งงานเขียนของเขาถูกนำไปฝังทั้งหมดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ จึงเหลืองานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏต่อมาในปัจจุบันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น งานเขียนของการ์โนเป็นที่รู้จักขึ้นมาเนื่องจากเอมีล กลาแปรง (Émile Clapeyron) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส นำไปปรับปรุงต่อยอดความคิดในปี..1834 หลังจากนั้น เคลาซิอุสและเคลวิน ได้พัฒนาแนวคิดเรื่องเอนโทรปีและกฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ ออกมาในที่สุด หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปารีสและนีกอลา เลออนาร์ ซาดี การ์โน · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์

นีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ (Nicolas de Largillière,; 10 ตุลาคม ค.ศ. 1656 - 20 มีนาคม ค.ศ. 1746) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยโรโคโคของคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพเหมือน บิดาผู้เป็นพ่อค้านำตัวเดอ ลาร์ฌีลีแยร์ไปเมืองแอนต์เวิร์ปตั้งแต่อายุเพิ่งได้ 3 ขวบ ระหว่างที่เป็นเด็กเดอ ลาร์ฌีลีแยร์ก็ได้ใช้เวลาถึงเกือบสองปีในลอนดอน หลังจากที่กลับมายังแอนต์เวิร์ปและประสบความล้มเหลวในด้านธุรกิจแล้ว เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ก็หันไปหาห้องเขียนภาพของกูโบ (Goubeau) เมื่ออายุได้ 18 ปีก็เดินทางไปหาช่องทางทำมาหากินในอังกฤษ เมื่อไปได้ทำความรู้จักและได้รับการจ้างจากเซอร์ปีเตอร์ เลลีเป็นเวลาสี่ปีที่วินด์เซอร์ในบาร์กเชอร์ ความสามารถของเดอ ลาร์ฌีลีแยร์เป็นที่สนใจของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ผู้ที่มีพระราชประสงค์ที่จ้างไว้เป็นจิตรกรประจำราชสำนัก แต่การคบคิดไรย์เฮาส์ต่อผู้ถือนิกายโรมันคาทอลิกสร้างความหวาดหวั่นให้แก่เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ ผู้ที่ย้ายไปอยู่ปารีส และไปได้รับการชื่นชมจากเลอ เบริง และฟาน เดอร์ มอยเล็น ในที่สุด เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ก็เริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้น การใช้สีอันสดใสและการเขียนที่เป็นเชิงมีชีวิตชีวาเป็นที่ต้องใจของบุคคลสำคัญในยุคนั้นเป็นอันมาก ไม่ว่าจะเป็นนักแสดง ข้าราชการ และนักเทศน.

ใหม่!!: ปารีสและนีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

นีลส์ เฮนริก อาเบล

นีลส์ เฮนริก อาเบล (Neils Henrik Abel) เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1802 เสียชีวิต 6 เมษายน ค.ศ. 1829 เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นบางท่านยกย่องอาเบลว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของสแกนดิเนเวีย อย่างไรก็ตามอาเบลเสียชีวิตด้วยอายุเพียง 26 ปี และเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตอาภัพที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการคณิตศาสตร์ เคียงคู่ไปกับ เอวารีสต์ กาลัว (เสียชีวิตเมื่ออายุ 20 ปี), รามานุจัน (เสียชีวิตเมื่ออายุ 33 ปี) และ โซฟี่ แชร์แมง (เสียชีวิตโดยที่ไม่มีโอกาสได้ทราบว่าตนเองได้รับปริญญากิตติมศักดิ์) อาเบลและเพื่อนนักคณิตศาสตร์ร่วมสมัยคือ เกาส์และโคชี่ มีส่วนร่วมเป็นอย่างสูงในการพัฒนาคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ซึ่งแตกต่างจากคณิตศาสตร์สมัยเก่าตรงที่มีการพิสูจน์อย่างเคร่งครัดในทุกทฤษฎีบท.

ใหม่!!: ปารีสและนีลส์ เฮนริก อาเบล · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล บุลกานิน

นีโคไล อะเลคซันโดรวิช บุลกานิน (Никола́й Алекса́ндрович Булга́нин; Nikolai Alexandrovich Bulganin; 11 มิถุนายน 2438 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองโซเวียต เป็น ผู้บัญชาการประชากลาโหม แห่งสหภาพโซเวียตภายใต้รัฐบาลโจเซฟ สตาลิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2498) และประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต (1955-1958) ภายใต้รัฐบาล นีกีตา ครุชชอฟ.

ใหม่!!: ปารีสและนีโคไล บุลกานิน · ดูเพิ่มเติม »

นครลักเซมเบิร์ก

ทัศนียภาพกรุงลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) เป็นเมืองหลวงของราชรัฐลักเซมเบิร์ก ในเมืองยังมีสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์อย่าง ปราสาทลักเซมเบิร์ก ที่สร้างโดยชนแฟรงค์ในช่วงยุคกลางตอนต้นในบริเวณที่เริ่มก่อตั้งเมือง เมืองลักเซมเบิร์กตั้งอยู่ใจกลางของยุโรปตะวันตกตั้งอยู่ห่างจากกรุงบรัสเซลส์ 188 กม., ห่างจากกรุงปารีส 289 กม., ตั้งอยู่ห่างจากโคโลญ 190 กม.

ใหม่!!: ปารีสและนครลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ปารีสและนครวัด · ดูเพิ่มเติม »

นครศักดิ์สิทธิ์

นครศักดิ์สิทธิ์ (holy city) เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางที่มีประวัติศาสตร์ทางศาสนาและความเชื่อ ส่วนใหญ่จะมีที่สำคัญอยู่อย่างน้อยหนึ่งแห่ง (มักจะเป็นสิ่งที่สำคัญต่อศาสนา เช่น สิ่งปลูกสร้าง, รูปปั้น, ความเชื่อ ฯลฯ) ซึ่งทำให้เกิดการจาริกแสวงบุญ เมืองศักดิ์สิทธิ์เป็น เมืองที่มีสัญลักษณ์ ทีเกี่ยวข้องกับศาสนาและความเชื่อ.

ใหม่!!: ปารีสและนครศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: ปารีสและนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

นโรดม นรินทเดช

ระองค์เจ้านโรดม นรินทเดช (Norodom Norindeth) เป็นเชื้อพระวงศ์ในสายสกุลนโรดมของกัมพูชา และเป็นนักการเมืองระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและนโรดม นรินทเดช · ดูเพิ่มเติม »

นโปเลียนที่ 2

นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและนโปเลียนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

น็อกซ์

น็อกซ์ เป็นสำนักงานสถาปนิกออกแบบ ก่อตั้งมาตั้งแต่ต้นปีคริสต์ศักราช 1900 โดยโมรีซ นีโอ และลาร์ส สปุยโบรก งานของน็อกซ์เน้าการผสมผสานกันระหว่างสถาปัตยกรรมและสื่อหลากหลายประเภท ซึ่งสำนักงานออกแบบนี้ได้พัฒนาความเป็นไปได้ในการสร้างอาณาเขตทางสถาปัตยกรรมที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้.

ใหม่!!: ปารีสและน็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

น้องโรส บ้านเจริญสุข

น้องโรส บ้านเจริญสุข เป็นนักมวยไทยสาวประเภทสองระดับแถวหน้าของประเทศ ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็นน้องตุ้ม 2 ทั้งนี้ น้องโรสมีผลงานเป็นแชมป์สนามมวยราชดำเนิน ในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท รวมถึงเป็นแชมป์รุ่นเดียวกันคนสุดท้ายของรายการศึกยอดมวยไทยรั.

ใหม่!!: ปารีสและน้องโรส บ้านเจริญสุข · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเต้าลม

น้ำเต้าลม (Nepenthes thorelii) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของอินโดจีน เรารู้น้อยมากเกี่ยวกับมัน แม้แต่นักอนุกรมวิธานยังติดป้ายชื่อของ N. thorelii ผิดบ่อยๆในการค้าต้นไม้.

ใหม่!!: ปารีสและน้ำเต้าลม · ดูเพิ่มเติม »

แบร์นาแด็ต ชีรัก

แบร์นาแด็ต ชีรัก (Bernadette Chirac; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 —) อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ภรรยานายฌัก ชีรัก ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลจากปารีส หมวดหมู่:สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2476.

ใหม่!!: ปารีสและแบร์นาแด็ต ชีรัก · ดูเพิ่มเติม »

แบลซ ปัสกาล

แบลซ ปัสกาล แบลซ ปาสกาล (Blaise Pascal) เกิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2166 (ค.ศ. 1623) ที่เมืองแกลร์มง (ปัจจุบันคือเมืองแกลร์มง-แฟร็อง) ประเทศฝรั่งเศส เสียชีวิตเมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2205 (ค.ศ. 1662) ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส แบลซ ปาสกาล คือนักคณิตศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักปรัชญาผู้เคร่งครัดในศาสนา ปัสกาลเป็นเด็กที่มหัศจรรย์มีความรู้เหนือเด็กทั่วๆ ไปโดยได้ศึกษาเล่าเรียนจากพ่อของเขาเอง ปัสกาลจะตื่นทำงานแต่เช้าตรู่ท่ามกลางธรรมชาติโดยมักเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ที่ซึ่งมีส่วนสำคัญในการสร้างเครื่องคิดเลขและการศึกษาเกี่ยวกับของเหลว ทำให้เขาเข้าใจความหมายของความดันและสุญญากาศด้วยการอธิบายของเอวันเจลิสตา ตอร์รีเชลลี ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของกาลิเลโอ ปัสกาลเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่โด่งดังที่สุดในวงการคณิตศาสตร์ เขาสร้างสองสาขาวิชาใหม่ในการทำรายงาน เขาเขียนหนังสือที่สำคัญบนหัวข้อผู้ออกแบบเรขาคณิตเมื่ออายุเพียง 16 ปีและยังติดต่อกับปีแยร์ เดอ แฟร์มา ในปี พ.ศ. 2197 (ค.ศ. 1654) เกี่ยวกับทฤษฎีความน่าจะเป็น ความมั่นคง อิทธิพลของการพัฒนาของเศรษฐกิจสมัยใหม่และวิทยาศาสตร์สังคม ประสบการณ์อันน่ามหัศจรรย์ในปี พ.ศ. 2197 (ค.ศ. 1654) ปัสกาลออกจากวงการคณิตศาสตร์และฟิสิกส์โดยอุทิศตัวเพื่องานเขียนเกี่ยวกับปรัชญาและศาสนา งานของเขามีชื่อเสียงมากในช่วงเวลานั้นคือ แล็ทร์พรอแว็งซียาล (Lettres provinciales) และป็องเซ (Pensées) อย่างไรก็ตามเขาได้รับโรคร้ายเข้าสู่ร่างกาย และได้เสียชีวิตหลังจากงานวันเกิดครบรอบอายุ 39 ปีเพียงสองเดือน ผลงานการค้นด้านฟิสิกส์ที่สำคัญ คือ การตั้งกฎของพาสคัล การประดิษฐ์บารอมิเตอร์ และเครื่องอัดไฮดรอลิก.

ใหม่!!: ปารีสและแบลซ ปัสกาล · ดูเพิ่มเติม »

แบด (ทัวร์)

แบด เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ครั้งแรกของไมเคิล แจ็กสัน โดยเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1987 - 27 มกราคม ค.ศ. 1989 รอบโลก โดยมีผู้สนับสนุนโดยเป๊ปซี่ เป็นเวลา 16 เดือน มี 123 รอบในแฟนๆ 4.4 ล้านคนจาก 15 ประเทศที่ทำสถิติผู้ชมคอนเสิร์ตทัวร์มากที่สุดในปี 1987.

ใหม่!!: ปารีสและแบด (ทัวร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงโคโฟนเกมส์

แฟรงโคโฟนเกมส์ (Francophone Games) หรือ เฌอเดอลาฟร็องกอฟอนี (Jeux de la Francophonie) เป็นการแข่งขันกีฬาประเภทหนึ่งในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาหลัก ซึ่งจัดขึ้นทุก 4 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและแฟรงโคโฟนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรนเซียม

มาร์เกอริต เปอแร ผู้ค้นพบแฟรนเซียม แฟรนเซียม (Francium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 87 สัญลักษณ์ Fr แฟรนเซียมเคยเป็นที่รู้จักในชื่อ เอคา-ซีเซียม และ แอกทิเนียม Kไอโซโทปที่ไม่เสถียรน้อยที่สุดจริง ๆ คือ แฟรนเซียม-223 มันเป็นหนึ่งในสองธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่ำที่สุด อีกหนึ่งคือ ซีเซียม แฟรนเซียมเป็นกัมมันตรังสีอย่างสูง สามารถสลายไปเป็นแอสทาทีน เรเดียม และเรดอนได้ ด้วยที่มันเป็นโลหะแอลคาไล มันจึงมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ยังไม่เคยมีใครเห็นแฟรนเซียมเป็นก้อนในปริมาณมากเลย คุณสมบัติทั่วไปของธาตุอื่น ๆ ในแถวเดียวกัน ทำให้นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าแฟรนเซียมเป็นโลหะที่สะท้อนแสงได้สูง ถ้าเก็บแฟรนเซียมมาไว้รวมกันเป็นก้อนหรือของเหลวปริมาณมากพอ การได้สารตัวอย่างดังกล่าวมานั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากความร้อนจากการสลายตัว (ครึ่งชีวิตของไอโซโทปที่ยาวนานที่สุดคือเพียง 22 นาที) จะทำให้ธาตุปริมาณมากพอที่จะมองเห็น กลายเป็นไอได้ แฟรนเซียมถูกค้นพบโดยมาร์เกอริต เปอแรที่ฝรั่งเศส (ซึ่งได้นำมาตั้งเป็นชื่อธาตุนี้) ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาและพระสวามี แกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาแห่งรัสเซีย (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2452 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) เป็นพระธิดาองค์ที่สองในแกรนด์ดยุคคิริล วลาดิมิโรวิชแห่งรัสเซียและแกรนด์ดัชเชสวิกตอเรีย เฟโอโดรอฟนา และเป็นพระชายาในเจ้าชายหลุยส์ เฟอร์ดินานด์แห่งปรัสเซี.

ใหม่!!: ปารีสและแกรนด์ดัชเชสคิรา คิริลลอฟนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470 - 10 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และ เจ้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระชายาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเบลเยียมทั้งสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย ในฝ่ายพระราชชนนี เจ้าหญิงเป็นพระญาติใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีของพระราชชนนี สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระญาติชั้นที่สองในพระราชวงศ์สวีเดนตามลำดั.

ใหม่!!: ปารีสและแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แมกซ์ ฟอน ซีโดว

ร์ล อดอล์ฟ "แมกซ์" ฟอน ซีโดว นักแสดงอาวุโสชาวสวีเดน มีผลงานการแสดงภาพยนตร์หลายสิบเรื่อง สามารถพูดได้หลายภาษาทั้งภาษาสวีเดน นอร์เวย์ อังกฤษ อิตาลี เยอรมัน เดนมาร์ก และสเปน ฟอน ซีโดว ได้ถือสัญชาติฝรั่งเศสเพิ่มเติมจากสัญชาติสวีเดน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ปารีสและแมกซ์ ฟอน ซีโดว · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

ใหม่!!: ปารีสและแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

แมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา (ภาษาอังกฤษ: Mary of Modena) (5 ตุลาคม ค.ศ. 1658 – 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1718) สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนามีพระนามเต็มว่า แมรี เบียทริส เอเลเนอร์ แอนนา มาร์เกอริตา อิสซาเบลลา เดสเต (Maria Beatrice Eleanor Anna Margherita Isabella d'Este) ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1658 ที่วังดยุก โมดีนา ประเทศอิตาลี เป็นพระธิดาของอัลฟองโซที่ 4 ดยุกแห่งโมดีนาและลอรา มาร์ตินอซซิ เป็นพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1688 และสิ้นพระชนม์เมื่อ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1718 ที่วังซองเจอร์เมนอองเลย์ ปารีส ฝรั่งเศส พระศพอยู่ที่ Chaillot สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาไม่ทรงเป็นที่นิยมของประชาชนอังกฤษเพราะทรงเป็นเป็นโรมันคาทอลิก เป็นพระมารดาของ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต ประสูติเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและแมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมารกับนักบุญยอห์นแบปติสต์

ระแม่มารีและพระบุตรในสวน หรือ พระแม่มารีและพระบุตรและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ (La belle jardinière หรือ Madonna and Child with Saint John the Baptist) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันบนไม้ที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส “พระแม่มารีและพระบุตรในสวน” เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1507 ที่ได้รับจ้างโดยฟาบริซิโอ แซร์การ์ดิชาวเซียนา เป็นภาพของพระแม่มารี, พระบุตร และนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์เมื่อยังเด็ก ภาพนี้เป็นภาพพระแม่มารีที่มีความสำคัญที่สุดในบรรดาจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี ราฟาเอลศึกษางานของเลโอนาร์โด ดา วินชีและนำเทคนิคการเขียนของดา วินชีมาใช้ในงานเขียนของตนเอง ลักษณะเด่นของภาพนี้อยู่ที่การใช้ความตัดกันของแสงเงาและ ความดูสบายๆ ของตัวแบบในฉากที่เป็นสวนที่เห็นได้ชัดว่าเป็นอิทธิพลของดา วินชี.

ใหม่!!: ปารีสและแม่พระและพระกุมารกับนักบุญยอห์นแบปติสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แม็ส

แม็ส (Metz) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นลอแรน เมืองหลักของจังหวัดโมแซลในประเทศฝรั่งเศส เมืองแม็สตั้งอยู่ทางตรงที่แม่น้ำโมแซลมาบรรจบกับแม่น้ำแซย์ และเป็นนครหลวงโบราณของอาณาจักรออสเตรเซียของราชวงศ์กาโรแล็งเชียง โดยมีมรดกทางวัฒนธรรมเป็นโบราณสถานซึ่งเชื่อมโยงประวัติศาสตร์ของเมืองย้อนไปกว่า 3000 ปี รวมไปถึงศิลปกรรมในยุคที่ถูกยึดครองโดยจักรวรรดิเยอรมนีช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ซึ่งปรากฏชัดบริเวณย่านจักรวรรดิ (Le quartier impérial) แม้ว่าในประวัติศาสตร์น็องซีจะเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรดยุคแห่งลอแรน แต่แม็สได้รับเลือกให้เป็นเมืองหลวงของแคว้นลอแรนที่ตั้งขึ้นใหม่ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะความที่เคยเป็นเมืองหลวงของโลทาริงเกี.

ใหม่!!: ปารีสและแม็ส · ดูเพิ่มเติม »

แรง

ในทางฟิสิกส์ แรง คือ อันตรกิริยาใด ๆ เมื่อไม่มีการขัดขวางแล้วจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุไป แรงที่สามารถทำให้วัตถุซึ่งมีมวลเปลี่ยนแปลงความเร็ว (ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนที่จากภาวะหยุดนิ่ง) กล่าวคือ ความเร่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้พลังงาน แรงยังอาจหมายถึงการผลักหรือการดึง แรงเป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดหรือทิศทาง วัดได้ในหน่วยของนิวตัน โดยใช้สัญลักษณ์ทั่วไปเป็น F ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กล่าวว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับอัตราของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ถ้ามวลของวัตถุเป็นค่าคงตัว จากกฎข้อนี้จึงอนุมานได้ว่าความเร่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในทิศทางของแรงลัพธ์และเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของวัตถุ แนวคิดเกี่ยวกับแรง ได้แก่ แรงขับซึ่งเพิ่มความเร็วของวัตถุให้มากขึ้น แรงฉุดซึ่งลดความเร็วของวัตถุ และทอร์กซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการหมุนของวัตถุ ในวัตถุที่มีส่วนขยาย แรงที่ทำกระทำคือแรงที่กระทำต่อส่วนของวัตถุที่อยู่ติดกัน การกระจายตัวของแรงดังกล่าวเป็นความเครียดเชิงกล ซึ่งไม่ทำให้เกิดความเร่งของวัตถุมื่อแรงสมดุลกัน แรงที่กระจายตัวกระทำบนส่วนเล็ก ๆ ของวัตถุอาจเรียกได้ว่าเป็นความดัน ซึ่งเป็นความเคลียดอย่างหนึ่งและถ้าไม่สมดุลอาจทำให้วัตถุมีความเร่งได้ ความเครียดมักจะทำให้วัตถุเกิดการเสียรูปของวัตถุที่เป็นของแข็งหรือการไหลของของไหล.

ใหม่!!: ปารีสและแรง · ดูเพิ่มเติม »

แร็งส์

แร็งส์ (Reims) เป็นเมืองในจังหวัดมาร์นในแคว้นช็องปาญาร์แดนในประเทศฝรั่งเศส เมืองแร็งส์ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส ราว 129 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของปารีส แร็งส์ก่อตั้งขึ้นโดยกอลและกลายมาเป็นเมืองสำคัญระหว่างสมัยจักรวรรดิโรมัน ต่อมาแร็งส์ก็มามีบทบาทสำคัญต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสในการเป็นสถานที่สำหรับการทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มหาวิหารนอเทรอดามแห่งแร็ง.

ใหม่!!: ปารีสและแร็งส์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์ซาย

แวร์ซาย (Versailles) เป็นเมืองที่โด่งดังในฐานะที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังแวร์ซาย แวร์ซายเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฝรั่งเศสโดยพฤตินัยเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรรษ นับจาก..

ใหม่!!: ปารีสและแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

แอมานุแอล รีวา

แอมานุแอล รีวา เมื่อปี ค.ศ. 2012 แอมานุแอล รีวา (Emmanuelle Riva; 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 – 27 มกราคม ค.ศ. 2017) เป็นนักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศส รีวาเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 27 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและแอมานุแอล รีวา · ดูเพิ่มเติม »

แอร์บัส เอ300

แอร์บัส เอ 300 (Airbus A300) แอร์บัส เอ 300 เป็นเครื่องบินพาณิชย์ลำตัวกว้างที่มีพิสัยบินสั้นถึงปานกลางโดยบริษัทแอร์บัส โดยเป็นครั้งแรกของเครื่องบินขนาดลำตัวกว้างที่มีเพียงสองเครื่องยนต์ โดยสามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ถึง 266 ที่นั่ง โดยจัดแบ่งเป็น 2 ประเภทชั้นโดยสาร และมีพิสัยการบินถึง 4,070 ไมล์ทะเล (7,540 กิโลเมตร) เมื่อบรรทุกเต็มอัตรา แอร์บัส เอ 300 ขึ้นบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1972 และเริ่มรับผู้โดยสารเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1974 โดยสายการบินแอร์ฟรานซ์ ในเส้นทาง ปารีส-ลอนดอน ซึ่งแอร์บัสรุ่นนี้มีคุณสมบัติ มีเสียงเงียบและประหยัดเชื้อเพลิงกว่าเครื่องบินเจ๊ตโดยสารในขนาดเดียวกันทั้ง ดีซี-10 และ อิล-86 เพราะแอร์บัส เอ 300 ใช้เครื่องยนต์เพียง 2 เครื่องเท่านั้น แอร์บัส เอ 300 สิ้นสุดการผลิตในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและแอร์บัส เอ300 · ดูเพิ่มเติม »

แอร์บัส เอ380

รื่องบิน แอร์บัส A380 เป็นเครื่องบินห้องโดยสารสองชั้นขนาดใหญ่ ผลิตโดยแอร์บัสแอสอาแอส เครื่องบินสี่เครื่องยนต์ลำนี้สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 800 คน หรือ 500 คนถ้าวางที่นั่งแบบ 3 ชั้นผู้โดยสารตามเครื่องบินพาณิชย์ปกติ เครื่องบินรุ่นนี้ได้ผ่านกำหนดการทดสอบการบินเที่ยวแรกในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2548 โดยบินขึ้นจากเมืองตูลูส ประเทศฝรั่งเศส และได้ส่งมอบให้สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายการบินแรกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์บัส เอ380 · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟรานซ์

แอร์ฟรานซ์ (Air France) (Compagnie Nationale Air France) เป็นสายการบินหนึ่งของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (Air France-KLM) แอร์ฟรานซ์เป็นสายการบินประจำชาติของฝรั่งเศส ปัจจุบันได้เข้าร่วมกิจการกับสายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) สายการบินประจำชาติของเนเธอร์แลนด์ โดยใช้ชื่อว่า "แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม" และแอร์ฟรานซ์เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสกายทีม.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์ฟรานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 เป็นเที่ยวบินที่บินจากท่าอากาศยานรีโอเดอจาเรโน กาเลโอ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล สู่ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ เดอ โกลล์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่หายไปจากจอเรดาร์ขณะบินอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยได้รับการยืนยันแล้วว่าผู้โดยสาร 228 ชีวิตบนเครื่องเสียชีวิตทั้งหมด เที่ยวบินนี้ (บินด้วยเครื่อง แอร์บัส เอ 330-203) ออกจากท่าอากาศยานในกรุงริโอเดอจาเนโรเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 เมื่อเวลา 19.03 น. ตามเวลาท้องถิ่น (เวลา 22.03 น. ตามเวลา UTC) มีการติดต่อครั้งสุดท้ายจากลูกเรือถึงผู้ควบคุมการจราจรของบราซิลเมื่อเวลา 01.33 น. (UTC) เมื่อเครื่องบินกำลังจะเข้าใกล้ระยะตรวจตราของเรดาร์ของบราซิลเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก มุ่งหน้าสู่น่านฟ้าของ ประเทศเซเนกัล ริมชายฝั่ง ทวีปแอฟริกาตะวันตก ต่อจากนั้น 40 นาทีมีข้อความอัตโนมัติความยาว 4 นาทีส่งมาจากเครื่องบิน ข้อความเหล่านั้นแสดงให้เห็นคำเตือนและปัญหามากมายบนเครื่อง สำหรับความหมายที่แท้จริงของข้อความนั้นกำลังอยู่ในระหว่างการสืบสวน หลังจากเครื่องสูญเสียการติดต่อกับผู้ควบคุมทางอากาศหรือภาคพื้นดิน การค้นหาจึงเริ่มขึ้น จากข้อความ 4 นาทีที่ส่งมาจากเครื่องทำให้สามารถระบุได้ว่าเครื่องน่าจะสูญหายหลังจากข้อความนั้น ต่อมาวันที่ 6 มิถุนายน มีการพบศพและซากบางส่วนของเครื่องบิน 680 ไมล์ (1,090 กิโลเมตร) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเฟอร์นันโด เดอ โนโรนฮา บริเวณชายฝั่งบราซิล ซากเครื่องบินที่พบนั้นมีกระเป๋าเอกสารที่ภายหลังได้รับการยืนยันว่าเป็นของเที่ยวบินนี้ ต่อจากนั้นมีการพบศพอีก 39 ศพ ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตรวมเป็น 41 ศพเท่าที่มีการยืนยันครั้งแรก และยืนยันในเวลาต่อมาเป็น 219 ศพ ซึ่งถือเป็นอุบัติเหตุทางการบินครั้งร้ายแรงที่สุดของแอร์ฟรานซ์ ที่เกินกว่าความเสียหายเที่ยวบินการกุศล Château de Sully และเป็นความเสียหายที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่าครั้งของ แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590 เสียอีก หายนะนี้ยังเป็นความเสียหายครั้งแรกนับแต่เครื่องบิน แอร์บัส เอ 330 เริ่มใช้งานเมื่อ 16 ปีก่อนอีกด้วย ผลการสอบสวนชี้ให้เห็นว่า เครื่องบินประสบปัญหาด้านสภาพอากาศ โดยเที่ยวบินนี้ไม่ได้หลีกเลี่ยงการบินฝ่าพายุฝนฟ้าคะนองหนาแน่นโดยไม่ทราบเหตุผล อีกทั้งนักบินยังมีปัญหาอื่นๆในห้องนักบินอีกหลายประการ เช่น ขณะวิกฤตการณ์ผู้บังคับเครื่องทั้งสองคนเป็นนักบินผู้ช่วย(F/O)ส่วนกัปตันไปพักผ่อน และการตั้งค่าเรดาห์ตรวจอากาศไม่ถูกต้องซึ่งเมื่อนักบินแก้ไขค่าของเรดาห์แล้วพบว่าเครื่องบินกำลังบินอยู่ท่ามกลางพายุ แม้นักบินทั้งสองจะเปลี่ยนเส้นทางบินเล็กน้อยเพื่อหลีกเลี่ยงศูนย์กลางพายุแต่ก็ไม่ช่วยให้สถานการณ์ดีขึ้นมากนัก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของพายุทำให้ความหนาแน่นของอากาศต่ำกว่าที่นักบินประเมินไว้ก่อนขึ้นบินทำให้ไม่สามารถเพิ่มระดับเพดานบินได้อีก นักวิทยาศาสตร์ได้อธิบายว่า ขณะที่เครื่องบินบินผ่านพายุในระดับความสูงกว่า 35,000 ฟุตนั้น เครื่องบินได้พบกับปฏิกิริยาที่เรียกว่า Super cold water ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่น้ำมีอุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งปกติแต่กลับยังคงมีสถานะเป็นของเหลว ซึ่งเมื่อไอน้ำในอากาศซึ่งมีลักษณะ Super cold สัมผัสกับผิวเครื่องบินซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่าทำให้เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งจับตัวกันบนผิวเครื่องบิน ซึ่งในกรณีนี้คือท่อปิโต (Pitot probe) ซึ่งมีหน้าที่วัดความเร็วในอากาศของเครื่องบิน (Air speed) ทำให้คอมพิวเตอร์สูญเสียความสามารถในการวัดความเร็ว คอมพิวเตอร์ได้แจ้งเตือนนักบินและออกจากระบบการบินอัตโนมัติ (auto pilot) นอกจากนี้คอมพิวเตอร์บนเครื่องบินยังแจ้งความผิดพลาดอีกหลายส่วนเข้ามาในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยไม่ทราบเหตุผล นักบินผู้ช่วยคนหนึ่งได้ดึงคันบังคับเข้าหาตัวซึ่งทำให้เครื่องบนเชิดหัวขึ้นและเพิ่มระดับขึ้นไปจากเดิมกว่า 700 เมตร จนกระทั่งเครื่องบินสูญเสียความเร็วจนต่ำกว่าความเร็วการบินต่ำสุด ซึ่งคอมพิวเตอร์ได้ส่งเสียงเตือนการ stall ถึง 75 ครั้ง แต่นักบินกลับเพิกเฉยต่อสัญญาณเตือนและยังคงดึงคันบังคับเข้าตัวตลอดเวลา ทำให้เครื่อง stall และสูญเสียระดับความสูงอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งกระทบพื้นน้ำมหาสมุทรแอตแลนติกที่ความเร็วกว่า 200 ไมล์ต่อชั่วโมง ภายในเวลา 3 นาทีครึ่ง เครื่องบินสูญเสียความสูงกว่า 35,000 ฟุต (ประมาณ 10 กิโลเมตร) หรืออัตราประมาณ 10,000 ฟุตต่อนาที ในช่วงสุดท้ายก่อนกระทบพื้นน้ำ นักบินเกือบช่วยชีวิตคนทั้งหมดไว้ได้ เมื่อนักบินผู้ช่วยอีกคนหนึ่งให้สัญญาณขอเข้าควบคุมเครื่องบิน (หลังจากทราบว่าเครื่อง stall อันเนื่องมาจากนักบินอีกคนดึงคันบังคับไว้ตลอดเวลา) โดยกดหัวเครื่องบินลงเพื่อเพิ่มความเร็ว แต่ความสูง 2,000 ฟุต ไม่มากพอจะเพิ่มความเร็วของเครื่องบินได้ทัน การค้นหากล่องบันทึกการบินและเครื่องบันทึกการสนทนาภายในห้องนักบิน(CVR) ถูกพบหลังจากเหตุการณ์เครื่องบินตกเกือบ 2 ปี ที่ความลึกกว่า 1.2 กิโลเมตร ซึ่งจากข้อมูลของ CVR ทำให้ทราบว่า เกิดความสับสนของนักบินผู้ช่วยทั้งสองคนตลอดเวลาที่เข้าควบคุมเครื่อง และตลอดการเกิดวิกฤตการณ์ กัปตันก็ไม่ได้เข้าควบคุมเครื่องบิน อีกทั้งข้อมูลการสนทนายังทำให้ทราบว่า นักบินเพิกเฉยต่อสัญญาญเตือนการร่วงหล่น (Stall) อย่างเห็นได้ชัด ไม่มีการพูดถึงและไม่มีใครถาม จนกระทั่งไม่กี่วินาทีสุดท้.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590

แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับสายการบินแอร์ฟรานซ์ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 เดินทางจากปารีส ไปนิวยอร์ก ด้วยเครื่องบินคองคอร์ด ขณะเครื่องบินกำลังบินขึ้น เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินได้แจ้งนักบินว่าเห็นเพลิงไหม้ที่ด้านท้ายเครื่อง นักบินได้ตรวจสอบแล้วแจ้งว่า เกิดปัญหากับเครื่องยนต์หมายเลข 1 อีก 4 วินาทีต่อมานักบินได้แจ้งว่าเกิดปัญหากับเครื่องยนต์หมายเลข 2 ด้วย สัญญาณเตือนไฟไหม้ดังขึ้นในห้องนักบิน นักบินพยายามนำเครื่องไปร่อนลงที่สนามบินใกล้เคียงข้าง เครื่องบินสูญเสียความเร็ว ดิ่งหัวลงสู่โรงแรม เกิดไฟไหม้อย่างรุนแรง มีผู้เสียชีวิต 113 คน เป็นผู้โดยสาร 100 คน ลูกเรือ 9 คน และผู้ที่อยู่ในโรงแรมที่คองคอร์ดตกใส่อีก 4 คน จากผลการสอบสวนสรุปว่าสาเหตุการตก เกิดจากมีชิ้นส่วนโลหะที่หลุดออกมาจากเครื่องบินดีซี-10 ของคอนติเนนตัลแอร์ไลน์ ซึ่งบินขึ้นก่อนหน้านั้น 4 นาที กระแทกกับยางล้อด้านซ้ายของคองคอร์ด ขณะกำลังเร่งเครื่องเพื่อเทคออฟ ยางล้อเกิดระเบิดและมีชิ้นส่วนของยางกระเด็นไปกระแทกถังน้ำมัน และสายไฟ และเกิดไฟลุกไหม้ขึ้น หน่วยงานความปลอดภัยทางการบินได้สั่งระงับคองคอร์ดทุกเที่ยวบินเพื่อสอบสวนหาสาเหตุและแก้ไข คองคอร์ดเที่ยวบินแรกหลังอุบัติเหตุ ทำการบินทดสอบเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590 · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ม็องทรูดแห่งออร์เลอ็อง

ออร์เมนทูจแห่งออร์เลออง สมเด็จพระราชินีแห่งแฟรงค์ตะวันตก (Ermentrude d'Orléans) (9 กันยายน ค.ศ. 823-6 ตุลาคม ค.ศ. 869) ทรงอภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาร์ลส์เศียรล้านพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันตก มีพระโอรสธิดาด้วยกันดังนี้.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์ม็องทรูดแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อาร์มีเนีย

แอร์อาร์มีเนีย CJSC (Էյր Արմենիա) เป็นสายการบินขนส่งผู้โดยสารมีที่ทำการที่ เยเรวาน อาร์มีเนีย มีท่าอากาศยานหลักคือ ท่าอากาศยานนานาชาติซวาทนอทส์ ใน เยเรวาน.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์อาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

แอร์แม็ส

ร้านแอร์เม็สในกรุงโตเกียว แอร์เม็ส (Hermès) เป็นยี่ห้อผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง น้ำหอมและแฟชั่น ของฝรั่งเศส โดยบริษัทแม่อยู่ที่ปารีส และมีร้านค้าในเมืองใหญ่ต่าง ๆ ทั่วโลก หมวดหมู่:บริษัทของฝรั่งเศส หมวดหมู่:ธุรกิจแฟชั่น หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2380.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์แม็ส · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เออแอร์

แอร์เออแอร์ (RER, ย่อมาจาก Réseau Express Régional, "Regional Express Network") เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงปารีสและปริมณฑล โดยในปัจจุบันมีจำนวน 5 เส้นทาง สร้างขึ้นเพื่อรองรับส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าปารีสในอนาคต.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์เออแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เออแอร์ สายอา

แอร์เออแอร์ สาย A เป็นหนึ่งในห้าเส้นทางของรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์เออแอร์ สายอา · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เออแอร์ สายเบ

แอร์เออแอร์ สาย B เป็นหนึ่งในห้าเส้นทางของรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยเปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1977 ระยะทางรวม 47 สถานี ผู้โดยสาร 165,100,000 เที่ยวคนต่อปี.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์เออแอร์ สายเบ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เออแอร์ สายเออ

แอร์เออแอร์ สาย E เป็นเส้นของรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส วิ่งจากสถานีโอสมาน – แซ็ง-ลาซาร์ (E1) ไปยังสถานีแชล-กูร์แน (E2) และสถานีตูร์น็อง (E4) ปัจจุบันดำเนินการโดย SNCF.

ใหม่!!: ปารีสและแอร์เออแอร์ สายเออ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เออแอร์ สายเซ

แอร์เออแอร์ สาย C เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส สีประจำเส้นทางคือสีเหลือง ปัจจุบันมีการดำเนินการโดยแอ็สแอนเซแอ็ฟ (SNCF) วิ่งจากเขตชานเมืองทางตะวันตกเฉียงเหนือที่สถานีปงตวซ (C1) ไปยังชานเมืองตะวันออกเฉียงใต้ ที่สถานีมาซี-ปาแลโซ (C2).

ใหม่!!: ปารีสและแอร์เออแอร์ สายเซ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์เอเชีย เอกซ์

รื่องบินของสายการบินแอร์เอเชีย เอกซ์รุ่นแอร์บัส เอ 340-300 แอร์เอเชีย เอกซ์ เป็นสายการบินต้นทุนต่ำ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท แอร์เอเชีย เอกซ์ จำกัด โดยเริ่มมีการให้บริการครั้งแรกในวันที่ 2 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและแอร์เอเชีย เอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอดการ์ เดอกา

“ภาพเหมือน” (ราวปี ค.ศ. 1854) โดย แอดการ์ เดอกา แอดการ์ เดอกา (Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 - 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่ากอร์ดอนและฟอร์จ,..

ใหม่!!: ปารีสและแอดการ์ เดอกา · ดูเพิ่มเติม »

แอปเปิลสโตร์

แอปเปิลสโตร์ (Apple Store) เป็นร้านค้าปลีกของบริษัทแอปเปิลสำหรับวางจำหน่ายสินค้าของบริษัท เช่น แมคบุ๊กโปร, ไอแมค, ไอพอด, ไอแพด, ไอโฟน และยังมีบริการซ่อม จำหน่ายอุปกรณ์เสริมต่างๆ พร้อมบริการ จีเนียสบาร์ ให้คำแนะนำการใช้งานและบริการของบริษัท ขณะนี้มีแอปเปิลสตอร์ราว 495 แห่งทั่วโลกแล้ว.

ใหม่!!: ปารีสและแอปเปิลสโตร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ ฟอม รัท

แอนสท์ ฟอม รัท แอนสท์ แอดวร์ด ฟอม รัท (Ernst Eduard vom Rath, 3 มิถุนายน 1909 - 9 พฤศจิกายน 1938) เป็นเจ้าหน้าที่การทูตของนาซีเยอรมนี ตกเป็นที่รู้จักจากการถูกลอบสังหาร ที่กรุงปารีสในปี 1938 โดย เฮอร์เชล กรินสปัน วัยรุ่นชาวโปแลนด์เชื้อสายยิว ซึ่งทำให้นาซีเยอรมนีได้ใช้เป็นข้ออ้างในการทำร้ายชาวยิวและโจมตีทำลายร้านค้าและธรรมศาลาของยิวหลายแห่งในเยอรมนีที่เป็นที่รู้จักกันคือ คืนกระจกแตก (Kristallnacht) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2452 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2481 หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:บุคคลจากแฟรงก์เฟิร์ต.

ใหม่!!: ปารีสและแอนสท์ ฟอม รัท · ดูเพิ่มเติม »

แอนอเมริกันอินปารีส

แอนอเมริกันอินปารีส (An American in Paris) เป็นซิมโฟนิกโพเอ็ม ผลงานประพันธ์ของจอร์จ เกิร์ชวินในปี..

ใหม่!!: ปารีสและแอนอเมริกันอินปารีส · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งน้ำอุฟส์นูร์

แอ่งน้ำอุฟส์นูร์ เป็นพื้นที่แอ่งปิดล้อมที่อยู่เหนือสุดของเอเซียกลาง ได้ชื่อตามทะเลสาบอุฟส์นูร์ (Uvs Nuur Lake) ทะเลสาบที่กว้าง ตื้น และเค็มมาก มีความสำคัญต่อนกอพยพ นกน้ำ และนกทะเล แหล่งนี้ประกอบด้วยพื้นที่อนุรักษ์ ๑๒ พื้นที่ เป็นตัวแทนของเขตชีวภาพสำคัญของยูเรเซีย (Eurasia) ตะวันออก ระบบนิเวศแบบสเต็ปป์ (stepep) รองรับความหลากหลายอย่างมากของนก ทะเลทรายเป็นที่อยู่อาศัยของตัวเจอร์บิล (gerbil) เจอร์บัว (jerboa) และโพลแคทลายหินอ่อน (marbled polecat) ที่หายาก ภูเขาเหล่านี้เป็นที่หลบภัยของสัตว์โลกที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์คือเสือดาวหิมะ (snow leopard) แกะภูเขา (อาร์กาลี argali) และเอเซียติก ไอเบ็กซ์ (Asiatic ibex แพะภูเขาขนิดหนึ่ง).

ใหม่!!: ปารีสและแอ่งน้ำอุฟส์นูร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ (Hector Berlioz) เป็นคีตกวี นักเขียน และนักวิจารณ์ชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) ที่เมืองลาโกตแซ็งต็องเดร จังหวัดอีแซร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1869) ที่กรุงปารีส เขาเป็นหนึ่งในคีตกวีคนสำคัญในยุคโรแมนติกของทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ปารีสและแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ · ดูเพิ่มเติม »

แถบ นีละนิธิ

ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ปารีสและแถบ นีละนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

แท็กซี่

รถแท็กซี่ในซานฟรานซิสโก แท็กซี่ เป็นการโดยสารสาธารณะประเภทหนึ่งสำหรับผู้โดยสารคนเดียว หรือกลุ่มเล็ก ๆ รถแท็กซี่เป็นยานพาหนะไว้สำหรับว่าจ้างโดยผู้ขับจะส่งผู้โดยสารระหว่างที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งตามที่ผู้โดยสารอยากจะไป แท็กซี่ เป็นคำย่อมาจาก แท็กซี่ แค็บ คิดค้นโดยแฮร์รี่ เอ็น อัลเลน นักธุรกิจชาวนิวยอร์กที่นำเข้ารถแท็กซี่มาจากฝรั่งเศส โดยย่อมาจากคำว่า แท็กซี่มิเตอร์ แค็บ อีกที ส่วนคำว่า cab มาจากคำว่า cabriolet คือรถม้าลากจูง และคำว่า taxi เป็นรากศัพท์ภาษาละตินในยุคกลาง ซึ่งมาจาก คำว่า taxa ที่หมายถึง ภาษีหรือการคิดเงิน และคำว่า meter มาจากภาษากรีกคำว่า metron แปลว่า วัดระยะทาง.

ใหม่!!: ปารีสและแท็กซี่ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงเวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2532 แขวงเวียงจันทน์เดิมได้แบ่งออกเป็น 2 แขวง คือ แขวงเวียงจันทน์ปัจจุบันและนครหลวงเวียงจันทน์ที่มีเขตตัวเมืองเวียงจันทน์ซึ่งเป็นเมืองหลวงตั้งอยู่ หลังจากแบ่งออกเป็นสองแขวงแล้ว พื้นที่ส่วนที่เหลือยังคงเรียกว่าแขวงเวียงจันทน์ และได้ย้ายศูนย์กลางการปกครองของแขวงมาอยู่ที่เมืองโพนโฮง แทนตัวเมืองเวียงจันทน์ชั้นในซึ่งอยู่ในเขตนครหลวงเวียงจันทน.

ใหม่!!: ปารีสและแขวงเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

แดมบา บา

แดมบา บา (Demba Ba) เกิดวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและแดมบา บา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอาลซัส

อาลซัส (Alsace) หรือ แอลซ็อส (อัลเซเชียน: Elsàss) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต์) ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนทางทิศตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส และทางทิศตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ติดกับประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองสทราซบูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาประเทศฝรั่งเศสกับเยอรมนีผลัดกันครอบครองแคว้นอาลซัสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 20 เดิมอาลซัสเคยเป็นของเยอรมนี แต่หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ฝรั่งเศสแย่งแคว้นอาลซัสและลอแรนไปจากเยอรมนีทำให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนไม่พอใจฝรั่งเศส จึงเกิดสงครามฝรั่งเศส-อาลซัสและสงครามฝรั่งเศส-ลอแรน โดยฝรั่งเศสต้องสู้กับชาวอาลซัสและชาวลอแรน แต่ในที่สุดฝรั่งเศสก็สามารถปราบชาวอาลซัสและลอแรนลงได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคว้นอาลซัสค่อย ๆ ถูกปรับปรุงในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และกลายเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส บ่อยครั้งที่แคว้นอาลซัสได้ถูกกล่าวรวมกับแคว้นลอแรน เนื่องจากการครอบครองดินแดนของแคว้นทั้งสอง (อาลซัส-ลอแรน) เป็นที่เลื่องชื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเยอรมนีรวมกับปรัสเซียและไซลีเซียเข้าโจมตีฝรั่งเศสและสามารถยึดอาลซัสและลอแรนคืนมาได้ระยะหนึ่ง พอเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝรั่งเศสซึ่งชนะสงครามจึงเอาอาลซัสและลอแรนคืนมา หลังจากนั้นในสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมันได้เข้ายึดปารีสและขู่ให้ฝรั่งเศสยกอาลซัสและลอแรนคืนให้เยอรมนี อาลซัสและลอแรนจึงกลับเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง เมื่อเยอรมนีนาซีแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็คืนอาลซัส-ลอแรนแก่ฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นชาวเยอรมันในอาลซัสและลอแรนก็ประท้วงกันอีกครั้ง รัฐบาลฝรั่งเศสต้องคอยปราบปรามเลยยอมให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนใช้ภาษาเยอรมันได้ในที่สุด แต่ชาวเยอรมันบางกลุ่มไม่พอใจยังก่อการร้ายในอาลซัสอยู่เรื่อยมาจนเป็นปัญหาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอาลซัสเป็นของฝรั่งเศสอย่างสมบรูณ์ แม้ว่าแคว้นอาลซัสจะเป็นแคว้นที่มีคนพูดภาษาเยอรมันอยู่มากทางประวัติศาสตร์ แต่ปัจจุบันชาวอาลซัสก็สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 25 ของประชากรพื้นเมืองสามารถพูดภาษาอัลเซเชียน (Alsatian) โดยเป็นภาษาแม่หรือภาษาเยอรมัน (เป็นภาษาที่ 2).

ใหม่!!: ปารีสและแคว้นอาลซัส · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์

อีล-เดอ-ฟร็องส์ (Île-de-France) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บริเวณกลางประเทศเยื้องไปทางทางทิศเหนือ.

ใหม่!!: ปารีสและแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นของประเทศฝรั่งเศส

แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (région) ปัจจุบันมีทั้งหมด 18 แคว้น ซึ่งอยู่ในประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ 12 แคว้น บนเกาะคอร์ซิกา 1 แคว้น และแคว้นโพ้นทะเลอีก 5 แคว้น แคว้นในประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่และบนเกาะคอร์ซิกายังแบ่งการบริหารย่อยเป็นจังหวัด (département) อีกโดยมีจำนวนระหว่าง 2-13 จังหวัด ส่วนแคว้นโพ้นทะเลแต่ละแคว้นมีเพียง 1 จังหวั.

ใหม่!!: ปารีสและแคว้นของประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นคันธาระ

แผนที่เอเชียใต้ แสดงภาพแคว้นอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่ามหาชนบท แคว้นคันธาระ อยู่ในหุบเขาเปศวาร์ ประเทศปากีสถาน ซึ่งอยู่ระหว่างเทือกเขาสุไลมานติดพรมแดนของอัฟกานิสถานและมีแม่น้ำสินธุไหลขนาบข้างด้วย ดินแดนนี้ได้รับวัฒนธรรมอินเดียและผสมกับวัฒนธรรมกรีกไซเธียน ปาร์เธียน และกุษาณะ ซึ่งอยู่รอบคันธาระเป็นเหตุให้เกิดศิลปะแบบคันธาระ และภาษาคันธารี ดังนั้นแคว้นนี้จึงถือเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาสมัยโบราณ ซึ่งมีการค้นพบธรรมบทภาษาคันธารีที่ค้นพบใน เมืองโขตาน เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ของจีนนอกจากนั้นยังพบคัมภีร์ใบลานและเปลือกไม้ ขณะนี้เก็บไว้ที่ภาควิชาตะวันออกศึกษา ณ สถาบันวิทยาศาสตร์กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย และมีบางส่วนเก็บไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส คัมภีร์ที่พบในอัฟกานิสถานว่าด้วยเรื่องปฐมเทศนา คำสวดมนต์ เป็นต้น เก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติกรุงคาบูล อัฟกานิสถาน จากนั้นตามฝาผนังถ้ำก็มีรูปพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเจริญสมาธิภาวนา ห่มผ้าสีขาวอมเหลืองด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและแคว้นคันธาระ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโรนาลป์

รนาลป์ (Rhône-Alpes; ฟร็องโก-พรอว็องซาล: Rôno-Arpes; Ròse Aups) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์) ตั้งอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส ทิศเหนือติดกับแคว้นบูร์กอญและฟร็องช์-กงเต ทิศตะวันตกติดกับแคว้นโอแวร์ญ ทิศใต้ติดกับแคว้นล็องก์ด็อก-รูซียงและพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ส่วนทางทิศตะวันออกติดกับประเทศสวิตเซอร์แลนด์และอิตาลี แคว้นโรนาลป์ได้ชื่อมาจากแม่น้ำโรนและเทือกเขาแอลป์ มีเมืองหลวงคือลียง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นลำดับที่สองของประเทศฝรั่งเศส รองลงมาจากกรุงปารีส แคว้นโรนาลป์นี้ยังเป็นสถานที่ตั้งของยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปตะวันตกอีกด้วยซึ่งก็คือยอดเขามงบล็อง ภายในแคว้นมีแม่น้ำสองสายไหลผ่านคือแม่น้ำโรนและแม่น้ำโซน ซึ่งมาบรรจบกันที่เมืองหลวงลียง ทั้งยังมีแม่น้ำอาร์แด็ชอีกด้วย และยังพรมแดนติดต่อกับทะเลสาบเจนีวาและทะเลสาบอานซี ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการในแคว้นโรนาลป์ แต่มีภาษาท้องถิ่นที่พูดกันมากอยู่สองภาษาคือภาษาฟร็องโก-พรอว็องซาล ซึ่งถูกจัดว่าเป็นภาษาใกล้สูญพันธุ์และภาษาอ็อกซิตัน ประชาชนบางส่วนเป็นประชาชนอพยพมาจากประเทศโปแลนด์ อิตาลี โปรตุเกส และแอฟริกาเหนือ.

ใหม่!!: ปารีสและแคว้นโรนาลป์ · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).

ใหม่!!: ปารีสและแคทเธอรีน เดอ เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

แคนแคน

นักเต้นแคนแคน ภาพวาดโดยตูลูส-โลแตร็ก‎ ปี 1895 ภาพการเต้นแคนแคนที่มูแลงรูจ โดยตูลูส-โลแตร็ก ปี 1889 Offenbach ''Can-can'' แคนแคน (cancan, ก็องก็อง แปลว่า อื้อฉาว; สะกด can-can) เป็นรูปแบบการแสดงเต้นระบำในห้องโถง ประกอบดนตรีจังหวะเต้นรำ โดยใช้นักเต้นสตรีสวมกระโปรงยาว มีกระโปรงลูกไม้ซับใน สวมถุงน่องและรองเท้าส้นสูง นักเต้นจะเต้นด้วยท่าทางยั่วยวนผู้ชมที่เป็นชาย โดยเปิดชายกระโปรงให้เห็นกางเกงชั้นใน และเตะขาขึ้นสูง หรือกระโดดแยกขา สลับกับการเคลื่อนไหวร่างกาย ดนตรีที่ใช้ประกอบการเต้น มักใช้เพลงกาล็อพ (galop, ม้าควบ) ในจังหวะ 2/4 เพลงที่นิยมใช้ คือเพลง ของชาก ออฟเฟนบาค หรือเพลงอื่นๆ ของโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง การเต้นแบบแคนแคนเกิดขึ้นครั้งแรกราวทศวรรษ 1830 การเต้นบอลรูมของชนชั้นผู้ใช้แรงงานในย่านมงต์ปาร์นาส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยนักเต้นชาย แต่เป็นที่นิยมเต้นในช่วงทศวรรษ 1890 เป็นการเต้นแสดงโดยนักเต้นหญิง โดยเฉพาะการแสดงที่โรงละครมูแลงรูจ ที่ตั้งอยู่ในย่านโคมแดงในมงมาร์ต นักเต้นหญิงที่มีชื่อเสียง เช่น La Goulue และ Jane Avril ที่มีปรากฏอยู่ในภาพวาดแบบโพสต์อิมเพรสชันนิสม์ของอองรี เดอ ตูลูส-โลแตร็ก เป็นจำนวนมาก การเต้นแคนแคนที่มูแลงรูจเป็นที่นิยมจนถึงทศวรรษ 1920 และเป็นที่รู้จักในวงกว้างจากละครเวทีเรื่อง Can-can (1953) โดยโคล พอร์ตเตอร์ จัดแสดงที่บรอดเวย์ และเวสต์เอนด์ และภาพยนตร์ในปี 1960 นำแสดงโดยแฟรงก์ ซินาตรา และเชอร์ลี แมคเลน.

ใหม่!!: ปารีสและแคนแคน · ดูเพิ่มเติม »

แคนเซอร์แคมปัส

แคนเซอร์แคมปัส (Cancer Campus) เป็นวิทยาเขตที่ทำการวิจัยและปรับปรุงด้านวิทยามะเร็งซึ่งตั้งอยู่ในวิลล์จูฟใกล้กับกรุงปารีส และได้เปิดตัวขึ้นในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและแคนเซอร์แคมปัส · ดูเพิ่มเติม »

แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ หรือ เจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ (Caroline Mathilde; 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2294 — 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2318) ทรงดำรงพระอิศริยยศสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ ตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรินแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แคทเธอรินแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Catherine of Valois) (27 ตุลาคม ค.ศ. 1401 – 3 มกราคม ค.ศ. 1437) แคทเธอรินประสูติเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ. 1401 ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสและอิสซาเบลลาแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (Isabella of Bavaria) ทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ และทรงได้รับการราชาภิเษกเป็นพระราชินีเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1421 เป็นพระราชินีระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1420 - 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422 แคทเธอรินสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1437 ที่ลอนดอนในราชอาณาจักรอังกฤษ.

ใหม่!!: ปารีสและแคเธอรินแห่งวาลัว สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล

แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (Saint-Germain-en-Laye) เป็นเมืองในจังหวัดอีฟว์ลีนในอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลตั้งอยู่ทางตะวันตกของปริมณฑลปารีสของฝรั่งเศส โดยระยะทางราว 19 กิโลเมตรจากใจกลางของปารีส ชาวแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลเรียกว่า "แซ็ง-แฌร์มานัว" (Saint-Germanois) แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์รวมทั้งการเป็นลงนามอย่างเป็นทางของสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลในปี..

ใหม่!!: ปารีสและแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล · ดูเพิ่มเติม »

แซ็ง-เดอนี

แซ็ง-เดอนี (Saint-Denis) เป็นเทศบาลของชานเมืองตอนเหนือของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากศูนย์กลางของกรุงปารีส 9.4 กม.

ใหม่!!: ปารีสและแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งฟอนีฟ็องตัสติก

ียนแฮร์เรียต สมิทสัน ขณะรับบทเป็น โอฟีเลีย แซ็งฟอนีฟ็องตัสติก: เอปิซอดเดอลาวีดูว์นาร์ติสต...อ็องแซ็งก์ปาร์ตี (Symphonie Fantastique: Épisode de la vie d'un Artiste...en cinq parties) หรือมักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า แซ็งฟอนีฟ็องตัสติก (Symphonie fantastique) เป็นโปรแกรมซิมโฟนีที่แต่งโดยแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ คีตกวีคนสำคัญของฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและแซ็งฟอนีฟ็องตัสติก · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งต์-ชาแปล

แซ็งต์-ชาแปล (La Sainte-Chapelle, The Holy Chapel) เป็นโบสถ์น้อยของนิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่กรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างแบบสถาปัตยกรรมกอทิก แซ็งต์-ชาแปลอาจจะถือกันว่าเป็นงานชิ้นที่งดงามที่สุดของสถาปัตยกรรมแรยอน็องซึ่งเป็นสมัยหนึ่งของสถาปัตยกรรมกอทิก.

ใหม่!!: ปารีสและแซ็งต์-ชาแปล · ดูเพิ่มเติม »

แนบ พหลโยธิน

แนบ พหลโยธิน แนบ พหลโยธิน อดีตนักการเมืองและหนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 แนบ พหลโยธิน เป็นบุตรของ พลโท พระยาพหลโยธินรามินทรภักดี (นพ พหลโยธิน) บิดาเป็นพี่ชายของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) จบการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย (โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปัจจุบัน) จบการศึกษาเนติบัณฑิต ประเทศอังกฤษ ระหว่างการศึกษาอยู่ยังประเทศอังกฤษนั้น ได้ร่วมกับนักเรียนไทยที่ประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศสส่วนหนึ่ง ก่อตั้งคณะราษฎรขึ้นมา โดยที่แนบ ถือเป็นสมาชิกรุ่นแรก ที่มีด้วยกันทั้งหมด 7 คน ซึ่งนอกจากนายแนบแล้ว ยังประกอบด้วย ปรีดี พนมยงค์, ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ, จรูญ สิงหเสนี, ประยูร ภมรมนตรี, ร้อยโท ทัศนัย มิตรภักดี และตั้ว ลพานุกรม ในการประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 ถนนซอมเมอราร์ด กรุงปารีส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและแนบ พหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่พ่ายแพ้การสู้รบในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและในพื้นที่กึ่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จากนั้นสงครามจึงดำเนินเข้าสู่การสู้รบทางอากาศระหว่างเยอรมนีกับสหราชอาณาจักร ซึ่งทวีความรุนแรงมากที่สุดในช่วงยุทธการที่บริเตน ช่องที่สองคือช่วงของการสู้รบภาคพื้นดินขนาดใหญ่ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 จากการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี และดำเนินไปจนกระทั่งสามารถปลดปล่อยกรุงปารีสและฝรั่งเศลให้พ้นจากนาซีเยอรมัน ต่อมาสามารถเอาชนะเยอรมนีได้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 แม้ว่าพลทหารเยอรมันส่วนมากจะเสียชีวิตในแนวรบด้านตะวันออก แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในแนวรบด้านตะวันตกแทบจะไม่สามารถทดแทนกลับคืนมาได้ เนื่องจากทรัพยากรสงครามส่วนมากของเยอรมนีถูกโยกย้ายไปใช้ในแนวรบด้านตะวันตก ซึ่งหมายความได้ว่าในแนวรบด้านตะวันออกมีการเสริมกำลังและทรัพยากรเพื่อยืดระยะเวลาการสู้รบออกไปได้ ในขณะที่แนวรบด้านตะวันตกมีการส่งกำลังเสริมและทรัพยากรทดแทนเพื่อหยุดยั่งการรุกคืบของฝ่ายสัมพันธมิตรได้เพียงน้อยนิด การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีนับได้ว่าส่งสัญญาณเชิงจิตวิทยาในแง่ลบให้แก่กองทัพและผู้นำของนาซีเยอรมนีอย่างมาก เนื่องจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เกรงกลัวสถานการณ์ที่เยอรมนีถูกขนาบด้วยการสู้รบจากแนวรบทั้งสองด้าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ปารีสและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร

ผู้อพยพตามแนวชายแดนของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา; พ.ศ. 2522 - 2527 ค่ายของแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรแสดงด้วยสีดำ แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร (រណសិរ្សរំដោះជាតិខ្មែរ รณสิรฺสรํเฎาะชาติขฺแมร; Khmer People’s National Liberation Front) เป็นกองกำลังต่อต้านรัฐบาลในกัมพูชาที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์ลามาดแลน

โบสถ์ลามาดแลน (L'église de la Madeleine) มีชื่อเรียกเต็มว่า โบสถ์นักบุญมารีย์ชาวมักดาลา (L'église Sainte-Marie-Madeleine) เรียกกันอย่างลำลองในฝรั่งเศสว่า มาดแลน เป็นโบสถ์สำคัญในคริสตจักรนิกายโรมันคาทอลิก ในสังกัดอัครมุขมณฑลปารีส ที่สร้างอุทิศแก่นักบุญมารีย์ชาวมักดาลา ถือเป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 8 ติดกับจัตุรัสเดอลากงกอร์ด ทางด้านทิศใต้ ทิศตะวันออกติดกับจัตุรัสว็องโดม และทิศตะวันตกติดกับโบสถ์แซ็ง-โอกุสแต็ง ตัวอาคารเป็นแบบเทวสถานโรมันทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ประกอบไปด้วยเสาโรมันสูง 20 เมตร จำนวน 52 ต้น โดยนำแบบมาจากแมซงกาเร อันเป็นเทวสถานยุคโรมันที่สมบูรณ์ที่สุด ที่หลงเหลือจนถึงปัจจุบัน หน้าจั่วเป็นรูปปั้นนูนสูงฝีมือของเลอแมร์ บอกเล่าเรื่องราวของการพิพากษาครั้งสุดท้าย ประตูโบสถ์ทำจากทองแดงสลักนูนต่ำเรื่องราวของบัญญัติสิบประการ ภายในประกอบไปด้วยทางเดินกลาง ด้านบนมีโดม จำนวน 3 โดม ไม่มีแขนกางเขน อันเป็นแบบวิหารโรมันทั่วไป ด้านในตกแต่งประดับประดาแบบห้องอาบน้ำตามสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และเหนือแท่นบูชามีรูปปั้นนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาขึ้นสวรรค์ ด้านบนเป็นภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังบอกเล่าประวัติของศาสนาคริสต์ ''แมซงกาเร'' ณ เมืองนีม ภายในโบสถ์ หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในปารีส หมวดหมู่:โบสถ์คริสต์ในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปารีสและโบสถ์ลามาดแลน · ดูเพิ่มเติม »

โบดวง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญ

วง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญ.

ใหม่!!: ปารีสและโบดวง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญ · ดูเพิ่มเติม »

โกลด มอแน

กลด มอแน (Claude Monet) หรือ อ็อสการ์-โกลด มอแน (Oscar-Claude Monet; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1926) giverny.org.

ใหม่!!: ปารีสและโกลด มอแน · ดูเพิ่มเติม »

โกลด ปงปีดู

โกลด ปงปีดู (Claude Pompidou; เกิด 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส) เป็นภริยาของฌอร์ฌ ปงปีดูประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสคนที่ 19 ถือเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศสคนที่ 18 ตั้งแต่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2512 – 2 เมษายน พ.ศ. 2517 กโกลด ปงปีดู หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2455.

ใหม่!!: ปารีสและโกลด ปงปีดู · ดูเพิ่มเติม »

โกลด เดอบูว์ซี

กลด เดอบูว์ซี ที่วิลลาเมดิจิ กรุงโรม ค.ศ. 1885 เดอบูว์ซีคือคนกลางแถวบน ใส่เสื้อคลุมสีขาว โกลด-อาชีล เดอบูว์ซี (Claude-Achille Debussy) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล และเสียชีวิตที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918).

ใหม่!!: ปารีสและโกลด เดอบูว์ซี · ดูเพิ่มเติม »

โกโก ชาแนล

CHANEL N°5 โกโก หรือ กาเบรียล ชาแนล (Gabrielle Bonheur "Coco" Chanel) (19 สิงหาคม พ.ศ. 2426-10 มกราคม พ.ศ. 2514) เป็นนักออกแบบเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายและเครื่องประทินความงามชาวฝรั่งเศส เป็นตัวอย่างนักแฟชั่นในศตวรรษที่ 20 และเป็นผู้ก่อตั้งผลิตภัณฑ์ ชาแนล ของฝรั่งเศสเดิมชื่อ กาเบรียล บอเนอร์ ชาแนล เมื่อเธอเริ่มโตเกิดปัญหาการเงินในครอบครัวเธอจึงต้องไปร้องเพลงในคาเฟ่เพื่อหาเงินเลี้ยงชีพ วันหนึ่งเธอร้องเพลง กิตาวู โกโก เป็นที่ถูกใจของผู้ฟัง และเรียกร้องให้เธอร้องอีกโดยตะโกนว่า "โกโก ชาแนล" ตั้งแต่บัดนั้นคนก็รู้จักเธอในนาม "โกโก ชาแนล" เธอเริ่มเปิดร้านขายหมวกในปารีส(Coco Chanel เปิดร้านขายหมวกแห่งแรกใน Deauville ในปีค.ศ. 1909) และเริ่มคิดค้นน้ำหอมทั้ง 10 กลิ่นโดยกลิ่นที่เธอชอบและเป็นกลิ่นที่ขายดีที่สุดคือ ชาแนลนัมเบอร์ไฟว์ ชาแนลเป็นผู้ริเริ่มให้ผู้หญิงใส่กางเกงเป็นคนแรก และเธอก็คิดค้นสูทของผู้หญิงมีชื่อเรียกว่า ชาแนลสูท สัญลักษณ์ของชาแนลคือรูปดอกคามีเลีย สีขาว เพราะเป็นดอกไม้ที่ชาแนลชอบนำติดตัวไปในงานแสดงเสื้อของเธอโดยเธอมักจะนำมาทัดไว้ที่ผม.

ใหม่!!: ปารีสและโกโก ชาแนล · ดูเพิ่มเติม »

โมฮาเหม็ด ดียาเม

มฮาเหม็ด ดียาเม (เกิดวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1987) หรือ โมโม ดียาเม เป็นนักฟุตบอลอาชีพที่ลงเล่นตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด เขาเกิดที่ประเทศฝรั่งเศส แต่ในนามทีมชาติ เขาเลือกเล่นให้กับทีมชาติเซเนกัล และลงเล่นไป 31 นัด ก่อนที่จะเลิกเล่นทีมชาติในปี..

ใหม่!!: ปารีสและโมฮาเหม็ด ดียาเม · ดูเพิ่มเติม »

โมนาลิซา

มนาลิซา (Mona Lisa) หรือ ลาโจกอนดา (La Gioconda) หรือ ลาโชกงด์ (La Joconde) คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เซนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ระหว่าง พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) ถึงปี พ.ศ. 2050 (ค.ศ. 1507) เป็นภาพที่มีชื่อเสียงทั่วโลกภาพหนึ่ง เป็นที่รู้จักในฐานะภาพของสุภาพสตรีที่มีรอยยิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ (Musée du Louvre) กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและโมนาลิซา · ดูเพิ่มเติม »

โมนีกา เบลลุชชี

มนีกา อันนา มารีอา เบลลุชชี (Monica Anna Maria Bellucci) เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1964 เป็นนักแสดงและนางแบบชาวอิตาลี โมนีกา เบลลุชชี เกิดที่เมืองซิตตาดีกัสเตลโล แคว้นอุมเบรีย ทางตอนกลางของอิตาลี เริ่มทำงานเป็นนางแบบตั้งแต่อายุ 16 ปี ขณะกำลังเรียนวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยเปรูจา เธอเริ่มมีชื่อเสียงในแวดวงนางแบบตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและโมนีกา เบลลุชชี · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ ฟรีดริช ฟรันซ์ บูร์กมึลเลอร์

ันน์ ฟรีดริช ฟรันซ์ บูร์กมึลเลอร์ (Johann Friedrich Franz Burgmüller) เป็นคีตกวีชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2349 ที่เมืองเรเกินส์บูร์ก เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2417 ที่ชานกรุงปารี.

ใหม่!!: ปารีสและโยฮันน์ ฟรีดริช ฟรันซ์ บูร์กมึลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โยโย มา

Yo-Yo Ma.jpg โยโย มา (Yo-Yo Ma) นักดนตรีสัญชาติอเมริกันเชื้อสายจีน เป็นนักเดี่ยวเชลโลที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและโยโย มา · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ปารีสและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน โปลันสกี

รมัน เรย์มอนด์ โปลันสกี (Roman Rajmund Polański) ผู้กำกับ นักเขียนบท และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวโปแลนด์ ภาพยนตร์ที่เขากำกับได้รับความชื่นชมทั้งด้านศิลปะ และประสบความสำเร็จด้านรายได้ โปลันสกีเกิดที่ฝรั่งเศส ในครอบครัวชาวยิวที่อพยพมาจากโปแลนด์ ต่อมาครอบครัวของเขาย้ายกลับไปอยู่ที่เมืองคราคุฟ ประเทศโปแลนด์ และต้องตกเป็นเชลยในค่ายกักกันชาวยิวในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง และสูญเสียมารดาไปที่ค่ายกักกันเอาสชวิทซ์ หลังสงคราม โปลันสกีได้เข้าเรียนในโรงเรียนภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของโปแลนด์-ลูดซ์ และผลงานเรื่องที่สี่ เป็นภาพยนตร์สั้นเรื่อง Dwaj ludzie z szafą (Two Men and a Wardrobe ปี 1958) ได้รับ 5 รางวัลจากการประกวดภาพยนตร์ระดับนานาชาติ ผลงานสำคัญของโปลันสกี ได้แก่ Nóż w wodzie (Knife in the Water ปี 1962) ผลงานกำกับเรื่องยาวชิ้นแรก ซึ่งได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม, Repulsion ในปี 1965 นำแสดงโดยแคเทอรีน เดอเนิฟ, Rosemary's Baby ปี 1968 นำแสดงโดยมีอา ฟาร์โรว์, Chinatown ในปี 1974 นำแสดงโดยแจ็ก นิโคลสันและเฟย์ ดันอะเวย์, Le Locataire (The Tenant ปี 1976) ภาพยนตร์ฝรั่งเศสที่เขาแสดงนำคู่กับอิซาเบล อัดจานี, Tess ปี 1979 นำแสดงโดยนาสตาสชา คินสกี, Frantic ปี 1988 นำแสดงโดยแฮริสัน ฟอร์ด และล่าสุดเรื่อง The Pianist ปี 2002 ที่เขาได้รับรางวัลออสการ์สาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม แต่ไม่ได้เดินทางไปรับรางวัล เนื่องจากถูกหมายจับจากทางการสหรัฐตั้งแต่ปี 1977 ในปี 1977 โปลันสกีถูกจับในคดีข่มขืนเด็กหญิงวัย 13 ปี หลังจากงานปาร์ตีที่บ้านของแจ็ก นิโคลสันในฮอลลีวูด และถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหามีเพศสัมพันธ์กับผู้เยาว์ เขาหลบหนีไปฝรั่งเศส และถูกหมายจับจากทางการสหรัฐ จึงหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศที่มีข้อตกลงการส่งผู้ร้ายข้ามแดนกับสหรัฐอเมริกา มาตั้งแต่นั้น โรมัน โปลันสกีถูกตำรวจสวิตเซอร์แลนด์จับกุมตัวเมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและโรมัน โปลันสกี · ดูเพิ่มเติม »

โรงอาบน้ำเกย์

อัลเบรชท์ ดือเรอร์: The Men’s Bath Charles Demuth: ''Bathhouse and Self-Portrait'' (1918) Charles Demuth: ''Turkish bathhouse (1915) Central Bathhouse เวียนนา1889 Babylonia Prague Pleasuredrome condoms โรงอาบน้ำเกย์ (Gay bathhouse) หรือซาวน่าเกย์ (gay saunas) เป็นสถานที่ที่ผู้ชายสามารถไปมีเพศสัมพันธ์กับชายอื่น แต่ไม่ใช่ผู้ชายทั้งหมดที่ไปโรงอาบน้ำเกย์จะเป็นเกย์ด้วยทั้งหมด ส่วนโรงอาบน้ำสำหรับผู้หญิงนั้นหายากกว่ามาก ในโรงอาบน้ำผู้ชายบางแห่งจะมีบางคืนที่ให้บริการสำหรับเลสเบี้ยนหรือผู้หญิงล้วน โรงอาบน้ำมีหลากหลายทั้งเรื่องขนาดและสิ่งอำนวยความสะดวก ตั้งแต่เล็ก ๆ จุคน 10 หรือ 20 คนต่อห้อง และมีล็อกเกอร์กะทัดรัดถึงซาวน่าหลายห้องที่มีห้องหลายแบบและหลายขนาด และมีห้องอบไอน้ำหลายห้อง มีอ่างจากุซซี และในบางครั้งมีสระว่ายน้ำ —แต่เกือบทั้งหมดมีห้องอบไอน้ำอย่างน้อยหนึ่งห้อง (หรือซาวน่าเปียก) เช่นเดียวกับฝักบัวอาบน้ำ ล็อกเกอร์ และห้องส่วนตัวเล็ก ๆ แตกต่างจากซ่อง โรงอาบน้ำหลายแห่งเป็นระบบสมาชิกเท่านั้น ลูกค้าจะจ่ายเฉพาะค่าใช้สิ่งอำนวยสะดวก และกิจกรรมทางเพศ (ถ้ามี) การบริการไม่ได้บริการโดยพนักงาน แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างลูกค้าด้วยกันเอง ไม่มีการจ่ายเงินให้กัน มีโรงอาบน้ำเกย์หลายแห่งห้ามการขายตัว.

ใหม่!!: ปารีสและโรงอาบน้ำเกย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงอุปรากรปาแลการ์นีเย

ันไดเอก ห้องโถงเอก โรงอุปรากรปาแลการ์นีเย (Palais Garnier; Opéra de Paris; Opéra Garnier; Paris Opéra) เป็นโรงอุปรากรตั้งอยู่ในกรุงปารีสในฝรั่งเศส ที่สร้างโดย ชาร์ล การ์นีเย เป็นสถาปัตยกรรมแบบฟื้นฟูบาโรก โรงอุปรากรปาแลการ์นีเยถือกันว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของยุค เมื่อทำการเปิดในปี ค.ศ. 1875 โรงอุปรากรมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “Académie Nationale de Musique - Théâtre de l'Opéra” (สถาบันดนตรีแห่งชาติ - โรงละครเพื่อการแสดงอุปรากร) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้กันมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1978 เมื่อได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น “Théâtre National de l'Opéra de Paris” (โรงละครแห่งชาติเพื่อการแสดงอุปรากรแห่งปารีส) แต่หลังจากคณะอุปรากรแห่งปารีส (Opéra National de Paris) เลือกโรงอุปรากรบัสตีย์ซึ่งเป็นโรงอุปรากรที่เพิ่งสร้างขึ้นใหม่เป็นโรงอุปรากรหลักแล้ว โรงละครแห่งชาติก็เปลี่ยนชื่อเป็น “ปาแลการ์นีเย” แม้ว่าจะมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “Académie Nationale de Musique” (สถาบันดนตรีแห่งชาติ) แม้ว่าคณะอุปรากรจะย้ายไปยังโรงอุปรากรบัสตีย์ แต่ “ปาแลการ์นีเย” ก็ยังคงเรียกกันว่า “โรงอุปรากรปารีส”.

ใหม่!!: ปารีสและโรงอุปรากรปาแลการ์นีเย · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมริตซ์ ปารีส

รงแรมริตซ์ที่ปลาซวองโดม โรงแรมริตซ์ ปารีส (Hôtel Ritz Paris) เป็นโรงแรมที่ตั้งอยู่ที่ปลาซวองโดม ใจกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นโรงแรมที่มีชื่อเสียงและหรูหราที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง และเป็นหนึ่งในเจ็ด Parisian Palace ที่จัดอันดับโดย The Leading Hotels of the World นับเป็นโรงแรมริตซ์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2441.

ใหม่!!: ปารีสและโรงแรมริตซ์ ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบอสโกพิทักษ์

รงเรียนบอสโกพิทักษ์ (Boscopitak school; 博士果比塔学校; อักษรย่อ: บ พ, BP) เป็นโรงเรียนเอกชน โดยโรงเรียนมีการแบ่งแผนก เป็นแผนกอนุบาล แผนกประถม และแผนกมัธยม ก่อตั้งโดยโดยบาทหลวงริชาร์ดแห่งกรุงปารีส วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: ปารีสและโรงเรียนบอสโกพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ แลงกาต์

รแบร์ แลงกาต์ (Robert Lingat รอแบร์ แล็งกา) หรือ ร. แลงกาต์ (เกิด:พ.ศ. 2435; ตาย: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นศาสตราจารย์ทางนิติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการกฎหมายไทยในอดีตอย่างยิ่ง โรแบร์ แลงการ์ต ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ. 2435 ณ เมืองชาร์เลอวีล-เมซีแยร์ แคว้นอาร์แดน ประเทศฝรั่งเศส ชีวิตส่วนตัวของเขาไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ในด้านการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2462 เขาได้ศึกษาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต จนได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันภาษาตะวันออกแห่งกรุงปารีส ต่อมาได้ศึกษากฎหมายเอกชนจนได้รับปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตในกรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2474 มีผลงานเป็นวิทยานิพนธ์เรื่อง "เลสกลาวาชปรีเวดองเลอวีเยอดรัวซียามัว" (L'esclavage privé dans le vieux droit siamois, "ระบบทาสเอกชนในกฎหมายเก่าของสยาม") ในด้านการทำงาน ระหว่าง พ.ศ. 2461 ถึง พ.ศ. 2462 เขาเป็นล่ามให้กองทัพไทยในฝรั่งเศส ครั้น พ.ศ. 2467 ถึง พ.ศ. 2483 จึงย้ายมาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครโดยเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และอาจารย์วิชานิติศาสตร์ของหลายมหาวิทยาลัยในเอเชีย รวมถึงระดับปริญญาตรีและปริญญาโทของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขาดำเนินการสอนเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยมีล่ามถ่ายทอดเป็นภาษาไทยอีกที ณ ที่นั้น เขายังได้เป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม และได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายอินเดียที่กำลังเจริญเติบโต เขาปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยกระทั่ง พ.ศ. 2498 จึงสิ้นสุดงานการสอนของเขาและจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศกัมพูชากลับไปบ้านเกิดเมืองนอนของเขา ก่อนเขาจะถึงแก่กรรม เขาได้ทำการสอนที่ศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยปารีส กระทั่งจากโลกไปเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 หนึ่งปีก่อนที่ผลงานของเขาจะได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษและนำชื่อของเขาเข้าสู่โลกระดับสากล โรแบร์ แลงกาต์ มีชีวิตอยู่ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: ปารีสและโรแบร์ แลงกาต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรโบคัพ

การแข่งขันโรโบคัพปี ค.ศ. 2004 ที่ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส โรโบคัพ (Robocup) คือการแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติระดับนานาชาติ จุดประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษาวิจัย ค้นคว้าและพัฒนาศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (หุ่นยนต์) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและโรโบคัพ · ดูเพิ่มเติม »

โรโกโก

้านเหนือของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo - ลานราชรถ: เป็นลวดลายปูนปั้นปิดทองมาจนสมัยพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ทรงสั่งให้ติดช่อมะกอกแทน ท้องพระโรงของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo ศิลปะโรโกโก (Rococo) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า "ศิลปะแบบหลุยส์ที่ 14" (Louis XIV Style) ศิลปะโรโกโกเริ่มพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 ห้องที่ออกแบบแบบโรโกโกจะเป็น เอกภาพ คือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ จะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกัน คือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมา ภายในห้องจะมีเครื่องเรือนที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็ก ๆ แบบประดิดประดอย ภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนัง ที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโกโกมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก คำว่าโรโกโกมาจากคำสองคำผสมกัน คำว่า rocaille จากภาษาฝรั่งเศส ซึ่งหมายถึงศิลปะการตกแต่งที่ใช้ลวดลายคล้ายหอยหรือใบไม้ และคำว่า barocco จากภาษาอิตาลี หรือที่เรียกว่า ศิลปะบาโรก ศิลปินโรโกโกจะนิยมเล่นเส้นโค้งตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบเปลือกหอย หรือการม้วนตัวของใบไม้เป็นหลัก และจะเน้นการตกแต่งประดิดประดอย จนทำให้นักวิจารณ์ศิลปะค่อนว่าเป็นศิลปะของความฟุ้งเฟ้อและเป็นเพียงศิลปะสมัยนิยมเท่านั้น คำว่าโรโกโกเมื่อเริ่มใช้เป็นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ปารีสและโรโกโก · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต ฟุลตัน

รเบิร์ต ฟุลตัน โรเบิร์ต ฟุลตัน (Robert Fulton - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2308 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2358) วิศวกร นักวาดภาพจิ๋วและภาพทิวทัศน์ และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองแลงคาสเตอร์ รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้พัฒนาเรือกลไฟเชิงพาณิชย์และเรือรบกลไฟลำแรกของโลก.

ใหม่!!: ปารีสและโรเบิร์ต ฟุลตัน · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต เรดฟอร์ด

รเบิร์ต เรดฟอร์ด (Robert Redford) เกิดเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ค.ศ. 1936 นักแสดง, ผู้กำกับ และผู้ให้การสนับสนุนภาพยนตร์อิสระ โดยเป็นผู้ก่อตั้ง ซันแดนซ์ อินสติติวท์ ผู้จัดเทศกาลภาพยนตร์ซันแดนซ์ ขึ้นในปี 1981,เป็นนักธุรกิจ,นายแบบ,นักสิ่งแวดล้อม และนักสังคมสงเคราะห.

ใหม่!!: ปารีสและโรเบิร์ต เรดฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ เฟเดอเรอร์

* โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ (Roger Federer) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสวิส เขาเคยขึ้นครองอันดับที่ 1 ของโลกมาตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ต่อเนื่องมาจนถึง วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2008 นับเป็นระยะเวลา 237 สัปดาห์ติดต่อกัน ซึ่งถือเป็นสถิติการครองอันดับ 1 ติดต่อกันที่ยาวนานที่สุดตลอดกาลของวงการเทนนิสโลก ปัจจุบันตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 เขาสามารถแย่งอันดับที่ 1 ของโลกกลับมาจากราฟาเอล นาดาลได้เป็นผลสำเร็จ หลังจากที่สามารถคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้เป็นสมัยที่ 6 เป็นที่ยอมรับกันว่า เฟเดอเรอร์เป็นนักเทนนิสที่เก่งที่สุดในยุคของเขา โดยถูกจัดอยู่ในกลุ่มนักเทนนิสชายยอดเยี่ยมตลอดกาล และถือเป็นชาวสวิสคนแรกที่ยังมีชีวิตอยู่ที่มีรูปอยู่ในสแตมป์ของสวิสซึ่งถูกผลิตในเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 เป็นรูปเฟเดอเรอร์กับถ้วยวิมเบิลดัน เขาเป็นนักกีฬาคนแรกที่ได้รับรางวัลนักกีฬาโลกแห่งปี (Laureus World Sportsman of the Year) 4 ครั้งติดต่อกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 - ค.ศ. 2008 เฟเดอเรอร์ ชนะการแข่งขันประเภทเดี่ยว ในรายการแกรนด์สแลม 20 ครั้ง (6 ออสเตรเลียนโอเพน, 1 เฟรนช์โอเพน, 8 วิมเบิลดัน, 5 ยูเอสโอเพน) (ถือเป็นการทำลายสถิติการคว้าแชมป์ 14 แกรนด์สแลมตลอดกาลของพีท แซมพราส), รายการเทนนิสมาสเตอร์คัพ 6 ครั้ง, รายการเอทีพีมาสเตอร์ซีรีส์ 24 ครั้ง และรายการเอทีพีทัวร์อื่นๆอีก 26 ครั้ง อีกทั้งยังชนะ การแข่งขันประเภทคู่ 8 ครั้ง และเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 เฟเดอเรอร์สามารถเอาชนะราฟาเอล นาดาล ในการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดัน ทำให้เขาครองสถิติ ชนะเลิศติดต่อกัน 5 สมัย เทียบเท่าบิยอร์น บอร์ก หลังจากการคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2009 เฟเดอเรอร์จึงกลายเป็นนักเทนนิสชายคนที่ 6 ในประวัติศาสตร์วงการเทนนิสโลกที่สามารถคว้าแชมป์แกรนด์สแลมได้ครบทั้ง 4 รายการในการเล่นเทนนิสอาชีพ หรือที่เรียกว่า "Career Grand Slam" นั่นเอง เฟเดอเรอร์สร้างสถิติใหม่ในกีฬาเทนนิสขึ้นมาอย่างมากมาย เช่น การเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 10 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2005 จนถึง ยูเอสโอเพน ค.ศ. 2007) การเข้าถึงรอบรองชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 23 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2004 จนถึงปัจจุบัน) การชนะติดต่อกันมากที่สุดในยุคโอเพน บนพื้นคอร์ต 2 ประเภท คือ คอร์ตหญ้า (65 แมตซ์ติดต่อกัน) และ คอร์ตคอนกรีต (56 แมตซ์ติดต่อกัน) เป็นต้น และล่าสุด ชัยชนะออสเตรเลียนโอเพนของเขาในปี 2017 ส่งผลให้เขาเป็นนักเทนนิสชายคนแรกที่ได้แชมป์แกรนด์สแลม 3 รายการอย่างน้อย 5 ครั้ง (ออสเตรเลียนโอเพน, วิมเบิลดัน และ ยูเอสโอเพน นอกจากนี้ เขายังเป็นนักเทนนิสที่อายุมากที่สุดที่คว้าถ้วยแกรนด์สแลมนับตั้งแต่ปี 1972 หลังจาก Ken Rosewell.

ใหม่!!: ปารีสและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ใหม่!!: ปารีสและโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง.

ใหม่!!: ปารีสและโลกาภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: ปารีสและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โอกุสต์ รอแด็ง

อกุสต์ รอแด็ง (Auguste Rodin) มีชื่อเต็มว่า ฟร็องซัว-โอกุสต์-เรอเน รอแด็ง (François-Auguste-René Rodin; 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917) เป็นประติมากรและจิตรกรชาวฝรั่งเศส รอแด็งเริ่มศึกษาประติมากรรมที่ปารีส มีชื่อเสียงจากการสร้างรูปปั้นจำลอง งานชิ้นหลัง ๆ ของเขาได้รับแรงบันดาลใจจากดังเตกวีคนสำคัญ โดยผลงานชิ้นสำคัญได้แก่ ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากฉากในกวีนิพนธ์ “ไฟนรก” (Inferno) ของดังเต และรูปปั้น ที่นำเสนอภาพของดังเตเมื่อยามครุ่นคิด แม้ว่ารอแด็งจะถือกันว่าเป็นผู้ที่มีส่วนริเริ่มการประติมากรรมสมัยใหม่แต่ความจริงแล้วรอแด็งมิได้มีความตั้งใจจะปฏิรูปศิลปะแบบที่ทำกันมา รอแด็งได้รับการศึกษาจากสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศส (Académie des beaux-arts) การสร้างงานก็เป็นไปตามวิธีช่างอย่างที่เรียนมาเพื่อที่จะได้เป็นที่ยอมรับกันทางสถาบัน Hale, 76.

ใหม่!!: ปารีสและโอกุสต์ รอแด็ง · ดูเพิ่มเติม »

โอลกา คูรีเลนโก

อลกา คูรีเลนโก (Ольга Костянтинівна Куриленко, Ol’ha Kostyantynivna Kurylenko,; ˈolʲgə kənstɐnˈtʲinəvna kʊrʲɪˈlʲenkə; Olga Kostyantynivna Kurylenko) เป็นนางแบบ และนักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศสเชื้อสายยูเครน มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์ที่ดัดแปลงมาจากวิดีโอเกมสองเรื่อง คือเรื่อง Hitman (ปี 2007) และ Max Payne (ปี 2008) จากนั้นได้รับบทนำเป็นสาวบอนด์ในภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ตอน Quantum of Solace (2008) คู่กับแดเนียล เครก และบทนำใน Oblivion (2013) คู่กับทอม ครูซ โอลกา คูรีเลนโกเกิดที่เมืองเบียร์เดียนสค์ ในจังหวัดซาโปโรเจีย สหภาพโซเวียต (ปัจจุบันอยู่ในประเทศยูเครน) เธอมีเชื้อสายยูเครน รัสเซีย และเบลารุส เริ่มอาชีพนางแบบตั้งแต่อายุ 13 ปี โดยย้ายไปเป็นนางแบบอาชีพในปารีส ประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับคัดเลือกให้ถ่ายภาพปกนิตยสารโวกและนิตยสารเอลล์ ตั้งแต่อายุ 18 ปี โดยเริ่มจากภาพยนตร์ฝรั่งเศสเรื่อง L'Annulaire และภาพยนตร์สั้นตอนหนึ่งในเรื่อง มหานครแห่งรัก "Quartier de la Madeleine" คู่กับเอไลจาห์ วู.

ใหม่!!: ปารีสและโอลกา คูรีเลนโก · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1900

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1924

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1992

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2008

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 (2020年夏季オリンピック) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 29 (第三十二回オリンピック競技大会) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ โตเกียว 2020 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญในประเพณีโอลิมปิก ควบคุมโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ซึ่งจัดในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2024

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 (Les Jeux olympiques d'été de 2024) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 30 (Les Jeux de la XXXe olympiade) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ปารีส 2024 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญในประเพณีโอลิมปิก ควบคุมโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ซึ่งจัดในปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นระหว่างวันที่ 2 ถึง 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2028

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 31 ประจำปี..

ใหม่!!: ปารีสและโอลิมปิกฤดูร้อน 2028 · ดูเพิ่มเติม »

โอแซร์

อแซร์ (Auxerre) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดอียอนในแคว้นบูร์กอญ ประเทศฝรั่งเศส เมืองโอแซร์ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝรั่งเศสระหว่างกรุงปารีสกับเมืองดีฌง โอแซร์เป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าและอุตสาหกรรมที่รวมทั้งการผลิตอาหาร การทำงานไม้ และแบตเตอรี นอกจากนั้นก็ยังมีความสำคัญในการผลิตเหล้าองุ่นที่มีชื่อเสียงที่รวมทั้งชาบลี สถานที่ที่น่าสนใจของโอแซร์ก็ได้แก่ตัวเมืองเก่าและมหาวิหารแซ็งเตเตียนแห่งโอแซร์ที่สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีหน้าต่างประดับกระจกสีที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: ปารีสและโอแซร์ · ดูเพิ่มเติม »

โอเกอร์ดูสตาด (วิดีโอ)

ำหรับอัลบั้มในชื่อเรียกเดียวกันนี้ ดูบทความที่ โอเกอร์ดูสตาด "โอเกอร์ดูสตาด" (Au cœur du stade) คือผลงานดีวีดี/วิดีโอที่ 5 ของเซลีน ดิออน คอนเสิร์ต 90 นาทีนี้ถูกบันทึกที่การแสดงสด สตาดเดอฟรานซ์ ในปารีส ขณะจัดคอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ บันทึกภาพเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2542 และวางจำหน่ายเมื่อ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 "ทูเลิฟยูมอร์" แสดงพร้อมด้วยทาโร ฮากาสะผู้เล่นไวโอลิน ชอง-ชาก โกลด์แมนแสดงร่วมกับเซลีน ดิออนกับเพลง "ชีเรอูตูอีรา" และ Barnev Valsaint (สมาชิกของวง) ในบทเพลง "แอมยัวร์แองเจิล" ไดอานา คิงมีรูปภาพทางจอขนาดใหญ่ในบทเพลง "ทรีดเฮอไลค์อะเลดี้." และบทเพลงพิเศษที่เซลีนร้องให้วง บีจีส์ คือ "Stayin' Alive" และ "You Should Be Dancing." และการแสดงเพลง "เทลฮิม" กับ บาบรา สตรัยซัน บนจอภาพขนาดใหญ่แต่ตัดออกจากการบันทึกลงดีวีดี โอเกอร์ดูสตาด ยังประกอบไปด้วยเบื้องหลังสุดพิเศษอย่าง เบื้องหลังของอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม และ เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ ซึ่งประกอบไปด้วยแขกพิเศษอย่าง เซอร์จอร์จมาร์ตินและภาพเบื้องหลังที่หาชมได้ยากของเซลีน, บาบรา สตรัยซัน, เดวิด ฟอสเตอร์, และมิวสิกวิดีโอในเพลง "เทลฮิม" "โอเกอร์ดูสตาด" ได้รับการรับรองในสถานะไดมอนด์ ในฝรั่งเศสจากยอกขายกว่า 100,000 แผ่น ในชาร์ตวิดีโอเพลง และตำแหน่งสูงสุดตั้งแต่กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและโอเกอร์ดูสตาด (วิดีโอ) · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกม โอเวอร์วอตช์ ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมดังกล่าวขึ้น โดยมี 20 ทีมเข้าแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่ม ไม่รวมเจ้าภาพทั้งสี่ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ ไทย และฝรั่งเศส โดยการแข่งขันจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ช่วงเวลาคือ ช่วงที่ 1 การคัดเลือก ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายน ช่วงที่ 2 การสร้างคณะกรรมการ เดือนพฤษภาคม ช่วงที่ 3 การพิสูจน์ความสามารถผู้เล่น เดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ช่วงที่ 4 การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม เดือนสิงหาคมถึงกันยายน และช่วงที่ 5 การแข่งขันรอบแปดทีมสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน.

ใหม่!!: ปารีสและโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018 · ดูเพิ่มเติม »

โฮมเวิร์ก (อัลบั้มดาฟต์พังก์)

มเวิร์ก (Homework) เป็นสตูดิโออัลบั้มเปิดตัวของดูโอชาวฝรั่งเศสดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ วงดาฟต์พังก์ ออกจำหน่าย 20 มกราคม..

ใหม่!!: ปารีสและโฮมเวิร์ก (อัลบั้มดาฟต์พังก์) · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์

แซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ (Joseph-Louis Lagrange; 25 มกราคม ค.ศ. 1736 - 10 เมษายน ค.ศ. 1813) หรือชื่อเดิมว่า จูเซปเป โลโดวีโก ลากรันจา (Giuseppe Lodovico Lagrangia) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ผู้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ของเขาในปรัสเซียและฝรั่งเศส ได้สร้างผลงานสำคัญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ไว้มากมาย รวมถึงทฤษฎีจำนวน กลศาสตร์ดั้งเดิม และกลศาสตร์ท้องฟ้า ตามคำแนะนำของออยเลอร์และเดอลอมแบร์ ลากร็องฌ์ได้สืบทอดตำแหน่งของออยเลอร์เมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและโฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ · ดูเพิ่มเติม »

โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน

ซฟีน เดอ โบอาร์แน (Joséphine de Beauharnais) หรือชื่อเกิดคือ มารี โฌแซ็ฟ โรซ ตาเช เดอ ลา ปาเฌอรี (Marie Josèphe Rose Tascher de La Pagerie) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "โรซ" เป็นจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสพระองค์แรก และเป็นพระมเหสีพระองค์แรกในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและโฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี บอกกัชโช

วันนี บอกกัชโช (Giovanni Boccaccio) (ค.ศ. 1313 – 21 ธันวาคม ค.ศ. 1375) เป็นนักเขียน กวี และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลี ผู้เป็นนักประพันธ์งานสำคัญหลายชิ้นที่รวมทั้ง “ตำนานสิบราตรี” (Decameron) และ “On Famous Women” รายละเอียดเกี่ยวกับการกำเนิดของบอกกัชโชไม่เป็นที่ทราบกันเท่าใดนัก บางหลักฐานก็ว่าเกิดที่ปารีส จากแม่ที่เป็นชาวปารีสBartlett, Kenneth R. (1992).

ใหม่!!: ปารีสและโจวันนี บอกกัชโช · ดูเพิ่มเติม »

โจเอาเปสโซอา

อาเปสโซอา (João Pessoa) เป็นเมืองหลวงของรัฐปาราอีบา ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและโจเอาเปสโซอา · ดูเพิ่มเติม »

โททาล

ททาล เอ.เอ. (Total S.A.) เป็นบริษัทด้านพลังงานสัญชาติฝรั่งเศส ประกอบธุรกิจก๊าซธรรมชาติ น้ำมันปิโตรเลียม และเคมีภัณฑ์ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ย่านลาเดอฟองซ์ ทางตะวันตกของปารีส บริษัทก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ปารีสและโททาล · ดูเพิ่มเติม »

โทนี พาร์กเกอร์

ทนี พาร์กเกอร์ โทนี พาร์กเกอร์ (Tony Parker) เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1982 เป็นนักบาสเกตบอลมืออาชีพของ NBA อยู่ทีม San Antonio Spur และทีมชาติของประเทศฝรั่งเศส เขาเป็นลูกชายของอดีตนักบาสเกตบอลมืออาชีพและเขาถูกเลือกให้มาเล่นใน San Antonio Spur ในปี 2001 เขาได้รับเลือกให้เป็น Point Guard ตั้งแต่เข้าร่วมทีม เพื่อนๆ ของเขาโหวตให้เป็นผู้เล่นที่ทำคะแนนได้ดีที่สุดและเขาได้ช่วยให้ San Antonio Spur ชนะ NBA Championship ด้วยกันถึงสามครั้งในปี 2003, 2005 และ 2007 เขาได้รับเลือกให้เป็น NBA All-star ถึงสามครั้งด้วยกันและได้รับเลือกให้เป็นผู้เล่นที่ดีที่สุดในนัดชิงชนะเลิศ เขาได้สมรสกับ อีวา ลองโกเรีย นักแสดงชื่อดังของ Hollywood ซึ่งอายุมากกว่า 7 ปี พวกเขาสมรสกันในโบสถ์ที่ฝรั่งเศส ที่มีชื่อว่า Saint-Germain l'Auxerrois Churchใน กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและโทนี พาร์กเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโล.

ใหม่!!: ปารีสและโดเมนีโก กีร์ลันดาโย · ดูเพิ่มเติม »

โค ยง-ฮี

ง-ฮี (26 มิถุนายน พ.ศ. 2480 – 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) อาจปรากฏในชื่อ โค ย็อง-ฮี (고영희; 高英姬) หรือ โค ย็อง-จา (고영자; 高英子)《Daily NK》 เป็นอดีตอนุภริยาของคิม จ็อง-อิล อดีตผู้นำเกาหลีเหนือ และเป็นมารดาของคิม จ็อง-อึน ผู้นำเกาหลีเหนือคนปัจจุบัน คิม จ็อง-อิลมักจะเรียกเธออย่างญี่ปุ่นว่า อายูมี (아유미, あゆみ) ทั้งนี้เธอเป็นชาวเกาหลีไซนิชิรุ่นที่สองที่เกิดในโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น ในประเทศเกาหลีเหนือเธอได้รับการเทิดทูนในตำแหน่ง "มารดาที่น่าเคารพ ผู้ซื่อสัตย์และภักดีภายใต้การบังคับบัญชาของท่านผู้นำอันเป็นที่รัก" (The Respected Mother who is the Most Faithful and Loyal 'Subject' to the Dear Leader Comrade Supreme Commander) หรือ "แม่แห่งเปียงยาง" (The Mother of Pyongyang) และ "มารดาของจอมทัพเกาหลีผู้ยิ่งใหญ่" (The Mother of Great Songun Korea).

ใหม่!!: ปารีสและโค ยง-ฮี · ดูเพิ่มเติม »

โคลวิสที่ 1

ลวิสที่ 1 (Clovis I) (ราว ค.ศ. 466 – ค.ศ. 511) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชนแฟรงค์พระองค์แรกที่รวมชนแฟรงค์กลุ่มต่างๆ เข้าด้วยกันภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียว และทรงเป็นผู้นำในการนับถือคริสต์ศาสนา โคลวิสเป็นพระราชโอรสของชิลเดอริคที่ 1 (Childeric I) และ บาสินาพระราชินีแห่งเทอริงเกีย เมื่อมีพระชนมายุได้ 16 พรรษาพระองค์ก็ขึ้นเป็นประมุขของซาเลียนแฟรงค์ (Salian Franks) บางส่วนต่อจากพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: ปารีสและโคลวิสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

โคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล

ตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล (The Expendables 2) เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นลำดับที่ 2 ในชุด ดิ เอ็กซ์เพ็นเดเบิลส์ กำกับโดยไซมอน เวสต์ ร่วมเขียนบทและแสดงนำโดยซิลเวสเตอร์ สตอลโลน สมทบด้วยเจสัน สเตธัม เจ็ต ลี ดอล์ฟ ลันด์เกรน ชัค นอร์ริส ฌ็อง-โกลด ว็อง ดาม บรูซ วิลลิส อาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ เทอร์รี ครูวส์ แรนดี โคทัวร์และเลียม เฮมส์เวิร์ท ออกฉายในไทยเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2012.

ใหม่!!: ปารีสและโคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล

รียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล (คำแปล: Challenge Supermodel Korea; ตัวย่อ: KNTM; Korea's Next Top Model) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหาสุดยอดนางแบบของประเทศเกาหลีใต้ โดยได้ซื้อลิขสิทธิ์มาจากรายการอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ออกอากาศผ่านทางสถานีโทรทัศน์ช่อง ออนสไตล์ (OnStyle) ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและโคเรียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1

รียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1 ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน ถึง 11 ธันวาคม 2010 ในรอบ 6 คนสุดท้ายของฤดูกาลนี้ จะได้ไปแข่งขันกันต่อที่ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ผู้ชนะในฤดูกาลนี้คือ อี จี-มิน อายุ 22 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและโคเรียส์เน็กซ์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902

รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902 หรือรู้จักกันในชื่อ KAL 902 หรือ KE 902 เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ ของเกาหลี เดินทางด้วยเครื่องโบอิง 707 ทะเบียน HL7429 จากปารีส ฝรั่งเศส มุ่งหน้าสู่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป โซล ประเทศเกาหลีใต้ โดยมีกำหนดแวะพักเติมน้ำมันที่ท่าอากาศยานนานาชาติเทด สตีเวนส์ เมืองแองคอเรจ อะแลสกา สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2521 มีผู้โดยสาร 97 คน ลูกเรือ 12 คน เครื่องบินมุ่งหน้าไปทางทิศเหนือ ผ่านฐานทัพแคนาดาที่เมืองอเลิร์ท (Alert) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเอลสเมียร์ ใกล้ขั้วโลกเหนือ จากนั้นจึงปรับเส้นทางบินทางทิศใต้ มุ่งหน้าสู่แองคอเรจ แต่เกิดความผิดพลาดเนื่องจากเครื่องบินไม่ได้ติดตั้งระบบ Inertial navigation system ทำให้นักบินเกิดการหลงทิศ มุ่งหน้าไปทางเมืองเมอร์มานส์ สหภาพโซเวียต (68°58′N 33°5′E) แทนที่จะเป็นเมืองแองคอเรจ (61°13′N 149°53′W) แผนที่แสดงเส้นทางบิน โซเวียตส่งเครื่องบินขับไล่ซู-15 (Su-15) ขึ้นสกัดกั้น และสั่งให้นักบินยิงเครื่องให้ตก (ระบบเตือนภัยของโซเวียตระบุว่าเครื่องบินลำนี้เป็นเครื่องบินสอดแนม โบอิง RC-135 ซึ่งมีแบบแผนใกล้เคียงกับเครื่องโบอิง 707) นักบินซู-15 พยายามแจ้งฐานทัพว่าเครื่องบินนี้เป็นเครื่องบินพลเรือน แต่ฐานทัพยังคงยืนยันคำสั่ง จึงได้ยิงมิสไซล์ R-60 ออกไป 2 ลูก ทำความเสียหายให้กับปีกซ้าย ความดันภายในเครื่องลดลง และมีผู้โดยสารเสียชีวิต 2 คน 40 นาทีถัดมา เวลา 23.05 น. เครื่องบินถูกบังคับให้ลงจอดฉุกเฉินบนทะเลสาบน้ำแข็ง Korpijärvi ทางทิศใต้ของเมืองเมอร์มานส์ ใกล้ชายแดนฟินแลนด์ และได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยกู้ภัยของโซเวียต ผู้โดยสารทั้งหมดถูกกักตัวเป็นเวลาสองวันจึงได้รับการปล่อยตัว โดยสารเครื่องบินแพนแอมจากเมอร์มานส์ ไปเฮลซิงกิ และต่อเที่ยวบินไปโซลในที.

ใหม่!!: ปารีสและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 902 · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: ปารีสและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โฉมงามกับเจ้าชายอสูร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2560)

ฉมงามกับเจ้าชายอสูร เป็นภาพยนตร์เพลงอเมริกันแนวโรแมนติก แฟนตาซี ผจญภัย ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและโฉมงามกับเจ้าชายอสูร (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2560) · ดูเพิ่มเติม »

โซฟี มาร์โซ

ซฟี มาร์โซ (Sophie Marceau) มีชื่อจริงว่า Sophie Danièle Sylvie Maupu เป็นนักแสดงสาวชาวฝรั่งเศส โซฟี มาร์โซ เกิดที่ปารีส ฝรั่งเศส เริ่มชีวิตการแสดงตั้งแต่อายุ 13 ปี เมื่อเธอและมารดาได้ไปลงชื่อในโมเดลลิ่งแห่งหนึ่ง และได้รับเลือกให้แสดงภาพยนตร์วัยรุ่น ลาบูม ออกฉายเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและโซฟี มาร์โซ · ดูเพิ่มเติม »

โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี

้าหญิงโซรยาแห่งอิหร่าน พระนามเดิม โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี (ثریا اسفندیاری بختیاری, UniPers: Sorayâ Asfandiyâri-Bakhtiyâri; 22 มิถุนายน ค.ศ. 1932 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 2001) พระมเหสีองค์ที่สอง และอดีตพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในอิหร่าน แม้อดีตพระสวามีของพระองค์จะมีพระอิสริยยศเป็นชาฮันชาห์ (ราชันย์ของราชา) เทียบเท่าสมเด็จพระจักรพรรดิ ใน ปี..

ใหม่!!: ปารีสและโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี · ดูเพิ่มเติม »

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ใหม่!!: ปารีสและโซล · ดูเพิ่มเติม »

โปรเจกต์รันเวย์ ฤดูกาลที่ 3

ปรเจกต์รันเวย์ ฤดูกาลที่ 3 เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ค้นหานักออกแบบแฟชั่นของสหรัฐอเมริกา ในฤดูกาลที่ 3 นี้ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและโปรเจกต์รันเวย์ ฤดูกาลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล บลูมเบอร์ก

มเคิล รูเบนส์ บลูมเบอร์ก (Michael Rubens Bloomberg) (เกิด 14 กุมภาพันธ์ 2485) เป็นนักธุรกิจ นักเขียน นักการเมือง และนักการกุศลชาวอเมริกัน เขามีทรัพย์สินสุทธิประเมินที่ 47,800 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท) โดยเดือนตุลาคม 2560 จึงทำให้เขาเป็นคนรวยที่สุดอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และอันดับ 10 ของโลก เขาได้ลงนามร่วมกับองค์กรสัญญาว่าจะให้ ที่มหาเศรษฐีสัญญาว่าจะมอบทรัพย์สินของตนเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง บลูมเบอร์กเป็นผู้ก่อตั้ง ประธานบริหาร และเจ้าของบริษัท Bloomberg L.P. ซึ่งเป็นบริษัทให้บริการทางการเงิน สื่อมวลชน และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งรู้จักกันดีว่าผลิตโปรแกรม Bloomberg Terminal ซึ่งให้ข้อมูลทางการเงินที่ใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมบริการทางการเงินทั่วโลก เขาเริ่มทำงานที่บริษัทนายหน้าขายหลักทรัพย์ Salomon Brothers ก่อนตั้งบริษัทของตนเองในปี 2524 และใช้เวลาอีก 20 ปีต่อมาโดยเป็นประธานและประธานบริหารของบริษัท บลูมเบอร์กยังเคยเป็นประธานกรรมการของมหาวิทยาลัยที่เขาเป็นศิษย์เก่า คือ มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ ระหว่างปี 2539-2545 บลูมเบอร์กเคยเป็นผู้ว่าการนครนิวยอร์กถึง 3 สมัย เริ่มตั้งแต่ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2544 แม้จะเคยลงทะเบียนว่าเป็นคนสนับสนุนพรรคเดโมแครตก่อนจะเริ่มหาเสียง เขาก็ได้เปลี่ยนทะเบียนของเขาในปี 2544 เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคริพับลิกัน เขาชนะฝ่ายตรงข้ามอย่างเฉียดฉิวในการเลือกตั้งที่ทำไม่กี่อาทิตย์หลังเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 เขาชนะการเลือกตั้งสมัยที่สองในปี 2548 และลาออกจากพรรคริพับลิกันสองปีหลังจากนั้น บลูมเบอร์กได้รณรงค์เพื่อเปลี่ยนกฎหมายซึ่งจำกัดสมัยที่สามารถเป็นผู้ว่าการ แล้วได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยที่สามในปี 2552 โดยไม่สังกัดพรรค สื่อมักจะลือว่า เขาจะลงสมัครับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐทั้งในปี 2551 และ 2555 ตลอดทั้งผู้ว่าการรัฐนิวยอร์กในปี 2553 แต่เขาก็ปฏิเสธไม่สมัคร โดยเลือกทำหน้าที่เป็นผู้ว่าการของนครนิวยอร์กต่อไปในเวลานั้น ในปี 2557 Bill de Blasio ก็ได้แทนที่บลูมเบอร์กเป็นผู้ว่าการนครนิวยอร์ก หลังจากที่ทำงานการกุศลอย่างเต็มเวลาในระยะสั้น ๆ บลูมเบอร์กก็กลับไปทำหน้าที่เป็นประธานบริหารของบริษัท Bloomberg L.P. โดยท้ายปี 2557 ในวันที่ 7 มีนาคม 2559 เขาได้ประกาศว่าจะไม่สมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐจากพรรคที่ 3 สำหรับการเลือกตั้งปี 2559 แม้จะมีข่าวลือที่กระจายไปทั่ว และภายหลังได้ให้การสนับสนุนแก่ฮิลลารี คลินตัน.

ใหม่!!: ปารีสและไมเคิล บลูมเบอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน

มเคิล โจเซฟ แจ็กสัน เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง นักออกแบบท่าเต้น นักแสดง โปรดิวเซอร์เพลงและนักการกุศล ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชาเพลงป็อป" (The King of Pop)อิทธิพลทางดนตรี การเต้นรำ แฟชั่นและผลงานด้านมนุษยธรรม กับชีวิตส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่ควบคู่ไปกับความสำเร็จ ทำให้เขาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากว่า 4 ทศวรรษ เขาเป็นลูกคนที่ 8 ของครอบครัวแจ็กสัน ปรากฏตัวครั้งแรกในระดับอาชีพด้านดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกวงเดอะแจ็กสันไฟฟ์ในปี 1964 เขาเริ่มมีผลงานเดี่ยวในปี 1971 ขณะที่ยังคงเป็นสมาชิกของวงอยู่ ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เขากลายเป็นส่วนสำคัญในวัฒนธรรมเพลงป็อป และถือเป็นศิลปินชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่มีผลงานออกอากาศผ่านทางช่องเอ็มทีวี มิวสิกวิดีโอของเขา ประกอบด้วยเพลง "Beat It", "Billie Jean" และ "Thriller" ได้รับการยกย่องสำหรับการทำลายอุปสรรคทางเชื้อชาติ และเปลี่ยนแปลงรูปแบบมิวสิกวิดีโอจากอุปกรณ์การประชาสัมพันธ์ไปเป็นรูปแบบของงานศิลปะ ความนิยมของมิวสิกวิดีโอเหล่านี้ได้ช่วยให้ช่องเอ็มทีวีที่เพิ่งเปิดใหม่นี้มีชื่อเสียง อัลบั้ม Bad ของเขาในปี 1987 นับเป็นอัลบั้มเพลงแรกในประวัติศาสตร์ที่มีเพลงอันดับ 1 ถึง 5 เพลงบนบิลบอร์ดฮ็อต 100 จากอัลบั้มเดียว มิวสิกวิดีโอในรูปแบบใหม่อย่างเพลง "Black or White" และ "Scream" ก็ยังออกอากาศบ่อยทางช่องเอ็มทีวี เขายังสร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ด้วยชื่อเสียงที่เลื่องลือในฐานะศิลปินเดี่ยวกับลีลาบนเวทีและการแสดง แจ็กสันสร้างความโด่งดังให้กับเทคนิคการเต้นที่ซับซ้อนโดยใช้ร่างกายมากมายหลายๆท่า ซึ่งก่อให้เกิดการแพร่หลายอย่างมาก อย่างเช่นท่าเต้นหุ่นยนต์และท่าเต้นมูนวอล์ก เอกลักษณ์ทางด้านดนตรีและเสียงร้องอันโดดเด่นของเขายังมีอิทธิพลต่อศิลปินหลายแนวเพลง อิทธิพลของเขาได้แพร่กระจายไปสู่คนหลายรุ่นทั่วโลก Thriller ถือเป็นอัลบั้มเพลงที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลสี่อัลบั้มเดี่ยวที่เหลือของเขา ก็ยังติดอันดับอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในโลก ประกอบด้วยชุด Off the Wall (1979), Bad (1987), Dangerous (1991) และ HIStory (1995) แจ็กสันเดินทางไปทั่วโลกเพื่อร่วมกิจกรรมด้านมนุษยธรรม เขาหาเงินนับร้อยล้านดอลลาร์เพื่อมูลนิธิการกุศลของเขา มีซิงเกิลและผลกำไรจากทัวร์คอนเสิร์ตที่เขาสนับสนุนให้กับองค์กร 39 แห่ง บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่าเขาเป็นบุคคลบันเทิงที่มีส่วนร่วมในการกุศลมากยิ่งกว่าดาราหรือศิลปินคนใดๆ ชีวิตส่วนตัวของเขามักปรากฏตัวโดยการปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและพฤติกรรมให้คนอื่นจำไม่ได้ แต่นี่ก็เป็นสิ่งที่ทำลายภาพลักษณ์ที่ดีของเขาด้วยเช่นกัน เขายังถูกข้อกล่าวหาลวนลามทางเพศเด็กในปี 1993 แต่ก็ปิดลงโดยเขาไม่มีความผิดเนื่องจากมีหลักฐานไม่เพียงพอ แจ็กสันมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 และยังมีข้อมูลรายงานขัดแย้งในเรื่องฐานะการเงินของเขาตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แจ็กสันแต่งงานมาแล้วสองครั้ง มีลูกสามคน ต่อมาในปี 2005 เขามีข้อพิพาทอีกครั้งเรื่องล่วงละเมิดทางเพศและอีกหลายคดี แต่เขาก็ไม่มีความผิด (ซึ่งในภายหลังคู่กรณีหลายรายได้ออกมายอมรับว่า แจ็กสัน ไม่ได้กระทำ และที่กล่าวหา เพราะเป็นเด็ก และถูกผู้ปกครองบังคับ โดยหวังที่จะได้รับเงินค่าเสียหาย) เขาเป็นหนึ่งในไม่กี่ศิลปินที่มีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมถึงสองครั้ง ผลงานของเขาประสบความสำเร็จได้รับบันทึกสถิติหลายครั้ง กินเนสส์บุ้คเวิลด์เรคคอร์ดจารึกชื่อเขาเป็น "ศิลปินบันเทิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดตลอดกาล" เขาเป็นนักร้องคนเดียวจากโลกดนตรีป็อปและร็อกแอนด์โรลที่มีชื่ออยู่ในหอเกียรติยศแดนซ์ฮอลออฟเฟม และยังเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่มีเพลงฮิตติดท็อป 10 บนบิลบอร์ดฮ็อต 100 ทุก 10 ปี ติดต่อกันนานกว่าครึ่งศตวรรษ แจ็กสันชนะรางวัลจากเวทีต่างๆ นับร้อยกว่ารางวัล ทำให้เขาเป็นศิลปินที่คว้ารางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงป็อปความสำเร็จอื่นๆ ของเขาได้แก่ สถิติในกินเนสบุ้คเวิลด์เรคคอร์ดหลายครั้ง 13 รางวัลแกรมมี่ รางวัลพิเศษ Grammy Legend Award, Grammy Lifetime Achievement Award 26 อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส มากกว่าศิลปินคนใดๆ รวมไปถึงรางวัลพิเศษ "ศิลปินแห่งศตวรรษ" และ "ศิลปินแห่งทศวรรษ" 13 ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในฐานะนักร้องเดี่ยว มากกว่าที่ศิลปินชายคนใดจะทำได้ และมียอดขายรวมกว่า 400 ล้านชุดทั่วโลก ไมเคิล แจ็กสัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: ปารีสและไมเคิล แจ็กสัน · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์

มเคิล แจ็คสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ (Michael Jackson: The Immortal World Tour) เป็นครั้งแรกของทั้งสองผลิตละครที่แตกต่างกันอย่างเป็นทางการโดย บริษัท Cirque du Soleil ซึ่งใช้ดนตรี และวิสัยทัศน์ของ ไมเคิล แจ็คสัน พร้อมกับ ลายเซ็นสไตล์ท่ากายกรรที่มีประสิทธิภาพของ Cirque du Soleil เพื่อสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตที่สมจริง การแสดงที่ได้รับการเขียนบทและกำกับการแสดงโดย เจมี คิง และการผลิตในการเป็นหุ้นส่วนกับธุรกิจของไมเคิล แจ็คสัน เวทีการแสดงซึ่งจะคล้ายกับคอนเสิร์ตเพลงร็อก เริ่มต้นการแสดงทัวร์เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเมืองมอนทรีออล หลังจากนั้นได้เดินทางไปแสดงที่ทวีปอเมริกาเหนือประมาณสองปี ต่อไปด้วยทวีปยุโรป และส่วนที่เหลือของโลก บริษัท Michael Jackson Company LLC ได้ร่วมมือกับ Cirque du Soleil เพื่อที่จะสร้างประสบการณ์คอนเสิร์ตครั้งนี้ ในส่วนของทำสัญญามูลค่า 250 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ พร้อมกับโซนี อนุญาตให้เผยแพร่เพลงดนตรีจนถึงปี ค.ศ. 2017 โดยในชื่ออัลบั้ม อิมมอร์ทัล ถูกใช้ในการผลิตด้วย ธุรกิจเริ่มต้นเปิดการแสดง 50 สถานที่จัดงานแล้วถามแฟน ๆ ที่จะทำตามคำขอถ้าพวกเขาต้องการสำหรับการแสดงที่จะมาไปยังเมืองนั้น ๆ ความต้องการตั๋วสูงได้รับแจ้งธุรกิจที่จะเพิ่มสถานที่จัดงานหลายแห่งและหลายวันการแสดงซึ่งรวมแล้วทั้งหมด 273 รอบในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปยุโรป แสดงครั้งแรกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2011 เวลาเพียงสองเดือนหลังจากที่ถูกเปิดตัวการแสดงที่มียอดจำหน่ายกว่า 100 ล้านตั๋ว และกลายเป็นการแสดงทัวร์ชั้นนำของอเมริกาตามฟอร์บ อิมมอร์ทัล ได้สร้างจนถึงขณะนี้ 340 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และได้รับการแสดงไปกว่า 2 ล้านผู้ชมทั่วโลก ติดท็อปชาร์ตในปี..

ใหม่!!: ปารีสและไมเคิล แจ็กสัน: ดิอิมมอร์ทัลเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล โอเวน

มเคิล เจมส์ โอเวน (Michael James Owen) เกิดวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2522 ที่เชสเตอร์ ในเชสเชียร์ ในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: ปารีสและไมเคิล โอเวน · ดูเพิ่มเติม »

ไลฟ์อาปารี (วิดีโอ)

ลฟ์อาปารี (Live à Paris) คือ สื่อวีดิทัศน์ที่ 3 ของเซลีน ดิออน ซึ่งบันทึกภาพที่ Zenith Theatre ใน ปารีสเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2538 ระหว่างคอนเสิร์ตทัวร์เดอ เซลีน ระหว่างการแสดงคอนเสิร์ตไลฟ์อาปารีส (ปี พ.ศ. 2538) คอนเสิร์ตนำโดยเพลงฝรั่งเศสและเพลงภาษาอังกฤษเล็กน้อย ชอง-ชาก โกลด์แมนร่วมกับเซลีน ดิออน ในเพลง "Les derniers seront les premiers" และ "ชีเรเออตูอีรา" ไลฟ์อาปารี จำหน่ายเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ในรูปแบบวิดีโอ และวางจำหน่ายใหม่ในรูปแบบดีวีดีเมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งไม่ได้บรรจุเพลง "ริเวอร์ดีฟ, เมาท์เทนไฮ" ไลฟ์อาปารี วิดีโอ ได้รับการรับรองสถานะ 3x พลาตตินัม ในฝรั่งเศส (60,000 แผ่น) และดีวีดีที่วางจำหน่ายใหม่ได้รับรับรองเป็นสถานะพลาตตินัม (20,000 แผ่น) ในชาร์ทมิวสิกวีดีโอฝรั่งเศส ตั้งแต่กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและไลฟ์อาปารี (วิดีโอ) · ดูเพิ่มเติม »

ไอกะ มิสึอิ

อกะ มิสึอิ (光井愛佳; Mitsui Aika) เกิดวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2536 ณ เมืองโอสึ จังหวัดชิงะ ประเทศญี่ปุ่นรายการโทรทัศน์ Hello! Morning (ญี่ปุ่น.) ตอนที่ 347 เธอคือนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่นสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ปัจจุบันเป็นสมาชิกของกลุ่มนักร้องหญิงแนวเจ-ป็อปที่ชื่อ "มอร์นิงมุซุเมะ".

ใหม่!!: ปารีสและไอกะ มิสึอิ · ดูเพิ่มเติม »

ไอแซก ซิงเกอร์

ียนไอแซก เมอร์ริต ซิงเกอร์ โดยเอดเวิร์ด แฮริสัน เมย์ ไอแซก เมอร์ริต ซิงเกอร์ (Isaac Merritt Singer - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2354 - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2418) นักประดิษฐ์ นักแสดงและผู้ประกอบการชาวอเมริกัน ผู้ทำการออกแบบปรับปรุงส่วนสำคัญของจักรเย็บผ้าและเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซิงเกอร์จักรเย็บผ้.

ใหม่!!: ปารีสและไอแซก ซิงเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอเอ็มจีโมเดลส์

อเอ็มจีโมเดลส์ (IMG Models) เป็นส่วนหนึ่งของบริษัทไอเอ็มจี ที่มีธุรกิจเกี่ยวกับกีฬา แฟชั่น และสื่อ มีสำนักงานที่นครนิวยอร์ก ลอนดอน มิลาน ปารีส และซิดนีย์ เป็นตัวแทนของผู้หญิงที่มีพรสวรรค์ เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและไอเอ็มจีโมเดลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัส

น์ริช กุสทัฟ แมกนัส (Heinrich Gustav Magnus; 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1802 – 4 เมษายน ค.ศ. 1870) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัสเกิดที่เมืองเบอร์ลิน ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ได้รับการเรียนการสอนจากที่บ้านก่อนจะเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน และได้ไปศึกษาดูงานที่กรุงสตอกโฮล์มและปารีส ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัส · ดูเพิ่มเติม »

ไทรา แบงส์

ทรา ลีนน์ แบงส์ (เกิด 4 ธันวาคม ค.ศ.1973) เธอคือ นางแบบอเมริกัน เจ้าของรายการชื่อดัง นักแสดง และ นักร้อง เธอมีชื่อเสียงในวงการ เป็นนางแบบครั้งแรกๆใน ปารีส, มิลาน, ลอนดอน, โตเกียว และ นิวยอร์ก และเธอยังเป็นเจ้าของรายการ เรียลลิตี้ โชว์ต่างๆอีกด้วย เช่น อเมริกาส์เน็กซ์ท็อปโมเดล และเธอยังเป็นเจ้าของรายการทอลก์ ของเธอเองที่มีชื่อว่า "เดอะ ไทรา แบงส์ โชว์".

ใหม่!!: ปารีสและไทรา แบงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทรโยค พุ่มพันธ์ม่วง

ทรโยค พุ่มพันธ์ม่วง เดิมเป็นที่รู้จักในชื่อ ไทรโยคน้อย ศักดิ์ชัยณรงค์ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2526 —) เป็นนักมวยไทยชาวไทย เจ้าของฉายา "ขุนศอกอำมหิต" และ "จอมศอกโกอินเตอร์" และเป็นอดีตแชมป์สนามมวยเวทีลุมพินีรุ่น 154 ปอนด์ และแชมป์รุ่น 147 ปอนด์ของประเทศไทย เขาเป็นนักชกจากค่ายมวยไทยพลาซ่า 2004 ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไท.

ใหม่!!: ปารีสและไทรโยค พุ่มพันธ์ม่วง · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: ปารีสและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดแอนาแห่งแวร์ซาย

แอนาแห่งแวร์ซาย (Diana of Versailles; Diane de Versailles) เป็นประติมากรรมหินอ่อนที่มีขนาดใหญ่กว่าคนจริงเล็กน้อย ของเทพีกรีกอาร์ทิมิส หรือเทพีโรมันเทพีไดแอนา พร้อมด้วยกวาง งานชิ้นนี้เป็นงานที่ก๊อบปี้จากงานเดิมเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 1 หรือ คริสต์ศตวรรษที่ 2 จากงานประติมากรรมกรีกเดิมที่เชื่อกันว่าสร้างโดยเลโอคารีสราว 325 ก่อนคริสต์ศักราชที่สูญหายไป ชื่ออื่นของงานชิ้นนี้ที่เป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่ "Diana à la Biche", "Diane Chasseresse" (ไดแอนานักล่าสัตว์), "Artemis of the Chase" และ "Artemis with the Hind".

ใหม่!!: ปารีสและไดแอนาแห่งแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

ไดโอรามา

Diorama ภาพ flatboat ในการเก็บถาวรของเด็กพิพิธภัณฑ์ของอินเดียแนโพลิ ไดโอรามา คือ อุปกรณ์ที่ใช้โชว์ที่กล่าวถึงอุปกรณ์ในละครถึงสิ่งที่เคลื่อนที่ได้ถูกต้อง คือ การใช้หลักจำลองแบบ 3 มิติ ที่โดยปกติจะห่อหุ้มและเก็บไว้ในตู้โชว์ในพิพิธภัณฑ์ ดาแกรี่ ไดโอรามา แบบพื้นและหน้าตัดสำหรับไดโอรามาในลอนดอน ไดโอรามาเป็นที่นิยมในสถานบันเทิงในปารีส อังกฤษ สก๊อตแลนด์และไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี 1822 - 1880 และเป็นทางเลือกซึ่งเป็นที่นิยม "ทัศนียภาพทั้งหมด" ไดโอรามา คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับโรงละครโดยมุมมองของคนดูที่อยู่ในที่สูงและในชั้นพิเศษในโรงละคร ที่มีผู้ชมกว่า 350 คน ในแฟ้มเอกสารมุมมองของภูมิทัศมันสามารถเปลี่ยนภาพลักษณ์ของทั้งสองและในการแสดงละคร ที่ยืนอยู่แม้ว่าจะมีที่นั่งจำกัดหรือที่จัดหาไว้ให้ในการแสดงล่าสุด 10 - 15 นาที ก่อนหน้าที่เวลาที่ผู้ชมทั้งหมดจะเข้ามาโดยทำมุมมองทั้งสองมุมมอง ซึ่งต่อมาเป็นต้นแบบสำหรับโรงภาพยนตร์ไดโอรามา 3 มิติ ขนาดและสัดส่วนของหน้าเวที คือ กว้าง 24 ฟุต สูง 21 ฟุต (7.3*6.4 เมตร) โดยจะทำฉากและสีด้วยมือ คือ การทำให้มันโปร่งใสโดยเลือกพื้นที่ที่จะทำให้โปร่งใสและในเรื่องที่มีขั้นตอนมาก ๆ จะจัดเตรียมแผ่นลินินในส่วนของความลึกและทำให้สว่างโดยใช้แสงไฟเป็นตัจัดการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของแสงที่แสงทำงานเต็มที่จะทำให้ฉากเปลี่ยนไปโดยผลกระทบที่เกิดจากการจะทำด้วยความประณีต ทำให้นักวิจารณ์และผู้ชมประหลาดใจและเชื่อในสิ่งที่กำลังดูฉากที่เป็นธรรมชาติอยู่ นักประดิษฐ์และเจ้าของลิขสิทธิ์ของไดโอรามา คือ ลุย ฌัก ม็องเด ดาแกร์ (ในปี 1789-1815) ก่อนหน้านี้ผู้ตกแต่และผู้ผลิตกระจกสำหรับสีภูมิทัศน์และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบด้านสีของด้านเทตนิคเวทีให้เข้าใจก่อน ต่อมาดาแกรี่ได้รับเป็นที่ปรึกษาของดาแกโรไทป์เป็นที่แรกและใช้อย่างกว้างขวางสำหรับวิธีการ.

ใหม่!!: ปารีสและไดโอรามา · ดูเพิ่มเติม »

เชอรี่ ส.วานิช

.รุ่งโรจน์) เจ้าของฉายา "จอมจุมพิต" กับเชอรี่ ส.วานิช เชอรี.วานิช เป็นนักมวยไทยชาวไทยที่มีชื่อเสียงระดับโลก เขาเป็นผู้สร้างผลงานจากการปะทะกับนักมวยไทยชาวฝรั่งเศสอย่างโจ เพรสเตีย (Jo Prestia) และโจเอล ซีซาร์ (Joel Cesar) ในแบบ 2 ต่อ 1 นอกจากนี้ เขายังเป็นฝ่ายผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับนักมวยไทยชาวดัตช์ผู้มีนามว่ารามอน เดกเกอร์ (Ramon Dekkers).

ใหม่!!: ปารีสและเชอรี่ ส.วานิช · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ปารีสและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นาร์ด ชูมี

เบอร์นาร์ด ชูมี (Bernard Tschumi) เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1944 ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นสถาปนิก นักเขียน และนักศึกษาศาสตร์ เขามีส่วนร่วมกับสถาปัตยกรรมดีคอนสตรักทิวิสม์ เขาเกิดในครอบครัวชาวฝรั่งเศสและสวิส เขาทำงานและอยู่ที่นิวยอร์กและปารีส เขาศึกษาที่ปารีสและที่สถาบันเทคโนโลยีสวิส ซูริก ที่เขาได้รับสถาปัตยกรรมบัณฑิตในปี 1969 ชูมีสอนที่ Portsmouth Polytechnic ในพอร์ตสมัท สหราชอาณาจักร, สมาคมสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรมในลอนดอน, Institute for Architecture and Urban Studies ในนิวยอร์ก, มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน, Cooper Union ในนิวยอร์ก และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ที่เขาเป็นคณบดี Graduate School of Architecture, Planning and Preservation ระหว่างปี 1988 ถึง 2003 ชูมีเป็นพลเมืองถาวรอเมริกัน หมวดหมู่:สถาปนิกชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:สถาปนิกชาวสวิส หมวดหมู่:บุคคลจากโลซาน หมวดหมู่:บุคคลจากสมาคมสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรม.

ใหม่!!: ปารีสและเบอร์นาร์ด ชูมี · ดูเพิ่มเติม »

เบอนัว มานดัลบรอ

อนัว มานดัลบรอ นักคณิตศาสตร์แฟรกตัล เบอนัว บี.

ใหม่!!: ปารีสและเบอนัว มานดัลบรอ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์โอเพ่น

ฟรนช์โอเพน การแข่งขันเทนนิสเฟรนช์โอเพ่น หรือในชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรลังด์ การ์รอส (ฝรั่งเศส: Tournoi de Roland-Garros, อังกฤษ: Roland Garros Tournament) เป็นการแข่งขันเทนนิสที่จัดการแข่งขันขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนของทุกปี ที่สนามโรลังด์ การ์รอส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เฟนช์โอเพนเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1891 โดยมีแชมป์คนแรกในประเภทชายเดี่ยวคือ Henry Briggs ชาวฝรั่งเศส ส่วนในประเภทหญิงเดี่ยว เริ่มมีการจัดการแข่งขันครั้งแรกขึ้นในปี..1897 โดยมีแชมป์คนแรกคือ Adine Masson ชาวฝรั่งเศส เฟรนช์โอเพน หรือ โรลังด์ การ์รอส เป็นการแข่งขันแกรนด์สแลมรายการที่สองของปี ถัดจากออสเตรเลียนโอเพน และเป็นการแข่งขันแกรนด์สแลมรายการเดียวที่แข่งบนคอร์ทดิน ด้วยลักษณะพื้นฐานของคอร์ทดินที่แตกต่างไปจากประเภทอื่น ทั้งความเร็วและการกระดอนของลูก ทักษะการเคลื่อนไหวของนักเทนนิสบนผิวคอร์ทดินจึงแตกต่าง ทำให้เฟรนช์โอเพน มักเป็นรายการที่ขัดขวางนักเทนนิสหลายคน เช่น พีท แซมพราส จิมมี คอนเนอร์ มาร์ตินา ฮินกิส และรวมไปถึง โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ในการเป็นผู้ชนะเลิศรายการแกรนด์สแลมครบทั้งสี่รายการ หลังจากก่อนหน้านี้เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศมาแล้ว 3 ปีติดต่อกัน (2006, 2007, 2008) แล้วแพ้ให้กับ ราฟาเอล นาดาล ทั้ง 3 ปีที่เข้าชิงชนะเลิศ ได้แค่ตำแหน่งรองแชมป์ ไม่เคยได้ตำแหน่งแชมป์เฟรนช์โอเพนเลย จนกระทั่งปี..2009 โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ที่เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน (2006, 2007, 2008, 2009) จึงคว้าแชมป์เฟรนช์โอเพนได้สำเร็จ เมื่อ ราฟาเอล นาดาล ไปพลาดท่าตกรอบ 16 คนสุดท้าย โดยแพ้ให้กับ โรบิน โซเดอลิง 1-3 เซต 2-6, 7-6(2), 4-6, 6-7(2) ทำให้ในรอบชิงชนะเลิศ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ชนะ โรบิน โซเดอลิง 3-0 เซตรวด 6-1, 7-6(1), 6-4 คว้าแชมป์เฟรนช์โอเพ่นมาครองได้สำเร็จเป็นครั้งแรก และเป็นผู้ชนะเลิศรายการแกรนด์สแลมครบทั้งสี่รายการเป็นคนที่ 6 ต่อจาก อังเดร แอกอัซซี ผู้ครองตำแหน่งชนะเลิศคนปัจจุบันในประเภทชายเดี่ยวคือ ราฟาเอล นาดาล ส่วนประเภทหญิงเดี่ยวคือ มาเรีย ชาราโปว.

ใหม่!!: ปารีสและเฟรนช์โอเพ่น · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์เกียนา

ฟรนช์เกียนา (French Guiana) หรือ กุยยานฟร็องแซซ (Guyane française) เป็นจังหวัดโพ้นทะเล (département d'outre-mer) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ทิศเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศบราซิล และทางทิศตะวันตกติดกับประเทศซูรินาม เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศสจังหวัดอื่น ๆ เฟรนช์เกียนายังมีฐานะเป็นแคว้นโพ้นทะเล (région d'outre-mer) ซึ่งเป็น 1 ใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศสด้วย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับประเทศฝรั่งเศสในทวีปยุโรปและใช้สกุลเงินยูโรเช่นกัน.

ใหม่!!: ปารีสและเฟรนช์เกียนา · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก ชอแป็ง

ฟรเดริก ชอแป็ง เฟรเดริก ฟร็องซัว ชอแป็ง (Frédéric François Chopin) หรือ ฟรือแดรึก ฟรันต์ซีเชก ชอแป็ง (Fryderyk Franciszek Chopin บางครั้งสะกดว่า Szopen) เป็นคีตกวีชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2353 (ค.ศ. 1810) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) จากวัณโรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ ชื่อที่บิดามารดาของเขาตั้งให้คือ "Fryderyk Franciszek Chopin" ต่อมาได้หันมาใช้ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสเมื่อเขาได้ตัดสินใจจากประเทศบ้านเกิดเป็นการถาวรเพื่อมุ่งหน้าสู่กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเฟรเดริก ชอแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก บาซีย์

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1865–1866) สถาบันศิลปะแห่งชิคาโก, สหรัฐอเมริกา ฌ็อง เฟรเดริก บาซีย์ (Jean Frédéric Bazille; 6 ธันวาคม ค.ศ. 1841 - 28 พฤศจิกายนน ค.ศ. 1870) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพคน.

ใหม่!!: ปารีสและเฟรเดริก บาซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก เมนดี (นักฟุตบอลเกิดปี ค.ศ. 1988)

ฟรเดริก เมนดี (Frédéric Mendy; เกิดวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988) เป็นนักฟุตบอลชาวกินี-บิสเซา แต่เกิดที่ประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรฟุตบอลบางกอกกล.

ใหม่!!: ปารีสและเฟรเดริก เมนดี (นักฟุตบอลเกิดปี ค.ศ. 1988) · ดูเพิ่มเติม »

เฟลิกซ์ ยูซ์ป็อป

้าชาย ยูซูป๊อป เฟซิโซวิกค์ เฟเลคซ์, ท่านเค้าท์แห่งซูมานอฟ (Князь Фéликс Фéликсович Юсýпов, Граф Сумароков-Эльстон; March 23, 1887, เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก, จักรวรรดิรัสเซีย – กันยายน 27, 1967, ฝรั่งเศส, รู้จักกันในนามของผู้สังหารรัสปูติน,.

ใหม่!!: ปารีสและเฟลิกซ์ ยูซ์ป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เฟาสต์

วาดในปี 1925 แสดงภาพเฟาสต์ และเมฟิสโตฟิลีส จากเฟาสต์ฉบับของเกอเธอ ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นภาพของนายแพทย์โยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ ต้นแบบของเฟาสต์ เฟาสต์ (Faust) หรือ เฟาสตุส (Faustus) เป็นตัวเอกในตำนานโศกนาฏกรรมของเยอรมัน เกี่ยวกับชายที่ขายวิญญาณให้ปิศาจเมฟิสโตฟิลีส (Mephistopheles) เพื่อแลกกับความรู้ ได้รับการดัดแปลงเป็นวรรณกรรม บทละคร ภาพเขียน และงานดนตรี เป็นจำนวนมาก ที่มาของตัวละครเฟาสต์ สันนิษฐานว่ามาจากเรื่องราวของโยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ (ค.ศ. 1480–1540) นักเล่นแร่แปรธาตุและนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน หรืออาจมาจากเรื่องราวของโยฮันน์ ฟุสต์ (ค.ศ. 1400-1466) จิตรกรเยอรมัน เพื่อนสนิทของโยฮันน์ กูเทนแบร์ก (ค.ศ. 1398–1468) นักประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียง ตำนานของเฟาสต์นั้นบันทึกเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส

รื่องบินแอร์บัส เอ 310-200F เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11F เครื่องบินเอทีอาร์ 42 เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส (อังกฤษ: FedEx Express) เป็นสายการบินขนส่งสินค้าของเฟดเอกซ์ คอร์ปอเรชั่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองเมมฟิส ในรัฐเทนเนสซี สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและเฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงโอลิมปิก

ลิงโอลิมปิกในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ณ เมืองซอลต์เลกซิตี (Salt Lake City) รัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2545 เพลิงโอลิมปิก (Olympic Flame, Olympic Fire, Olympic Torch, Olympic Light, Olympic Eye, Olympic Sun) คือเพลิงที่ใช้จุดในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เป็นสัญลักษณ์และอนุสรณ์ถึงเพลิงที่เทพโพรมีเทียสขโมยจากเทพเจ้าซุสมามอบให้แก่มนุษยชาติมีไว้บริโภคเป็นครั้งแรก การจุดคบเพลิงโอลิมปิกเป็นประเพณีปฏิบัติตั้งแต่สมัยกรีกโบราณที่ต้องรักษาให้เพลิงโชติช่วงตลอดการแข่งขันกีฬาดังกล่าว สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกยุคปัจจุบัน ประเพณีการจุดเพลิงเช่นว่านี้ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม พ.ศ. 2471 สืบมาจนทุกวันนี้ ส่วนการส่งผ่านและวิ่งซึ่งคบเพลิงโอลิมปิกจากประเทศกรีซผ่านประเทศเครือข่ายต่าง ๆ ไปยังประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันนั้นมีนายคาร์ล ไดเอ็ม (Carl Diem) และนายโยเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) เป็นผู้ริเริ่มในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเบอร์ลิน พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: ปารีสและเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

เกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์

กมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์ (The Hunger Games: Catching Fire) เป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2556 เป็นภาคต่อมาจากภาพยนตร์ "เกมล่าเกม" กำกับโดย "ฟรานซิส ลอว์เรนซ์" และนำแสดงโดย เจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์, จอช ฮัทเชอร์สัน, เลียม เฮมส์เวิร์ท, วู้ดดี้ ฮาร์เรลสัน, เอลิซาเบธ แบงส์, เลนนี่ แครวิตซ์, ฟิลิป ซีมัวร์ ฮอฟฟ์แมน, สแตนลีย์ ทุชชี และ โดนัลด์ ซุทเธอร์แลนด์ อ้างอิงเนื้อเรื่องมาจานิยายของ ซูซาน คอลลินส์ ที่มีชื่อว่า "ปีกแห่งไฟ" อำนวยการสร้างโดย นิน่า จาคอบสัน และจอน คิลิค เขียนบทภาพยนตร์ใหม่โดย ไซมอน โบฟอย กับ ไมเคิล อาร์นต์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์ประพันต์โดย เจมส์ นิวตัน ฮาเวิร์ด และจัดจำหน่ายโดย ไลออนส์เกท เนื้อเรื่องเกี่ยวกับ "แคตนิส เอฟเวอร์ดีน" และ "พีต้า เมลลาร์ค" ที่ต้องเดินทางกลับสู่เขต 12 แต่ "ประธานาธิบดีสโนว์" พบว่าถูกกลุ่มคนเล็ก ๆ ท้าทายอำนาจ รวมถึงแคตนิสด้วย จึงตัดสินใจที่จะจัดเกมล่าชีวิตครั้งที่ 75 ด้วยการนำอดีตผู้ชนะจากทั้ง 12 เขตมาต่อสู้กัน เพื่อหาผู้รอดเพียงคนเดียว ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ก็การเป็นชนวนสำคัญ ที่จะเปลี่ยนพาเน็มไปตลอดกาล การถ่ายทำภาพยนตร์เริ่มตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555 จนถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ที่ ฮาวาย แอตแลนตา และ ลอสแอนเจลิส ในสหรัฐอเมริกา โดยจัดฉายทั้งในโรงภาพยนตร์ทั่วไปรวมถึงโรงภาพยนตร์ดิจิตอลไอแมกซ์ โดยทำให้เสียงในภาพยนตร์มีคุณภาพ และสี่ดีเอกซ์ ซึ่งจะมีการเคลื่อนไหวของเก้าอี้ ลม สเปรย์น้ำ แฟลชฟ้าผ่า และเทคนิคกลิ่นพิเศษ ตามแต่ละฉากในภาพยนตร์ เกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์ เปิดตัวในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ 2013 ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ณ ประเทศฝรั่งเศส มีการโปรโมตภาพยนตร์ที่สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมนี สเปน อิตาลี และฝรั่งเศส ซึ่งถือเป็นการโปรโมตเวิลด์พรีเมียร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายครั้งแรก (ไม่นับการโปรโมตพรีเมียม) ที่บราซิลในวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและเกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลมองซ์ โปเอซี

กลมองซ์ โปเอซีในปี 2557 เกลมองซ์ โปเอซี (Clémence Poésy) เป็นนักแสดงชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงจากบทเฟลอร์ เดอลากูร์ ในภาพยนตร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี เกลมองซ์ โปเอซี เกิดในชานกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2525 มารดาของเธอเป็นครูสอนภาษาฝรั่งเศส บิดาเป็นนักแสดงละคร ทำให้เธอมีโอกาสแสดงละครตั้งแต่อายุ 14 ปี จากนั้นก็ได้แสดงภาพยนตร์อีก 6 เรื่อง และละครโทรทัศน์ 3 เรื่อง ทั้งหมดเป็นการแสดงในประเทศฝรั่งเศส สำหรับบทบาทที่ต้องพูดภาษาอังกฤษเป็นครั้งแรก เป็นภาพยนตร์มินิซีรีส์ของสถานีโทรทัศน์บีบีซี เรื่อง Gunpowder, Treason and Plot โดยแสดงเป็นพระนางแมรีที่ 1 ของสกอตแลนด์ ปัจจุบันเคลมองสามารถพูดภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสได้อย่างคล่องแคล่ว.

ใหม่!!: ปารีสและเกลมองซ์ โปเอซี · ดูเพิ่มเติม »

เกอซีนา

กอซีนา (Gecina) เป็นกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่เน้นด้านที่อยู่อาศัย, สำนักงาน และการดูแลสุขภาพ ผลงานนี้ยังรวมถึงห้างสรรพสินค้า, คลังสินค้า และความรับผิดชอบด้านศูนย์โลจิสติกส์ในการประสานงานธุรกิจการค้า เช่น ปฏิบัติการในธุรกิจสถานที่กลางแจ้ง โดยเกือบทั้งหมดของธุรกิจมาจากประเทศฝรั่งเศส (ใน ค.ศ. 2009 มีสินทรัพย์ของต่างประเทศเพียง 1 เปอร์เซ็นต์) โดยจัดเป็นผู้ครองตลาดกรุงปารีส (เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยและสถานที่ให้บริการเชิงพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุด โดยประเทศฝรั่งเศสเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 สำหรับด้านอสังหาริมทรัพย์ของยุโรปที่อยู่นอกกรุงลอนดอน) ส่วนนอกกรุงปารีสโดยปกติแล้วจะมีนักลงทุนขนาดใหญ่ในลียง ส่วนใน..

ใหม่!!: ปารีสและเกอซีนา · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติยศแห่งชัยชนะ

กียรติยศแห่งชัยชนะ เป็นภาพยนตร์อังกฤษที่ออกฉายในปี 1981 เขียนบทโดย โคลิน เวลแลนด์และกำกับโดย ฮิวจ์ ฮัดสัน เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากเรื่องจริงของนักกรีฑาชาวอังกฤษที่แข่งขันวิ่งในโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 ในกรุงปารีส ภาพยนตร์สร้างมาจากเรื่องจริงของนักกรีฑา 2 คน ที่ชื่อ ฮาโรลด์ อับราฮัมส์ และ เอริค ลิดเดล ทั้งคู่สามารถคว้าเหรียญทองให้แก่สหราชอาณาจักรได้ ประเด็นสำคัญในเรื่องคือ ฮาโรลด์ อับราฮัมส์มีเชื้อสายยิว จึงเกิดเป็นปมด้อย รู้สึกเป็นคนนอก ถูกผู้คนรอบข้างเฝ้ามองด้วยสายตาหมิ่นเหยียดหยามอยู่ตลอดเวลา เป้าหมายสูงสุดคือการได้เหรียญทองโอลิมปิก จึงเป็นมากยิ่งกว่าแค่แข่งขันกีฬาตามปกติ ส่วนเอริค ลิดเดล เขาเป็นชาวสก็อตแลนด์ เกิดในครอบครัวหมอสอนศาสนา มีจุดมุ่งหมายในชีวิตเด่นชัดว่า พร้อมอุทิศตนทุ่มเทเพื่อรับใช้พระเจ้า แต่ความสามารถพิเศษในด้านการวิ่ง ทำให้เขาโดดเด่นอีกทาง ทั้งยังต้องขัดแย้งกับน้องสาวผู้เคร่งศาสนา สุดท้าย จุดหมายสูงสุดของเขา ไม่ได้วิ่งเพื่อเหรียญทองหรือชัยชนะใด ๆ แต่เป็นการวิ่งเพื่อนำเกียรติยศมาสู่พระเจ้าที่เขาเคารพศรัทธา ภาพยนตร์เล่าเรื่องสลับไปมาระหว่างตัวเอกทั้ง 2 โดยสะท้อนแง่มุมว่าด้วยการฝึกฝนอยางหนักเพื่อขัดเกลาเอาชนะใจตนเอง ความเป็นสุภาพบุรุษนักกีฬา และไคลแมกซ์สูงสุดของเรื่องคือการพิชิตเหรียญทองในโอลิมปิก อีกฉากหนึ่งที่เป็นฉากที่น่าจดจำคือ ตอนต้นและท้าย ภาพของเหล่านักวิ่งบนชาดหาด ควบคู่กับเพลงประกอบของ แวนเจลิส ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลที่สำคัญดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ปารีสและเกียรติยศแห่งชัยชนะ · ดูเพิ่มเติม »

เกง วันสัก

กง วันสัก (Keng Vannsak; ภาษาเขมร: កេង វ៉ាន់សាក់) เป็นนักวิชาการและนักเขียนชาวกัมพูชา เขาเป็นผู้ประดิษฐ์คีย์บอร์ดสำหรับการพิมพ์ภาษาเขมร เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงทั้งเรื่องสั้นและกวีนิพนธ์ ผลงานทางวรรณกรรม มีทั้งบทละคร ได้แก่ เนื้อไม่ได้กินแต่เอากระดูกแขวนคอ อินทิตโคโลต กวีนิพนธ์ เช่น ใจสาว ขอให้เขมรอยู่รอด อาตัวอาเตีย งานวิชาการเช่น สัทอักษรเขมร เขาได้ลี้ภัยในปารีสนับตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและเกง วันสัก · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชศาสตร์

ร้านยาแผนปัจจุบันในประเทศนอร์เวย์ เภสัชศาสตร์ ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค โดยศึกษาตั้งแต่วัตถุดิบที่จะนำมาผลิตยา การปรุงยา การเก็บรักษา ตลอดจนกระบวนการกระจายยา โดยศึกษาตั้งแต่แหล่งของยา โครงสร้างทางเคมีของยา การผลิตเป็นรูปแบบยาเตรียมต่างๆ การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพยาและเภสัชภัณฑ์ การวิจัยและการพัฒนายาและเภสัชภัณฑ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ การใช้ยาทางคลินิกในโรคของระบบต่างๆ อาการไม่พึงประสงค์ของยา การติดตามผลของยา การประเมินการใช้ยา ไปจนถึงการบริหารจัดการเรื่องยาและกฎหมายเกี่ยวกับยา ทั้งนี้ยังครอบคลุมไปถึงเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารเสพติด สารพิษ และวัตถุหรือสารออกฤทธิ์ประเภทต่างๆ เภสัชศาสตร์กำเนิดขึ้นควบคู่กับวิวัฒนาการของมนุษยชาติ ในการบำบัดรักษาคนป่วยในสมัยโบราณได้นำพืช สัตว์ และแร่ธาตุในการบำบัดรักษา โดยศึกษาวิธีการจากสิ่งมีชีวิตรอบตัว จนได้มีการจดบันทึกสั่งสมองค์ความรู้สู่การพัฒนาเภสัชตำรับฉบับแรกของโลกโดยชาวสุเมเรียน และได้เริ่มมีการศึกษาฤทธิ์ของยาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นในสมัยของฮิปโปเครตีส การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์ในสมัยโบราณเป็นการศึกษาในวงจำกัดของชนชั้นสูงในสังคมอาหรับและการสืบทอดตำราโดยบาทหลวงเท่านั้น จนกระทั่งสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม และการฝึกหัดทางเภสัชศาสตร์ทำให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบยิ่งขึ้น เภสัชศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยิ่ง การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์เน้นหลักในวิชาการด้านเคมีเป็นส่วนใหญ่ มีการแบ่งสาขาวิชาทางเภสัชศาสตร์จำแนกย่อยอีกหลายสาขา โดยแบ่งเป็นด้านวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม ประกอบด้วยสาขาเภสัชวิทยา เภสัชเวท เภสัชเคมี เภสัชวิเคราะห์และเภสัชภัณฑ์ จวบจนกระทั่งเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้น การผลิตยาจึงได้ประยุกต์สู่ด้านเภสัชอุตสาหกรรมด้วย ด้านเภสัชบริบาลศาสตร์ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการบริบาลผู้ป่วยและดูแลรักษาควบคุมการใช้ ตลอดจนติดตามผลการรักษาจากการใช้ยา ประกอบด้วยสาขาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรมโรงพยาบาล และด้านเภสัชสาธารณสุข เภสัชศาสตร์สังคมและบริหารเภสัชกิจที่ดูแลการใช้ยาในระดับประชากรและการบริหารจัดการเรื่อง.

ใหม่!!: ปารีสและเภสัชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมย์ โตโรก ฟอน เซนโดร

มย์ โตโรก ฟอน เซนโดร (May Torok von Szendro, جاويدان هانم Djavidan Hanem, เกิด 15 มิถุนายน ค.ศ. 1877 ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา — 5 สิงหาคม ค.ศ. 1968 ณ เมืองกราซ ประเทศออสเตรีย) นักเปียโน, นักเขียน, นักแปล และจิตรกรสตรีชาวฮังการี ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นพระภรรยาคนที่สองของคีดิฟอับบาสที่ 2 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ปารีสและเมย์ โตโรก ฟอน เซนโดร · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์เซเดส-เบนซ์ เอสแอลเอส เอเอ็มจี

มอร์เซเดส-เบนซ์ เอสแอลเอส เอเอ็มจี (Mercedes-Benz SLS AMG) เป็นรถยนต์นั่งประเภทหรูหราสมรรถนะสูง เครื่องยนตร์หน้าลำ ขับเคลื่อนสองล้อท้าย (FMR)/ขับเคลื่อนทุกล้อ (FM4) 2 ประตู 2 ที่นั่ง พัฒนาโดย เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี บริษัททำเครื่องยนต์พิเศษของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ ทำให้เอสแอลเอส-เอเอ็มจี กลายเป็นรถคันแรกที่ออกแบบและสร้างทั้งหมดโดยค่ายเมอร์เซเดส-เอเอ็มจี จึงทำให้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า "Mercedes-Benz SLS AMG" แทนการใช้คำว่า Class ที่ใช้กับทุกๆ รุ่น ของเมอร์เซเดส-เบนซ์ รถได้รับการออกแบบไว้เมื่อปี ค.ศ. 2007 โดย มาร์ก เฟเธอร์สตัน (Mark Fetherston) ด้วยลักษณะประตูพิเศษที่เรียกว่า "ประตูปีกนกนางนวล" (Gull-wing doors) ซึ่งเคยมีการผลิตมาใช้กับ เมอร์เซเดส-เบนซ์ 300เอสแอล (Mercedes-Benz 300SL). มาก่อนหน้านี้ ระหว่างปี ค.ศ. 1954 - 1957 แล้วก็ได้ยกเลิกไปตลอด คำว่า "เอสแอลเอส" ย่อมาจาก "Sport Leicht Super" ซึ่งแปลว่า "สปอร์ต เบา ซูเปอร์" รถเอสเแอลเอสทุกคัน ประกอบขึ้นที่เมืองซินเดลฟิงเงน (Sindelfingen) ประเทศเยอรมนี เอสเแอลเอส ได้เผยแพร่ครั้งแรก ในปี ค.ศ. 2009 ที่งานแฟรงค์เฟิร์ตมอเตอร์โชว์ และเริ่มจำหน่าย ในช่วงกลางปี ค.ศ. 2010 ที่ยุโรปเป็นที่แรก และจำหน่ายในสหรัฐ ในช่วงกลางปี ค.ศ. 2011 ในปี ค.ศ. 2012 ที่งานปารีสมอเตอร์โชว์ เมอร์เซเดส เอเอ็มจี ก็ได้นำเสนอ เวอร์ชันไฟฟ้า ซึ่งใช้พลังงานไฟฟ้าแทนน้ำมันทั้งหมด ใช้ชื่อว่า "Mercedes-Benz SLS AMG Electric Drive" ปัจจุบันเมอร์เซเดส-เบนซ์ เอสแอลเอส-คลาสได้ยุติสายการผลิตลงและแทนที่ด้วย เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี จีที (Mercedes-AMG GT) ในปี ค.ศ. 2014 ซึ่งมีกำลังและราคาที่ลดลงกว่า เพื่อเทียบรุ่นกับปอร์เช่ 911 เอสแอลเอส ได้กลายเป็นรถยอดนิยมของเหล่าเซเลบมากมาย ทั้ง เอ็ดดี้ เมอร์ฟี, อาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์, อัล ปาชิโน, ฟลอยด์ เมย์เวทเธอร์ จูเนียร์, บอริส เบกเคอร์, มาร์ก วาห์ลเบิร์ก, โรเจอร์ เฟเดอเรอร์, ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน, ทอม แฮงส์ และคริสเตียโน โรนัลโด และรวมไปถึงเหล่าเซเลบในวงการรถยนต์ทั้ง เจย์ เลโน และเจเรมี คลาร์กสัน ในบทสัมภาษณ์ของคลาร์กสันจากรายการ "ท็อปเกียร์" เขาได้กล่าวถึงเอสแอลเอส เอเอ็มจี ว่า "เป็นรถที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก" ไม่มีสิ่งใดที่จะ "มีกำลังมากกว่าเฟอร์รารี่ 458 อิตาเลีย มีเสียงที่ดังกว่าลัมโบร์กีนี นิดนึง และมันขับได้สนุกกว่า 911อาร์เอส จีที เทอร์โบ 3เอส...นี่น่าจะเรียกว่า ซูเปอร์คาร์ของเหล่าบุรุษ".

ใหม่!!: ปารีสและเมอร์เซเดส-เบนซ์ เอสแอลเอส เอเอ็มจี · ดูเพิ่มเติม »

เมารีซีโอ ฟูเนส

มารีซีโอ ฟูเนส การ์โลส เมารีซีโอ ฟูเนส การ์ตาเคนา (Carlos Mauricio Funes Cartagena) เกิดวันที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเมารีซีโอ ฟูเนส · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ปารีสและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงแฟชั่น

อสคาดาสปอร์ตที่งานสัปดาห์แฟชั่นเบอร์ลิน ฤดูใบไม้ผลิ/ฤดูร้อน 2013 เมืองหลวงแฟชั่น (Fashion capital) เป็นเมืองที่มีอิทธิพลสำคัญเกี่ยวกับแนวโน้มแฟชั่นต่างประเทศ ในการออกแบบการผลิต และการค้าปลีกของผลิตภัณฑ์แฟชั่น บวกกับงานแสดงต่าง ๆ เช่น สัปดาห์แฟชั่น งานประกาศรางวัล งานแสดงสินค้า  ที่มีผลต่อการสร้างผลผลิตทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสำคัญ ในเมืองหลวงแฟชั่นที่ถือว่าเป็นระดับโลกหรือเรียกว่า "บิ๊กโฟร์" ของศตวรรษที่ 20 คือ ปารีส มิลาน ลอนดอน และนิวยอร์ก และในขณะที่เมืองแฟชั่นอื่น ๆ ก็เริ่มเติมเติบโตขึ้นอย่างมากในศตวรรษที่ 21 เช่น โรม ตูริน ฟลอเรนซ์ เบอร์ลิน บาร์เซโลนา เวนิส โบโลญญา โตเกียว เซาเปาลู ลอสแอนเจลิส และโซล.

ใหม่!!: ปารีสและเมืองหลวงแฟชั่น · ดูเพิ่มเติม »

เมดีตาซียง

มดีตาซียง (Méditation) เป็นท่อนดนตรีอินเตอร์เมซโซ จากองก์ที่สองของอุปรากรเรื่อง ตาอิส ของฌูล มัสแน คีตกวีชาวฝรั่งเศส แต่งขึ้นสำหรับบรรเลงเดี่ยวไวโอลินร่วมกับวงออร์เคสตรา ออกแสดงครั้งแรกที่โรงอุปรากรปาแลการ์นีเย กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเมดีตาซียง · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: ปารีสและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เม็กซิโกซิตี

ตราประจำกรุงเม็กซิโกซิตีตั้งแต่ ค.ศ. 1523 เม็กซิโกซิตี (Mexico City) หรือ ซิวดัดเดเมคีโก (Ciudad de México) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ในหุบเขาเม็กซิโกบริเวณกึ่งกลางประเทศ เม็กซิโกซิตีมีพื้นที่ประมาณ 1,499 ตารางกิโลเมตร หรือถ้ารวมบริเวณมหานครด้วยจะมีพื้นที่รวมประมาณ 4,979 ตารางกิโลเมตร ประชากรในเม็กซิโกซิตี (ปี 2548) มี 8,605,239 คน ถ้ารวมเขตมหานครทั้งหมดมีประชากร 17,844,829 คน เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ปารีสและเม็กซิโกซิตี · ดูเพิ่มเติม »

เยเรวาน

รวาน (Yerevan; Երևան) บางครั้งเรียกว่า เอเรวาน (Erevan) ชื่อเดิมคือ เอเรบูนี (Erebuni) และ เอรีวาน (Erivan) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอาร์มีเนีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำฮรัซดัน (Hrazdan River) กรุงเยเรวานเป็นศูนย์กลางการบริหาร วัฒนธรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ปัจจุบันมีประชากร 1,088,000 คน (ค.ศ. 2004) มีนายตารอน มาร์กาเรียน (Taron Margaryan) เป็นนายกเทศมนตรี ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเมืองนี้ย้อนไปถึงในช่วงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งป้อมอูราร์เตียนแห่งเมืองเอเรบูนีเมื่อ 782 ปีก่อนคริสต์ศักราช กรุงเยเรวานเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเยเรวานสเตต (1919) บัณฑิตยสถานอาร์มีเนีย รวมทั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ โรงอุปรากร ห้องแสดงดนตรี สถาบันเทคโนโลยี ห้องสมุดสาธารณะขนาดใหญ่ สวนพฤกษศาสตร์ และสวนสัตว์อีกหลายแห่ง สถาบันมาเตนาดารัน (Matenadaran) ได้สะสมเอกสารต้นฉบับของอาร์มีเนียโบราณ กรีก ซีเรีย ฮีบรู โรมัน และเปอร์เซียที่มีค่าเอาไว้มากมาย เยเรวานยังเป็นหัวใจของเครือข่ายทางรถไฟและเป็นศูนย์กลางการค้าหลักของสินค้าเกษตรกรรมของประเทศ นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรมในเมืองนี้ยังผลิตโลหะ เครื่องมือจักรกล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและเยเรวาน · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: ปารีสและเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เรอเน มากริต

รอเน ฟร็องซัว กีแลน มากริต (René François Ghislain Magritte) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อเรอเน มากริต (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2510) เป็นจิตรกรสัญชาติเบลเยี่ยม มีชื่อเสียงจากการวาดภาพแนวเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม เขาเริ่มเป็นที่รู้จักจากผลงานที่ดูเฉลียวฉลาดและภาพวาดเหนือจริงที่ชวนกระตุ้นให้คิดผลงานของเขาเป็นที่ท้าทายต่อผู้เข้าชมที่ถูกความเป็นจริงตีกรอบไว้.

ใหม่!!: ปารีสและเรอเน มากริต · ดูเพิ่มเติม »

เรนอินบลัด

รนอินบลัด (Reign in Blood) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สามของวงแทรชเมทัลสัญชาติอเมริกัน สเลเยอร์ อัลบั้มออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเรนอินบลัด · ดูเพิ่มเติม »

เรนโซ เปียโน

รนโซ เปียโน (Renzo Piano) (14 กันยายน พ.ศ. 2480) สถาปนิกชาวอิตาลี เกิดที่เมืองเจนัว และได้รับการศึกษาที่โพลีเทคนีโกดีมีลาโน (มิลานโพลีเทคนิค) เขาได้ทำงานกับ หลุยส์ คาห์น และ มาโคว์สกี ในระหว่างปี 1965-1970 ต่อมาในช่วง 1971-1977 ก็ได้ทำงานร่วมกับ ริชาร์ด โรเจอรส์ โดยผลงานที่มีชื่อเสียงคือ Centre Georges Pompidou ที่กรุงปารีส เรนโซ เปียโนได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเรนโซ เปียโน · ดูเพิ่มเติม »

เรเน ดูปรี

รเน อีไมลี กอเจน (René Emile Goguen) เกิด 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเรเน ดูปรี · ดูเพิ่มเติม »

เลกงต์ด็อฟมาน

thumb ฮอฟมันน์ เลกงต์ด็อฟมาน (Les contes d'Hoffmann) เป็นอุปรากรภาษาฝรั่งเศส ความยาว 3 องก์ โดยฌัก ออแฟนบัก ดัดแปลงจากเรื่องสั้นหลายเรื่องของ อี. ที. เอ. ฮอฟมันน์ (1776 – 1822) นักเขียนชาวเยอรมัน ผู้แต่งเรื่อง "นัทแครกเกอร์กับราชาหนู" ซึ่งเป็นต้นฉบับของอุปรากร เดอะนัทแครกเกอร์ โดยนำมาจากเรื่อง Die Gesellschaft im Keller, Der Sandmann, Die Abendteuer der Sylvester-Nacht, Rath Krespel, และ Das verlorene Spiegelbild เป็นเรื่องราวแฟนตาซีเกี่ยวกับความผิดหวังในความรักของฮอฟมานน์ ที่มีกับตุ๊กตากลไกชื่อโอลิมเปีย, กับโสเภณีชื่อกุยเลียตตา และกับเด็กสาวชื่อแอนโทเนีย ออแฟนบักได้ทดลองซ้อมแสดงอุปรากรเรื่องนี้ครั้งแรกที่บ้านของเขาในปารีส เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเลกงต์ด็อฟมาน · ดูเพิ่มเติม »

เลมีเซราบล์

ลมีเซราบล์ หรือ เหยื่ออธรรม (Les Misérables;;; แปลตรงตัวว่า ผู้น่าอนาถ หรือ ผู้น่าสังเวช) เป็นนิยายประพันธ์ใน พ.ศ. 2404 โดยวิกตอร์ อูโก นักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส และเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในนิยายประพันธ์ที่ดีที่สุดในศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ปารีสและเลมีเซราบล์ · ดูเพิ่มเติม »

เลอกอร์บูซีเย

ลอกอร์บูซีเย (Le Corbusier) เป็นนามแฝงของ ชาร์ล-เอดูอาร์ จาเนอเร-กรี (Charles-Édouard Jeanneret-Gris) สถาปนิก นักผังเมือง มัณฑนากร จิตรกร และนักเขียน เกิดเป็นชาวสวิสในภูมิภาคที่ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ แต่แปลงสัญชาติเป็นชาวฝรั่งเศสเมื่ออายุ 43 ปี เกิดที่เมืองโช-เดอ-ฟง (Chaux-de-Fonds) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1887 และเสียชีวิตที่เมือง รอกเกอบรุน-กัป-มาร์ตัง (Roquebrune-Cap-Martin) เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเลอกอร์บูซีเย · ดูเพิ่มเติม »

เลอมงด์

ลอมงด์ (Le Monde) คือ หนังสือพิมพ์รอบค่ำรายวันของฝรั่งเศส ด้วยยอดพิมพ์ในปี พ.ศ. 2547 จำนวน 371,803 ฉบับ และถูกจัดเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแนวหน้าของฝรั่งเศส และบ่อยครั้งที่เป็นหนังสือพิมพ์ในประเทศฝรั่งเศสฉบับเดียว ซึ่งไม่ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศส ที่สามารถเข้าใจได้โดยง่าย นอกจากนี้ผู้คนส่วนใหญ่มักสับสนกับ เลอมงด์ดีปโลมาตีก (Le Monde diplomatique) ซึ่ง เลอมงด์ เองเป็นหุ้นส่วนอยู่ร้อยละ 54 แต่เลอมงด์ดีปโลมาตีก ตีพิมพ์และจัดจำหน่ายแยกอิสระจาก เลอมงด์ รวมทั้งมีกองบรรณาธิการเป็นของตัวเอง เลอมงด์นั้น ก่อตั้งโดย อูแบร์ต เบิฟว์-เมรี ตามคำของร้องของนายพลชาร์ล เดอ โกลล์ หลังจากกองทัพเยอรมนีถอนทัพออกจากปารีสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเข้าแทนที่หนังสือพิมพ์ เลอต็อง (Le Temps) โดยชื่อเสียงของเลอต็องถูกบ่อนทำลายลงในช่วงที่เยอรมนีเข้ายึดครองฝรั่งเศส โดยที่อูแบร์ต เบิฟว์-เมรี เป็นบรรณาธิการที่มีอำนาจเต็มในการบริหารจัดการทุกด้านภายในสำนักพิมพ์ เลอมงด์ฉบับแรกวางจำหน่ายวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2487 และเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรกในวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2538 โดยมีเงินทุนสนับสนุนทางธุรกิจจากเครือลาวีเลอมง.

ใหม่!!: ปารีสและเลอมงด์ · ดูเพิ่มเติม »

เลออาฟวร์

ลออาฟวร์ (Le Havre) เป็นเมืองในจังหวัดแซน-มารีตีม แคว้นโอต-นอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางเหนือ-ตะวันตกของประเทศ บนฝั่งช่องแคบอังกฤษ ทางด้านเหนือของปากแม่น้ำแซน เป็นเมืองท่าที่สำคัญในการส่งสินค้าจากภูมิภาคปารีสและทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีอุตสาหกรรมการกลั่นน้ำมัน ต่อเรือ เครื่องจักร มีโบสถ์โนเตรอดาม พิพิธภัณฑ์ ที่ตากอากาศริมทะเลทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเมือง เมืองนี้ได้รับการพัฒนาเป็นเมืองท่าตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นฐานทัพเรือในสมัยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นฐานทัพสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตร ในสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพเยอรมันเข้ายึดครองระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและเลออาฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลอง ชาร์ล เตฟว์แน็ง

ลอง ชาร์ล เตฟว์แน็งสะกดตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: ปารีสและเลอง ชาร์ล เตฟว์แน็ง · ดูเพิ่มเติม »

เลอง ฟูโก

ลอง ฟูโกต์ (Léon Foucault; 18 กันยายน ค.ศ. 1819 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1868) หรือชื่อเต็ม เลอง ฟูโกต์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเลอง ฟูโก · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟอะรูมิไลค์ รักอะไรไม่รู้

ลิฟอะรูมิไลค์ รักอะไรไม่รู้ (Love Arumirai) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวรัก-ตลก ออกฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558 กำกับโดย ฆนาการ สายทอง และ จิต กำเหนิดรัตน์ นำแสดงโดย พิษณุ นิ่มสกุล, ชีรณัฐ ยูสานนท์, นุชพัชร วงษ์สุวรรณ, ค่อม ชวนชื่น และ รัฐศาสตร์ รุ่งศิริทิพย์ ภาพยนตร์เล่าถึงเรื่องราวคู่รักที่กำลังตกอยู่ในสภาวะไม่เข้าใจกัน เปลี่ยนร่างสลับวิญญาณ จนกลายเป็นจุดเริ่มต้นของความปั่นป่วนวุ่นวายในชีวิต.

ใหม่!!: ปารีสและเลิฟอะรูมิไลค์ รักอะไรไม่รู้ · ดูเพิ่มเติม »

เลียม แกลลาเกอร์

วิลเลียม จอห์น พอล แกลลาเกอร์ (21 กันยายน พ.ศ. 2515) เป็นทั้งนักร้อง นักแต่งเพลง นักดนตรีชาวอังกฤษ อดีตผู้นำวงดนตรีโอเอซิส และอดีตผู้นำวงดนตรีบีดีอาย ด้วยพฤติกรรมคุ้มดีคุ้มร้าย ทัศนคติและท่าทีต่อต้านสังคม ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัญหาความรุนแรงในครอบครัวสมัยวัยเด็ก ส่งผลให้เลียมกลายเป็นประเด็นที่พูดถึงอย่างมากในหนังสือพิมพ์และข่าว ทำให้เขาเป็นบุคคลหนึ่งที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ดนตรีอังกฤษสมัยใหม่ เลียม ยังมีสไตล์การร้องเพลงที่โดดเด่น ในท่าร้องเพลงแหงนหน้าหาไมค์ มือไขว้หลัง หรือที่เรียกว่า "Singing pose" ซึ่งเขามักแสดงเช่นนี้ในทุกคอนเสิร์ตจนกลายเป็นเอกลักษณ์ โดยให้เหตุผลว่าการวางตำแหน่งไมโครโฟนไว้ระหว่างจมูกและปาก พร้อมทั้งย่อเข่ามือไขว้หลังนั้นจะช่วยให้เปล่งเสียงออกได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แกลลาเกอร์ยังได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งในฟร้อนท์แมนตลอดกาลของวงการเพลงอีกด้วย ถึงแม้ว่าพี่ชายของเขา โนล แกลลาเกอร์ เป็นผู้ประพันธ์เพลงให้วงโอเอซิสเป็นส่วนใหญ่ แต่เลียมก็มีโอกาสแต่งเพลง "Little James", "Songbird" และ "I'm Outta Time" เป็นซิงเกิ้ลของวงด้วย ตั้งแต่โนล แกลลาเกอร์ได้ลาออกจากวงในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 เลียมยังคงทำผลงานเพลงต่อไปโดยก่อตั้งวงดนตรีร่วมกับอดีตสมาชิกวงโอเอซิส คือ เก็ม อาร์เชอร์, แอนดี เบล, คริส ชาร์ร็อก ด้วยชื่อวงใหม่ "บีดีอาย" ออกอัลบั้มได้เพียงสองชุด เลียมก็ประกาศยุบวงในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเลียม แกลลาเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลซูว์ลิส

ลซูว์ลิส (Les Ulis) เป็นเทศบาลในประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในจังหวัดเอซอน เป็นชานเมืองด้านตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงปารีส อยู่ห่างจากศูนย์กลางของกรุงปารีส 23 กม.

ใหม่!!: ปารีสและเลซูว์ลิส · ดูเพิ่มเติม »

เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย

"เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย" (Les derniers seront les premiers) คือซิงเกิลของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม ไลฟ์อาปารี ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2539 ในยุโรปและแคนาดา ซึ่งเป็นผลงานการร้องสดของเธอร่วมกับชอง-ชาก โกลด์แมน "เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย" เป็นผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน เดิมเป็นเพลงหนึ่งในอัลบั้ม เดอ ซึ่งชอง-ชากขับร้องเป็นเสียงพื้นหลังเท่านั้น มิวสิกวิดีโอได้นำมาจากการแสดงสดเพลงดังกล่าว ณ โรงละคร Zenith ปารีส ซึ่งสามารถดูได้จาก ไลฟ์อาปารี ดีวีดี "เลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย" ขึ้นอันดับสูงสุดที่ 3 ในควิเบกแอร์เพลย์ชาร์ต เข้าสู่ชาร์ตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 และอยู่บนชาร์ตนานกว่า 35 สัปดาห์ นอกจากนี้ยังขึ้นชาร์ตอันดับที่ 47 ของเบลเยี่ยมวอลโลเนียแอร์เพลย์ชาร์ตอีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและเลแดร์นีเยเซอรงเลเปรอมีเย · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนาร์โด ดา วินชี

ลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1519) เป็นอัจฉริยบุคคลที่มีความสามารถหลากหลาย เป็นทั้ง สถาปนิกแบบเรอเนซองส์ นักดนตรี นักกายวิภาคศาสตร์ นักประดิษฐ์ วิศวกร ประติมากร นักเรขาคณิต นักวาดภาพ นักดาราศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ ดา วินชี มีงานศิลปะที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น เช่น พระกระยาหารมื้อสุดท้าย และ โมนา ลิซ่า งานของ ดา วินชี ยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่วางรากฐานด้านการบิน รวมถึงวิศวกรรมโยธา ด้วยความที่เป็นบุรุษที่มีจิตวิญญาณที่รักในศาสตร์หลายแขนง เลโอนาร์โดทำให้เกิดจิตวิญญาณของสหวิทยาการในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นบุคคลสำคัญของยุคนั้น นักประวัติศาสตร์และนักวิชาการหลายคนต่างยกย่องเลโอนาร์โดเป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลมและเป็นผู้รู้รอบด้าน หรือ "ชายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา" (Renaissance Man) บุคคลที่มี "ความอยากรู้อยากเห็นอย่างไม่มีข้อกังขา" และ "จินตนาการที่สร้างสรรค์ขึ้นเรื่อย ๆ".

ใหม่!!: ปารีสและเลโอนาร์โด ดา วินชี · ดูเพิ่มเติม »

เวลิบ

นีเวลิบและจักรยาน สถานีเวลิบบริเวณสถานีรถไฟ Gare de l'Est เวลิบ (ฝรั่งเศส:Vélib) เป็นโครงการจักรยานสาธารณะของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เริ่มให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเวลิบ · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์เฮฟวี่เวทเรสต์ลิงแชมเปียนชิป (ออริจินัล เวอร์ชั่น)

วิลด์เฮฟวี่เวทเรสต์ลิงแชมเปียนชิป (World Heavyweight Wrestling Championship) เป็นตำแหน่งแชมป์โลกแรกในประวัติศาสตร์มวยปล้ำอาชีพ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1905 โดยมรดกสืบทอดตามมาของการแข่งขันชิงแชมป์ไม่เป็นเชิงเส้นกับแชมป์ที่ถูกโต้แย้งในหมู่สมาคมต่าง ๆ จนกระทั่งการก่อตัวของ National Wrestling Alliance (NWA) ในปี ค.ศ. 1948 ในช่วงหลายสมัยที่ผ่านมาเป็นที่ยอมรับจาก NWA ภายใต้เชื้อสายของแชมป์ NWA World Heavyweight Championship และสืบเชื้อสายแชมป์โลกของ WWE แชมป์โลกคนแรกในในประวัติศาสตร์มวยปล้ำอาชีพ คือ จอร์จ แฮกเก็นชมิดต์ ผู้ที่เอาชนะอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1905 โดบเอาชนะ ทอม เจอร์กินส์ ในนครนิวยอร์ก.

ใหม่!!: ปารีสและเวิลด์เฮฟวี่เวทเรสต์ลิงแชมเปียนชิป (ออริจินัล เวอร์ชั่น) · ดูเพิ่มเติม »

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: ปารีสและเสริม วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศส

้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศส (Chemins de Compostelle en France; Routes of Santiago de Compostela in France) เป็นเส้นทางแห่งการจาริกแสวงบุญตามเส้นทางเซนต์เจมส์ที่ผ่านในฝรั่งเศส มีจุดมุ่งหมายสุดท้ายที่อาสนวิหารแห่งเมืองซานเตียโกเดกอมโปสเตลา ประเทศสเปน ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสถานที่ที่บรรจุอัฐิของพระอัครสาวกนักบุญเจมส์ใหญ่ โดยแบ่งเป็นเส้นทางทั้งหมด 7 สายย่อย ตามเส้นทางประกอบไปด้วยสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์กว่า 71 แห่งรอบประเทศฝรั่งเศส โดยได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและเส้นทางซานเตียโกเดกอมโปสเตลาในประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูด ที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือ ผ่าน มหาสมุทรอาร์กติก,  มหาสมุทรแอตแลนติก, ทวีปยุโรป, ทวีปแอฟริกา,  มหาสมุทรใต้, และ ทวีปแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 178 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: ปารีสและเส้นเมริเดียนที่ 2 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคกลาง

้นเวลาของประวัติศาสตร์ยุคกลาง คือ เส้นเวลาที่บอกถึงการใช้ชีวิตของมนุษย์ในยุคประวัติศาสตร์ตอนกลาง ซึ่งเส้นเวลานี้ต่อจากเส้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณ.

ใหม่!!: ปารีสและเส้นเวลาของยุคกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปารีสและเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: ปารีสและเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551

หตุการณ์พายุหมุนนาร์ก..

ใหม่!!: ปารีสและเหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุยิงกันในออโรรา ค.ศ. 2012

หตุยิงกันในออโรร..

ใหม่!!: ปารีสและเหตุยิงกันในออโรรา ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในปารีส เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558

ในช่วงกลางคืนของวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เกิดเหตุก่อการร้ายซึ่งประกอบด้วยการกราดยิง การระเบิดฆ่าตัวตาย และการจับตัวประกันในกรุงปารีสและเมืองแซ็ง-เดอนี (ย่านชานกรุงปารีสทางทิศเหนือ) ประเทศฝรั่งเศส เริ่มตั้งแต่เวลา 21:16 น. ตามเวลายุโรปกลาง เกิดเหตุกราดยิงผู้คน 6 จุด และระเบิดฆ่าตัวตายอีก 4 จุด รวมถึงที่บริเวณใกล้กับสตาดเดอฟร็องส์ (สนามกีฬาแห่งชาติ) ซึ่งกำลังมีการแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรระหว่างทีมชาติฝรั่งเศสกับทีมชาติเยอรมนี การโจมตีที่ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดอยู่ที่โรงมหรสพบาตากล็อง (Bataclan) ที่ซึ่งผู้ก่อเหตุได้จับผู้ชมคอนเสิร์ตเป็นตัวประกันและเผชิญหน้ากับตำรวจจนสิ้นสุดลงเมื่อเวลา 00:58 น. ของวันที่ 14 พฤศจิกายน จากเหตุการณ์นี้ มีพลเรือนเสียชีวิตอย่างน้อย 153 คน โดย 89 คนในจำนวนนี้อยู่ที่โรงมหรสพบาตากล็อง และมีผู้ได้รับบาดเจ็บระหว่างเหตุโจมตีอีก 352 คน โดยมี 99 คนที่ได้รับการระบุว่ามีอาการสาหัส นอกจากพลเรือนที่ประสบความสูญเสียแล้วยังมีผู้ก่อเหตุเสียชีวิต 7 คน และทางการกำลังค้นหาผู้ร่วมก่อเหตุที่ยังหลบหนี ก่อนที่จะถูกโจมตี ฝรั่งเศสอยู่ในภาวะประกาศเตือนภัยขั้นสูงมาตั้งแต่เหตุโจมตีในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 17 คน ประกอบด้วยพลเรือนและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ฟร็องซัว ออล็องด์ ประธานาธิบดีของฝรั่งเศสได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินระดับชาติเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เหตุจลาจลในปี พ.ศ. 2548 และได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมชายแดนเป็นการชั่วคราว นอกจากนี้ยังสั่งห้ามบุคคลออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืนทั่วกรุงปารีสเป็นครั้งแรกนับตั้งแต..

ใหม่!!: ปารีสและเหตุโจมตีในปารีส เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล นอลเดอ

อมิล นอลเดอ (Emil Nolde) หรือในชื่อเดิมคือ เอมิล แฮนสัน (Emil Hanson) เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเอมิล นอลเดอ · ดูเพิ่มเติม »

เอรัสมุส

อรัสมุส เมื่อ พ.ศ. 2066 วาดโดยฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก) เดซีเดริอุส เอรัสมุส โรเตโรดามุส (Desiderius Erasmus Roterodamus) หรือ เดซีเดริอุส เอรัสมุส แห่งรอตเทอร์ดามเอรัสมุส เป็นชื่อเมื่อเขารับศีลล้างบาป โดยตั้งตามนักบุญเอรัสม.

ใหม่!!: ปารีสและเอรัสมุส · ดูเพิ่มเติม »

เอริก ซาตี

ล้อเลียนตนเอง วาดโดยเอริก ซาตี เอริก ซาตี (Erik Satie) เป็นคีตกวี นักเปียโน และนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อเดิม เอริก อาลแฟรด เลลี ซาตี (Éric Alfred Leslie Satie) เกิดที่เมืององเฟลอร์ จังหวัดกาลวาโดส วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เสียชีวิตที่กรุงปารีส วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 (ค.ศ. 1925).

ใหม่!!: ปารีสและเอริก ซาตี · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธ เดบิคกี

อลิซาเบธ เดบิคกี (Elizabeth Debicki; เกิด 24 สิงหาคม ค.ศ.1990) เป็นนักแสดงหญิงชาวออสเตรเลีย หลังจากมีภาพยนตร์เปิดตัวเรื่อง A Few Best Men (2011) ก็รับทแสดงใน The Great Gatsby (2013) ซึ่งเธอได้รับรางวัล AACTA สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม และแสดงละครเวที The Maids ที่ Sydney Theatre Company กับเคต แบลนเชตต์ และ Isabelle Huppert (2013-14) ซึ่งเธอก็ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Helpmann Awards ครั้งที่ 14 เธอยังร่วมแสดงในภาพยนตร์ The Macbeth (2015), The Man  from U.N.C.L.E. (2015) และ Guardians of the Galaxy Vol. 2 (2017) .

ใหม่!!: ปารีสและเอลิซาเบธ เดบิคกี · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

อลิซาเบธแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (12 ตุลาคม พ.ศ. 2437 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ ชาร์ล็อต โจเซฟีน อเล็กซานดรา วิกตอเรีย) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ พระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 2 แห่งกรีซ พระนางเป็นพระธิดาของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียกับเจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ พระนางมีพระราชดำรัสสำคัญอยู่ประโยคหนึ่งว่า"ฉันได้กระทำผิดทุกๆอย่างในชีวิตของฉันนอกจากการเป็นฆาตกรและฉันไม่ปรารถนาที่จะตายโดยปราศจากการทำสิ่งเหล่านั้น".

ใหม่!!: ปารีสและเอลิซาเบธแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย

้าหญิงเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย(29 ธันวาคม พ.ศ. 2386 - 3 มีนาคม/2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) พระนามเดิมคือ เจ้าหญิงพอลีน เอลิซาเบธ ออตติลี หลุยส์ ซู วีด ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียโดยเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย พระนางทรงเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในด้านวรรณกรรมโดยทรงมีนามปากกาว่า "คาร์เมน ซิลวา"(Carmen Sylva) ทรงก่อตั้งองค์กรการกุศลขึ้นมากมาย ชาวโรมาเนียจึงให้พระสมัญญาว่า "Mama răniților" และชาวโรมาเนียมักจะเรียกพระนางว่า "พระราชินีคาร์เมน ซิลวา" ตามนามปากกาของพระนางมากกว่าเรียกพระนามจริง.

ใหม่!!: ปารีสและเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เอลิเนอร์แห่งอากีแตน

อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ. 1122 - 1 เมษายน ค.ศ. 1204) พระราชินีเอเลเนอร์ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1122 ที่ปราสาทเบแล็ง ฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตนและดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ เป็นพระราชินีของฝรั่งเศสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน · ดูเพิ่มเติม »

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

อลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง (Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun) หรือ มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ (Marie Élisabeth-Louise Vigée; 16 เมษายน ค.ศ. 1755 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1842) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภาพเหมือน เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจในศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกแต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้างจิตรกรรมประวัติศาสตร์แบบคลาสสิก.

ใหม่!!: ปารีสและเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง · ดูเพิ่มเติม »

เอวาริสต์ กาลัว

อวาริสต์ กาลัว (Évariste Galois,, 25 ตุลาคม ค.ศ. 1811 – 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1832) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ขณะที่เป็นวัยรุ่น กาลัวสามารถหาเงื่อนไขจำเป็นและเงือนไขพอเพียงสำหรับการหาคำตอบของพหุนามอันดับใดๆ ผลงานของ กาลัวนับว่าเป็นรากฐานของ ทฤษฎีกาลัว ซึ่งเป็นหนึ่งในสาขาหลักของวิชา พีชคณิตนามธรรม และเป็นสาขาหนึ่งใน Galois connection นอกจากนี้ กาลัวยังเป็นบุคคลแรกที่ใช้คำว่า กรุป (Group, groupe) ในฐานะของศัพท์เฉพาะทาง เพื่อที่จะอธิบายเรื่องกลุ่มในการเรียงสับเปลี่ยน นอกเหนือจากความสนในคณิตศาสตร์แล้ว กาลัวยังเป็นผู้ที่นิยมแนวคิดสาธารณรัฐอย่างสุดโต่ง กาลัวถูกยิงเสียชีวิตจากการดวลปืนในขณะที่มีอายุได้เพียง 20 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและเอวาริสต์ กาลัว · ดูเพิ่มเติม »

เอสพลานาด รัชดาภิเษก

อสพลานาด รัชดาภิเษก (Esplanade Ratchadapisek) ตั้งอยู่ริมถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ภายในเป็นห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า โรงภาพยนตร์ และศูนย์ความบันเทิงอื่น ๆ ตัวอาคารสูง 6 ชั้นและชั้นใต้ดิน 1 ชั้น มีพื้นที่ทั้งหมด 105,000 ตารางเมตร บริหารโครงการโดยบริษัทสยามฟิวเจอร์ดีเวลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เริ่มเปิดอย่างไม่เป็นทางการเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย ฉบับวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเอสพลานาด รัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

เออนอรา มาลาเกร

ออนอรา มาลาจเร (ฝรั่งเศส:Enora Malagré) เป็นชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2523 (ค.ศ.1980) ที่เมืองมอร์เลซ์ เป็นผู้ประกาศข่าว คอลัมนิสต์ และนักจัดรายการวิท.

ใหม่!!: ปารีสและเออนอรา มาลาเกร · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก

ออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก (Eugène Viollet-le-Duc,; 27 มกราคม ค.ศ. 1814 - 17 กันยายน ค.ศ. 1879) เป็นสถาปนิกและนักทฤษฎีคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีชื่อเสียงจากงานบูรณปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้างจากยุคกลาง วียอแล-เลอ-ดุกเป็นสถาปนิกผู้มีบทบาทสำคัญของขบวนการสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคในฝรั่งเศสที่อยู่บนพื้นฐานของปรัชญาที่ว่าสถาปัตยกรรมควรจะเป็นสิ่งที่แสดงออกอย่าง “ซื่อตรง” ที่ในที่สุดก็กลายมาเป็นปรัชญาของขบวนการของการฟื้นฟูสถาปัตยกรรมทั้งหมดและเป็นรากฐานของลัทธิสมัยใหม่นิยมที่เริ่มก่อตัวขึ้น.

ใหม่!!: ปารีสและเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน ปอตีเย

ออแฌน ปอตีเย (เกิด 4 ตุลาคม ค.ศ. 1816 ที่ปารีส – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1887, ที่ปารีส) เป็นนักปฏิวัติ นักอนาธิปไตย กวี ฟรีเมสัน และผู้ปฏิบัติงานการขนส่งชาวฝรั่งเศส ปอตีเยได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลปารีส ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเออแฌน ปอตีเย · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เจ้าชายที่ 11 แห่งลีญ

ออแฌน เจ้าชายที่ 11 แห่งลีญ.

ใหม่!!: ปารีสและเออแฌน เจ้าชายที่ 11 แห่งลีญ · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอ โบอาร์แน

ออแฌน โรแซ เดอ โบอาร์แน (Eugène Rose de Beauharnais) เป็นบุตรชายคนเดียวของนายพลอาแล็กซ็องดร์ เดอ โบอาร์แน กับ นางโฌเซฟีน ตาเช เดอ ลา ปาเฌอรี ภรรยาคนแรกของนโปเลียน โบนาปาร์ต เขาเกิดในปารีสและเป็นบุญบุญธรรมของนโปเลียน โบนาปาร์ต (แต่ไม่เป็นอยู่ในสายสืบราชสันตติวงศ์) บิดาแท้ๆของเขาเป็นนายพลและถูกประหารชีวิตไปในการปฏิวัติฝรั่งเศสช่วงสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ในช่วงที่นโปเลียนเรืองอำนาจ เขาเป็นผู้บัญชาการกองทหารของอิตาลี และเป็นอุปราชแห่งอิตาลี.

ใหม่!!: ปารีสและเออแฌน เดอ โบอาร์แน · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอลาครัว

วาดตัวเอง พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) แฟร์ดีน็อง-วิกตอร์-เออแฌน เดอลาครัว เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส เขาสามารถเรียนจากงานของยุคอื่นๆ เขานับถือการใช้สีของราฟาเอล และพลังวาดภาพอย่างเต็มที่ของแรมบรังด์และรูเบนส์ การศึกษางานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์อย่างใกล้ชิดของเขาทำให้เขาพัฒนารูปแบบภาพวาดที่ทิ้งความเข้มงวดของยุคคลาสสิก นำค่าแท้จริงของสีกลับมา เดอลาครัวมีอำนาจวาสนาจากคลาสสิก ศิลปะของเขาให้ทางเข้าตรงไปสู่สถานะทางอารมณ์ภายใน ดังนั้นมันกลายเป็นบางอย่างที่ศิลปะสมัยใหม่ (Modernism) จะเอาทิศทางมาจากมัน ศิลปะซึ่งปล่อยตัวมันเองให้เป็นอิสระอย่างเพิ่มขึ้นจากความจริงเพื่อหาค่าแท้จริงของมัน ราบเรียบ นามธรรมและเต็มไปด้วยอารมณ.

ใหม่!!: ปารีสและเออแฌน เดอลาครัว · ดูเพิ่มเติม »

เออเฌนี เดอ มอนตีโค จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส

มเด็จพระจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโค (ยูเจนี แห่งฝรั่งเศส) (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2369 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2463) (Eugénie de Montijo) ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสพระองค์สุดท้าย และเป็นพระชายาในสมเด็จพระจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ประสูติ ณ แคว้นเกรนาดา, สเปน พระองค์จึงทรงเป็นชาวสเปนโดยกำเนิด มีพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือมกุฎราชกุมารนโปเลียน ยูเจนีแห่งฝรั่งเศส รัชสมัยของพระองค์สิ้นสุดลงในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2414 จากการปฏิวัติ ทำให้ระบอบกษัตริย์ในฝรั่งเศสสิ้นสุดลงเป็นครั้งที่ 3 หลังจากประเทศต้องเผชิญการเปลี่ยนแปลงมากมายในการปกครองระหว่างระบบสาธารณรัฐกับระบอบกษัตริย์จากการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเออเฌนี เดอ มอนตีโค จักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เอฮุด โอลเมิร์ต

อฮุด โอลเมิร์ต (อังกฤษ: Ehud Olmert ฮีบรู: אהוד אולמרט) เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2488 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอิสราเอล เป็นคนที่ 12 เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2549 หลังจากที่ เขาได้รักษาการแทน นายอาเรียล ชารอน นายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนก่อน ซึ่งเกิดอาการภาวะเลือดคั่งในสมอง เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 นายเอฮุด โอลเมิร์ต เป็นสมาชิกของ พรรคการเมืองที่ชื่อว่า คาดิมา พรรคคาดิมา ได้ชนะการเลือกตั้ง เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยก่อนหน้านี้ นายเอฮุด โอลเมิร์ต ได้ดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นายเอฮุด โอลเมิร์ต ได้สมรมกับ นางอลิซา โอลเมิร์ต มี บุตร-ธิดา ด้วยกันทั้งหมด 4 คน และ ธิดาบุญธรรมอีก 1คน.

ใหม่!!: ปารีสและเอฮุด โอลเมิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

เอดัวร์ มาแน

อดัวร์ มาแน (Édouard Manet,; 23 มกราคม ค.ศ. 1832 - 30 เมษายน ค.ศ. 1883) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้เป็นจิตรกรคนแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19ที่เขียนภาพเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนทั่วไป มาแนเป็นจิตรกรคนสำคัญที่มีบทบาทในการเปลี่ยนจากการเขียนภาพแบบเหมือนจริง (Realism) ไปเป็นแบบอิมเพรสชันนิสม์ “อาหารกลางวันบนลานหญ้า” (Le déjeuner sur l'herbe) และ “โอลิมเปีย” (Olympia) งานชิ้นเอกสองชิ้นของมาแนเป็นงานที่ทำให้เกิดมีความเห็นขัดแย้งกันมากและเป็นจุดที่ทำให้จิตรกรหนุ่ม ๆ รุ่นนั้นเริ่มหันมาวาดภาพอิมเพรสชันนิสม์—ซึ่งในปัจจุบันถือกันว่าเป็นจุดสำคัญของศิลปะที่แยกมาเป็นศิลปะสมัยใหม.

ใหม่!!: ปารีสและเอดัวร์ มาแน · ดูเพิ่มเติม »

เอดิต ปียัฟ

อดิต ปียัฟ (Édith Piaf; 19 ธันวาคม ค.ศ. 1915 — 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963) มีชื่อจริงว่า เอดิต โจวานา กาซียง (Édith Giovanna Gassion) นักร้องชาวฝรั่งเศส เชื้อสายอิตาลี-แอลจีเรีย ที่มีชื่อเสียงที่สุดในฝรั่งเศส ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง จนถึงวันเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเอดิต ปียัฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอแกลร์

อแกลร์แบบฉบับ เอแกลร์ (éclair) เป็นขนมชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งชู ใส่ไส้ และทาด้านบนด้วยครีม ตัวแป้ง (ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับที่ใช้ทำพรอฟีทรอล) จะถูกบีบให้มีทรงยาวและอบจนกระทั่งผิวกรอบและข้างในเป็นโพรง เมื่อขนมเย็นแล้วจึงสอดไส้คัสตาร์ดซึ่งปกติจะแต่งกลิ่นรสวานิลลา กาแฟ หรือช็อกโกแลตMontagné, Prosper, Larousse gastronomique: the new American edition of the world's greatest culinary encyclopedia, Jenifer Harvey Lang, ed., New York: Crown Publishers, 1988, p. 401 ISBN 978-0-517-57032-6 หรือสอดไส้วิปครีมหรือครีมชีบุสต์ ไส้แบบอื่น ๆ ได้แก่ คัสตาร์ดรสพิสตาชีโอและรัม ไส้รสผลไม้ หรือเกาลัดบด จากนั้นทาด้านบนของขนมด้วยครีมรสต่าง ๆ หรือคลุมด้วยฟงด็อง (น้ำตาลปั้น) แต่บางครั้งก็อาจทาน้ำตาลเคี่ยวแทน ในกรณีหลังนี้เอแกลร์จะมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า บาตงเดอฌากอบ (bâton de Jacob).

ใหม่!!: ปารีสและเอแกลร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซ์โป 2015

อ็กซ์โป 2015 หรืองาน "มิลานเวิลด์ เอ็กซ์โป 2015" เป็นงานแสดงสินค้าโลกที่จะจัดขึ้นในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ที่กรุงมิลาน ประเทศอิตาลี กรุงมิลานเอาชนะคู่แข่งคือกรุงอิซมีร์ ประเทศตุรกี ด้วยคะแนนเสียง 86 ต่อ 65 ในการลงคะแนนขององค์การนิทรรศการนานาชาติ (BIE) ที่จัดขึ้น ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดยงานจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเอ็กซ์โป 2015 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซ์โป 2020

อ็กซ์โป 2020 เป็นการแสดงนิทรรศการนานาชาติที่จะจัดขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเอ็กซ์โป 2020 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มมา วอตสัน

อ็มมา ชาร์ล็อต ดูแอร์ วอตสัน (Emma Charlotte Duerre Watson; เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2533) เป็นนักแสดงหญิง นางแบบ และนักกิจกรรมหญิงชาวบริติช เกิดในปารีสและเติบโตในอ๊อกซฟอร์ดไชร์ วอตสันเข้าเรียนโรงเรียนดรากอนสกูลขณะเป็นเด็ก และเรียนการแสดงที่โรงเรียนสเตจโคชเธียเตอร์อาตส์ สาขาอ๊อกซฟอร์ด เธอเป็นที่จดจำจากบทบาทการแสดงในบทเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ในภาพยนตร์ชุด''แฮร์รี พอตเตอร์'' ปรากฏตัวในภาพยนตร์แฮร์รี พอตเตอร์แปดภาคตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและเอ็มมา วอตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์

อ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์ (MTV Europe Music Awards) เป็นงานแจกรางวัลทางด้านดนตรีให้มิวสิกวิดีโอทางฝั่งยุโรป เริ่มจัดครั้งแรกในปี 1994 มีลักษณะรูปแบบคล้ายกับงานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส ไม่เหมือนทางฝั่งอเมริกาตรงที่พิจารณารางวัลจากมิวสิกวิดีโอที่ดีที่สุด ไม่เหมือนทางฝั่งอเมริกาที่มาจากการโหวด สำหรับผู้ชนะรางวัลมากที่สุดของรายการนี้ คือ เอ็มมิเน็ม ชนะ ทั้งหมด 6 รางวัล ตามมาด้วย จัสติน ทิมเบอร์เลค(5), บริทนีย์ สเปียร์ส (5), The Prodigy (5), แบ็คสตรีท บอยส์ (4), มาดอนน่า (4), ร็อบบี้ วิลเลียมส์‎ (4), Red Hot Chili Peppers (4), Spice Girls (3), โคลด์เพลย์ (3), อลิเชีย คียส์ (3), ลินคิน พาร์ค‎ (3), เจนนิเฟอร์ โลเปซ (3) และ Oasis (3).

ใหม่!!: ปารีสและเอ็มทีวียุโรปมิวสิกอะวอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเตียน-หลุยส์ มาลุส

อเตียน-หลุยส์ มาลุส (Étienne-Louis Malus; 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2318 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2355) เป็นทหารสัญญาบัตร นักฟิสิกส์ และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส รู้จักกันดีว่าเป็นผู้อธิบายความเข้มของแสงโพลาไรซ์ (กฎของมาลุส) มาลุสเกิดที่กรุงปารีส ต่อมาเมื่อเจริญวัยขึ้นได้เข้าร่วมรบกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ในสงครามสำรวจอียิปต์ ระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและเอเตียน-หลุยส์ มาลุส · ดูเพิ่มเติม »

เฮดี ลามาร์

ี ลามาร์ (Hedy Lamarr; 9 พฤศจิกายน 1914 – 19 มกราคม 2000) หรือชื่อเกิดว่า เฮดวิก อีวา มาเรีย คีส์เลอร์ (Hedwig Eva Maria Kiesler) เป็นนักแสดงภาพยนตร์และนักประดิษฐ์ชาวออสเตรีย-อเมริกัน ในระยะเวลาสั้น ๆ ช่วงต้นในอาชีพการแสดงในปี 1930 เธอได้เล่นหนังสัญชาติเยอรมันเป็นเรื่องแรกใน Ecstasy (1933) ซึ่งในภาพยนตร์มีภาพเปลือยและฉากรักจำนวนมากทำให้เกิดความขัดแย้งขึ้นกับสามีของเธอ ลามาร์จึงหนีออกจากสามีไปอยู่ที่ปารีส และขณะที่เธออยู่ที่นั่นก็ได้พบกับเอ็มจีเอ็ม หลุยส์ บี. เมเยอร์ เขาเสนอให้เธอเซ็นสัญญาเพื่อภาพยนตร์ในฮอลลีวูด และทำให้เธอกลายเป็นดาราภาพยนตร์ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1930 ถึง 1950.

ใหม่!!: ปารีสและเฮดี ลามาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 ที่พระราชวังลูฟร์ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี เดอ เมดีซิส สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ต่อมาเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1625 ถึงวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียสิ้นพระชนม์เมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1669 ที่วังแห่งโคลอมบ์ ฝรั่งเศส พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียเป็นพระราชินีแห่ง ราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ โดยการเสกสมรสกับพระเจ้าชาลส์ และเป็นพระราชมารดาในพระมหากษัตริย์สองพระองค์ คือ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และเป็นพระอัยกีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3และพระราชินีนาถแมรี และพระราชินีนาถแอนน.

ใหม่!!: ปารีสและเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เฌโรม ลาล็องด์

แซ็ฟ เฌโรม เลอฟร็องซัว เดอ ลาล็องด์ (Joseph Jérôme Lefrançois de Lalande; 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1732 - 4 เมษายน ค.ศ. 1807) เป็นนักดาราศาสตร์และนักเขียนชาวฝรั่งเศส ผลงานสำคัญของเฌโรม ลาล็องด์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือแค็ตตาล็อกดาวชื่อ “Histoire Céleste Française” ที่เขียนในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเฌโรม ลาล็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟรีย์ รัช

ฟฟรีย์ รอย รัช เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย ถือเป็นนักแสดงออสเตรเลียคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาการแสดงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: ปารีสและเจฟฟรีย์ รัช · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ จอยซ์

มส์ จอยซ์ เจมส์ จอยซ์ (James Joyce) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1882 – 13 มกราคม ค.ศ. 1941) เป็นนักเขียนชาวไอริช เกิดในเมืองดับลิน แต่ไปจากบ้านเกิดตั้งแต่ยังหนุ่ม ซึ่งต้องการหลีกหนีจากปัญหาสังคมและเรื่องศาสนา โดยไปอาศัยอยู่ที่ปารีส งานเขียนที่สำคัญได้แก่ “ยูลิสซีส” (ค.ศ. 1922) และ Finnegans Wake (ค.ศ. 1939) เจมส์ จอยซ์ มีงานเขียนสามชิ้นที่ได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่ม “นวนิยายดีที่สุดร้อยเรื่องโดยโมเดิร์นไลบรารี” (Modern Library 100 Best Novels) ของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ทำโดย Modern Library.

ใหม่!!: ปารีสและเจมส์ จอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แฟรนโก

มส์ เอ็ดเวิร์ด แฟรนโก (James Edward Franco) เกิดเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1978 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้กำกับ นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ และ ศิลปิน เขาเริ่มแสดงในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ปรากฏในซีรีส์เรื่อง Freaks and Geeks และ แสดงนำในภาพยนตร์วัยรุ่นอีกหลายเรื่อง และในปี 2001 ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ สาขานักแสดงยอดเยี่ยมจากซีรีส์เรื่อง James Dean จนเป็นที่รู้จักในต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 บทบาทแฮร์รี ออสบอร์น ในภาพยนตร์เรื่องสไปเดอร์แมน ในปี 2005 เขาแสดงในภาพยนตร์สงครามเรื่อง The Great Raid ในบทโรเบิร์ต พรินซ์ ในปี 2006 แฟรนโกได้แสดงนำในภาพยนตร์ฮอลลีวูด 3 เรื่อง คือ Tristan & Isolde, Annapolis และ Flyboys ในปี 2008 แฟรนโกนักแสดงในหนังตลกเรื่อง Pineapple Express ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำในสาขานักแสดงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์เพลงหรือภาพยนตร์ตลก เขายังรับบทเด่นในภาพยนตร์ชีวประวัติเรื่อง ฮาร์วี่ย์ มิลค์ ผู้ชายฉาวโลก.

ใหม่!!: ปารีสและเจมส์ แฟรนโก · ดูเพิ่มเติม »

เจิ่น เล โกว๊ก ตว่าน

น เล โกว๊ก ตว่าน (Trần Lê Quốc Toàn; 5 เมษายน ค.ศ. 1989 —) เป็นนักยกน้ำหนักชาวเวียดนาม เขาได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ในประเภท 56 กก.

ใหม่!!: ปารีสและเจิ่น เล โกว๊ก ตว่าน · ดูเพิ่มเติม »

เจง เฮง

ง เฮง (Cheng Heng) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและเจง เฮง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายบ๋าว ทั้ง

้าชายบ๋าว ทั้ง แห่งเวียดนาม (Bảo Thắng; จื๋อโนม: 保陞) ประสูติเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1943 ที่เมืองด่าหลัต จังหวัดเลิมด่ง ประเทศเวียดนาม พระโอรสองค์สุดท้ายในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และสมเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนามแห่งราชวงศ์เหงียน ซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งเวียดนามด้วย โดยหลังจากที่มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง แห่งเวียดนาม ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์ ได้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยอ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์เวียดนามต่อจากพระเชษฐา พระองค์สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายบ๋าว ทั้ง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย

้าชายยูจีนแห่งซาวอย หรือ เจ้าชายเออแฌนแห่งซาวัว-คารินยอง (Eugen von Savoyen; Eugène de Savoie-Carignan); Prince Eugene of Savoy) (18 ตุลาคม ค.ศ. 1663 - 21 เมษายน ค.ศ. 1736) เจ้าชายยูจีนแห่งซาวอยเป็นแม่ทัพผู้มีชื่อเสียงและมีสมรรถภาพที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตรยุโรป เจ้าชายยูจีนแห่งซาวอยประสูติที่ปารีสจากพระบิดามารดาที่เป็นเจ้านายซาวอย เจ้าชายยูจีนเจริญพระชันษาขึ้นมาในราชสำนักฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เดิมพระองค์มีพระประสงค์จะดำเนินอาชีพเป็นนักบวชแต่เมื่อมีพระชนม์ได้ 19 ก็หันไปสนใจกับอาชีพการเป็นทหาร เมื่อถูกปฏิเสธโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 จากการเข้ารับราชการในกองทัพฝรั่งเศส เจ้าชายยูจีนก็ทรงย้ายไปออสเตรียและหันไปสวามิภักดิ์ต่อราชวงศ์ฮับส์บวร์ก เจ้าชายยูจีนแห่งซาวอยรับราชการอยู่หกสิบปีภายใต้จักรพรรดิฮับส์บวร์กสามพระองค์ – จักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 1, จักรพรรดิโจเซฟที่ 1 และ จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 สงครามครั้งแรกที่เจ้าชายยูจีนทรงมีส่วนร่วมคือการสงครามต่อต้านการล้อมกรุงเวียนนาของออตโตมันเติร์กในยุทธการเวียนนาใน ค.ศ. 1683 และต่อมาสงครามสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามตุรกี ก่อนที่จะเข้าร่วมในสงครามเก้าปีพร้อมกับลูกพี่ลูกน้องวิคเตอร์ อมาเดอุสที่ 2 ดยุคแห่งซาวอย แต่ชื่อเสียงของเจ้าชายยูจีนมามั่นคงเมื่อได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดต่อออตโตมันในยุทธการเซนทาในปี ค.ศ. 1697 จากนั้นก็มีชื่อเสียงเพิ่มขึ้นระหว่างสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนเมื่อไปทำการเป็นพันธมิตรกับจอห์น เชอร์ชิลล์ ดยุคแห่งมาร์ลบะระห์ที่ได้รับชัยชนะต่อฝรั่งเศสในยุทธการเบล็นไฮม์, ยุทธการอูเดอนาร์ด และ ยุทธการมาลพลาเคต์ จากนั้นก็ไปได้รับความสำเร็จในฐานะแม่ทัพของกองทัพของพระจักรพรรดิทางตอนเหนือของอิตาลี โดยเฉพาะในยุทธการตูรินในปี ค.ศ. 1706 เมื่อความขัดแย้งกับจักรวรรดิออตโตมันเริ่มขึ้นอีกครั้งในสงครามออสเตรีย-ตุรกี ค.ศ. 1716-1718 เจ้าชายยูจีนก็ทรงสามารถปราบปรามข้าศึกศัตรูได้ในยุทธการเปโตรวาราดิน และ ยุทธการเบลเกรด ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1720 อิทธิพลและความสามารถทางการทูตของของเจ้าชายยูจีนก็สามารถสร้างความมั่นคงให้แก่จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปัญญาขัดแย้งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการสืบราชบัลลังก์ แต่ในบั้นปลายของชีวิตความเหนื่อยร้าและสุขภาพทางจิตที่เปราะบางทำให้พระองค์ไม่ทรงประสบความสำเร็จในฐานะผู้บังคับบัญชาทหารสูงสุดในการพยายามยุติสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ได้ แต่กระนั้นในออสเตรีย ชื่อเสียงของเจ้าชายยูจีนก็ไม่มีผู้ใดเทียมได้ ความเห็นเกี่ยวกับบุคลิกของเจ้าชายยูจีนอาจจะแตกต่างกันไป แต่ก็ไม่มีผู้ใดที่จะค้านความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ที่พระองค์ทรงป้องกันจักรวรรดิฮับส์บวร์กจากถูกกลืนไปเป็นของฝรั่งเศส และทรงหยุดยั้งการรุกรานมาทางตะวันตกของจักรวรรดิออตโตมัน และปลดปล่อยยุโรปกลางจากการยึดครองของออตโตมันที่ดำเนินมาเป็นเวลาร้อยห้าสิบปี นอกจากนั้นเจ้าชายยูจีนก็ยังทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปะคนสำคัญ เจ้าชายยูจีนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 1736 เมื่อมีพระชนมายุได้ 72 พรรษ.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายสืบสายพระโลหิต

หลุยส์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์ เจ้าชายสืบสายพระโลหิต (Prince du Sang หรือ Prince of the Blood) คือผู้ที่เป็นผู้สืบเชื้อสายที่ถูกต้องตามกฎหมายโดยตรงจากประมุขของประเทศ ในฝรั่งเศสตำแหน่ง “เจ้าชายสืบสายพระโลหิต” เป็นบรรดาศักดิ์สูงสุดในราชสำนักรองจากพระราชนิกุลที่ใกล้ชิดที่สุดของพระมหากษัตริย์ในสมัย “อองเซียง เรฌีม” และในสมัยราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ตำแหน่ง “เจ้าชายสืบสายพระโลหิต” หรือ “เจ้าหญิงสืบสายพระโลหิต” เป็นตำแหน่งที่ใช้กับสมาชิกที่ถูกต้องตามกฎหมายของประมุขที่กำลังครองราชย์ ในยุโรปบางประเทศโดยเฉพาะในราชอาณาจักรฝรั่งเศสบรรดาศักดิ์นี้เป็นตำแหน่งเฉพาะตัวและใช้อย่างจำกัดกว่าบรรดาศักดิ์อื่น.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายสืบสายพระโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1

้าชายอาลี เรซาที่ 1 ปาห์ลาวี (1 มีนาคม ค.ศ. 1922 - 17 ตุลาคม ค.ศ. 1954) พระราชโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก ในอดีตพระองค์เป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิในราชบัลลังก์อิหร่านพระองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายปีแยร์ ดยุกแห่งวาเลนตินัว

้าชายปีแยร์ ดยุกแห่งวาเลนตินัว.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายปีแยร์ ดยุกแห่งวาเลนตินัว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายนโปเลียน พระราชกุมารแห่งฝรั่งเศส

้าชายนโปเลียน พระราชกุมาร (Napoléon, Prince Imperial) หรือ นโปเลียนที่ 4 เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวในจักรพรรดินโปเลียนที่ 3กับจักรพรรดินียูเจนีแห่งมอนติโจ หลังจากพระราชบิดาถูกถอดจากราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1870 ก็ได้พาพระราชวงศ์โบนาปาร์ตลี้ภัยไปประทับอยู่ในอังกฤษโดยอยู่ภายใต้พระบรมราชินูปถัมภ์ของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และตัวพระองค์เข้ารับราชการทหารในกองทัพอังกฤษ ภายหลังจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 สวรรคตในปี ค.ศ. 1873 พระองค์ก็เป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส พระองค์พระราชสมภพเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1856 โดยมีพระยศว่า เจ้าชายนโปเลียน พระราชกุมาร แต่หลังระบอบกษัตริย์ลูกล้มล้างใน ค.ศ. 1870 พระยศของพระองค์จึงเหลือแค่ หลุยส์-นโปเลียน พระราชกุมาร แต่พวกโบนาปาร์ตนิยมมักจะเรียกพระองค์ว่า นโปเลียนที่ 4 พระองค์เคยเสด็จพระราชดำเนินเยือนสยามประเทศเป็นการส่วนพระองค์ใน ค.ศ. 1873 แม้ หลุยส์-นโปเลียน พระราชกุมาร จะทรงรับราชการทหารอยู่ในกองทัพอังกฤษแต่พระนางเจ้าวิกตอเรียไม่ทรงอนุญาตให้เข้าร่วมปฏิบัติการสู้รบใดๆ ถึงกระนั้น เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1879 ขณะพระองค์เข้าเวรอยู่ในค่ายทหาร ณ ราชอาณาจักรซูลู (แอฟริกาใต้ในปัจจุบัน) ทันใดนั้นก็ต้องเผชิญหน้ากับหน่วยสอดแนมของซูลูโดยบังเอิญ หลุยส์-นโปเลียนหนีไม่ทันจึงเข้าต่อสู้และเสด็จสวรรคตในวัยเพียง 23 พรรษา เนื่องจากพระองค์ยังไม่ได้อภิเษกสมรสและไม่มีรัชทายาท ทำให้ราชวงศ์โบนาบาร์ตสายหลุยส์ โบนาปาร์ต ต้องสิ้นสุดที่พระองค์ และสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตกไปอยู่กับสายเจโรม โบนาปาร์ต พระอนุชาองค์สุดท้องของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ขึ้นอ้างสิทธิ์แทน.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายนโปเลียน พระราชกุมารแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแพทริค อาลี ปาห์ลาวี

ระองค์ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาทลำดับที่ 1 ในการสืบราชบัลลังก์ แทนที่เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน เนื่องจากทรงเสกสมรสกับสตรีต่างชาติ แต่ถึงอย่างไรก็ตามประเทศอิหร่านได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ยังทรงให้องค์มกุฎราชกุมารเป็นผู้อ้างสิทธิราชบัลลังก์ลำดับที่ 1 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2490 หมวดหมู่:ราชวงศ์ปาห์ลาวี.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายแพทริค อาลี ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี

้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นโอรสในเคาต์อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา และเรอเน ดูร์เซโน อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1967 ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์

้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ (ເຈົ້າບຸນອຸ້ມ ນະ ຈຳປາສັກ; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – สิ้นพระชนม์: 17 มีนาคม พ.ศ. 2523) หรือ เสด็จเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาสัก เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 13 (พระองค์สุดท้าย) ทรงประสูติในราชวงศ์จำปาศักดิ์และสืบพระราชสันตติวงศ์มาจากสมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (เจ้าหน่อกษัตริย์) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาราชอาณาจักรจำปาศักดิ์และพระมหากษัตริย์แห่งนครจำปาศักดิ์พระองค์แรกของลาว เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลพระราชอาณาจักรลาว 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ และสกุล จำปา ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี พ.ศ. 2518 ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวในฐานะที่เป็นผู้ยอมสละราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจำปาศักดิ์ เพื่อให้ประเทศลาวรวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน และทรงดำรงพระอิสริยยศแห่งราชวงศ์สูงเป็นลำดับที่ 3 ของพระราชอาณาจักร รองจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตและสมเด็จเจ้าฟ้าองค์มกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าโสริยะวงศ์สว่าง

้าฟ้าโสริยะวงศ์สว่าง (ສົມເດັຈເຈົ້າຟ້າຊາຍໂສຣິຍະວົງສ໌ສວ່າງ; 22 มกราคม พ.ศ. 2480 – 2 มกราคม พ.ศ. 2561) เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนากับสมเด็จพระราชินีคำผูย พระองค์อภิเษกสมรสกับเจ้าดาราวรรณ โสริยะวงศ์สว่าง มีพระโอรส-ธิดา 4 พระองค์คือ เจ้าสุธีระ โสริยะวงศ์สว่าง เจ้าทัยวันต์ โสริยะวงศ์สว่าง เจ้าพลวันต์ โสริยะวงศ์สว่าง เจ้ากฤษณชิน โสริยะวงศ์สว่าง หลังจากการยึดประเทศลาวโดยกองทัพคอมมิวนิสต์ในเดือนสิงหาคม 1975 ในเดือนพฤศจิกายนปี 1975 พระองค์จึงเสด็จฯลี้ภัยออกจากประเทศลาวโดยการข้ามแม่น้ำโขงมายังประเทศไทย แล้วพระองค์ทรงรับพระราชภาระในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตเป็นพระประมุขแห่งพระราชวงศ์ล้านช้างทั้งหมด เพราะพระองค์มีพระชนมพรรษามากที่สุดในพระราชวงศ์ และทรงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินให้กับเจ้าสุริวงศ์ สว่าง พระภาติยะ พระองค์ทรงประทับอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และทรงทำงานที่เรโนลต์ พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2561 ณ กรุงปารีส สิริพระชนมายุ 81 พรรษ.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าฟ้าโสริยะวงศ์สว่าง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่

้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ หรือเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าป้า (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2548) เป็นธิดาของเจ้ากาวิละวงศ์ กับเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ และเป็นนัดดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุภานุวงศ์

้าชายอุดทอง สุภานุวงศ์ หรือ เจ้าสุภานุวงศ์ หรือ ประธานสุภานุวงศ์ (ສຸພານຸວົງ) เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ที่เมืองหลวงพระบาง เป็นเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ล้านช้างหลวงพระบาง เป็นประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คนแรกหลังจากลาวเปลี่ยนแปลงการปกครองจากราชอาณาจักรมาเป็นสาธารณรัฐเมื่อปี พ.ศ. 2518 ทั่วโลกรู้จักในสมญานาม "เจ้าชายแดง" หรือ "The Red Prince".

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าสุภานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุริวงศ์ สว่าง

้าสุลิวงศ์ สว่าง (ເຈົ້າສຸລິວົງ ສະຫວ່າງ) (ประสูติ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) เป็นพระราชนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา เจ้ามหาชีวิตองค์สุดท้ายแห่งพระราชอาณาจักรลาว ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์ลาว ปัจจุบันประทับในฐานะผู้ลี้ภัย ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าสุริวงศ์ สว่าง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชาร์ลอตต์ ดัชเชสแห่งวาเลนตินัว

้าหญิงชาลอตต์ ดัชเชสแห่งวาเลนตินัว.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ ดัชเชสแห่งวาเลนตินัว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิล

้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิล (2 สิงหาคม พ.ศ. 2367 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2441) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งจักรวรรดิบราซิล เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล ผู้ทรงครองราชย์เป็นพระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกสด้วย และพระราชมารดาของเจ้าหญิงคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย เจ้าหญิงทรงอภิเษกสมรสกับพระราชโอรสของพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศสและมีพระราชโอรสธิดาร่วมกัน 3 พระองค์ โดยผ่านทางพระราชธิดาที่ทรงพระชนม์ชีพ พระนางจึงทรงเป็นบรรพบุรุษของเจ้าชายอองรี เดอ ออร์เลออง เคานท์แห่งปารีส ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายออร์เลอองนิสต์องค์ปัจจุบันและทรงเป็นบรรพบุรุษในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์ (شاهدخت فايزة; الأميرة فايزة; ประสูติ: 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — สิ้นพระชนม์: 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าฟุอาดที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีนาซลีแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงฟัยซะฮ์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์

้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ (ประสูติ ค.ศ. 1959)

้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ (ประสูติ พ.ศ. 2502) (.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์ (ประสูติ ค.ศ. 1959) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงมารีแห่งเดนมาร์ก, เคาน์เตสแห่งมงเปอซา (ประสูติ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1976, พระนามเดิม มารี อากัท โอดี กาวาลีเย) พระชายาในเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงมารีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งบราซิล

้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งบราซิล (1 ธันวาคม ค.ศ. 1831 - 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1853) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งจักรวรรดิบราซิลและเป็นพระนางจึงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์บราซิลสายราชวงศ์บราแกนซา พระราชบิดาของพระนางคือ จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล พระประมุขพระองค์แรกแห่งบราซิล และพระราชมารดาคือ เจ้าหญิงอเมลีแห่งเลาช์เทนเบิร์ก เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในการอภิเษกสมรสครั้งที่สองของพระราชบิดา เจ้าหยิงมาเรีย อเมเลียประสูติในฝรั่งเศสหลังจากการสละราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเปดรูที่ 1 ให้แก่พระราชโอรสคือ จักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล ก่อนที่เจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียจะมีพระชนมายุได้หนึ่งเดือน จักรพรรดิเปดรูที่ 1 เสด็จไปที่โปรตุเกสเพื่อฟื้นฟูราชบัลลังก์ให้แก่พระราชธิดาพระองต์โตในการอภิเษกสมรสครั้งแรกของพระองค์คือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 2 แห่งโปรตุเกส พระองค์ทรงทำสงครามและประสบความสำเร็จในการขับไล่พระอนุชาของพระองค์คือ พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส ผู้ทำการช่วงชิงราชบัลลังก์ของพระนางมาเรียที่ 2 เพียงไม่กี่เดือนหลังจากได้รับชัยชนะ จักรพรรดิเปดรูที่ 1 เสด็จสวรรคตด้วยวัณโรค พระราชมารดาของเจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียนำพระนางไปที่โปรตุเกส ที่ที่ทรงดำรงพระชนม์ชีพส่วนใหญ่โดยไม่ทรงเคยเสด็จไปยังบราซิลเลย รัฐบาลบราซิลปฏิเสธที่จะสถาปนาให้เจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียเป็นพระบรมวงศานุวงศ์บราซิลเนื่องมาจากทรงประสูติในต่างประเทศ แต่เมื่อพระเชษฐาต่างพระมารดาของพระนางคือ จักรพรรดิเปดรูที่ 2 ทรงบรรลุนิติภาวะในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สจวร์ต

้าหญิงลุยซา มาเรีย เทเรซา สจวร์ต (Louisa Maria Teresa Stuart; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2235 – 18 เมษายน พ.ศ. 2255) เรียกอย่างลำลองว่า ลุยซา มาเรีย (Louisa Maria) หรือ หลุยส์ มารี (Louise Marie) หรือที่กลุ่มจาโคไบต์ออกพระอิสริยยศว่า พระราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ประสูติแต่แมรีแห่งโมดีนา โดยพระองค์ประสูติหลังพระราชชนกและชนนีทรงลี้ภัยเนื่องจากถูกโค่นราชบัลลังก์ at npg.org.uk (accessed 8 February 2008) ในเอกสารของราชสมาคมสจวร์ต (Royal Stuart Society) เรียกพระองค์ว่า "ฟ้าหญิงเหนือห้วงมหรรณพ" (Princess over the Water) ตามอย่างคำว่า "กษัตริย์เหนือห้วงมหรรณพ" (King over the Water) ที่ใช้เรียกผู้สืบราชสมบัติสายจาโคไบต์ ซึ่งไม่มีพระราชธิดาตามกฎหมายพระองค์ใดถูกเรียกเช่นนี้มาก่อน at royalstuartsociety.com – web site of the Royal Stuart Society (accessed 11 February 2008) online at burkes-peerage.net (accessed 9 February 2008) เจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 18 เมษายน..

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงลุยซา มาเรีย สจวร์ต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งเอดินเบอระ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (วิกตอเรีย เมลิตา; 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2479) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าหญิงได้ทรงดำรงพระอิสริยยศทั้ง แกรนด์ดัชเชสพระชายาแห่งเฮสส์ (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2444) และ แกรนด์ดัชเชสวิกตอเรีย เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พ.ศ. 2448 - พ.ศ. 2460) เจ้าหญิงวิกตอเรียได้ทรงสร้างความอื้อฉาวให้กับราชวงศ์ยุโรปด้วยการหย่าร้างและอภิเษกสมรสอีกครั้งในช่วงต้นศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก

้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก, บารอนเนสแห่งเมสซี และเคานท์เตสแห่งโปลีญัก (ประสูติ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1920 - สิ้นพระชนม์ 18 มีนาคม ค.ศ. 2011) พระราชธิดาในเจ้าหญิงชาลอตต์ ดัชเชสแห่งวาเลนตินัว กับเจ้าชายปีแยร์ ดยุกแห่งวาเลนตินัว เป็นพระครรโภทรเชษฐภคิณีของเจ้าชายเรนิเยที่ 3 แห่งโมนาโก และมีศักดิ์เป็นพระปิตุจฉาในเจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 แห่งโมนาโก เจ้าชายองค์อธิปัตย์คนปัจจุบัน อย่างไรก็ตามพระองค์ถือเป็นเชื้อพระวงศ์ ที่มิใช่พระบรมวงศานุวงศ์ของโมนาโก และไม่มีสิทธิในการสืบทอดราชบัลลังก์Velde, Francois.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย

้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนี.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก, เคาน์เตสแห่งมงเปอซา (Mary Elizabeth, Kronprinsesse af Danmark, grevinde af Monpezat., ประสูติ: 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515) มีพระนามเดิมว่า แมรี เอลิซาเบธ โดนัลด์สัน (Mary Elizabeth Donaldson) ที่ปรึกษาการตลาดชาวออสเตรเลีย ที่ต่อมาเป็นพระชายาในเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโอลกา ดัชเชสแห่งอาพูเลีย

้าหญิงโอลกา อิสเบลล์แห่งซาวอย-ออสตา, ดัชเชสแห่งอาพูเลีย หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงโอลกา อิสเบลล์แห่งกรีซ (Πριγκίπισσα Όλγα της Ελλάδας ประสูติ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) พระธิดาในเจ้าชายไมเคิลแห่งกรีซและเดนมาร์ก กับมารีนา กาเรลลา ด้วยเหตุที่พระบิดาและพระมารดาเป็นการสมรสแบบต่างฐานันดร ดังนั้นพระองค์จึงถูกตัดสิทธิในการสืบราชบัลลังก์กรีซซึ่งรวมไปถึงผู้สืบเชื้อสายด้วยและพระอิสริยยศเป็นเพียง เจ้าหญิงแห่งกรีซ ไม่ถูกยกเป็น Royal Highness ไม่มีสร้อยพระนาม เจ้าชาย/เจ้าหญิงแห่งเดนมาร์ก ซึ่งเป็นเชื้อสายขั้นต้นพระราชวงศ์กรีซ พระองค์ทรงหมั้นกับเจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลียในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 สามปีต่อมาพระองค์จึงอภิเษกสมรสเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2551 ณ สถานทูตอิตาลีในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย โดยประกอบพิธีทางศาสนาเมื่อวันที่ 27 กันยายนที่พัตมอส และได้ให้ประสูติกาลพระโอรสคือ เจ้าชายอุมแบร์โตแห่งซาวอย เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2552 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ทรงประสูติกาลพระโอรสพระนาม อเมเดโอ ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และหนึ่งวันหลังการประสูติกาลก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็น ดยุกแห่งอาบรูซซี จากพระปัยกาฝ่ายพระชนก.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงโอลกา ดัชเชสแห่งอาพูเลีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี

้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:لیلا پهلوی, ประสูติ 27 มีนาคม ค.ศ. 1970 - สิ้นพระชนม์ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2001) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าหญิงไลลา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจันทร์ศุกร์ สุขธารา

้าจันทร์ศุกร์ สุขธารา หรือ เจ้าจันสุก สุขทาลา (ເຈົ້າຈັນສຸກ ສຸກທາລາ) (ประสูติ พ.ศ. 2505) เป็นผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งสมเด็จพระราชินีแห่งลาว พระองค์เป็นพระชายาในเจ้าสุริวงศ์ สว่าง พระราชนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา เจ้ามหาชีวิตองค์สุดท้ายแห่งพระราชอาณาจักรลาว ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์ลาว ปัจจุบันประทับในฐานะผู้ลี้ภัย ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเจ้าจันทร์ศุกร์ สุขธารา · ดูเพิ่มเติม »

เทกกิงแชนเซส

ทกกิงแชนเซส (Taking Chances) คืออัลบั้มภาษาอังกฤษของเซลีน ดิออน ออกจำหน่ายในวันที่ 7 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ทั่วโลก เป็นอัลบั้มภาษาอังกฤษชุดที่ 13 และเมื่อนับรวมอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสแล้ว อัลบั้มนี้เป็นอัลบั้มที่ 35 ในส่วนของรูปแบบกล่องนักสะสมอันประกอบไปด้วยซีดี, ดีวีดี และน้ำหอม ออกจำหน่ายในวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ในอเมริกาเหนือ และระหว่างวันที่ 8 และ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ในยุโรป เทกกิงแชนเซส เริ่มบันทึกเสียงในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 ที่สตูดิโอปาล์มส์ เดือนกรกฎาคม 2007 สืบค้นวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเทกกิงแชนเซส · ดูเพิ่มเติม »

เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เทกกิงแชนเซส (Taking Chances Tour) คือคอนเสิร์ตทัวร์ปัจจุบันของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา เพื่อสนับสนุนอัลบั้มภาษาอังกฤษ เทกกิงแชนเซส ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 คอนเสิร์ตทัวร์นี้ใช้เวลากว่า 1 ปีในการเยือน 5 ทวีป, 24 ประเทศ, 84 เมือง รวมการแสดงกว่า 123 ครั้ง.

ใหม่!!: ปารีสและเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรป

ทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรป หรือ ยูโรเปียนยูธโอลิมปิกเฟสติวัล (European Youth Olympic Festival) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศของยุโรป ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสองปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกชาวยุโรป (European Olympic Committee หรือ EOC).

ใหม่!!: ปารีสและเทศกาลโอลิมปิกเยาวชนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์มินอล 21 โคราช

ทอร์มินอล 21 โคราช หรือ Terminal21 Korat เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา บริหารงานโดย สยามรีเทล ดีเวลอปเมนท์ โดยพัฒนาในแนวคิด "จุดหมายปลายทางแห่งการชอปปิ้ง (World Market Street)" แบบเดียวกับเทอร์มินอล 21 สาขาแรก ใช้งบในการลงทุนก่อสร้างศูนย์การค้า 6,000 ล้านบาท และงบลงทุนในการก่อสร้างโรงแรม 1,500 ล้านบาท โดยศูนย์การค้าเปิดให้บริการในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเทอร์มินอล 21 โคราช · ดูเพิ่มเติม »

เทนนิสมาสเตอร์ซีรีส์

ทนนิสมาสเตอร์ซีรีส์ หรือ เทนนิสเอทีพีมาสเตอร์ซีรีส์ (Tennis Masters Series -TMS หรือ ATP Masters Series) เป็นชื่อเรียกกลุ่มการแข่งขันเทนนิสชาย 9 รายการใหญ่ ที่แข่งขันในทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาเหนือ บนพื้นผิวคอร์ทที่แตกต่างกัน 3 แบบ ความแตกต่างจากรายการระดับแกรนด์สแลมคือ การแข่งขันจะมีจำนวนนักเทนนิสที่เข้าร่วมน้อยกว่า ไม่มีการแข่งขันบนพื้นผิวหญ้า แต่มีการแข่งขันบนพื้นผิวที่ไม่มีการจัดการแข่งขันในระดับแกรนด์สแลมคือพื้นผิวพรมสังเคราะห์ที่มีความเร็วของลูกสูงกว่าพื้นผิวการแข่งขันประเภทอื่น การแข่งขันกลุ่มนี้เริ่มจัดการแข่งขันในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเทนนิสมาสเตอร์ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: ปารีสและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขาไท่

ท่ คือภูเขาที่มีความสำคัญทั้งทางด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเขตเมืองไท่อาน มณฑลตง ประเทศจีน ยอดสูงสุดคือ ยอดจักรพรรดิหยก มีความสูง 1532.7 เมตร (5028.5 ฟุต) ถ้าตามที่ทางการจีนรายงาน, China Institute of Geo-Environment Monitoring หรือ 1545 เมตร (5069 ฟุต) ถ้าตามที่นิยมกันรายงาน.

ใหม่!!: ปารีสและเขาไท่ · ดูเพิ่มเติม »

เขียว พอนนารี

ียว พอนนารี หรือ เขียว ปนนารี (Khieu Ponnary; ภาษาเขมร:ខៀវ ពណ្ណារី) เป็นภรรยาคนแรกของพล พต และเป็นพี่สาวของเขียว ธิริทธ์และเป็นพี่ภรรยาของเอียง ซารี เกิดที่จังหวัดพระตะบองเมื่อ..

ใหม่!!: ปารีสและเขียว พอนนารี · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศฝรั่งเศส

ตการปกครองของประเทศฝรั่งเศส แบ่งออกเป็นเขตแผ่นดินใหญ่และเขตโพ้นทะเล.

ใหม่!!: ปารีสและเขตการปกครองของประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เขตอภิมหานครโตเกียว

ตอภิมหานครโตเกียว หมายถึงพื้นที่ของโตเกียวและปริมณฑล ตั้งอยู่ในภาคคันโต ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเขตมหานครที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ตามด้วย เขตมหานครเคฮันชิง ตามประมาณการของสหประชาชาติในปี 2014 เขตอภิมหานครนี้มีประชากรกว่า 37,883,000 คน ทำให้พื้นที่แห่งนี้กลายเป็นและถือเป็นเขตปริมณฑลที่มีขนาดประชากรมากที่สุดของโลก ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 13,500 ตารางกิโลเมตร และมีความหนาแน่นประชากรอยู่ที่ 2,642 คน/ตารางกิโลเมตร มากกว่าความหนาแน่นประชากรของบังกลาเทศถึงเท่าตัว เขตอภิมหานครโตเกียวยังเป็นเขตปริมณฑลที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของโลก ด้วยมูลค่าจีดีพี (ตัวเงิน) ในปี 2008 ราว 53 ล้านล้านบาท (165 ล้านล้านเยน) และจากการวิจัยที่ตีพิมพ์โดย PricewaterhouseCoopers เขตอภิมหานครโตเกียว มีจีดีพี (อำนาจซื้อ) 1.479 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งทำให้เขตมหานครโตเกียวกลายเป็นเขตเมืองที่มีกำลังการบริโภคสูงสุดสุดในโลก.

ใหม่!!: ปารีสและเขตอภิมหานครโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด เกตตา

วิด ปิแอร์ เกตตา (David Pierre Guetta) เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปารีสและเดวิด เกตตา · ดูเพิ่มเติม »

เดอ

อ (D'eux, "พวกเขาเหล่านั้น") คืออัลบั้มภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2538 โดยใช้ชื่อใหม่ในอัลบั้มที่วางจำหน่ายในสหรัฐอเมริกาว่า "เดอะเฟรนช์อัลบั้ม (The French Album) อัลบั้มนี้คืออัลบั้มที่ 17 ของเซลีน ที่เป็นภาษาฝรั่งเศส และเป็นอัลบั้มที่ 20 ของทั้งหม.

ใหม่!!: ปารีสและเดอ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะชาร์ด

อะชาร์ด (The Shard) หรือมีชื่อก่อนหน้านี้ว่า Shard London Bridge, London Bridge Tower และ Shard of Glass เป็นตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในทวีปยุโรป ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร มีความสูงเหนือพื้นดิน 309.6 เมตร จำนวนชั้นทั้งหมด 72 ชั้น เดอะชาร์ดเป็นตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปตั้งแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเดอะชาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์

อะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์ (The Beyoncé Experience) คือคอนเสิร์ตทัวร์ครั้งที่2ของนักร้องชาวอเมริกัน บียอนเซ่ โนวส์ เพื่อสนับสนุนอัลบั้มเดี่ยวชุดที่2ของเธอ บี'เดย์ คอนเสิร์ตทัวร์ของเธอในครั้งนี้ได้มีกำหนดการมาที่ประเทศไทยในวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ที่ อิมแพคอารีน่า เมืองทองธานี โดยผู้จัดคือ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: ปารีสและเดอะบียอนเซ่เอกซ์พีเรียนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมอลล์ (ถนน)

มุมมองของถนนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้สู่พระราชวังบักกิงแฮม (พ.ศ. 2554) เดอะมอลล์ (The Mall) คือถนนสายหนึ่งในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร โดยเริ่มตั้งแต่พระราชวังบักกิงแฮมทางทิศตะวันตกเรื่อยไปถึงประตู แอดมีรัลตีอาร์ช (Admiralty Arch) ก่อนที่จะไปบรรจบกับถนนไวต์ฮอลที่จัตุรัสทราฟัลการ์ทางทิศตะวันออก นอกจากนี้ยังตัดผ่านถนนสปริงการ์เดนส์อันเคยเป็นที่ตั้งของสำนักแรงงานกรุงลอนดอนและสภาเมืองลอนดอนอีกด้วย ถนนเดอะมอลล์ปิดการจราจรทุกวันอาทิตย์, วันหยุดราชการ และวันงานพิธีสำคัญต่างๆ ของประเทศ เดอะมอลล์ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นถนนประกอบพิธีของรัฐในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่นเดียวกับถนนหลักในเมืองสำคัญอื่นๆ เช่น กรุงเบอร์ลิน, กรุงเม็กซิโกซิตี, กรุงออสโล, กรุงปารีส, กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, กรุงเวียนนา และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งถนนในเมืองเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีการของรัฐเป็นหลัก ต่อมาจึงมีการปรับปรุงโครงสร้างภายนอกของพระราชวังบักกิงแฮมและก่อสร้างอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเพิ่มเติมเข้าไป การปรับปรุงนี้เป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงถนนซึ่งออกแบบโดยแอชตัน เวบบ์ อนุสาวรีย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียตั้งตระหง่านอยู่ด้านหน้าประตูทางเข้าพระราชวังบักกิงแฮม ขณะที่ประตูแอดมีรัลตีอาร์ชตั้งตระหง่านอยู่ก่อนถึงจัสตุรัสทราฟัลการ์ในฝั่งตรงข้าม ความยาวของถนนนับตั้งแต่ประตูแอดมีรัลตีอาร์ชถึงอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียนั้นยาวทั้งสิ้น พอดิบพอดี สวนสาธารณะเซนต์เจมส์ตั้งอยู่ฝั่งทิศใต้ของถนนตรงข้ามกันกับสวนสาธารณะกรีนและพระราชวังเซนต์เจมส์ในฝั่งทิศเหนือ ใกล้กับปลายสุดถนนด้านทิศตะวันออกเป็นที่ตั้งของลานฮอร์สการ์ดพาเหรด (Horse Guards Parade) ซึ่งใช้ในพิธีสวนสนามในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พื้นผิวจราจรของถนนถูกทำให้เป็นสีแดงเพื่อให้ความรู้สึกเปรียบเสมือนพรมสีแดงขนาดใหญ่มุ่งสู่พระราชวังบักกิงแฮม ซึ่งสีแดงนี้เป็นเม็ดสีของสนิมเหล็กสังเคราะห์จากแหล่งออกไซด์ในดีนเชนเจอร์ (Deanshanger) อันผ่านกระบวนการดีนอกซ์ซึ่งถูกคิดค้นโดยนักเคมีนามว่า เออร์เนสต์ โลเวลล์ ต่อมารัฐมนตรีแรงงานช่วง..

ใหม่!!: ปารีสและเดอะมอลล์ (ถนน) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์

อะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ (Moonshine Jungle Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน บรูโน มาร์ส โดยจัดทั้งหมด 154 รอบ โดยเกี่ยวโยงกับอัลบั้มที่เกี่ยวข้อง อันออร์โธดอกซ์จูกบอกซ์ (2012) หลังจากที่มีการประกาศไว้วันที่ 10 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปารีสและเดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะทีนเอเจอร์ส (วงดนตรีฝรั่งเศส)

อะทีนเอเจอร์ส เป็นวงดนตรีซินธ์ป็อปจากฝรั่งเศส ก่อตั้งวงในช่วงปลายปี 2005 เดิมเป็นตลก มีชื่อเสียงจากเพลง "Homecoming" ที่มีเนื้อหาชังผู้หญิงอัลบั้มชุดแรกชื่อ Reality Check ออกวางขายในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: ปารีสและเดอะทีนเอเจอร์ส (วงดนตรีฝรั่งเศส) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟซ (สหราชอาณาจักร)

อะเฟซ เป็นรายการเรียลลิตีทางโทรทัศน์ของสหราชอาณาจักร ซึ่งมีชื่อเดียวกันกับของสหรัฐอเมริกา รายการได้เริ่มออกอากาศวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและเดอะเฟซ (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

เดอนี ดีเดอโร

อนี ดีเดอโร (Denis Diderot; 5 ตุลาคม ค.ศ. 1713 - 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1784) นักปรัชญาและนักวิจารณ์ศิลปะชาวฝรั่งเศส ประมาณกลางศตวรรษที่ 18 ได้มีการจัดงานแสดงนิทรรศการด้านจิตรกรรม ประติมากรรม การวาดภาพ และการแกะสลักที่ Salon Carré, Louvre โดยสมาชิกของ l’Académie royale de peinture ในกรุงปารีส ซึ่งงานแสดงผลงานเหล่านี้จัดขึ้นทุก 2 ปี ดีเดอโรซึ่งเป็นผู้ที่ให้ความสนใจต่อจิตรกรรมเป็นอย่างมากของยุคแห่งความรู้แจ้ง เขาจึงติดตามชมภาพเขียนต่าง ๆ ที่จิตรกรนำมาแสดงในงานแล้วเขียนเป็นบทวิจารณ์ลงในวารสาร La Correspondance littéraire ตามคำขอของเพื่อนสนิทของเขา Grimm ซึ่งบทวิจารณ์เหล่านั้นเรียกรวม ๆ ว่า “บทวิจารณ์ภาพเขียน” (Les Salons) ดีเดอโรเริ่มช่วยเขียนบทวิจารณ์ศิลปะตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปารีสและเดอนี ดีเดอโร · ดูเพิ่มเติม »

เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส (Dangerous World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน สนับสนุนโดย เป๊ปซี่ โคล่า โดยจัดทั้งหมด 70 รอบ ซึ่งผลกำไรทั้งหมดจะถูกบริจาคให้กับองค์กรการกุศลต่าง ๆ รวมทั้งแจ็คสันของตัวเอง มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์ โดยเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1992 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1993 แจ็คสันสิ้นสุดทัวร์ลง เนื่องจากในขณะที่เขาประกาศความเจ็บป่วยที่ต้องรักษาในโรงพยาบาล นักแสดงกลายเป็นพึ่งพายาแก้ปวด,มีความทุกข์ทรมานจากการขาดน้ำ,ไมเกรน และบาดเจ็บ เดิมที่คอนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส ควรจะทำงานต่อไปจนกว่าถึงวันคริสต์มาส ค.ศ. 1993.

ใหม่!!: ปารีสและเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เด็กหญิงกำพร้าในสุสาน

็กหญิงกำพร้าในสุสาน (Orphan Girl at the Cemetery หรือ Young Orphan Girl in the Cemetery, Musée du Louvre, Louvre.fr, "c. 1824" according to this source.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเออแฌน เดอลาครัวซ์จิตรกรคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส แม้ว่าจะเชื่อกันว่าเป็นงานร่างสีน้ำมันสำหรับงาน “การสังหารหมู่ที่คิออส” แต่ “เด็กหญิงกำพร้าในสุสาน” เองก็ยังถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอก บรรยากาศในภาพเป็นบรรยากาศที่แสดงถึงความกลัวที่กำจายออกมาจากภาพ ดวงตาของสตรีอันในภาพหล่อด้วยน้ำตาขณะที่แหงนมองขึ้นไปอย่างประหวั่น ฉากหลังของภาพของบรรยากาศของความเศร้าหมอง ขณะที่ท้องฟ้าเป็นท้องฟ้ายามค่ำและลานที่ปราศจากผู้คน ภาษาร่างกายและเสื้อผ้าของเด็กสาวก่อให้ความรู้สึกของความโศรกเศร้า และความหวั่นไหว ที่รวมทั้งเสื้อที่ตกลงมาจากไหล่, มือขวาวางอย่างปล่อยๆ บนตัก เงาเหนือต้นคอ, ทางด้านขวาของร่างที่มืด และเสื้อที่มีสีเย็นและอ่อน สิ่งต่างๆ เหล่านี้รวมกันเข้าแล้วเน้นความรู้สึกสูญเสีย, ของความหวังอันไม่มีวันที่จะเป็นจริงขึ้นมาได้, ความโดดเดี่ยว และ การขาดความช่วยเหลือ ขณะที่สตรีสาวมองไปยังบุคคลที่เราไม่ทราบว่าเป็นใครทางขวาของภาพ สำหรับเดอลาครัวซ์แล้ว สีเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับการเขียนภาพ เพราะรสนิยมทางศิลปะและความเชื่อดังกล่าวเดอลาครัวซ์จึงไม่มีความอดทนที่จะสร้างรูปจำลองของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เดอลาครัวซ์มีความนับถือและชื่นชมปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และ ศิลปินเวนิส เดอลาครัวซ์ใช้สีอันมีสีสันและหัวเรื่องที่เขียนที่แปลก (exotic themes) ในการเขียนภาพ ที่มีแรงบันดาลใจมาจากสถานที่ต่างๆ ที่มีผลในงานเขียนที่วาววามและเต็มไปด้วยพลัง.

ใหม่!!: ปารีสและเด็กหญิงกำพร้าในสุสาน · ดูเพิ่มเติม »

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เคราร์ด ดาฟิด

ราร์ด ดาฟิด (Gerard David; ราว ค.ศ. 1460 - 13 สิงหาคม ค.ศ. 1523) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสำหรับหนังสือวิจิตร ประวัติศาสตร์ คริสต์ศาสนา ภูมิทัศน์ และชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ปารีสและเคราร์ด ดาฟิด · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).

ใหม่!!: ปารีสและเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์

ลเมนส์ ปีเตอร์ ฟอน เปอร์เกต์ (Clemens Peter von Pirquet; 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1874 – 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929) เป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย เกิดใกล้กรุงเวียนนา มีน้องชายชื่อกิวโด ฟอน เปอร์เกต์ ซึ่งต่อมาเป็นนักฟิสิกส์ เรียนวิชาเทววิทยาที่มหาวิทยาลัยอินส์บรุคและวิชาปรัชญาที่มหาวิทยาลัยเลอเฟิน ก่อนจะเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยกราซและฝึกงานที่คลินิกเด็กในเวียนนา ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์ · ดูเพิ่มเติม »

เคฮันชิง

ันชิง เป็นชื่อเรียกอาณาบริเวณเมืองนครและปริมณฑลของประเทศญี่ปุ่น ที่ถือเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของญี่ปุ่น ครอบคลุมพื้นที่สามเมืองในสามจังหวัด ได้แก่ 1.

ใหม่!!: ปารีสและเคฮันชิง · ดูเพิ่มเติม »

เคานต์แห่งบลัว

ตราอาร์มเคานต์แห่งบลัวเดิม ตราอาร์มเคานต์แห่งบลัวใหม่ เคานต์แห่งบลัว (Counts of Blois) เดิมมีศูนย์กลางที่บลัว ทางใต้ของกรุงปารีสในฝรั่งเศส เมืองสำคัญก็นอกไปจากบลัวเองแล้วก็ได้แก่ชาทร์ บลัวมีความสัมพันธ์กับช็องปาญ, ชาตียง (ประมุขมักจะมาพำนักที่บลัว) และต่อมากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส บลัวมีบทบาทสำคัญระหว่างสงครามร้อยปีเมื่อโจนออฟอาร์กใช้เป็นที่มั่น อาณาบริเวณของบลัวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทางด้านเหนือติดกับนอร์ม็องดี ดินแดนบลัวต่อมาก็ขายให้เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1291.

ใหม่!!: ปารีสและเคานต์แห่งบลัว · ดูเพิ่มเติม »

เคนดัลล์ เจนเนอร์

นดัลล์ นิโคล เจนเนอร์ (Kendall Nicole Jenner, เกิด 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995) เป็นนางแบบและนักจัดรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน เดิมเป็นที่รู้จักในรายการโทรทัศน์ E! และ Keeping Up with the Kardashians เจนเนอร์ได้รับขนานนามเป็นหนึ่งใน "ยุคอินสตาเกิร์ล" โดยนิตยสารโว้กหรือ "นางแบบสังคมออนไลน์" โดยนิตยสารฮาร์เปอส์บะซาร์ เจนเนอร์เคยผ่านการเดินแบบในงานสัปดาห์แฟชั่นที่นครนิวยอร์ก มิลาน และปารีส เธอยังได้รับการขึ้นปกนิตยสารเลิฟ และโว้กฉบับนานาชาติต่าง ๆ ร่วมถึงการเดินแบบให้กับวิกตอเรียส์ซีเคล็ต และยังทำหน้าที่เป็นแบรนด์แอมบาสเดอร์ให้กับเอสเต ลอเดอร์ นิตยสารฟอบส์ในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเคนดัลล์ เจนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เตช บุนนาค

ตช บุนนาค กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศสหรัฐอเมริกา ในสมัยของประธานาธิบดีบิล คลินตัน ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 หลังการลาออกของนายนพดล ปัทมะ เนื่องจากขณะนั้นนายเตช เป็นข้าราชการพลเรือนในพระองค์ รับราชการอยู่ที่สำนักราชเลขาธิการ นายสมัคร สุนทรเวชจึงได้ไปขอพระราชทานนายเตชจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้มาดำรงตำแหน่งแทน ในต้นเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและเตช บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เตอร์กิชแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 981

ในวันที่ 3 มีนาคม 2517 หลังจากที่เครื่องบินได้ทำการบินขึ้นจากท่าอากาศยานอิสตันบูล อาตาตูร์กเครื่องบินเกิดเหตุประตูห้องสัมภาระหลุดออกมาในขณะบิน ทําให้เกิดความดันอากาศในห้องผู้โดยสารลดลงในเครื่องบิน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 346 คนบนเครื่องบิน (ผู้โดยสาร 334 คน และลูกเรือ 12 คน) เตอร์กิชแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 981 ได้จดบันทึกว่าเป็นอุบัติเหตุทางเครื่องบินพาณิชย์ครั้งร้ายแรงที่สุดในฝรั่งเศส และอุบัติเหตุที่ร้ายแรงที่สุดอันดับ 3 บนเครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 รองจาก อเมริกันแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 191.

ใหม่!!: ปารีสและเตอร์กิชแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 981 · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ลี่จวิน

ติ้ง ลี่จวิน หรือ เทเรซา เติ้ง (テレサ・テン, 29 มกราคม พ.ศ. 2496 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) นักร้องเพลงจีนสากลชาวไต้หวันชื่อดังและมีอิทธิพลอย่างสูง เธอเกิดที่ เมืองเป่าจง มณฑลหยุนหลิน สาธารณรัฐจีน โดยบรรพบุรุษของเธอมาจากมณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เสียงและเพลงของเธอเป็นที่จดจำทั่วทั้งเอเชียตะวันออกและในหมู่ชาวจีนทั้งในประเทศจีน ไต้หวัน และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก จนมีคำกล่าวว่า "มีชาวจีนอยู่ที่ไหน ก็จะได้ยินเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่นั่น" นอกจากนี้ เพลงของเธอยังเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวเวียดนาม ชาวมาเลเซีย และชาวอินโดนีเซียจำนวนมากเช่นกัน เติ้ง ลี่จวิน มีชื่อเสียงจากบทเพลงรัก และเพลงพื้นเมืองภาษาหมิ่นหนาน (ภาษาฮกเกี้ยน) เพลงที่โด่งดังจนรู้จักกันทั่วไปทั่วเอเชีย ได้แก่เพลง เถียนมี่มี่ (甜蜜蜜, tián mì mì แปลว่า หวานปานน้ำผึ้ง) และเพลง เยว่เหลียงไต้เปี่ยวหวอเตอซิน (月亮代表我的心, yuè liàng dài biǎo wǒ de xīn แปลว่า พระจันทร์แทนใจฉัน) เป็นต้น ไม่เพียงเพลงภาษาจีนกลางเท่านั้น เธอยังเคยมีผลงานเพลงภาษาไต้หวัน ภาษากวางตุ้ง ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษด้วย เติ้ง ลี่จวิน เสียชีวิตอย่างกะทันหันเนื่องจากโรคหอบหืด ขณะเดินทางมาพักผ่อนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ขณะอายุได้เพียง 42 ปี.

ใหม่!!: ปารีสและเติ้ง ลี่จวิน · ดูเพิ่มเติม »

เตเวแซ็งก์มงด์

ตเวแซ็งก์มงด์ (TV5 Monde) หรือรู้จักกันในชื่อ เตเวแซ็งก์ (TV5) เป็นสถานีโทรทัศน์ระดับนานาชาติแพร่ภาพด้วยภาษาฝรั่ง.

ใหม่!!: ปารีสและเตเวแซ็งก์มงด์ · ดูเพิ่มเติม »

เตเฌเว

ทีจีวี (Train à grande vitesse; TGV) เป็นบริการรถไฟความเร็วสูงและรถไฟทางไกลระหว่างเมืองของแอ็สแอนเซแอ็ฟ ผู้ให้บริการเดินรถไฟแห่งชาติฝรั่งเศส ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 โดยฌีเออเซ-อัลสตอม (บริษัทอัลสตอมในปัจจุบัน) และแอ็สแอนเซแอ็ฟ เดิมถูกออกแบบให้ใช้พลังงานจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันแก๊ส ต่อมารุ่นต้นแบบถูกพัฒนาให้เป็นรถไฟที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากวิกฤตการณ์น้ำมันในปี..

ใหม่!!: ปารีสและเตเฌเว · ดูเพิ่มเติม »

เตเฌเว ลีรียา

300px เตเฌเว ลีรียา (TGV Lyria) เป็นรถไฟความเร็วสูงที่ให้บริการระหว่างฝรั่งเศสกับสวิตเซอร์แลนด์ โดยใช้รถไฟของเตเฌเวให้บริการในสายต่าง ๆ มีสถานีต้นทางอยู่ที่สถานีรถไฟลียงในกรุงปารีส สู่จุดหมายใน 5 เมืองหลักของสวิตเซอร์แลนด์ มีผู้ให้บริการคือ SNCF ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อยละ 74 และ SBB-CFF-FFS ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อยละ 26 โดยอาศัยเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในฝรั่งเศสและเครือข่ายรถไฟในสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ปารีสและเตเฌเว ลีรียา · ดูเพิ่มเติม »

เตเฌเว โปส

รถไฟความเร็วสูงเตเฌเว โปส หมายเลข 4401 ของฝรั่งเศส ขณะวิ่งทดสอบด้วยความเร็ว 330 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟความเร็วสูงเตเฌเว โปส หมายเลข 4402 ในโครงการ V150 ในขณะกำลังวิ่งทดสอบในการทำลายสถิติโลก เตเฌเว โปส (TGV POS) หมายเลข 4401-4419 เป็นหนึ่งในรถไฟความเร็วสูงที่ให้บริการโดยบริษัททางรถไฟแห่งชาติฝรั่งเศส (SNCF) และสร้างขึ้นโดยบริษัทอาลสตอม (Alstom) ปัจจุบันเตเฌเว โปส หมายเลข 4402 (ใช้ชื่อว่า V150) สามารถทำลายสถิติความเร็วที่สุดในโลกที่รถไฟเตเฌเว อัตล็องติก (TGV Atlantique) หมายเลข 325 เคยทำไว้ โดยทำความเร็วได้สูงสุดถึง 574.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในการวิ่งทดสอบเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2550 โดยใช้ขบวนรถที่มีการปรับแต่งเป็นพิเศษสำหรับสร้างสถิติโลก TGV POS ย่อมาจาก Paris-Ostfrankreich-Süddeutschland ในภาษาเยอรมัน (แปลว่า "ปารีส-ทางตะวันออกของฝรั่งเศส-ทางใต้ของเยอรมนี").

ใหม่!!: ปารีสและเตเฌเว โปส · ดูเพิ่มเติม »

เซบัสเตียง เลอ แพร็สทร์ เดอ โวบ็อง

ซบัสเตียง เลอ แพร็สทร์ เดอ โวบ็อง และต่อมา มาร์ควิสแห่งโวบ็อง หรือเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า โวบ็อง (Sébastien Le Prestre de Vauban) (15 พฤษภาคม ค.ศ. 1633 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1707) โวบ็องผู้มีตำแหน่งเป็นมาเรชาลเดอฟร็องส์ซึ่งเป็นตำแหน่งทางพลเรือนอันมีเกียรติที่มอบให้แก่ทหารผู้มีเกียรติคุณเป็นวิศวกรการทหารแนวหน้าของยุค โวบ็องมีชื่อเสียงจากทั้งในด้านความเชี่ยวชาญในการออกแบบและการทำลายระบบป้อมปราการ นอกจากนั้นโวบ็องก็ยังเป็นผู้ถวายคำแนะนำแก่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในด้านการปรับปรุงพรมแดนของฝรั่งเศสให้มีประสิทธิภาพในการป้องกันตนเอง และยังเป็นผู้ให้การตัดสินใจที่ค่อนข้างจะนอกแนวในการยุบภูมิภาคบางภูมิภาคเพื่อทำให้ภูมิภาคที่คงเหลืออยู่มีความแข็งแกร่งขึ้น ที่ทำให้ยากต่อการทลวงเข้ามาโดยข้าศึกจากประเทศเพื่อนบ้าน.

ใหม่!!: ปารีสและเซบัสเตียง เลอ แพร็สทร์ เดอ โวบ็อง · ดูเพิ่มเติม »

เซบาสเตียง อีซองบาร์ด

ซบาสเตียง อีซองบาร์ด (Sébastien Izambard) (7 มีนาคม พ.ศ. 2516 —) ศิลปินป็อป-คลาสสิก ปัจจุบันสังกัดวง อิล ดิโว่ ซึ่งเสียงของเขาถูกจัดอยู่ในประเภท Vox Populi และเขายังมีความสามารถในการเล่นเปียโน กีตาร์อีกด้วย นอกจากนี้ ยังได้ร้องเพลงคู่กับศิลปินระดับโลก อย่างเซลีน ดิออน และเป็นแขกรับเชิญพิเศษในทัวร์คอนเสิร์ตของบาร์บรา สไตรแซนด์ อีกด้ว.

ใหม่!!: ปารีสและเซบาสเตียง อีซองบาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: ปารีสและเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

เซิน หง็อก ถั่ญ

ซิน หง็อก ถั่ญ (Sơn Ngọc Thành; សឺង ង៉ុកថាញ់) เป็นนักการเมืองชาตินิยมและนิยมสาธารณรัฐในกัมพูชา มีประวัติการต่อสู้ที่ยาวนานในฐานะกบฏผู้ต่อต้านรัฐบาลและได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเวลาสั้น.

ใหม่!!: ปารีสและเซิน หง็อก ถั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยงไฮ้

ซี่ยงไฮ้ หรือ ช่างไห่ (จีน: 上海, พินอิน: Shànghǎi) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับเขตการปกครองพิเศษแบบเทศบาลนคร ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ากับมณฑล พื้นที่อยู่ในมณฑลเจ้อเจียงแต่ไม่ได้ขึ้นกับมณฑล การปกครองขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง มีท่าเรือที่มีจำนวนเรือคับคั่งที่สุดในโลก ตามมาด้วยสิงคโปร์และรอตเทอร์ดาม เซี่ยงไฮ้ในอดีตเป็นเพียงหมู่บ้านชาวประมง แต่ในปัจจุบันเซี่ยงไฮ้กลายเป็นเมืองที่มีคนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นมากที่สุดในประเทศจีน เต็มไปด้วยร้านค้า สิ่งก่อสร้าง ถนนเต็มไปด้วยรถ จักรยาน และผู้คน สิ่งที่พบเห็นได้มากในเมืองนี้จนอาจถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเมืองคือต้นเมเปิลที่มีอายุเกือบร้อยปี ซึ่งปลูกโดยในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามายึดครองเซี่ยงไฮ้.

ใหม่!!: ปารีสและเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

เซดริก วีลานี

ตราจารย์ ดร.เซดริก วีลานี (Cédric Villani, เกิด 5 ตุลาคม ค.ศ. 1973) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสที่ทำงานเกี่ยวกับสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยและฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์ เขาได้รับรางวัล เหรียญฟิลด์ส (Fields Medal) ใน..

ใหม่!!: ปารีสและเซดริก วีลานี · ดูเพิ่มเติม »

เปียงยาง

ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ. 427 ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโคกูรยอ มีชื่อว่าเมืองเปียงยาง จนถึงปี ค.ศ. 668 ที่อาณาจักรโคกูรยอล่มสลายลง.

ใหม่!!: ปารีสและเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

เปียโนโซนาตาหมายเลข 11 (โมซาร์ท)

ปียโนโซนาตาหมายเลข 11 ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (Piano Sonata No.) ผลงานประพันธ์ของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท เป็นโซนาตาสำหรับบรรเลงเดี่ยวเปียโน แบ่งออกเป็น 3 มูฟเมนต์ บรรเลงด้วยบันไดเสียง เอ เมเจอร์ หรือ เอ ไมเนอร์ มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 20 นาที.

ใหม่!!: ปารีสและเปียโนโซนาตาหมายเลข 11 (โมซาร์ท) · ดูเพิ่มเติม »

เปทรูชกา

ตราวินสกี และนิจินสกี ผู้รับบทเปทรูชกา เปทรูชกา (Pétrouchka; Петрушка) เป็นบัลเลต์ประกอบดนตรีโดยอิกอร์ สตราวินสกี คีตกวีชาวรัสเซีย แต่งขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: ปารีสและเปทรูชกา · ดูเพิ่มเติม »

เปตรา

right เปตรา (จากภาษากรีก πέτρα แปลว่าหิน ภาษาอารบิก البتراء) คือนครหินแกะสลักโบราณที่ซ่อนตัวอย่างลึกลับในหุบเขาวาดี มูซา หุบเขาที่ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเดดซีกับอ่าวอะกาบาในประเทศจอร์แดน นครนี้แต่เดิมนั้นเป็นนครแห่งการค้าขนาดใหญ่ซึ่งต่อมาถูกละทิ้งเป็นเวลานานกว่า 700 ปี จนเมื่อมีนักสำรวจชาวสวิตเซอร์แลนด์ โยฮันน์ ลุควิก บวร์กฮาร์ท เดินทางผ่านมาพบเห็นเข้าเมื่อปี พ.ศ. 2355 (ค.ศ. 1812) นครเปตราได้รับลงทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ปารีสและเปตรา · ดูเพิ่มเติม »

เปตรึส คริสตึส

ปตรึส คริสตึส (Petrus Christus; ราว ค.ศ. 1410/ค.ศ. 1420 - ราว ค.ศ. 1475/ค.ศ. 1476) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมันในหัวข้อที่เกี่ยวกับศิลปะคริสเตียนและการเขียนภาพเหมือน เปตรึส คริสตึสเกิดเมื่อราวระหว่างปีค.ศ. 1410-ค.ศ. 1420 ที่เมืองบาร์เลอ-แฮร์โตค (Baarle-Hertog) ใกล้กับแอนต์เวิร์ปในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน คริสตึสทำงานส่วนใหญ่ที่บรูชตั้งแต่ปี ค.ศ. 1444 เป็นที่เชื่อกันมานานแล้วว่าคริสตึสเป็นลูกศิษย์และทำงานต่อจากยัน ฟัน ไอก์ งานบางชิ้นก็สับสนกันว่าเป็นงานของฟัน ไอก์ เมื่อฟัน ไอก์เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1441 คริสตึสก็รับช่วงทำโรงฝึกงานต่อและซื้อสัญชาติในปี ค.ศ. 1444 สามปีหลังจากที่ฟัน ไอก์เสียชีวิต อันที่จริงแล้วคริสตึสก็ควรจะได้สัญชาติหลังจากที่ทำงานในโรงฝึกงานของฟัน ไอก์ มาได้หนึ่งปีและหนึ่งวันตามธรรมเนียม หรืออาจจะว่าได้ว่าแม้ว่าจะเป็นผู้รับช่วงต่อในการเขียนภาพแบบบรูช แต่ก็มิได้หมายความว่าจะเป็นลูกศิษย์ และอันที่จริงแล้วจากการค้นคว้าเมื่อไม่นานมานี้พบว่าคริสตึสเป็นจิตรกรอิสระที่มีผลงานที่แสดงว่ามีอิทธิพลจากศิลปินหลายคนรวมทั้งดีร์ก เบาตส์, โรเบิร์ต กัมปิน และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน.

ใหม่!!: ปารีสและเปตรึส คริสตึส · ดูเพิ่มเติม »

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ใหม่!!: ปารีสและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนอแวร์

นอแวร์ (Nevers) เป็นเมืองจังหวัดเนียฟวร์ในแคว้นบูร์กอญในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดเนอแวร์ตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝรั่งเศสราว 260 กิโลเมตรทางใต้ตะวันออกเฉียงใต้ของปารีส สถานที่สำคัญและน่าสนใจของเนอแวร์ได้แก่ จัตุรัสสาธารณรัฐและมหาวิหารเนอแวร.

ใหม่!!: ปารีสและเนอแวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เนติพงษ์ ศรีทองอินทร์

นติพงษ์ ศรีทองอินทร์ อดีตกองหน้าทีมชาติไทย ลูกครึ่งไทย-ฝรั่งเศสและเวียดนาม ลงเล่นให้กับทีมชาติไทยเป็นเวลา 3 ปี ระหว่าง..

ใหม่!!: ปารีสและเนติพงษ์ ศรีทองอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

Cotard delusion

Cotard delusion (อาการหลงผิดกอตาร์) หรือ Cotard's syndrome (กลุ่มอาการกอตาร์) หรือ Walking Corpse Syndrome (กลุ่มอาการศพเดินได้) เป็นโรคทางจิตหาได้ยากที่คนไข้มีอาการหลงผิดว่าตนเองตายแล้ว (ไม่ว่าจะโดยอุปมาหรือจริง ๆ) หรือไม่มีอยู่จริง ๆ หรือกำลังเปื่อยเน่าอยู่ หรือได้สูญเสียเลือดหรืออวัยวะภายในไป หรือบางครั้งในกรณีที่มีน้อย อาจจะมีการหลงผิดว่ามีชีวิตเป็นอมต.

ใหม่!!: ปารีสและCotard delusion · ดูเพิ่มเติม »

ISO 8601

ISO 8601 คือมาตรฐานสำหรับการนำเสนอตามปฏิทินและเวลา ประกาศโดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) มาตรฐานนี้มีหัวเรื่องว่า "องค์ประกอบข้อมูลและรูปแบบการแลกเปลี่ยน — รูปแบบการแลกเปลี่ยน — การนำเสนอวันที่และเวลา" คุณลักษณะสำคัญของการนำเสนอนี้คือ การจัดอันดับให้ส่วนที่มี ความสำคัญมากกว่าขึ้นก่อน นั่นคือเรียงจากหน่วยใหญ่ที่สุด (ปี) ไปยังหน่วยเล็กที่สุด (วินาที).

ใหม่!!: ปารีสและISO 8601 · ดูเพิ่มเติม »

My Best Friend

My Best Friend (Mon meilleur ami) ภาพยนตร์ฝรั่งเศส ออกฉายในปี ค.ศ. 2006 นำแสดงโดย แดเนียล ออเทล, ดานี บูน กำกับการแสดงโดย ปาทริก ลีโคนต.

ใหม่!!: ปารีสและMy Best Friend · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ใหม่!!: ปารีสและNepenthes campanulata · ดูเพิ่มเติม »

Pictures at an Exhibition

รูปถ่ายของโมเดสต์ มูสซอร์กสกี เมื่อปีค.ศ. 1876 ห้องที่ 3 และ 4 ในท่อนเปิดบทเพลง "Promenade" โดยใช้บทเพลงสำนวนพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงอยู่มาก Pictures at an Exhibition หรือ งานนิทรรศการภาพวาด เป็นบทเพลงชุดผลงานเดี่ยวเปียโนที่ประพันธ์โดย โมเดสต์ มูสซอร์กสกีขึ้นในปีค.ศ. 1874 ซึ่งเป็นผลงานที่ทั่วโลกยอมรับว่า เป็นบทเพลงเดี่ยวเปียโนที่มีชื่อเสียงที่สุดในแวดวงเพลงคลาสสิก และเป็นผลงานสำหรับยอดนักเปียโนที่ความสามารถสูง มูสซอร์กสกีได้ประพันธ์เพลงนี้โดยอาศัยเพลงพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงไว้มาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้อีกมากมายในบทเพลง และต่อมา มีคีตกวีแห่งยุคศตวรรษที่ 20 ในนามว่า มัวริส ราเวล คีตกวีชาวฝรั่งเศส ในยุคอิมเพรสชั่นนิสม์ (Impressionism) ได้นำเพลงของมูสซอร์กสกีมาเรียบเรียงตามแนวฉบับอิมเพรสชั่นนิสม์ ราเวลได้ประพันธ์เพลงนี้โดยคงรูปแบบเพลงของมูสซอร์กสกีไว้ให้วงออเคสตร้าบรรเลง จึงได้มีการบันทึกเสียงการแสดงสด ๆ อีกด้วย จึงทำให้ชื่อมูสซอร์กสกีเป็นที่นิยมของทั่วโลกว่า เพลงของเขา ไม่ตกจริง.

ใหม่!!: ปารีสและPictures at an Exhibition · ดูเพิ่มเติม »

1 E+7 m²

กาะแมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก 1 E+7 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10 ถึง 100 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ปารีสและ1 E+7 m² · ดูเพิ่มเติม »

1 E1 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่าง 10 ม. และ 100 ม. ---- ความยาวน้อยกว่า 10 เมตร ----.

ใหม่!!: ปารีสและ1 E1 m · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กรกฎาคม

วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ14 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ2 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ20 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ21 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ปารีสและ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มิถุนายน

วันที่ 23 มิถุนายน เป็นวันที่ 174 ของปี (วันที่ 175 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 191 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ23 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ25 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ26 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ31 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปารีสและ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Parisกรุงปารีสนครปารีสเมืองปารีส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »