โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปาก

ดัชนี ปาก

ปาก หรือ ช่องปาก เป็นอวัยวะของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปใช้กินอาหารและดื่มน้ำ เป็นจุดเริ่มต้นของระบบย่อยอาหาร.

119 ความสัมพันธ์: ชุดาภา จันทเขตต์บีตบ็อกซ์พระโคตมพุทธเจ้ากระเพาะอาหารกฤษณ์ ศุกระมงคลกล้ามเนื้อลีเวเตอร์ แองกูไล ออริสกะพรุนน้ำจืดการพูดการย่อยอาหารการรับรู้รสการร่วมเพศทางปากการปรับอุณหภูมิกายการแข่งเรือยาวการเน่าเปื่อยกำธร สุวรรณปิยะศิริมะเร็งเม็ดเลือดขาวมะเดื่อมิลันดา ล็อตโต้มนุษย์ปักกิ่งยาทาเล็บราม ราชพงษ์รายชื่อกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์รายชื่อโครงสร้างทางกายวิภาคมนุษย์รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยร่างกายมนุษย์ลิงสามตัวลิงจมูกยาวลิปกลอสลิ้นลูกอ๊อดลีดส์อิชธีส์วิทยาทางเดินอาหารวงศ์ย่อยปลาเลียหินวงศ์ปลามังกรน้อยวงศ์ปลาวัววงศ์ปลาหมูกระโดงสูงวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจวงศ์ปลาตั๊กแตนหินวงศ์ปลาปากแตรหมวดคำอักษรจีนหลอดดูดหัวใจพลอยโจรหุ่นกระบอกไทยหูชั้นกลางหงส์หนอนตัวแบนอวัยวะอันดับอาร์ดวาร์กอันดับด้วงอาการไม่ไวความเจ็บปวดแต่กำเนิด...อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้อาหารกับโรคมะเร็งอาเจียนผายลมผีไม่มีหน้าผ้าปิดจมูกจุรี โอศิริธีโอโบรมีนธนายง ว่องตระกูลทางเดินอาหารทางเดินอาหารของมนุษย์ทีมฟอร์เทรส 2ท่วงท่าการร่วมเพศคลอเฟนะมีนคอหอยคโลนะเซแพมตัวกระตุ้นตัวรับรู้สารเคมีตุ๊กตายางตุ่มรับรสต่อมน้ำลายปลาปลากระดี่ช็อกโกแลตปลากระเบนชายธง (สกุล)ปลากัด (สกุล)ปลายประสาทรับร้อนปลายประสาทเมอร์เกิลปลาวัวลายส้มปลาวัวปิกัสโซปลาอะโรวานาอเมริกาใต้ปลาตองปลาตองลายแอฟริกาปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้มปลาฉลามหัวค้อนปลาฉลามครุยปลาโลมาน้อยปลาไม่มีขากรรไกรปุ่มลิ้นปูทหารนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้านิติเวชกีฏวิทยานีโอมัยซินน้ำลายแบบสิ่งเร้าแมงสี่หูห้าตาแผลร้อนในใบหน้าโขนไบลาทีเรียไบโอตินไมน็อกซิดิลไฮดรอกซิซีนไข้หวัดใหญ่ไตรโพรลิดีนเม็ดรู้สัมผัสเสือเสียงนาสิก ลิ้นไก่เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์เอนโดเดิร์มเฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิเต่ามะเฟืองเตโตรโดท็อกซินเป็ด เชิญยิ้มเนื้อเยื่อบุผิวเนื้อเยื่อคัพภะICD-10 บทที่ 11: โรคของระบบย่อยอาหารICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซมICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอกICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก ขยายดัชนี (69 มากกว่า) »

ชุดาภา จันทเขตต์

ันทเขตต์ เป็นนักแสดงละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวทีหญิงชาวไท.

ใหม่!!: ปากและชุดาภา จันทเขตต์ · ดูเพิ่มเติม »

บีตบ็อกซ์

ีตบ็อกซ์ (Beatboxing) เป็นวิธีทำเสียงลักษณะเสียงตีหรือเสียงกระทบ มักเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมฮิปฮอป (บางครั้งอาจเรียกว่า ปัจจัยที่ 5 ของฮิปฮอป) แต่ก็ไม่ได้จำกัดกับดนตรีฮิปฮอป เริ่มแรกเป็นศิลปะในการทำเสียงแบบจังหวะกลอง การทำจังหวะ โดยใช้เสียงจาก ปาก ริมฝีปาก ลิ้น เสียงร้อง และอย่างอื่นประกอบ และในบางครั้งก็นำการร้อง การทำเสียงเลียนแบบเทิร์นเทเบิ้ล การลอกเลียนแบบแตร เครื่องสาย และเครื่องดนตรีประเภทอื่น ซึ่งจริงๆ ก็อาจเรียกได้ว่าเป็นอะแคปเปลล่าประเภทหนึ่ง.

ใหม่!!: ปากและบีตบ็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระโคตมพุทธเจ้า

ระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมในภาษาบาลีว่า สิทธัตถะ โคตมะ หรือในภาษาสันสกฤตว่า สิทฺธารฺถ เคาตมะ (อ่านว่า /สิดทาด —/) (เทวนาครี: सिद्धार्थ गौतम) เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน ผู้เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ สาวกของพระองค์ไม่นิยมออกพระนามโดยตรง แต่เรียกตามพระสมัญญาว่า "ภควา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) คัมภีร์พุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายานบันทึกตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาช้านาน ก่อนออกผนวชทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็นรัชทายาท เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ทรงได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี, พระพุทธโคดม, พระโคดมพุทธเจ้า ฯลฯ แต่ทรงเรียกพระองค์เองว่า ตถาคต แปลว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือ ทรงปฏิญาณว่า ทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวง สำเร็จแล้วซึ่งอรหัตผล.

ใหม่!!: ปากและพระโคตมพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

กระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะของทางเดินอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการย่อยอาหารที่ผ่านการเคี้ยวภายในช่องปากมาแล้ว กระเพาะอาหารยังเป็นอวัยวะที่มีสภาพแวดล้อมเป็นกรด โดยมักจะมีค่าพีเอชอยู่ที่ประมาณ 1-4 โดยขึ้นกับอาหารที่รับประทานและปัจจัยอื่น ๆ นอกจากนี้ในกระเพาะอาหารยังมีการสร้างเอนไซม์เพื่อช่วยในการย่อยอาหารอีกด้วย ในศัพท์ทางการแพทย์จะเรียกโครงสร้างที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหารโดยขึ้นต้นด้วยคำว่า gastro- และ gastric ซึ่งเป็นคำในภาษาละตินที่หมายถึงกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: ปากและกระเพาะอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ ศุกระมงคล

กฤษณ์ ศุกระมงคล เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงในภาพยนตร์ชุด บุญชู โดยรับบทเป็น คำมูล เพื่อนร่วมกลุ่มของบุญชู นักศึกษาคณะโบราณคดีที่ชื่นชอบปลากระป๋อง และโฆษณาห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล จนเป็นที่รู้จักและเรียกขานว่า "หนุ่ม เซ็นทรัล" นอกจากนี้ยังรับบทเป็นนักแสดงสมทบในภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง และมักแสดงบทสนุกสนาน นอกจากนี้ยังเคยเป็นพิธีกร เสาร์นี้มีอะไร, คุณขอมา และนักร้องที่มีอัลบั้มเพลงชุดเดียว คือ หนุ่มแดดเดียว ตอน ตะลุยแบกแดด กับค่าย เอสพี ศุภมิตร ซึ่งมี ยิ่งยง (อี๊ด) โอภากุล เป็นโปรดิวเซอร์ นอกจากบทบาทการเป็นนักแสดง ยังมีบทบาทเป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์ทางไทยทีวีสีช่อง 3 มีผลงานการกำกับหลายเรื่อง เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44 ด้านการกำกับการแสดง เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม จากรางวัลนาฏราช, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 และท็อปอวอร์ด 2009 จากการกำกับละครเรื่อง ผู้ใหญ่ลีกับนางม.

ใหม่!!: ปากและกฤษณ์ ศุกระมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อลีเวเตอร์ แองกูไล ออริส

กล้ามเนื้อลีเวเตอร์ แองกูไล ออริส (levator anguli oris) เป็นกล้ามเนื้อใบหน้าที่อยู่บริเวณปาก เริ่มจากแอ่งฟันเขี้ยว (canine fossa) ซึ่งอยู่ใต้ต่อรูใต้เบ้าตา (infraorbital foramen) ใยของกล้ามเนื้อเข้าเกาะปลายที่มุมของปาก ร่วมกับกล้ามเนื้อไซโกมาติคัส (zygomaticus), ดีเพรสเซอร์ แองกูไล ออริส (depressor anguli oris), และกล้ามเนื้อหูรูดปาก (Orbicularis oris).

ใหม่!!: ปากและกล้ามเนื้อลีเวเตอร์ แองกูไล ออริส · ดูเพิ่มเติม »

กะพรุนน้ำจืด

กะพรุนน้ำจืด หรือ แมงกะพรุนน้ำจืด (Freshwater jellyfish) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในพวกแมงกะพรุนที่อยู่ในชั้นไฮโดรซัว ต่างจากแมงกะพรุนที่พบในทะเลที่ส่วนมากจะอยู่ในชั้นไซโฟซัว ใช้ชื่อสกุลว่า Craspedacusta (/คราส-พี-ดา-คัส-ต้า/).

ใหม่!!: ปากและกะพรุนน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

การพูด

การพูด เป็น การสื่อสารของมนุษย์โดยใช้ปากและกล่องเสียงเพื่อเปล่งเสียงออกมา เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล โดยอาศัย ภาษา เป็นตัวสื่อความหมายของสิ่งที่พูด การพูดเป็นความสามารถเฉพาะของมนุษย์ แต่ก็มีสัตว์บางประเภทสามารถเลียนเสียงพูดของมนุษย์ได้ เช่น นกแก้ว ผู้ที่พูดไม่ได้เรียกว่าเป็น คนใบ้ การพูดมีหลายรูปแบบ เช่น การพูดระหว่างบุคคล การพูดในกลุ่ม การพูดในที่ชุมชน บุคคลที่มีทักษะในการพูด สร้างแรงจูงใจให้บุคคลอื่นได้ ก็สามารถจัด ทอล์กโชว์ (talk Show) สร้างเป็นอาชีพนักวิชาการ ด้านการพูดได้.

ใหม่!!: ปากและการพูด · ดูเพิ่มเติม »

การย่อยอาหาร

การย่อยอาหาร (digestion) เป็นการสลายโมเลกุลอาหารที่ไม่ละลายน้ำขนาดใหญ่เป็นโมเลกุลอาหารละลายน้ำขนาดเล็กเพื่อให้สามารถถูกดูดซึมเข้าสู่น้ำเลือดได้ ในสิ่งมีชีวิตบางชนิด สสารขนาดเล็กกว่าเหล่านี้ถูกดูดซึมผ่านลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด การย่อยอาหารเป็นแคแทบอลิซึมรูปแบบหนึ่งซึ่งแบ่งวิธีการสลายอาหารออกได้เป็นสองวิธี คือ การย่อยอาหารเชิงกลและการย่อยอาหารเชิงเคมี คำว่า การย่อยอาหารเชิงกล หมายถึง การสลายเชิงกายภาพของชิ้นอาหารขนาดใหญ่เป็นชิ้นเล็ก ๆ ซึ่งทำให้เอ็นไซม์ย่อยอาหารเข้าถึงได้ต่อไป ในการย่อยอาหารเชิงเคมี เอ็นไซม์จะสลายอาหารเป็นโมเลกุลขนาดเล็กซึ่งร่างกายสามารถนำไปใช้ได้ ในระบบย่อยอาหารของมนุษย์ อาหารเข้าสู่ปากและการย่อยอาหารเชิงกลเริ่มต้นด้วยการเคี้ยว ซึ่งเป็นการย่อยอาหารเชิงกลรูปแบบหนึ่ง และการสัมผัสทำให้เปียกของน้ำลาย น้ำลายซึ่งเป็นของเหลวที่หลั่งจากต่อมน้ำลาย มีเอ็นไซม์อะไมเลสของน้ำลาย ซึ่งเป็นเอ็นไซม์ที่เริ่มการย่อยแป้งในอาหาร น้ำลายยังมีเมือกที่หล่อลื่นอาหาร และไฮโดรเจนคาร์บอเนตซึ่งทำให้ภาวะ pH เหมาะสม (ด่าง) สำหรับการทำงานของอะไมเลส หลังการเคี้ยวและการย่อยแป้งดำเนินไป อาหารจะอยู่ในรูปของก้อนแขวนลอยขนาดเล็กทรงกลม เรียก โบลัส (bolus) จากนั้นจะเคลื่อนลงตามหลอดอาหารเข้าสู่กระเพาะอาหารด้วยการทำงานของการบีบรูด (peristalsis) น้ำย่อยกระเพาะอาหารในกระเพาะอาหารเริ่มการย่อยโปรตีน น้ำย่อยกระเพาะอาหารประกอบด้วยกรดไฮโดรคลอริกและเพพซินเป็นหลัก เนื่องจากสารเคมีสองตัวนี้อาจสร้างความเสียหายต่อผนังกระเพาะอาหารได้ กระเพาะอาหารจึงมีการหลั่งเมือก ทำให้เกิดชั้นซึ่งทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันฤทธิ์กัดกร่อนของสารเคมีทั้งสอง ขณะเดียวกับที่เกิดการย่อยโปรตีน เกิดการคลุกเคล้าเชิงกลโดยการบีบรูด ซึ่งเป็นระลอกการบีบตัวของกล้ามเนื้อที่เคลื่อนตามผนังกระเพาะอาหาร ทำให้ก้อนอาหารคลุกเคล้ากับเอ็นไซม์ย่อยเพิ่ม หลังเวลาผ่านไประยะหนึ่ง ของเหลวหนาที่เกิดขึ้นเรียก ไคม์ (chyme) เมื่อลิ้นหูรูดกระเพาะส่วนปลายเปิด ไคม์เข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) ซึ่งมีการคลุกเคล้ากับเอ็นไซม์ย่อยจากตับอ่อนและน้ำดีจากตับ และผ่านสู่ลำไส้เล็ก ซึ่งการย่อยอาหารเกิดขึ้นต่อ เมื่อไคม์ถูกย่อยอย่างสมบูรณ์แล้ว จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด การดูดซึมสารอาหาร 95% เกิดในลำไส้เล็ก น้ำและแร่ธาตุถูกดูดซึมกลับเข้าสู่เลือดในลำไส้ใหญ่ ซึ่งมี pH เป็นกรดเล็กน้อยประมาณ 5.6 ~ 6.9 วิตามินบางตัว เช่น ไบโอตินและวิตามินเค ซึ่งผลิตจากแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ก็ถูกดูดซึมเข้าสู่เลือดในลำไส้ใหญ่เช่นกัน ส่วนของเสียถูกำจัดออกจากไส้ตรงระหว่างการถ่ายอุจจาร.

ใหม่!!: ปากและการย่อยอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ใหม่!!: ปากและการรับรู้รส · ดูเพิ่มเติม »

การร่วมเพศทางปาก

อง Achille Devéria แสดงตัวอย่างออรัลเซ็กซ์ การร่วมเพศทางปาก (oral sex) หมายถึงกิจกรรมทางเพศที่ใช้ปาก (ซึ่งรวมถึงการใช้ริมฝีปาก ลิ้น และฟัน) หรือลำคอเพื่อเล้าโลมอวัยวะเพศ โดยในภาษาอังกฤษคำว่า cunnilingus หมายถึงการทำออรัลเซ็กซ์กับผู้หญิง ขณะคำว่า เฟอเลชิโอ (fellatio) และ irrumatio หมายถึงการทำออรัลเซ็กซ์กับผู้ชาย ส่วนคำว่า analingus หมายถึงการทำออรัลเซ็กซ์ทางช่องทวารหนัก ส่วนการเล้าโลมด้วยปากกับส่วนอื่นของร่างกาย เช่นจูบ หรือเลีย ไม่ถือว่าเป็นออรัลเซ็กซ์ อาจมีการทำออรัลเซ็กซ์เพื่อเล้าโลมก่อนกิจกรรมทางเพศแบบอื่น (เช่น การร่วมเพศทางช่องคลอดหรือทางทวารหนัก) นอกจากนี้มีผู้ชายบางคนที่สามารถทำออรัลเซ็กซ์ให้ตัวเองได้ หลายคนถือว่าการร่วมเพศทางปากนั้นผิด ทว่าประเทศส่วนใหญ่ไม่มีกฎหมายห้ามเรื่องนี้ โดยปกติคนถือว่าการร่วมเพศทางปากไม่กระทบต่อสภาพพรหมจารี ทว่าแต่ละคนอาจมีความคิดเห็นต่างกันSee and for views on what constitutes virginity loss and therefore sexual intercourse or other sexual activity; source discusses how gay and lesbian individuals define virginity loss, and how the majority of researchers and heterosexuals define virginity loss/"technical virginity" by whether or not a person has engaged in penile-vaginal sex.

ใหม่!!: ปากและการร่วมเพศทางปาก · ดูเพิ่มเติม »

การปรับอุณหภูมิกาย

นัขหอบเพื่อปรับอุณภูมิของร่างกาย การปรับอุณหภูมิกาย ปรับปรุงเมื่อ 6..

ใหม่!!: ปากและการปรับอุณหภูมิกาย · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งเรือยาว

ประเพณีแข่งเรือ เป็นประเพณีหน้าน้ำของคนไทย เป็นการละเล่นในยามน้ำหลากที่สืบทอดมาแต่โบราณ และมักมีการแข่งเรือควบคู่ไปกับการทำบุญ ปิดทอง ไหว้พระและงานกฐิน ช่วยสร้างบรรยากาศให้งานบุญครึกครื้นขึ้น ประเพณีแข่งเรือ เป็นการละเล่นที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทยในชนบทถิ่นที่อยู่อาศัยใกล้น้ำ ในช่วงเดือนสิบเอ็ดและเดือนสิบสอง ชาวบ้านเว้นว่างจากการทำไร่ทำนา เป็นโอกาสที่หนุ่มสาวได้พบปะเกี้ยวพาราสีกัน ได้เห็นฝีไม้ลายมือของชายอกสามศอก ได้เห็นความสามัคคีพร้อมเพรียงของเหล่าหนุ่มฝีพาย การแข่งเรือมักมีการเล่นเพลงเรือ เพลงปรบไก่ เพลงครึ่งท่อน และสักวาโต้ตอบกันระหว่างหนุ่มสาวหลังการแข่งเรือ เป็นกรใช้ฝีปากไหวพริบและความเป็นเจ้าบทเจ้ากลอน โต้ตอบเกี้ยวพาราสีกัน ได้แสดงความสามารถทั้งหญิงและชาย ผู้ดูมีทั้งอยู่บนตลิ่ง และที่พายเรือกันไปเป็นหมู่ ต่างสนุกสนานกันทั่วหน้า เรือแข่งที่แถบชาวบ้านลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาใช้แข่ง เรียกเรือยาว ซึ่งทำจากท่อนซุงทั้งต้น การต่อเรือยาวต้องใช้ความรู้ ความชำนาญมาก จึงจะได้เรือที่สวยและแล่นได้เร็วเวลาพาย ปัจจุบันประเพณีการแข่งเรือยังมีเหลืออยู่บ้างไม่มากเหมือนสมัยก่อน เพราะวิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไป แต่เราไม่ค่อยจะได้ยินเสียงเพลงเห่เรือของฝีพายและของชาวบ้าน กลับได้ยินเพลงลูกทุ่งแทน เพราะขาดผู้รู้คุณค่าและความสนใจที่จะรักษาไว้ จึงไม่ได้สนับสนุนผู้มีความรู้ความสามารถในการเห่เรือ ให้สืบทอดประเพณีนี้ต่อมา เป็นที่น่ายินดีที่หน่วยงานราชการ และเอกชนบางแห่ง เล็งเห็นคุณค่าของประเพณีแข่งเรือ จึงได้จัดให้มีการแข่งเรือขึ้นในหลายๆท้องถิ่นที่อยู่ริมน้ำ ซึ่งประสบผลสำเร็จ ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติมากม.

ใหม่!!: ปากและการแข่งเรือยาว · ดูเพิ่มเติม »

การเน่าเปื่อย

การเน่าเปื่อย (Decomposition) เป็นการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามธรรมชาติอย่างหนึ่งของร่างกายสิ่งมีชีวิต เมื่อเกิดการตายและหัวใจหยุดเต้น ร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามลำดับก่อนหลัง โดยเกิดรอยเขียวช้ำหลังตาย สภาพแข็งทื่อหลังตาย การลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตายและเกิดการเน่าเปื่อยในลำดับสุดท้าย ซึ่งการเน่าเปื่อยของร่างกาย จะเกิดจากการสลายตัวของเนื้อเยื่อภายในร่างกายโดยมีหลักการเน่าเปื่อยสองประการคือ การสลายตัวเองและการเน่าสล.

ใหม่!!: ปากและการเน่าเปื่อย · ดูเพิ่มเติม »

กำธร สุวรรณปิยะศิริ

กำธร สุวรรณปิยะศิริ (16 กันยายน พ.ศ. 2478 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล และ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ช่วงที่เป็นนักศึกษา ได้เล่นดนตรี เป็นมือกลองอยู่กับวงดนตรีของมหาวิทยาลัย (TU Band) เป็นนักแสดงอาวุโส พระเอกละครโทรทัศน์ และนักพากย์ภาพยนตร์ เป็นนักแสดงละครโทรทัศน์รุ่นแรกของช่อง 4 บางขุนพรหม และต่อมามักได้รับบทคู่พระ-นาง กับ อารีย์ นักดนตรี มีชื่อเสียงจากเรื่อง ขุนศึก ช่วง..

ใหม่!!: ปากและกำธร สุวรรณปิยะศิริ · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็งเม็ดเลือดขาว

มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือที่นิยมเรียกกันว่า ลูคิเมีย (Leukemia, Leukeamia) เป็นมะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือด ทำให้มีการสร้างเม็ดเลือดชนิดผิดปกติออกมามากกว่าปกติ และจะไปรบกวนการสร้างเม็ดเลือดปกติ ทำให้จำนวนเม็ดเลือดที่ปกตินั้นมีจำนวนลดน้อยลง.

ใหม่!!: ปากและมะเร็งเม็ดเลือดขาว · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อ

มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F. racemosa) ที่เป็นไม้พื้นเมืองในอินเดียและศรีลังกา มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่งก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่ซีเรีย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ปากและมะเดื่อ · ดูเพิ่มเติม »

มิลันดา ล็อตโต้

มิลันดา ล็อตโต้ เป็นตัวละครในการ์ตูนเรื่อง ดี.เกรย์แมน.

ใหม่!!: ปากและมิลันดา ล็อตโต้ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์ปักกิ่ง

มนุษย์ปักกิ่ง มีลักษณะเตี้ย หน้าสั้น หน้าผากต่ำ แบน คิ้วหนายื่นออก ปากยื่น คางสั้น จมูกแบน มนุษย์ปักกิ่งจะเสียชีวิตก่อนอายุ 14 ปี การเลี้ยงชีพของมนุษย์ปักกิ่งคือ การล่าสัตว์ การออกหาอาหารกันเป็นกลุ่มๆ หมวดหมู่:ยุคก่อนประวัติศาสตร์ หมวดหมู่:มนุษย์.

ใหม่!!: ปากและมนุษย์ปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ยาทาเล็บ

ทาเล็บที่บรรจุใส่ขวดยี่ห้อหนึ่ง ยาทาเล็บ (Nail polish; Nail varnish) คือเครื่องสำอางประเภทหนึ่งที่ใช้ตกแต่งเล็บของมนุษย์ ให้มีความสวยงาม.

ใหม่!!: ปากและยาทาเล็บ · ดูเพิ่มเติม »

ราม ราชพงษ์

ื่อ ราม ราชพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: ปากและราม ราชพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์

รายชื่อกล้ามเนื้อของร่างกายมนุษย์ โดยทั่วไปร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่างประมาณ 640 มัด อย่างไรก็ตาม ตัวเลขจำนวนกล้ามเนื้อที่แน่นอนก็ยังไม่แน่ชัดเพราะแต่ละแหล่งข้อมูลก็มีการจัดกลุ่มกล้ามเนื้อแตกต่างกัน ทำให้จำนวนกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์มีตั้งแต่ 640-850 มัด ซึ่งตารางนี้มีรายชื่อกล้ามเนื้อประมาณ 320 มัด หน้าที่ของกล้ามเนื้อในตารางนี้เป็นหน้าที่มาตรฐานเมื่อร่างกายอยู่ในตำแหน่าค (anatomical position) ในตำแหน่งร่างกายอื่นๆ กล้ามเนื้ออาจมีหน้าที่ที่ต.

ใหม่!!: ปากและรายชื่อกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโครงสร้างทางกายวิภาคมนุษย์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปากและรายชื่อโครงสร้างทางกายวิภาคมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ปากและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ร่างกายมนุษย์

ร่างกายมนุษย์ เป็นโครงสร้างทั้งหมดของมนุษย์ ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิดที่รวมกันเป็นเนื้อเยื่อซึ่งรวมกันเป็นระบบอวัยวะ สิ่งเหล่านี้คงภาวะธำรงดุลและความอยู่รอดของร่างกายมนุษย์ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยศีรษะ, คอ, ลำตัว (ซึ่งรวมถึงอกและท้อง), แขนและมือ, ขา และเท้า การศึกษาร่างกายมนุษย์เชื่อมโยงกับกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา มิญชวิทยา และคัพภวิทยา ร่างกายมีความแตกต่างทางกายวิภาคแบบต่าง ๆ สรีรวิทยามุ่งไปที่ระบบและอวัยวะของมนุษย์และการทำงานของอวัยวะ หลายระบบและกลไกมีปฏิกิริยาต่อกันเพื่อคงภาวะธำรงดุล โดยมีระดับที่ปลอดภัยของสารต่าง ๆ เช่น น้ำตาลและออกซิเจนในเลือ.

ใหม่!!: ปากและร่างกายมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิงสามตัว

แกะสลักลิงสามตัวบนประตูของศาลเจ้านิกโกโทโช ลิงสามตัว (三猿 san'en ซันเอ็ง หรือ sansaru ซันซะรุ; 三匹の猿 sanbiki no saru ซันบิกิโนะซะรุ) คือภาพปริศนาธรรมที่มีใจความสำคัญหลักว่าด้วย "การไม่รับรู้โดยการมองในสิ่งที่ไม่ดี การไม่ฟังในสิ่งที่ไม่ดี และการไม่กล่าววาจาในสิ่งที่ไม่ดี" ในบรรดาลิงสามตัว ตัวที่หนึ่งเรียกว่า มิซะรุ (見猿 / 見ざる) มีลักษณะใช้มือปิดตา หมายถึงการไม่รับรู้โดยการมองในสิ่งไม่ดี ตัวที่สอง คิกะซะรุ (聞か猿 / 聞かざる) ใช้มือปิดหู หมายถึงการไม่ฟังในสิ่งที่ไม่ดี ตัวสุดท้าย อิวะซะรุ (言わ猿 / 言わざる) ใช้มือปิดปาก บ่งบอกถึงการไม่กล่าววาจาในสิ่งที่ไม่ดี ในบางโอกาส สามารถกล่าวได้ว่ามีการเพิ่มลิงตัวที่สี่เข้ามาเกี่ยวข้อง ลิงตัวที่สี่นั้นมีนามว่า ชิซะรุ (し猿) บ่งบอกถึงใจความสำคัญของการไม่กระทำสิ่งที่ไม่ดี ลักษณะของลิงตัวนี้คือใช้มือทั้งสองข้างปิดบริเวณท้องหรืออวัยวะเพศ หรือในบางครั้งมีลักษณะนำมือทั้งสองข้างไขว้กัน ความหมายของลิงสามตัวนี้มีการเพิ่มเติมและแปลตามลักษณะโวหารเกี่ยวข้องกับการคิดดี พูดดี และกระทำดี ในโลกตะวันตกประโยคของลิงสามตัวหมายถึงความไม่ประมาทโดยการมองในอีกมุมหนึ่ง ได้แก่การไม่ยอมรับหรือไม่รับรู้ในสิ่งนั้นๆ หรือการแสร้งที่จะไม่รับรู้ ต้นกำเนิดของภาพปริศนาธรรมอันโด่งดังนี้มีที่เริ่มมาจากลักษณะภาพแกะสลักบนประตูของศาลเจ้านิกโกโทโช จังหวัดโทะชิงิ ประเทศญี่ปุ่น ย้อนหลังไปถึงศตวรรษที่ 17 อย่างไรก็แล้วแต่ตัวปรัชญาของปริศนาธรรมนั้นน่าจะมาพร้อมกับตำนานของ ศาสนาพุทธนิกายเทียนไท้ ซึ่งเชื่อกันว่ามาจากประเทศจีนในศตวรรษที่ 8 (ยุคนะระ) ในภาษาจีนนั้น ประโยคคล้ายกับเรื่องลิงสามตัวนี้สามารถอ่านเจอในคัมภีร์ของหลักขงจื๊อ ถอดความได้ว่า "ไม่มองในสิ่งที่ค้านกับความเหมาะสม ไม่ฟังในสิ่งที่ค้านกับความเหมาะสม และไม่กระทำ (เคลื่อนไหว) ในสิ่งที่ไม่เหมาะสม" จากที่กล่าวมาในประโยคข้างต้นนั้นสามารถกล่าวได้ว่าเมื่อปรัชญานี้มาถึงญี่ปุ่น ตัวปรัชญาเองนั้นถูกทำให้กระชับและได้ใจความขึ้น ถึงแม้ว่าคำสอนนี้จะไม่เกี่ยวข้องกับลิงทั้งสามตัว แต่วิธีการคิดนั้นมาจากการเล่นคำ คำในภาษาญี่ปุ่นคือ "มิซะรุ" (見ざる), "คิคะซะรุ" (聞かざる), "อิวะซะรุ" (言わざる) นั่นคือ "การไม่รับรู้โดยการมองในสิ่งที่ไม่ดี การไม่ฟังในสิ่งที่ไม่ดี และการไม่กล่าววาจาในสิ่งที่ไม่ดี" นอกจากนี้คำว่า "ชิซะรุ" ยังเขียนอีกอย่างว่า し猿 หมายถึง ไม่ทำในสิ่งที่ไม่ดี และในภาษาญี่ปุ่น ซารุ (zaru) นั้นคือการออกเสียงส่วนที่ต่อท้ายคำสำหรับ saru ที่หมายถึงลิงนั้น (มีคำหนึ่งคือ 猿 ซึ่งเป็น kanji สำหรับคำว่าลิง) ดังนั้นเราจะเห็นได้ชัดว่าคำว่า ลิง นั้น อาจจะเริ่มต้นมาจากการเล่นคำขำขัน โดยมากแล้วชื่อของลิงในภาษาอังกฤษนั้นจะมี มิซารุ (Mizaru), มิคะซารุ (Mikazaru), และ มาซารุ (Mazaru).

ใหม่!!: ปากและลิงสามตัว · ดูเพิ่มเติม »

ลิงจมูกยาว

ลิงจมูกยาว หรือ ลิงจมูกงวง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานรชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล NasalisWilson, D. E. & Reeder, D. M. (eds.) (2005).

ใหม่!!: ปากและลิงจมูกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ลิปกลอส

การใช้งานลิปกลอส ลิปกลอสแบบแท่งและแบบหลอด ลิปกลอส เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ทาบนปาก ทำให้ริมฝีปากเงาวาวและบางทีเป็นสีอ่อนๆ เจือจาง มีการจัดจำหน่ายเป็นแบบเหลวหรือแบบก้อนในตลับ (เป็นสินค้าคนละประเภทกับลิปบาล์ม ซึ่งโดยทั่วไปมีวัตถุประสงค์มีการใช้ในการรักษาด้านแพทย์) ลักษณะทั่วไปจะเป็นแบบใส ด้าน หรือมาในหลากหลายสีแบบทึบ รวมไปถึงประกายซิมเมอร์ แวววาว และเมทาลิค ลิปกลอสผลิตจำหน่ายขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ ปี 1932 โดยบริษัท แม็กซ์แฟกเตอร์ ในชื่อการค้า 'X-Rated' สูตรดั้งเดิมได้ขายและผลิตจนถึงปี 2003 หลังจากนั้น พร็อกเตอร์ แอนด์ แกมเบิล ที่เข้าซื้อกิจการของแม็กซ์แฟกเตอร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ปากและลิปกลอส · ดูเพิ่มเติม »

ลิ้น

ลิ้น เป็นมัดของกล้ามเนื้อโครงร่างขนาดใหญ่ที่อยู่บริเวณฐานของช่องปากเพื่อรองรับอาหาร และช่วยในการเคี้ยวและการกลืน เป็นอวัยวะที่สำคัญในการรับรส บริเวณพื้นผิวของลิ้นปกคลุมไปด้วยปุ่มรับรส (taste bud) ลิ้นสามารถเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง จึงช่วยในการออกเสียง ลิ้นเป็นอวัยวะที่มีน้ำลายให้ความชุ่มชื้นอยู่เสมอ และเลี้ยงโดยเส้นประสาทและหลอดเลือดเป็นจำนวนมากเพื่อช่วยในการทำงานและการเคลื่อนไหว.

ใหม่!!: ปากและลิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ลูกอ๊อด

ลักษณะโดยทั่วไปของลูกอ๊อด และลักษณะของปาก ลูกอ๊อดของกบในวงศ์ Bufonidae ลูกอ๊อด (Tadpole, Pollywog, Porwigle) หรือ ลูกฮวก หรือ อีฮวก ในภาษาอีสานหรือภาษาเหนือ เป็นชื่อเรียกของตัวอ่อนของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Anura) เมื่อโตเต็มวัย ลูกอ๊อดจะมีรูปร่างเช่นเดียวกบปกติทั่วไป แต่กระนั้นก็ยังมีกบบางชนิดที่ไม่มีช่วงวัยลูกอ๊อด ลูกอ๊อด มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายปลา มีหาง ไม่มีขา หายใจด้วยเหงือก ส่วนหัวมีขนาดโตมาก ซึ่งลูกอ๊อดของกบแต่ละวงศ์ก็มีรูปร่างและลักษณะแตกต่างออกไป โดยแบ่งตามโครงสร้างของปาก, โครงสร้างของห้องเหงือก, และจำนวนและตำแหน่งของช่องเปิดเหงือกที่เป็นทางผ่านออกของน้ำซึ่ง สามารถจำแนกเป็น 4 แบบได้ คือ 1.

ใหม่!!: ปากและลูกอ๊อด · ดูเพิ่มเติม »

ลีดส์อิชธีส์

ลีดส์อิชธีส์ (Leedsichthys) เป็นชื่อปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว ลีดส์อิชธีส์มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Leedsichthys problematicus อยู่ในวงศ์ Pachycormidae อาศัยอยู่ในทะเลในกลางยุคจูราสสิค (185-155 ล้านปีก่อน) พบฟอสซิลในชั้นหินในยุคนี้ โดยที่ชื่อ Leedsichthys ตั้งตามผู้ค้นพบคือ อัลเฟรด นิโคลสัน ลีดส์ นักสะสมซากดึกดำบรรพ์ชาวอังกฤษ มีความหมายว่า "ปลาของลีดส์" โดยพบในพื้นที่ใกล้เขตเมืองปีเตอร์โบโรห์เมื่อปี ค.ศ. 1886 ในสภาพเป็นเศษกระดูกจนยากจะคาดเดาว่าเป็นปลาชนิดใด หลังจากนั้นมีผู้ค้นพบในอีกหลายพื้นที่เช่น ในเมืองคอลโลเวียน ของอังกฤษ ทางภาคเหนือของเยอรมนีและฝรั่งเศส เมืองออกซ์ฟอร์เดียนของชิลีและเมืองคิมเอริดเกียน ของฝรั่งเศส โดยรวมแล้วพบประมาณ 70 ตัว แต่ไม่สามารถบอกขนาดตัวได้ จนอาร์เธอร์ สมิธ วูดวาร์ดพบตัวอย่างใน ค.ศ. 1889 ประเมินว่ามีขนาดตัวยาว 30 ฟุต หรือราว 9 เมตร โดยเปรียบเทียบหางของลีดส์อิชธีส์กับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันคือฮิพโซคอร์มัส ต่อมาการประเมินจากเอกสารการค้นพบในระยะหลัง รวมถึงตัวอย่างที่สมบูรณ์ในพื้นที่สตาร์ พิท ใกล้เขตวิทเทิลซีย์ เมืองปีเตอร์โบโร ได้ค่าใกล้เคียงกับของวูดวาร์ด ซึ่งอยู่ที่ 30-33 ฟุต และเป็นไปว่าตอนอายุ6-12ลำตัวยาวได้มากกว่า 54 ฟุต หรือ 16 เมตร แต่ถ้าโตเต็มวัยยาวได้ถึง 24.2-26 เมตรและอาจยาวได้สูงสุดคือ 28 เมตร จึงเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา นอกจากนี้ลีดส์อิชธีส์เป็นปลาใหญ่ที่สุดในประวัติศาตร์และครองตำแหน่งปลายักษ์มาแล้วมากกว่า 125 ปี ลีดส์อิชธีส์มีตาขนาดเล็กและด้วยขนาดตัวที่ใหญ่โตทำให้ว่ายน้ำช้า ใช้ชีวิตคล้ายคลึงกับปลาใหญ่ในยุคปัจจุบันอย่างปลาฉลามวาฬหรือปลาฉลามอาบแดด โดยใช้ฟันซี่เรียวกว่า 40,000 ซี่กรองกินสัตว์เล็กสัตว์น้อยและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แม้ว่ามันจะมีลำตัขนาดใหญ่มาก แต่เชื่อว่าลีดส์อิชธีส์ก็ยังตกเป็นเหยื่อของปลากินเนื้อขนาดใหญ่รวมถึงสัตว์เลื้อยคลานทะเลยุคเดียวกันด้วย เช่น ไลโอพลัวเรอดอน เป็นต้น.

ใหม่!!: ปากและลีดส์อิชธีส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาทางเดินอาหาร

วิทยาทางเดินอาหาร (Gastroenterology) เป็นสาขาของแพทยศาสตร์ซึ่งศึกษาระบบย่อยอาหารและความผิดปกติของระบบย่อยอาหาร สาขาของการแพทย์เฉพาะทางนี้เน้นถึงโรคของระบบย่อยอาหารรวมพยาธิสภาพตั้งแต่ปากไปจนถึงทวารหนัก แพทย์เฉพาะทางที่ศึกษาด้านนี้เรียกว่า อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินอาหาร (Gastroenterologist) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต แพทย์ประจำบ้านด้านอายุรศาสตร์ และแพทย์ประจำบ้านต่อยอดด้านโรคระบบทางเดินอาหาร วิทยาตับ (Hepatology) เน้นถึงการศึกษาตับ ตับอ่อน และทางเดินน้ำดี เป็นสาขาย่อยของวิทยาทางเดินอาหาร หมวดหมู่:การแพทย์เฉพาะทาง.

ใหม่!!: ปากและวิทยาทางเดินอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาเลียหิน

วงศ์ย่อยปลาเลียหิน (Algae eater, Stone lapping) เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ Cyprinidae หรือวงศ์ปลาตะเพียน ซึ่งเป็นวงศ์ใหญ่ ในอันดับปลากินพืช (Cypriniformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Labeoninae (/ลา-เบ-โอ-นี-เน/) โดยรวมแล้ว ปลาในวงศ์ย่อยนี้ มีรูปร่างเรียวยาว ลำตัวทรงกระบอก ครีบหลังยกสูงและไม่มีก้านครีบแข็ง ลักษณะสำคัญ คือ ปากจะงุ้มลงด้านล่าง มีริมฝีปากบนหนาและแข็ง ในบางสกุลจะมีตุ่มเล็ก ๆ คล้ายสิวกระจายอยู่บนนั้น ในหลายชนิดมีหนวดอยู่ 1 คู่ โดยเป็นปลาที่ใช้ปากในการดูดกินตะไคร่น้ำ, สาหร่าย และแพลงก์ตอนสัตว์ขนาดเล็ก บริเวณพื้นน้ำหรือโขดหิน, ตอไม้ ใต้น้ำ เป็นอาหาร มักพบกระจายพันธุ์ทั้งในลำธารน้ำเชี่ยว และแหล่งน้ำขนาดใหญ่ มักอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง ขนาดแตกต่างกันออกไปตั้งแต่เพียงไม่เกิน 10 เซนติเมตร จนถึงเกือบ 1 เมตร กระจายพันธุ์ทั่วไปทั้งทวีปเอเชียและแอฟริก.

ใหม่!!: ปากและวงศ์ย่อยปลาเลียหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลามังกรน้อย

วงศ์ปลามังกรน้อย (Dragonet, Scotter blenny, ชื่อวิทยาศาสตร์: Callionymidae) เป็นวงศ์ปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ซึ่งอยู่ในอันดับเดียวกัน แต่วงศ์ปลามังกรน้อยไม่จัดอยู่ในวงศ์ปลาบู่ แต่กลับมีความใกล้เคียงกับปลาในวงศ์ปลามังกรน้อยลาด (Draconettidae) มากกว่า โดยคำว่า "Callionymidae" ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์นั้นมาจากภาษากรีกคำว่า "Kallis" ซึ่งแปลว่า "สวย" และ "onyma" แปลว่า "ชื่อ" เป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ราว 10 เซนติเมตร โดยชนิดที่มีความยาวที่สุด 17 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อนและเขตอบอุ่นของอินโด-แปซิฟิก หากินโดยใช้ปากที่มีขนาดเล็กคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหากินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยจะหากินในเวลากลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ตามแนวปะการังหรือกองหินใต้น้ำ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีส่วนหัวขนาดโต ดวงตากลมมีขนาดใหญ่ มีครีบต่าง ๆ ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะครีบหางและครีบท้อง ซึ่งแข็งแรงมาก มีพฤติกรรมใช้ครีบท้องนี้คืบคลานหาอาหารตามพื้นทรายมากกว่าจะว่ายน้ำ โดยมีครีบหางเป็นเครื่องบังคับทิศทาง มีเงี่ยงครีบหลัง 4 ก้าน มีก้านครีบอ่อน 6-11 ก้าน ก้านครีบก้น 4-10 ก้าน มีเส้นข้างลำตัว มีกระดูกเรเดียส 3 ชิ้น ตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ ตัวผู้มีกระโดงครีบหลังชี้ยาวออกมาเห็นเป็นจุดเด่น ขณะที่ตัวเมียไม่มี โดยมากแล้วมีสีสันและลวดลายสดใสสวยงามมาก มีพฤติกรรมการวางไข่ โดยตัวผู้จะว่ายน้ำไปรอบ ๆ ตัวเมีย พร้อมเบ่งสีและครีบต่าง ๆ เพื่อเกี้ยวพา เมื่อตัวเมียปล่อยไข่ออกมาแล้ว ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าผสมทันที ไข่จะลอยไปตามกระแสน้ำ ตัวอ่อนใช้ชีวิตเบื้องต้นเป็นเหมือนแพลงก์ตอน ในบางชนิดมีรายงานว่ามีพิษด้วย ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานแล้ว 18 สกุล (ดูในตาราง) ราว 130 ชนิด และเนื่องจากเป็นปลาสวยงาม จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามในตู้ปะการัง ซึ่งบางชนิดสามารถเพาะเลี้ยงในที่เลี้ยงได้แล้ว อาทิ ปลาแมนดาริน (Synchiropus splendidus), ปลาแมนดารินจุด (S. picturatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: ปากและวงศ์ปลามังกรน้อย · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาวัว หรือ วงศ์ปลางัว หรือ วงศ์ปลากวาง (วงศ์: Balistidae, Triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวกว้างแบนเป็นทรงกลมรีคล้ายรูปไข่ ข้างตำแหน่งตาอยู่สูงบริเวณด้านบนของหัว ที่ครีบหลังอันแรกจะมีหนามแข็ง 3 อัน สามารถพับเก็บได้ และจะตั้งขึ้นได้เพื่อใช้ในการข่มขู่ศัตรู มีก้านครีบหางจำนวน 12 ก้าน และ 18 ก้านครีบที่ครีบหลัง มีเกล็ดที่ใหญ่แข็งและหนังหนา ส่วนของใบหน้ายาวและยื่นแหลมออกมา ปากมีขนาดเล็ก ภายในมีฟัน 4 ซี่ที่ด้านนอก และด้านในอีก 3 ซี่ ที่แหลมคมมาก ใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ กินเป็นอาหาร รวมถึงฟองน้ำ, ปะการัง, สาหร่าย หรือเม่นทะเลด้วย เช่นเดียวกับปลาปักเป้า อันเป็นปลาในอันดับเดียวกัน แต่อยู่ต่างวงศ์กัน พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น อินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะฮาวาย, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน และมหาสมุทรแอตแลนติก ตาของปลาวัวสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้ อันเป็นลักษณะเฉพาะ โดยปกติแล้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้าวก้าวร้าวมาก มักไล่กัดปลาอื่นหรือแม้แต่พวกเดียวกันเองที่รุกล้ำเข้ามาในถิ่นที่อยู่อาศัย เป็นปลาที่จะหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการัง มีพฤติกรรมหากินโดยซอกซอนหากินเอาในแนวปะการังในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วมากโดยใช้ครีบหลัก ๆ ทั้ง 2 ครีบในด้านบนและด้านล่างของลำตัว ขณะที่ครีบหางใช้เป็นตัวควบคุมทิศทาง เป็นปลาที่มีพฤติกรรมผสมพันธุ์วางไข่ โดยวางไข่ตามพื้นในรังซึ่งตัวผู้จะทำหน้าที่เฝ้าระวัง ซึ่งบางชนิดจะมีนิสัยดุร้ายมากในช่วงนี้ โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามสดใสมาก จึงเป็นที่นิยมมากของนักดำน้ำและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่ว่าเป็นปลาที่ดุร้ายมาก สามารถพุ่งเข้ากัดจนเป็นแผลเหวอะหรือไล่มนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใหญ่กว่ามากได้อย่างไม่เกรงกลัว มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 25-50 เซนติเมตร โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาวัวไททัน (Balistoides viridescens) ที่ใหญ่ได้ถึง 75 เซนติเมตร หรือราว 1 เมตร และนับเป็นชนิดที่อันตรายมาก เพราะมีรายงานการกัดและไล่นักดำน้ำมาแล้วในหลายที.

ใหม่!!: ปากและวงศ์ปลาวัว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมูกระโดงสูง

วงศ์ปลาหมูกระโดงสูง (Sucker, Chinese sucker, American sucker) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดกระดูกแข็ง ในอันดับปลาตะเพียน (Cypriformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Catostomidae (มาจากภาษากรีก คำว่า "kata" หมายถึง "ล่าง" และ "stoma" หมายถึง "ปาก") มีลักษณะโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) หรือ วงศ์ปลาสร้อยน้ำผึ้ง (Gyrinocheilidae) ที่อยู่ในอันดับเดียวกัน มีลักษณะร่วม คือ มี ปากอยู่ด้านล่างของส่วนหัว ริมฝีปากหนา มีความแตกต่างไปจากปลาวงศ์อื่นในอันดับเดียวกัน คือ มีแถวฟันในคอหอยเพียงแถวเดียวเท่านั้น มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60-90 เซนติเมตร แต่ส่วนใหญ่จะมีความยาวน้อยกว่านั้น เป็นปลาที่หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยหากินอาหารจำพวก ตะไคร่น้ำหรือสัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ, กุ้ง หรือ แมลงน้ำต่าง ๆ เป็นต้น พบกระจายพันธุ์ส่วนมากในทวีปอเมริกาเหนือ และพบบางส่วนในประเทศจีน แบ่งออกได้เป็น 13 สกุล 68 ชนิด มีหลายชนิด หลายสกุลที่สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว.

ใหม่!!: ปากและวงศ์ปลาหมูกระโดงสูง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ

วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ หรือ วงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปลอม (False pipefish, Ghost pipefish, Tubemouth fish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solenostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า solen หมายถึง ท่อ, หลอด หรือช่องทาง กับ στομα (stoma) หมายถึง ปาก) มีรูปร่างโดยรวม คือ เหมือนกับปลาจิ้มฟันจระเข้ขนาดเล็ก คือมีลำตัวยาวเหมือนกิ่งไม้ ปากยาวเป็นท่อ แต่มีความแตกต่างกัน คือ มีครีบที่พัฒนาให้มีขนาดกว้างใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดของลำตัว เป็นครีบที่โดดเด่นทั้งครีบข้างลำตัว, ครีบหลัง, ครีบหาง และยังมีครีบพิเศษ คือ ครีบใต้ท้องที่ม้าน้ำและปลาจิ้มฟันจระเข้ทั่วไปไม่มี ซึ่งครีบขนาดใหญ่นี้สามารถจะหุบเก็บแนบกับลำตัว หรือคลี่กางให้กว้างใหญ่ได้คล้ายกับพัด ที่เมื่อคลี่กางครีบสุดตัวแล้วจะแลดูสวยงาม นอกจากนี้แล้วยังมีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น คือ ตลอดทั่วทั้งตัวมีติ่งเนื้อหรือสีสันที่กลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม สำหรับการพรางตัวได้เป็นอย่างดี Orr, J.W. & Pietsch, T.W. (1998).

ใหม่!!: ปากและวงศ์ปลาจิ้มฟันจระเข้ปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตั๊กแตนหิน

วงศ์ปลาตั๊กแตนหิน หรือ วงศ์ปลาตุ๊ดตู่ (Combtooth blennies, Scaleless blennies) เป็นวงศ์ของปลาทะเลขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Blenniidae (/เบลน-นิ-อิ-ดี้/) จัดเป็นปลาจำพวกปลาเบลนนี่ หรือปลาตั๊กแตนหิน มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายปลาไหลหรือปลาบู่ขนาดเล็ก มีหัวทู่ขนาดใหญ่ ดวงตากลมโตอยู่ด้านหน้าของส่วนหัว เป็นปลาที่ไม่มีเกล็ด มีก้านครีบแข็งจะฝังอยู่ที่ครีบท้อง มีก้านครีบอ่อน 2-4 อัน ครีบท้องเป็นเส้นขนาดเล็ก 2 เส้นแตกต่างจากปลาบู่ อยู่ด้านหน้าครีบอกหรือครีบหู มีก้านครีบแข็งขนาดเล็กที่ครีบหลัง 3-17 อัน มีก้านครีบอ่อน 9-119 อัน มีก้านครีบแข็งที่ครีบก้น 2 อัน ครีบหางเป็นวงกลม ปากอยู่ด้านล่างของส่วนหัว จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีความยาวน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ชนิดที่ใหญ่ที่สุดยาวถึง 52 เซนติเมตร มีลักษณะเด่นอีกประการ คือ มีฟันแหลมคมคล้ายหวีติดแน่น หรือขยับกรามที่ขากรรไกรได้ บางชนิดเป็นฟันเขี้ยว สามารถที่จะกัดสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่ามากได้ เช่น ปลาอื่น หรือแม้แต่นักดำน้ำ ขณะที่บางสกุลจะมีต่อมพิษที่ฟันเขี้ยวนี้ ส่วนมากมีสีสันที่สวยงาม โดยเฉพาะในตัวผู้ เป็นปลาทะเลส่วนมาก กระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก, แอตแลนติก และอินเดีย จะอาศัยอยู่ตามพื้นทะเลในระดับความลึกตั้งแต่ 2-21 เมตร โดยหลบซ่อนอยู่ในซอกรูหินใต้น้ำ เป็นปลาที่มักไม่ค่อยอยู่นิ่ง จะว่ายเข้าว่ายออกรูที่อาศัยอยู่บ่อย ๆ หรือบางครั้งโผล่มาแต่หัวเพื่อสังเกตการณ์ มีพฤติกรรมวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ในเปลือกหอยที่ว่างเปล่า ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันดูแลไข่ มีเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่พบได้ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืด หากินโดยกินตะไคร่น้ำเป็นหลัก แต่หลายชนิดก็สามารถที่จะกินเนื้อหรือสัตว์น้ำตัวเล็ก ๆ หรือแม้แต่เศษอาหารที่ปลาใหญ่กินเหลือได้ โดยหากินใกล้ ๆ รูที่อาศัยอยู่ ถือเป็นวงศ์ที่ใหญ่ ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 300 ชนิด ใน 57 สกุล นับว่ามากที่สุดในบรรดาปลาเบลนนี่ทั้งหมด ปลาในวงศ์นี้ มีความสำคัญในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยมักที่จะนำมาเลี้ยงเพื่อทำความสะอาดตู้เลี้ยงเพื่อให้กำจัดตะไคร่น้ำ.

ใหม่!!: ปากและวงศ์ปลาตั๊กแตนหิน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปากแตร

ำหรับปลาในวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลาสามรส วงศ์ปลาปากแตร (Cornetfish, Trumpetfish) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาจิ้มฟันจระเข้และม้าน้ำ (Syngnathiformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aulostomidae (มาจากภาษากรีกคำว่า "Aulos" หมายถึง "แตร" และ "stoma" หมายถึง "ปาก") ลักษณะสำคัญของปลาในวงศ์นี้ คือ ปากที่ยาวยื่นออกและโป่งออกบริเวณปลายปากเล็กน้อย คล้ายลักษณะของแตรหรือท่อ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ปลายขากรรไกรล่างมีติ่งเนื้อคล้ายหนวด ครีบหลังมี 2 ตอนตอนหน้าเป็นก้านครีบแข็ง 8-12 ชิ้น เก็บอยู่ใช้สำหรับป้องกันตัวเอง ครีบหลังอันที่ 2 และครีบก้นอยู่ค่อนไปเกือบติดครีบหาง ครีบท้องอยู่กึ่งกลางลำตัว เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้ช้า จึงมักแฝงตัวอยู่กับปลาอื่น ๆ เช่น ปลานกขุนทอง, ปลานกแก้วหรือปลาแพะ เพื่อหาโอกาสเข้าใกล้อาหาร ได้แก่ กุ้งและลูกปลา ปลาวัยอ่อนที่ป้องกันตัวเองไม่ได้ จะพรางตัวอยู่ตามแส้ทะเลหรือกัลปังหา มักพบพฤติกรรมนี้ในยามค่ำคืน วงศ์ปลาปากแตร มีเพียงสกุลเดียว คือ Aulostomus พบเพียง 3 ชนิดเท่านั้น พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ปากและวงศ์ปลาปากแตร · ดูเพิ่มเติม »

หมวดคำอักษรจีน

หมวดคำอักษรจีนในพจนานุกรมคังซี (1) หมวดคำอักษรจีนในพจนานุกรมคังซี (2) หมวดคำอักษรจีน หมายถึงดัชนีคำศัพท์ในพจนานุกรมภาษาจีน (หรือภาษาอื่นที่ใช้อักษรจีน) ซึ่งแบ่งตามลักษณะของการประกอบอักษร อักษรจีนแต่ละตัวจะถูกจัดเข้าไว้ในหมวดคำเพียงหมวดเดียว เรียงตามลำดับจำนวนขีดและการเขียน และแต่ละหมวดก็จะมีความหมายไปในทางเดียวกัน การแบ่งอักษรจีนเป็นหมวดคำเริ่มต้นขึ้นในอักษรานุกรมซัวเหวินเจี่ยจื้อ (說文解字) เขียนโดย สวี่ เซิ่น (許慎) นักคัมภีรศาสตร์สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แต่เดิม สวี่ เซิ่น ได้แบ่งหมวดคำอักษรจีนไว้เป็น 540 หมวด ต่อมาพจนานุกรมคังซีในสมัยราชวงศ์ชิง ได้รวบรวมหมวดคำที่คล้ายกันเข้าจนเหลือ 214 หมวด เช่นเดียวกับพจนานุกรมจงหัว และเมื่อมีการประกาศใช้อักษรจีนตัวย่อ พจนานุกรมฮั่นหยู่จึงมีหมวดคำ 200 หมวดเท่านั้น (ส่วนพจนานุกรมซินหัวเรียงลำดับตามพินอิน).

ใหม่!!: ปากและหมวดคำอักษรจีน · ดูเพิ่มเติม »

หลอดดูด

หลอดดูด หลอดดูด เป็นอุปกรณ์ในการดูดของเหลว มักใช้กับเครื่องดื่ม โดยทั่วไปหลอดดูดจะเป็นท่อผอมและยาว ทำจากพลาสติก (มักจะเป็น polystyrene) มีทั้งหลอดดูดตรง และหลอดดูดที่สามารถงอตรงปลายได้ เพื่อให้ดูดเครื่องดื่มได้ง่ายขึ้น เมื่อดูดเครื่องดื่ม เราจะนำปลายข้างหนึ่งใส่ลงในเครื่องดื่ม อีกข้างหนึ่งใส่ปาก โดยมักจะใช้มือจับไว้ด้วย เมื่อกล้ามเนื้อบริเวณปากทำการออกแรงดูด ทำให้ความดันอากาศภายในปากลดลง ความดันอากาศรอบเครื่องดื่มซึ่งมีมากกว่าจะดันเครื่องดื่มให้ไหลเข้าไปในหลอดดูดเข้าสู่ปาก หลอดดูดถูกคิดค้นโดยชาวสุเมเรียน โดยใช้ในการดื่มเบียร์ หลอดดูดในรูปแบบปัจจุบันคิดค้นในปี พ.ศ. 2431 หมวดหมู่:เครื่องครัว.

ใหม่!!: ปากและหลอดดูด · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจพลอยโจร

หัวใจพลอยโจร เป็นละครรักโรแมนติก-คอมมาดี้ ของบริษัท เอ็กแซ็กท์ และ ซีเนริโอ จำกัด ต่อจาก ละครดอกรักริมทางเป็นละครรักโรแมนติก-คอมมาดี้เหมือนกัน และ อยู่ค่ายเดียวกัน.

ใหม่!!: ปากและหัวใจพลอยโจร · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นกระบอกไทย

หุ่นกระบอกไทย ที่ใช้แสดงกันในปัจจุบัน สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นโดยอาศัยกรรมลิขิตการสร้างหุ่นกระบอกตามแบบหุ่น ซึ่ง หม่อมราชวงศ์เถาะได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงขึ้น กล่าวคือ ตัวหุ่นกระบอกประกอบขึ้นด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ ศีรษะหุ่น ลำตัว มือ เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ หุ่นกระบอก ส่วนที่เลียนแบบอวัยวะของคนจริงๆ คือศีรษะและมือทั้ง 2 ข้าง เท่านั้น ส่วนลำตัวหุ่น เป็นกระบอกไม้ไผ่ทั้งปล้องสอดเข้าไปตรงลำคอ ศีรษะและลำตัวถอดออกจากกันได้ เมื่อไม่ใช้แสดงแล้วก็จะถอดออกและเก็บไว้แยกกัน โดยถอดส่วนศีรษะเก็บตั้งไว้บนฐานที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อตั้งศีรษะหุ่นกระบอก ลำตัวที่เป็นกระบอกไม่ไผ่เมื่อถอดออกแล้วจะนำแยกเก็บต่างหากจากตัวเสื้อที่มีลักษณะคล้ายถุงตัวเสื้อซึ่งมีมือติดอยู่ทั้ง 2 ข้าง พับเก็บใส่หีบ ศีรษะของหุ่นกระบอกส่วนมากจะทำด้วยไม้เนื้อเบาทั้งแท่ง เช่น ไม้ทองหลาง ไม้โมก ไม้สักทอง ไม้ที่นำมาใช้ควรเป็นไม้เนื้อดีไม่มีตรา แท่งไม้ควรมีขนาดกว้างประมาณ 12 เซนติเมตร และความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เมื่อได้ไม้แล้วช่างก็จะนำมาแกะให้เป็นรูปศีรษะ รูปหน้า และ ลำคอ ส่วนของรูปหน้าและศีรษะยาวประมาณ 10 - 12 เซนติเมตร ส่วนของลำคอยาวประมาณ 8 เซนติเมตร คว้านให้เป็นรูปกว้างพอที่กระบอกไม้ไผ่รวกจะสอดเข้าไปได้โดยสะดวก เหตุที่ต้องทำลำคอใหญ่ยาว เพราะจะใช้เป็นส่วนต่อกับกระบอกไม้ไผ่ที่เป็นส่วนลำตัวหุ่น เมื่อสวมเสื้อคลุมทับอีกชั้นหนุ่งก็จะได้รูปลำคอพอดี ขั้นต่อไป คือ ปั้นแต่งด้วยรักสมุกหรือดินให้เป็นจมูก ปาก คิ้ว หู ประเพณีนิยมเกี่ยวกับความเชื่อในการประดิษฐ์ศีรษะหุ่นกระบอกอย่างหนึ่ง คือ ต้องมีพิธีไหว้ครู พีธีเบิกเนตรหุ่น คล้ายกับการประดิษฐ์หัวโขนถือกันว่าเป็นสิ่งต้องกระทำ ฉะนั้น การเขียนดวงตาของหุ่นกระบอกจึงจะทำเป็นขั้นตอนสุดท้าย และต้องทำในพิธีด้วยลำตัวของหุ่นกระบอก ซึ่งก็คือ กระบอกไม้ไผ่รวก ยาวประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร กระบอกไม้ไผ่ที่จะทำเป็นลำตัวหรือแกนให้คนเชิดจับถือ ควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร อวัยวะส่วนที่เป็นมือ มักแกะด้วยไม้ มีขนาดประมาณ 4 - 5 เซติเมตร ให้พอดีกับขนาดของตัวหุ่นหรือทำด้วยหนังตัดเป็นรูปมือมีนิ้ว และดัดให้อ่อนอย่างมือละคร โดยมือขวาของหุ่นตัวพระจะกำอาวุธไว้เสมอ จึงเจาะรูตรงกลางไว้สำหรับเสียบอาวุธซึ่งจะเปลี่ยนไปได้ตามเนื้อเรื่อง ถ้าในบทไม่กำหนดให้ถืออะไรก็ปล่อยไว้ให้กำมือเฉยๆเช่นนั้น มือซ้ายเป็นรูปมือแบตั้งวงรำ ถ้าเป็นมือตัวนางโดยมากจะตั้งวงรำทั้ง 2 ข้าง มือทั้ง 2 ข้าง จะตอกติดกับเรียวไม้ไผ่เล็กๆ 2 อัน ขนาดความยาวของเรียวไม้ไผ่เท่ากับปล้องไม้ไผ่ที่ทำเป็นลำตัวสำหรับจับเชิด ชาวหุ่นกระบอกเรียกเรียวไม้ไผ่ทั้ง 2 ข้าง ของหุ่นกระบอกคู่นี้ว่า ตะเกี.

ใหม่!!: ปากและหุ่นกระบอกไทย · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นกลาง

หูชั้นกลาง (middle ear, auris media) คือหูส่วนที่อยู่หลังแก้วหู แต่ก่อนช่องรูปไข่ (oval window) ของหูชั้นใน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หูชั้นกลางจะมีกระดูกหู (ossicles) เล็ก ๆ 3 ท่อน ซึ่งถ่ายโอนแรงสั่นที่แก้วหูไปเป็นคลื่นภายในหูชั้นใน ช่องในหูชั้นกลางเรียกว่า โพรงหูส่วนกลาง (tympanic cavity) โดยมีท่อยูสเตเชียน เชื่อมกับคอหอยส่วนจมูก (nasopharynx) ท่อยูสเตเชียนจะช่วยรักษาดุลความดันระหว่างหูชั้นกลางและคอ หน้าที่หลักของหูชั้นกลางก็คือถ่ายโอนพลังงานเสียงจากคลื่นในอากาศไปเป็นคลื่นในน้ำและในเยื่อของหูชั้นในรูปหอยโข่ง (คอเคลีย).

ใหม่!!: ปากและหูชั้นกลาง · ดูเพิ่มเติม »

หงส์

หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ปากและหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

หนอนตัวแบน

หนอนตัวแบน หรือ แพลทีเฮลมินธิส เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเด่นคือ เป็นไฟลัมแรกที่มีสมมาตรแบบซ้ายขวา ลำตัวแบนจากบนลงล่าง (dorso-ventrally) ลักษณะคล้ายริบบิ้น ผิวลำตัวอ่อนนิ่ม ยกเว้นพวกที่เป็นปรสิตจะมีคิวติเคิลหนา พบประมาณ 25000 ชนิด จัดอยู่ในสัตว์กลุ่มที่ไม่มีช่องว่างลำตัวที่แท้จริง (Accoelomate) กลุ่มใหญ่ที่สุด สามารถพบได้ทั้งในทะเล น้ำจืด บนบก ส่วนใหญ่ดำรงชีวิตแบบปรสิต (parasitic) บางวงศ์ดำรงชีวิตอิสระ (free living) ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก และสั้น ยกเว้นพยาธิตัวตืด ขนาดและความยาวแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด พบยาวที่สุดกว่า 20 เมตร.

ใหม่!!: ปากและหนอนตัวแบน · ดูเพิ่มเติม »

อวัยวะ

อวัยวะ เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่มีหน้าที่คล้ายกัน พืชและสัตว์ต้องพึ่งอวัยวะหลายชิ้นในระบบอวัยวะ หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system).

ใหม่!!: ปากและอวัยวะ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับอาร์ดวาร์ก

อันดับอาร์ดวาร์ก (Aardvark; อันดับ: Tubulidentata) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tubulidentata (/ทู-บู-ลิ-เดน-ทา-ทา/) มีอยู่เพียงวงศ์เดียวเท่านั้น คือ Orycteropodidae มีรูปร่างโดยรวมคล้ายกับสัตว์ในอันดับ Cingulata หรืออาร์มาดิลโล แต่ที่จริงแล้วเป็นสัตว์ที่มีสายวิวัฒนาการแยกกันโดยชัดเจน โดยคำว่า "Tubulidentata" แปลว่า "มีฟันเป็นท่อ" อันเนื่องจากเป็นสัตว์ที่มีจมูกและปากยาวเหมือนท่อ มีฟันลักษณะเป็นรูปหกเหลี่ยมฝังตัวอยู่ด้านในของปาก ลักษณะเหมือนหมุดที่แบนราบ จำนวน 20 ซี่ และเคลือบไว้ด้วยเคลือบรากฟัน ซึ่งเป็นสารปกติที่อยู่ในฟัน เป็นสัตว์ที่หากินแมลงตามพื้นดินเป็นอาหาร เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดมาจากในยุคไมโอซีน ซึ่งปัจจุบันได้สูญพันธุ์กันไปหมดแล้วในยุคไพลโอซีน เหลือเพียงแค่ชนิดเดียวเท่านั้นที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ คือ อาร์ดวาร์ก (Orycteropus afer) พบในแอฟริก.

ใหม่!!: ปากและอันดับอาร์ดวาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับด้วง

้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.

ใหม่!!: ปากและอันดับด้วง · ดูเพิ่มเติม »

อาการไม่ไวความเจ็บปวดแต่กำเนิด

อาการไม่ไวความเจ็บปวดแต่กำเนิด (Congenital insensitivity to pain, congenital analgesia ตัวย่อ CIP) เป็นความไม่สามารถรู้สึก (และไม่เคยรู้สึก) ความเจ็บปวดทางกายตั้งแต่กำเนิด ที่พบน้อย และเกิดจากเหตุต่าง ๆ หลายอย่าง เป็นภาวะที่ต่างจาก กลุ่มโรคเส้นประสาทอิสระและเส้นประสาทรับความรู้สึกเหตุกรรมพันธุ์ (Hereditary sensory and autonomic neuropathy, HSAN) ซึ่งมีอาการและเหตุที่เฉพาะเจาะจงกว่า เพราะการรู้สึกเจ็บเป็นเรื่องจำเป็นเพื่อรอดชีวิต CIP จึงเป็นภาวะที่อันตรายมาก คนไข้มักจะเสียชีวิตตั้งแต่วัยเด็กเนื่องจากบาดเจ็บหรือป่วยโดยไม่รู้ตัว โดยแผลไหม้เป็นความบาดเจ็บที่พบบ่อยมากที่สุดอย่างหนึ่ง.

ใหม่!!: ปากและอาการไม่ไวความเจ็บปวดแต่กำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้

อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ เป็นอาการเลือดออกทุกแบบในทางเดินอาหารตั้งแต่ปากถึงไส้ตรง เมื่อมีการเสียเลือดมากในเวลาสั้น ๆ อาจมีอาการอย่างอาเจียนเป็นเลือดสด อาเจียนเป็นเลือดสีคล้ำ อุจจาระเป็นเลือดหรืออุจจาระสีดำ อาการเลือดออกปริมาณน้อยเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดภาวะเลือดจากเหตุขาดเหล็กซึ่งส่งผลให้รู้สึกเหนื่อยหรือเจ็บอกที่เกี่ยวกับหัวใจ อาการอื่นอาจมีปวดท้อง หายใจกระชั้น ผิวหนังซีด หรือหมดสติชั่วคราว บางครั้งผู้ที่มีอาการเลือดออกเล็กน้อยอาจไม่มีอาการเลย อาการเลือดออกตรงแบบแบ่งเป็นสองประเภทหลัก คือ อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนบนและอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนล่าง สาเหตุของอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนบน ได้แก่ โรคแผลเปื่อยเพปติก หลอดเลือดหลอดอาหารขอดเนื่องจากตับแข็งและมะเร็ง ฯลฯ สาเหตุของอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนล่างมีโรคริดสีดวงทวาร มะเร็งและโรคลำไส้อักเสบ เป็นต้น การวินิจฉัยตรงแบบเริ่มด้วยการซักประวัติและการตรวจร่างกาย ร่วมกับการตรวจเลือด อาการเลือดออกปริมาณเล็กน้อยอาจตรวจพบด้วยการทดสอบเลือดแฝงในอุจจาระ การส่องคล้องทางเดินอาหารส่วนล่างและส่วนบนอาจหาบริเวณที่เลือดออกได้ การสร้างภาพทางการแพทย์อาจมีประโยชน์ในผู้ป่วยที่ไม่ชัดเจน การรักษาเบื้องต้นมุ่งสนใจการกู้ชีพซึ่งอาจมีสารน้ำเข้าหลอดเลือดดำและการถ่ายเลือด บ่อยครั้งที่ไม่แนะนำการถ่ายเลือดยกเว้นฮีโมโกลบินน้อยกว่า 70 หรือ 80 กรัมต่อลิตร อาจพิจารณาการรักษาด้วยสารยับยั้งปั๊มโปรตอน อ็อกทรีโอไทด์ (octreotide) และยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยบางคน หากมาตรการอื่นยังไม่มีประสิทธิภาพ อาจพยายามใช้บอลลูนหลอดอาหารในผู้ที่สงสัยว่าเป็นหลอดเลือดหลอดอาหารขอด โดยทั่วไปแนะนำการส่องกล้องหลอดอาหาร กระเพาะอาหารและดูโอดีนัมหรือการส่องกล้องลำไส้ใหญ่ภายใน 24 ชั่วโมงและอาจทำให้ได้การรักษาเช่นเดียวกับการวินิจฉัย อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนบนพบบ่อยกว่าอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนล่าง อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนบนพบในผู้ใหญ่ 50 ถึง 150 คนต่อ 100,000 คนต่อปี ส่วนอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ส่วนล่างมีการประมาณว่าเกิดในผู้ใหญ่ 20 ถึง 30 คนต่อ 100,000 คนต่อปี อาการเลือดออกนี้ทำให้มีการระบเข้ารักษาในโรงพยาบาลประมาณ 300,000 คนต่อปีในสหรัฐ ความเสี่ยงการเสียชีวิตจากอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้อยู่ระหว่าง 5% ถึง 30% ความเสี่ยงอาการเลือดออกในชายมีมากกว่าหญิงและเพิ่มขึ้นตามอ.

ใหม่!!: ปากและอาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารกับโรคมะเร็ง

ษณานี้เสนอว่า อาหารที่ถูกสุขภาพจะช่วยป้องกันโรคมะเร็ง อาหารมีผลสำคัญต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โดยอาหารบางอย่างอาจเพิ่มและบางอย่างอาจลดความเสี่ยง และโดยรวม ๆ แล้ว ปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร การไม่ออกกำลังกาย และโรคอ้วนอาจจะสัมพันธ์กับความตายจากมะเร็งในอัตราถึง 30-35% แต่ก็มีงานทบทวนวรรณกรรมปี 2554 ที่เสนอว่า พลังงานจากอาหารที่บริโภคมีอิทธิพลต่ออุบัติการณ์ของมะเร็ง และอาจมีผลต่อการเติบโตของมะเร็งด้วย ไม่ใช่อาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ แม้ว่าจะมีคำแนะนำมากมายหลายอย่างเกี่ยวกับอาหารเพื่อลดความเสี่ยงต่อมะเร็ง แต่มีน้อยอย่างที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดี แต่ทั้งโรคอ้วนและการดื่มเหล้า มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นเหตุของมะเร็ง ดังนั้น รายงานปี 2557 ขององค์การอนามัยโลก จึงแนะนำให้ลดการบริโภคเครื่องดื่มหวาน ๆ เพื่อแก้ปัญหาโรคอ้วน แม้ว่าอาหารที่มีผักผลไม้น้อยและมีเนื้อแดงมากอาจเป็นปัจจัยเสี่ยง แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันที่ชัดเจน และอาจมีผลน้อยต่อบุคคลที่ทานอาหารสมบูรณ์และมีน้ำหนักที่เหมาะสม แต่ก็มีอาหารบางประเภทโดยเฉพาะ ที่สัมพันธ์กับมะเร็งบางอย่าง คือ มีงานศึกษาที่สัมพันธ์การบริโภคเนื้อแดง หรือเนื้อที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตเพื่อเพิ่มรสชาติหรือเพื่อให้เก็บได้นาน (processed meat) กับการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งตับอ่อน ซึ่งอธิบายเป็นบางส่วนได้ว่าเป็นเพราะมีสารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นเพราะผ่านความร้อนสูง และเพราะมีอะฟลาทอกซินที่เป็นสารปนเปื้อนสามัญและทำให้เกิดมะเร็งตับ ส่วนการดื่มกาแฟสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับที่ต่ำกว่า การเคี้ยวหมากก่อให้เกิดมะเร็งปาก และการบริโภคอาหารที่ต่าง ๆ กันอาจอธิบายอุบัติการณ์ของมะเร็งที่ต่าง ๆ กันในประเทศต่าง ๆ ได้โดยบางส่วน ยกตัวอย่างเช่น มะเร็งกระเพาะอาหารเป็นเรื่องสามัญกว่าในประเทศญี่ปุ่นเพราะทานอาหารที่เค็มกว่า และมะเร็งลำไส้ใหญ่เกิดขึ้นอย่างสามัญกว่าในสหรัฐอเมริกา ผู้ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมักจะเกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเหมือนกับคนพื้นเมือง บางครั้งแม้ภายในชั่วยุคคนเดียว ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างอาหารกับมะเร็ง คำแนะนำทางอาหารเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปกติจะรวมการรักษาน้ำหนักตัว การรับประทานพืชผักผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี และปลา เป็นหลัก และการลดการบริโภคเนื้อแดง ไขมันสัตว์ และน้ำตาล.

ใหม่!!: ปากและอาหารกับโรคมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

อาเจียน

อาเจียน เป็นอาการขับออกซึ่งสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในท้องอย่างเฉียบพลันออกทางปาก และบางครั้งทางจมูกด้วย การอาเจียนที่ไม่พึงประสงค์เกิดมาจากหลายสาเหตุตั้งแต่เยื่อบุกระเพาะอักเสบ หรือ ได้รับสารพิษ จนไปถึงเนื้องอกในสมอง เมารถเมาเรือ หรือแม้กระทั่งมาจากความดันในกะโหลกสูง อาการที่อยากจะอาเจียนเรียกว่าอาการคลื่นไส้ อาการนี้มักจะเกิดก่อนการอาเจียน แต่ไม่ได้แปลว่ามีอาการนี้แล้วจะต้องอาเจียนเสมอไป ยาแก้อาเจียนอาจจะต้องใช้ระงับการอาเจียนในรายที่มีอาการหนักมาก.

ใหม่!!: ปากและอาเจียน · ดูเพิ่มเติม »

ผายลม

ผายลม หรือ ตด ในภาษาพูด โดยทั่วไปเป็นอาการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของมนุษย์ ในวันหนึ่งๆ มนุษย์อาจผายลมได้ 10-20 ครั้ง ซึ่งคิดเป็นปริมาณแก๊สที่ปล่อยออกมา คือ 0.5-1 ลิตรต่อวัน ผายลมเกิดจากการรวมตัวของแก๊สหลายชนิด แก๊สที่ไม่มีกลิ่น 99% มีส่วนประกอบหลักๆ ได้แก่ ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน ออกซิเจน และมีเทน ส่วนแก๊สที่มีกลิ่นมี 1% เท่านั้นซึ่งเกิดจากการหมักหมมของอาหารในลำไส้ใหญ่ และทำให้เกิดแก๊สจำพวกกำมะถัน ได้แก่ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเป็นสารที่มีกลิ่นเฉพาะตัว ปกติมนุษย์ขับแก๊สส่วนเกินออกจากร่างกายได้ 2 ทาง คือ การขับออกทางปาก (เรอ) และการขับออกทางทวารหนัก (ผายลม หรือตด) หากแก๊สนั้นไม่ขับออกมาจะทำให้มีการสะสมไว้ในทางเดินอาหาร จะทำให้รู้สึกอึดอัด แน่นท้อง ปวดมวนในท้อง และเกิดอาการท้องอืดตามม.

ใหม่!!: ปากและผายลม · ดูเพิ่มเติม »

ผีไม่มีหน้า

ผีไม่มีหน้า ผีไม่มีหน้า เป็นผีญี่ปุ่นอย่างหนึ่งที่ไม่มีใบหน้า มีแต่หน้าเกลี้ยงๆ คล้ายไข่ ซึ่งแม้แต่ตา จมูก ปาก ไม่มีบนใบหน้าเลย ผีตนนี้มักเที่ยวหลอกหลอนคนผ่านทางในเวลากลางคืน มีตำนานที่เล่าขานในจังหวัดอิวาเตะ ประเทศญี่ปุ่น บางครั้งก็เรียกผีตนนี้ว่า "มุจินะ".

ใหม่!!: ปากและผีไม่มีหน้า · ดูเพิ่มเติม »

ผ้าปิดจมูก

ผ้าปิดจมูก หรือ หน้ากากอนามัย หมายถึง ผ้าที่ใช้ปิดปากหรือจมูก มีทั้งแบบคล้องหูและคาดหัว โดยมากสายที่ใช้คล้องหูจะเป็นยางยืด ใช้เพื่อจุดประสงค์ต่าง ๆ เช่น ใช้ในการแพทย์ กันฝุ่นควัน รวมถึงเกสรดอกไม้ในคนที่เป็นภูมิแพ้หรือโรคคาฟึนโช ผ้าปิดจมูกสามารถป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ติดต่อทางเดินหายใจง่ายและ ได้ผลมากกว่าวิธีอื่น.

ใหม่!!: ปากและผ้าปิดจมูก · ดูเพิ่มเติม »

จุรี โอศิริ

รี โอศิริ หรือรู้จักโดยทั่วไปว่า “ป้าจุ๊” เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 เป็นนักแสดง นักพากย์ และนักร้อง เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยเป็นนักร้องหน้าม่านสลับละครของคณะผกาวลี และคณะศิวารมย์ ต่อมาแสดงเป็นนางเอกในละครเพลงเรื่อง “นเรศวรมหาราช” และได้เข้าไปเป็นนักร้องประจำวงดุริยางค์ทหารบก วงสุนทราภรณ์ เป็นผู้ประกาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย พากย์ภาพยนตร์ ตลอดจนเป็นนักแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 4 ครั้ง (สาขาผู้พากย์ยอดเยี่ยม 3 รางวัล และผู้แสดงประกอบยอดเยี่ยม 1 รางวัล) และได้รับเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักพากย์และนักแสดง) ประจำปีพุทธศักราช 2541 จุรีเสียชีวิตด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย สิริอายุได้ 83 ปี.

ใหม่!!: ปากและจุรี โอศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอโบรมีน

ีโอโบรมีน (theobromine) เดิมเรียก แซนทีโอส (xantheose) เป็นสารแอลคาลอยด์ประเภทแซนทีน มีสูตรเคมีคือ C7H8N4O2 พบในผลโกโก้ (Theobroma cacao), ช็อกโกแลต, ใบชา, ผลโคล่า, มาเต, ผลกวารานา (Paullinia cupana) และกาแฟอาราบิกา (Coffea arabica) ชื่อ "ธีโอโบรมีน" ไม่ได้เกี่ยวข้องกับธาตุโบรมีน แต่มาจากชื่อสกุลของโกโก้คือ Theobroma ธีโอโบรมีนมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวหรือไม่มีสี แต่ในทางพาณิชย์อาจมีสีเหลือง รสขม ละลายน้ำได้บ้าง ค้นพบครั้งแรกในเมล็ดโกโก้โดยอเล็กซานเดอร์ วอสเครเซนสกีในปี..

ใหม่!!: ปากและธีโอโบรมีน · ดูเพิ่มเติม »

ธนายง ว่องตระกูล

นายง ว่องตระกูล นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 มีชื่อเสียงมาจากการรับท เสมา ในละครโทรทัศน์เรื่อง ขุนศึก จากการกำกับของสะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์ อำนวยการสร้างโดย พิศาล อัครเศรณี และกิตติ อัครเศรณี คู่กับวิมลเรขา ศิริราวรรณ ทางช่อง 9 เมื่อปี..

ใหม่!!: ปากและธนายง ว่องตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ทางเดินอาหาร

PAGENAME ทางเดินอาหาร (gut, alimentary canal หรือ alimentary tract) ในทางสัตววิทยา เป็นท่อซึ่งสัตว์ที่มีสมมาตรด้านข้าง (bilateria) ส่งอาหารไปยังอวัยวะที่ทำหน้าที่ย่อยอาหาร ทางเดินอาหารในสัตว์ที่มีสมมาตรด้านข้างขนาดใหญ่มักมีทางออกด้วย คือ ทวารหนัก ซึ่งเป็นช่องทางที่สัตว์ถ่ายของเสียออกมาเป็นของแข็ง ส่วนสัตว์ที่มีสมมาตรด้านข้างขนาดเล็กมักไม่มีทวารหนักและขับของเสียออกด้วยวิธีการอื่น เช่น ทางปาก สัตว์ที่มีทางเดินอาหารถูกจัดเข้าเป็นพวกโปรโตสโตม (protostome) หรือดิวเทอโรสโตม (deuterostome) เพราะทางเดินอาหารวิวัฒนาการสองครั้ง เป็นตัวอย่างหนึ่งของวิวัฒนาการเบนเข้า (convergent evolution) การจำแนกดังกล่าวดูจากพัฒนาการของเอ็มบริโอ สัตว์พวกโปรโตสโตมจะวิวัฒนาปากก่อน ขณะที่ดิวเทอโรสโตมจะวิวัฒนาปากเป็นลำดับที่สอง โปรโตสโตม ได้แก่ พวกสัตว์ขาปล้อง (arthropod) สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกา (mollusca) และแอนเนลิดา (annelida) ขณะที่พวกดิวเทอโรสโตม ได้แก่ สัตว์ในไฟลัมเอไคโนดอร์มาทา (echinodermata) และคอร์ดาตา (chordata).

ใหม่!!: ปากและทางเดินอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

ทางเดินอาหารของมนุษย์

right ระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract, GI tract, alimentary canal หรือ gut) ระบบทางเดินอาหาร อาจเรียกอีกอย่างว่าระบบย่อยอาหาร (digestive tract) ระบบอวัยวะนี้มีเฉพาะในสัตว์หลายเซลล์ (multicellular animals) ที่ต้องกินอาหารและย่อยอาหาร เพื่อรับสารอาหารและพลังงานและขับถ่ายของเสียออกไป.

ใหม่!!: ปากและทางเดินอาหารของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีมฟอร์เทรส 2

ทีมฟอร์เทรส 2 (Team Fortress 2, ชื่อย่อ TF2) เป็นเกมแนวเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่งและเป็นวิดีโอเกมผู้เล่นหลายคนที่ถูกพัฒนาโดยวาล์วคอร์เปอร์เรชันที่โดยตัวเกมได้พัฒนามาจากทีมฟอร์เทรส คล.

ใหม่!!: ปากและทีมฟอร์เทรส 2 · ดูเพิ่มเติม »

ท่วงท่าการร่วมเพศ

งคะ (ประมาณศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช) ท่วงท่าการร่วมเพศ (sex position) คือท่วงท่าการร่วมเพศตามตำแหน่งของร่างกายที่บุคคลหรือคู่นอนอาจจะใช้สำหรับการมีเพศสัมพันธ์หรือกิจกรรมทางเพศ การร่วมเพศนั้นจะมีการอธิบายโดยตำแหน่งของผู้เข้าร่วมเพศ นำมาใช้โดยทั่วไปเพื่อดำเนินการกระทำเหล่านั้น แม้ว่าจะมีเพศสัมพันธ์ทั่วไปเกี่ยวกับการรุกของร่างกายของคนคนหนึ่งโดยอีกตำแหน่งเพศทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับการสอดใส่หรือไม่สอดใส่ของกิจกรรมทางเพศ การร่วมเพศที่มีความชำนาญทั่วไปมีอยู่ 3 ประเภท: การร่วมรักทางเพศช่องคลอด (ที่เกี่ยวข้องกับการสอดใส่ทางช่องคลอด) สอดใส่ทางทวารหนักและทางปาก (โดยเฉพาะปากบนจุดกระตุ้นของอวัยวะเพศ) การกระทำทางเพศนอกจากนี้ยังอาจเกี่ยวข้องกับรูปแบบอื่น ๆ ของการกระตุ้นอวัยวะเพศ เช่นเดี่ยวหรือร่วมกันสำเร็จความใคร่ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการถูหรือการรุกโดยการใช้นิ้วมือหรือมือหรืออุปกรณ์ (เซ็กซ์ทอย) เช่น ดิลโดหรือไวเบรเตอร์ บัญญัติยังอาจเกี่ยวข้องกับเอนิลิงกัส มีตำแหน่งเพศจำนวนมากที่ร่วมเพศอาจนำมาใช้ในการใด ๆ เหล่านี้ประเภทของการมีเพศสัมพันธ์หรือการกระทำที่มี; ผู้เขียนมีบางคนแย้งว่าจำนวนของตำแหน่งท่าการร่วมเพศเพศนั้นไม่จำกัดเป็นหลัก.

ใหม่!!: ปากและท่วงท่าการร่วมเพศ · ดูเพิ่มเติม »

คลอเฟนะมีน

ลอเฟนะมีน (Chlorphenamine) ซึ่งเป็นชื่อสากล หรือ คลอเฟนิรามีน (chlorpheniramine) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (USAN) และเคยใช้ในประเทศอังกฤษ (BAN) เป็นยาที่ขายในรูปแบบ chlorphenamine maleate เป็นสารต้านฮิสทามีนประเภท alkylamine รุ่นแรกที่ใช้ป้องกันอาการแพ้ เช่น เยื่อจมูกอักเสบและลมพิษ ผลระงับประสาทของมันค่อนข้างอ่อนเทียบกับสารต้านฮิสทามีนรุ่นแรกอื่น ๆ คลอเฟนะมีนเป็นสารต้านฮิสทามีนที่ใช้มากที่สุดในสัตวแพทย์สำหรับสัตว์เล็ก แม้จะไม่ได้อนุมัติให้ใช้เป็นยาแก้ซึมเศร้าหรือยาแก้วิตกกังวล (anxiolytic) คลอเฟนะมีนก็มีฤทธิ์เหล่านั้นด้วย คลอเฟนะมีนเป็นส่วนของกลุ่มสารต้านฮิสทามีน ที่รวมเฟนิรามีน, สารอนุพันธ์แบบเฮโลเจน (halogenated) ของเฟนิรามีน, และยาอื่น ๆ รวมทั้ง fluorpheniramine, เดกซ์คลอเฟนิรามีน, บรอมเฟนิรามีน, เดกซ์บรอมเฟนิรามีน, deschlorpheniramine, ไตรโพรลิดีน, และ iodopheniramine สารต้านฮิสทามีนประเภท alkylamine แบบเฮโลเจนทั้งหมดรวมทั้งคลอเฟนะมีน มี optical isomerism เช่นกัน และคลอเฟนะมีนที่วางขายจะอยู่ในรูปแบบ chlorphenamine maleate แบบแรซิมิก เทียบกับเดกซ์คลอเฟนิรามีน ซึ่งเป็น dextrorotary stereoisomer.

ใหม่!!: ปากและคลอเฟนะมีน · ดูเพิ่มเติม »

คอหอย

อหอย (pharynx, pharynges) เป็นส่วนหนึ่งของคอ (neck) และช่องคอ (throat) ตั้งอยู่ด้านหลังปากและโพรงจมูก และอยู่บนหลอดอาหาร กล่องเสียงและท่อลม (trachea).

ใหม่!!: ปากและคอหอย · ดูเพิ่มเติม »

คโลนะเซแพม

ลนะเซแพม (Clonazepam) เป็นยากันชักและรักษาโรคตื่นตระหนก และความผิดปกติของการเคลื่อนไหวที่เรียกว่า อาการนั่งไม่ติดที่ (akathisia) เป็นยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน --> ใช้โดยการรับประทาน มีผลภายในหนึ่ง ชม.

ใหม่!!: ปากและคโลนะเซแพม · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกระตุ้น

ในสรีรวิทยา ตัวกระตุ้น"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ stimulus ว่า "ตัวกระตุ้น" หรือ "สิ่งเร้า" หรือ ตัวเร้า หรือ สิ่งเร้า หรือ สิ่งกระตุ้น (stimulus, พหูพจน์ stimuli) เป็นความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่ตรวจจับได้โดยสิ่งมีชีวิตหรืออวัยวะรับรู้ความรู้สึก โดยปกติ เมื่อตัวกระตุ้นปรากฏกับตัวรับความรู้สึก (sensory receptor) ก็จะก่อให้เกิด หรือมีอิทธิพลต่อปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ของเซลล์ ผ่านกระบวนการถ่ายโอนความรู้สึก (transduction) ตัวรับความรู้สึกเหล่านี้สามารถรับข้อมูลทั้งจากภายนอกร่างกาย เช่นตัวรับสัมผัส (touch receptor) ในผิวหนัง หรือตัวรับแสงในตา และทั้งจากภายในร่างกาย เช่น ตัวรับสารเคมี (chemoreceptors) และตัวรับแรงกล (mechanoreceptors) ตัวกระตุ้นภายในมักจะเป็นองค์ประกอบของระบบการธำรงดุล (homeostaticภาวะธำรงดุล (Homeostasis) เป็นคุณสมบัติของระบบหนึ่ง ๆ ที่ควบคุมสิ่งแวดล้อมภายในของระบบ และมักจะดำรงสภาวะที่สม่ำเสมอและค่อนข้างจะคงที่ขององค์ประกอบต่าง ๆ เช่นอุณหภูมิและค่าความเป็นกรด control system) ของร่างกาย ส่วนตัวกระตุ้นภายนอกสามารถก่อให้เกิดการตอบสนองแบบทั่วระบบของร่างกาย เช่นการตอบสนองโดยสู้หรือหนี (fight-or-flight response) การจะตรวจพบตัวกระตุ้นได้นั้นขึ้นอยู่กับระดับของตัวกระตุ้น คือต้องเกินระดับกระตุ้นขีดเริ่มเปลี่ยน (absolute thresholdในประสาทวิทยาและจิตฟิสิกส์ ระดับขีดเริ่มเปลี่ยนสัมบูรณ์ (absolute threshold) เป็นระดับที่ต่ำสุดของตัวกระตุ้นที่จะตรวจพบได้ แต่ว่า ในระดับนี้ สัตว์ทดลองบางครั้งก็ตรวจพบตัวกระตุ้น บางครั้งก็ไม่พบ ดังนั้น การจำกัดความอีกอย่างหนึ่งก็คือ ระดับของตัวกระตุ้นที่ต่ำที่สุดที่สามารถตรวจพบได้ 50% ในโอกาสทั้งหมดที่ตรวจ) ถ้าสัญญาณนั้นถึงระดับกระตุ้นขีดเริ่มเปลี่ยน ก็จะมีการส่งสัญญาณนั้นไปยังระบบประสาทกลาง ซึ่งเป็นระบบที่รวบรวมสัญญาณต่าง ๆ และตัดสินใจว่าจะตอบสนองต่อตัวกระตุ้นอย่างไร แม้ว่าร่างกายโดยสามัญจะตอบสนองต่อตัวกระตุ้น แต่จริง ๆ แล้ว ระบบประสาทกลางเป็นผู้ตัดสินใจในที่สุดว่า จะตอบสนองต่อตัวกระตุ้นนั้นหรือไม.

ใหม่!!: ปากและตัวกระตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

ตัวรับรู้สารเคมี

ในระบบประสาท ตัวรับรู้สารเคมี (chemoreceptor, chemosensor) เป็นปลายประสาทรับความรู้สึกที่ถ่ายโอนข้อมูลทางเคมีไปเป็นศักยะงานเพื่อส่งไปยังระบบประสาทกลาง โดยทั่ว ๆ ไปก็คือ เป็นตัวรับรู้สิ่งเร้าคือสารเคมีในสิ่งแวดล้อม เมื่อสิ่งเร้าในสิ่งแวดล้อมสำคัญต่อการรอดชีวิต สิ่งมีชีวิตจะต้องตรวจจับสิ่งเร้านั้นได้ และเพราะกระบวนการของชีวิตทั้งหมดมีกระบวนการทางเคมีเป็นมูลฐาน จึงเป็นเรื่องธรรมดาว่า การตรวจจับและการรับรู้สิ่งเร้าภายนอกจะเป็นปรากฏการณ์ทางเคมี แน่นอนว่า สารเคมีในสิ่งแวดล้อมสำคัญต่อการรอดชีวิต และการตรวจจับสิ่งเร้าเคมีจากภายนอก อาจเชื่อมกับการทำงานทางเคมีของเซลล์โดยตรง การรับรู้สารเคมีสำคัญในการตรวจหาสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร ที่อยู่ สัตว์ชนิดเดียวกันรวมทั้งคู่ และสัตว์ล่าเหยื่อ ยกตัวอย่างเช่น สำหรับสัตว์ล่าเหยื่อ เหยื่ออาจจะได้ทิ้งกลิ่นหรือฟีโรโมนไว้ในอากาศหรือบนพื้นผิวที่เคยอยู่ เซลล์ที่ศีรษะ ปกติในทางเดินอากาศหรือปาก จะมีตัวรับสารเคมีบนผิวที่จะเกิดปฏิกิริยาเมื่อสัมผัสกับสารที่เป็นเป้าหมาย แล้วก็จะส่งข้อมูลทางเคมีหรือทางเคมีไฟฟ้าไปยังศูนย์ คือสมองหรือไขสันหลัง ระบบประสาทกลางก็จะตอบสนองด้วยปฏิกิริยาทางกายเพื่อล่า/หาอาหารซึ่งช่วยให้รอดชีวิต.

ใหม่!!: ปากและตัวรับรู้สารเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กตายาง

รุ่นใหม่ของตุ๊กตายางแบบ high-end หรือ นางแบบ poseable ตุ๊กตายาง()เป็นของเล่นทางเพศชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับการร่วมเพศของฝ่ายชายโดยทำมาจากวัสดุยางและซิลิโคน ตุ๊กตายางอาจประกอบด้วยของร่างกายทั้งหมดที่มีใบหน้าหรือเพียงแค่หัวกระดูกเชิงกรานหรือร่างกายส่วนอื่น ๆ ที่มีอุปกรณ์เสริม ( ช่องคลอด , ทวารหนัก , ปาก , อวัยวะเพศชาย ) สำหรับการกระตุ้นทางเพศ ส่วนที่บางครั้งจะสั่นและอาจจะถอดออกหรือแทนกัน หมวดหมู่:เซ็กซ์ทอย.

ใหม่!!: ปากและตุ๊กตายาง · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่มรับรส

ตุ่มรับรส (Taste buds) เป็นโครงสร้างรูปลูกเลมอน/หัวกระเทียมที่ฝังอยู่ในเนื้อเยื่อบุผิวและประกอบด้วยเซลล์รับรส 40-60 เซลล์ ซึ่งก็จะมีหน่วยรับรส (taste receptor) ที่เยื่อหุ้มเซลล์อันทำให้สามารถรับรู้รสชาติ ตุ่มรับรสจะอยู่ที่ปุ่ม (papillae) ของผิวลิ้น ที่เพดานอ่อน ที่หลอดอาหารส่วนบน ที่แก้ม และที่ฝากล่องเสียง โดยเฉลี่ยแล้ว ลิ้นมนุษย์จะมีตุ่มรับรส 2,000-8,000 ตุ่ม และแต่ละตุ่มจะมีเซลล์รับรสซึ่งอยู่ร่วมกับเซลล์ค้ำจุนกับเซลล์ต้นกำเนิดที่ฐาน (basal stem cell) โครงสร้างเหล่านี้มีบทบาทในการรับรู้รสหลัก ๆ 5 อย่าง คือ เค็ม เปรี้ยว ขม หวาน และอุมะมิ ซึ่งเมื่อรวมกันก็จะเป็นรสชาติของสิ่งที่อยู่ในปาก มีข่าวลอยว่า มีส่วนต่าง ๆ ของลิ้นที่รับรสโดยเฉพาะ ๆ แต่ความจริงลิ้นทั้งหมดสามารถรับรสได้ทุกรส ผ่านช่องเล็ก ๆ ในเนื้อเยื่อของลิ้นซึ่งเรียกได้ว่า รูรับรส (taste pore) โดยอาหารบางส่วนจะละลายในน้ำลาย ท่วมรูรับรส แล้วทำให้ถูกกับหน่วยรับรส เซลล์รับรสจะเป็นตัวส่งข้อมูลที่ได้จากหน่วยรับรสและช่องไอออนกลุ่มต่าง ๆ ไปยังเปลือกสมองส่วนรับรส (gustatory cortex) ผ่านประสาทสมองคือเส้นประสาทเฟเชียล (7), เส้นประสาทลิ้นคอหอย (9), และเส้นประสาทเวกัส (10) ถึงกระนั้น ลิ้นบางส่วนก็ยังอาจไวรสหนึ่ง ๆ มากกว่ารสอื่น ๆ คือ.

ใหม่!!: ปากและตุ่มรับรส · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมน้ำลาย

ต่อมน้ำลาย (salivary gland) เป็นต่อมที่สร้างน้ำลายอยู่ภายในบริเวณช่องปาก พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและแมลง สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมจะผลิตน้ำลายเพื่อเป็นน้ำย่อยและคลุกเคล้าอาหาร ส่วนในแมลงจะใช้สำหรับสร้างกาวหรือใย ต่อมน้ำลายของมนุษย์มีด้วยกัน 3 คู่ คือ.

ใหม่!!: ปากและต่อมน้ำลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: ปากและปลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระดี่ช็อกโกแลต

ปลากระดี่ช็อกโกแลต (Chocolate gourami) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphaerichthys osphromenoides ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างบางเฉียบ ส่วนหัวแหลมโดยเฉพาะบริเวณปลายปาก ตากลมโต สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้มคล้ายสีของช็อกโกแลตจึงเป็นที่มาของชื่อ มีจุดวงกลมสีดำที่ใกล้โคนครีบหาง ในขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Sphaerichthys หมายถึงวงกลม และ osphromenoides หมายถึงเหมือน osphromenus อันที่เคยเป็นชื่อพ้อง มีจุดเด่นคือ มีลายพาดวงกลมสีขาว 3-4 วง พาดผ่านตลอดทั้งลำตัวทั้งสองข้าง ปลาตัวผู้จะมีสีแดงเข้มกว่าปลาตัวเมีย และมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในคาบสมุทรมลายูของมาเลเซีย จนถึงเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา ในอินโดนีเซีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าเลี้ยงได้ยากมาก ต้องอาศัยการดูแลอย่างดี เนื่องจากเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำค่อนข้างเย็น กล่าวคือ อุณหภูมิประมาณ 22-26 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำเป็นสภาพเป็นกรดเล็กน้อย คือประมาณ 6-6.5 pH มีพฤติกรรมเช่นเดียวกับปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ คือ รักสงบ ชอบลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ บริเวณผิวน้ำ หรือแอบอยู่ตามพืชน้ำ การแพร่พันธุ์ตัวผู้จะเป็นฝ่ายสร้างหวอดในการวางไข่ และเป็นฝ่ายดูแลไข่จนกว่าจะเป็นตัว โดยไข่จะมีปริมาณ 18 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 10-14 วัน แต่เมื่อเป็นตัวแล้วปลาตัวผู้จะไม่ดูแลไข่ ซึ่งถ้าเป็นในที่เลี้ยงอาจจะกินลูกตัวเองได้ เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันมากในยุโรป ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่มีราคาถูก แต่สำหรับในประเทศทางเอเชียถือเป็นปลาราคาแพง และหาได้ค่อนข้างยาก.

ใหม่!!: ปากและปลากระดี่ช็อกโกแลต · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง (สกุล)

ปลากระเบนชายธง หรือ ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) เป็นสกุลของปลากระเบนจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Pastinachus (เป็นภาษาละตินหมายถึง "ปลากระเบน" หรือ "ปลากระเบนธง") ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวที่เป็นทรงคล้ายสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายชายธงจึงทำให้เป็นที่มาของชื่อ กลางหลังมีเกล็ดชิ้นใหญ่คล้ายไข่มุกและมีส่วนที่เป็นเกล็ดรูปฟันขนาดเล็กปกคลุมผิวหนังส่วนบน บนฐานปากมีตุ่มเนื้อ 5 ตุ่ม ตรงกลาง 3 ด้านข้างอย่างละหนึ่งเหมือนกัน มีส่วนหางที่อวบอ้วน มีเงี่ยงที่กลางหางอยู่เลยกว่าตำแหน่งของปลากระเบนสกุลอื่น ๆ ที่มีเงี่ยงกันที่อยู่บริเวณโคนหาง ที่สำคัญ คือ แผ่นหนังที่เห็นได้ชัดเจนที่ปลายหาง หางมีความยาวกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ส่วนหัว ปัจจุบันพบทั้งสิ้น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ปากและปลากระเบนชายธง (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลากัด (สกุล)

ปลากัด (Fighting fishes) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Betta (/เบ็ท-ทา/) ในวงศ์ย่อย Macropodinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae.

ใหม่!!: ปากและปลากัด (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลายประสาทรับร้อน

ปลายประสาทรับร้อน หรือ ตัวรับอุณหภูมิ (thermoreceptor) เป็นปลายประสาทของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกในผิวหนังและในเยื่อเมือกบางชนิด ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิหรือการแลกเปลี่ยนความร้อนได้ดีที่สุด คือ ตัวรับอุณหภูมิ ไม่ว่าจะรับเย็นหรืออุ่น จะตอบสนองต่ออุณหภูมิโดยเฉพาะ ๆ หรือต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โดยเป็นฟังก์ชันของการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างผิวหนังกับวัตถุที่สัมผัส และโดยหลักในพิสัยที่ไม่มีอันตราย เพราะโนซิเซ็ปเตอร์รับอุณหภูมิจะเป็นตัวส่งข้อมูลในพิสัยที่อาจเป็นอันตราย ในช่วงอุณหภูมิ 31-36°C (32-34°C) ถ้าอุณหภูมิที่ผิวหนังเปลี่ยนอย่างช้า ๆ เราจะไม่รู้สึกอะไร ถ้าต่ำกว่าช่วงนี้ เราจะรู้สึกเย็นไปจนถึงหนาวและเริ่ิมที่ 10-15°C จะรู้สึกหนาวเหน็บ (เจ็บ) และถ้าสูงกว่าช่วงนี้ เราจะรู้สึกอุ่นไปจนถึงร้อนและเริ่มที่ 45°C จะรู้สึกร้อนลวก (เจ็บ) อ้างอิง.

ใหม่!!: ปากและปลายประสาทรับร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลายประสาทเมอร์เกิล

ปลายประสาทเมอร์เกิล ปลายประสาทเมอร์เกิล เป็นปลายประสาทรับแรงกลมีขีดเริ่มเปลี่ยนต่ำชนิดหนึ่งที่พบใต้หนังกำพร้าและที่ปุ่มรากผม (hair follicle).

ใหม่!!: ปากและปลายประสาทเมอร์เกิล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวลายส้ม

ปลาวัวลายส้ม หรือ ปลาวัวหางเหลือง (Orange-lined triggerfish, Orange-striped triggerfish, Undulated triggerfish, Green trigger, Redlined triggerfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Balistapus undulatus อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) เป็นเพียงชนิดเดียวนั้นที่อยู่ในสกุล Balistapus ลักษณะลำตัวแบนทางด้านข้างตาเล็กอยู่เยื้องขึ้นไปใกล้ส่วนหลัง ปากมีขนาดเล็ก ครีบหลังมี 2 ตอนแยกออกจากกัน ตอนหน้ามีก้านครีบแข็งตอนหลังเป็นครีบอ่อนโค้งไปตามแนวลำตัว เช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหูเล็กครีบท้องสั้นครีบหางปลายตัดและเว้าตรงกลางเพียงเล็กน้อย โดยที่ครีบหลังอันหน้าสุดได้ลดรูปไปเหลือเป็นเพียงก้านครีบแข็งอันเดียวมองเห็นได้ชัด มีลักษณะคล้ายกับเขาสัตว์ ซึ่งเป็นเอกลักษณะเฉพาะ มีขนาดความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร พื้นผิวลำตัวเป็นสีเขียวไพรและมีลายคาดสีส้มตามแนวเฉียงจากปากและหลังลงมายังครีบก้นและหางจำนวนประมาณ18-20 เส้นครีบหลังตอนท้ายและครีบก้นมีก้านครีบอ่อนสีส้ม ครีบหางสีส้มสลับลายเส้นสีน้ำเงินตรงโคนหางก่อนถึงครีบหางมีปานสีดำ พบกระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและกองหินใต้น้ำทางของมหาสมุทรอินเดีย โดยไม่พบในอ่าวไทย พบได้ตั้งแต่ความลึกประมาณ 2-50 เมตร เป็นปลาวัวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ปากและปลาวัวลายส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวปิกัสโซ

ปลาวัวปิกัสโซ (Lagoon triggerfish, Blackbar triggerfish, Picasso triggerfish, Jamal, White-banded triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinecanthus aculeatus อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) มีรูปร่างกลมรีคล้ายรูปไข่ ปากมีขนาดเล็กแต่มีฟันแหลมคม ส่วนหน้าและจะงอยปากยาว มีลักษณะเฉพาะ คือ ลวดลายบนลำตัวที่จะเป็นแถบสีสดขีดไปมาเหมือนไม่ได้ตั้งใจจะให้เป็นหรือตั้งใจวาด ทั้งสีเขียวมะกอก, สีดำ, ฟ้า, เหลือง บนพื้นสีขาว แต่แลดูแล้วสวยงาม เหมือนกับภาพวาดของปาโบล ปิกัสโซ จิตรกรชื่อดังระดับโลก อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 25-30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทย พบได้ทางฝั่งทะเลอันดามันทางภาคใต้แต่ก็พบในปริมาณที่น้อยมาก กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังชนิดต่าง ๆ เช่น มอลลัสคา, ครัสตาเชียน รวมทั้งปะการังและสาหร่ายด้วย โดยออกหากินในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนตามโขดหินหรือแนวปะการังในเวลากลางคืน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นที่มีขนาดและพฤติกรรมใกล้เคียงกันได้เป็นอย่างดี เนื่องจากแม้จะเป็นปลาก้าวร้าว แต่ก็ไม่ถึงกับดุร้ายเกินไปนัก ซึ่งผู้เลี้ยงสามารถฝึกให้กินอาหารจากมือได้ด้วย แต่ก็ต้องระวังเพราะมีฟันที่แหลมคมมาก ซึ่งปลาที่ถูกขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น โดยมากเป็นปลาขนาดเล็ก และนำเข้ามาจากประเทศอินโดนีเซียและทะเลฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ปากและปลาวัวปิกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอะโรวานาอเมริกาใต้

ปลาอะโรวาน่าอเมริกาใต้ หรือ ปลาตะพัดอเมริกาใต้ (Arowana, Amazon arowana) สกุลปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) ในอันดับ Osteoglossiformes ใช้ชื่อสกุลว่า Osteoglossum (/ออส-ที-โอ-กลอส-ซั่ม/) มีรูปร่างเพรียวยาวกว่าปลาอะโรวาน่าในสกุล Scleropages ที่พบในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และออสเตรเลีย โดยมีส่วนต่างกันที่เห็นได้ชัดที่สุด คือ ส่วนหางที่เรียวเล็กกว่าโดยเฉพาะครีบหาง ปากมีความกว้างกว่า และหนวด 1 คู่ที่ใต้คางนั้นเรียวยาวกว่า ครีบหลังเรียวเล็กกว่าและเป็นทางยาวไปแทบตลอดส่วนหลัง มีสีสันลำตัวเป็นสีเดียวทั้งตัว โดยไม่มีเหลือบสีแบบปลาในสกุล Scleropages มีก้านครีบหลัง 43-48 ก้าน ครีบก้นยาวกว่าครีบหลัง มีก้านครีบ 53-57 ก้าน มีการแพร่กระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ มีเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ปากและปลาอะโรวานาอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ใหม่!!: ปากและปลาตอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตองลายแอฟริกา

ปลาตองลายแอฟริกา (Marbled knifefish, Reticulate knifefish, Arowana knifefish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papyrocranus afer ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีส่วนหัวมนกลม ตากลมโต มุมปากกว้างเลยดวงตา รูปร่างเพรียวยาวและแบนข้างมาก มีจุดเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดกลมสีเหลืองกระจายไปทั้งตัว ที่โคนครีบหูไม่มีจุดกลมสีดำเหมือนปลากรายในสกุล Chitala ที่พบในทวีปเอเชีย มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ได้ถึง 80 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของทวีปแอฟริกาแถบตะวันตกบริเวณประเทศไนเจอร์, แกมเบีย, เซเนกัล และกานา โดยมักหากินและอาศัยอยู่บริเวณพื้นน้ำ ซึ่งยังไม่สามารถที่จะแยกเพศระหว่างปลาตัวผู้และตัวเมียได้ชัดเจน นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับ Notopterus notopterus ซึ่งเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์เดียวกันที่พบในทวีปแอฟริกา แต่อยู่คนละสกุล โดยมีอายุสูงสุดในที่เลี้ยงถึง 15 ปี.

ใหม่!!: ปากและปลาตองลายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้ม

ปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้ม (Midas blenny, Persian blenny) ปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตั๊กแตนหิน (Blenniidae) เป็นปลาจำพวกปลาตั๊กแตนหิน หรือปลาเบลนนี่ มีลักษณะคล้ายปลาบู่ แต่ปากมีขนาดเล็ก เหนือตามีเส้นเป็นติ่งสั้น ๆ ไม่มีเกล็ด ครีบท้องเป็นเส้น ครีบหลังตอนเดียว ครีบหางมีลักษณะเหมือนพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว ตามีสีน้ำเงินอมฟ้า ครีบหลังเป็นสีเหลืองทองขอบฟ้า ตอนหลังสีเหลืองทอง ส่วนท้องสีชมพู มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 12 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแนวปะการัง อาศัยอยู่ตามซอกหิน กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนสัตว์ และสัตว์น้ำขนาดเล็ก กระจายพันธุ์ในแถบอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ทะเลแดงจนถึงโพลีนีเซีย ในน่านน้ำไทยเป็นปลาที่พบได้ไม่บ่อย พบได้เฉพาะฝั่งทะเลอันดามัน เป็นปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: ปากและปลาตั๊กแตนหินแปลงสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหัวค้อน

ปลาฉลามหัวค้อน (Hammerhead shark) เป็นปลาฉลามในวงศ์ Sphyrnidae มีเพียงสกุลเท่านั้น คือ Sphyrna.

ใหม่!!: ปากและปลาฉลามหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครุย

ปลาฉลามครุย (Frilled shark; ラブカ) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างประหลาดมากคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในน้ำลึก 1,968 – 3,280 ฟุต มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydoselachus anguineus ในอยู่ในวงศ์ Chlamydoselachidae เดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของญี่ปุ่น ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่ยุคครีเทเชียส จนกระทั่งถึงปัจจุบัน บริเวณส่วนหัว ลักษณะฟันและปาก ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2007 ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมงชาวญี่ปุ่นสามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมืองชิซุโอะกะทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงโตเกียว ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจากความร้อนที่ขึ้นสูงของอุณหภูมิของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็ตายไป เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้นอร์เวย์, แอฟริกาใต้, นิวซีแลนด์, ชิลี และญี่ปุ่น มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหลหรืองูทะเล เป็นไปได้ว่าตำนานงูทะเลขนาดใหญ่ที่เป็นเรื่องเล่าขานของนักเดินเรือในสมัยอดีตอาจมีที่มาจากปลาฉลามชนิดนี้ มีผิวสีน้ำตาลหรือเทาเข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ สีแดงสด และฟูกางออกเหมือนซาลาแมนเดอร์บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ซึ่งมีไว้สำหรับดูดซับออกซิเจนโดยเฉพาะ เนื่องจากในทะเลลึกมีปริมาณออกซิเจนน้อยกว่าด้านบนถึงกว่าครึ่ง ปากกว้างเลยตำแหน่งของตา ภายในปากมีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้สันนิษฐานว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 ฟุต.

ใหม่!!: ปากและปลาฉลามครุย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโลมาน้อย

ปลาโลมาน้อย หรือ ปลาโลมาน้ำจืด หรือ ปลางวงช้างจมูกสั้น (Elephant-snout fish, Dolphin mormyrid, Bottlenose mormyrid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mormyrus kannume อยู่ในวงศ์ปลางวงช้าง (Mormyridae) มีรูปร่างเรียวยาว มีสีลำตัวเป็นสีน้ำตาลดำอมน้ำเงิน ตามีขนาดเล็กมาก มีลักษณะเด่น คือ บริเวณส่วนจมูกหรือจะงอยปากจะทู่สั้นกว่าปลาจำพวกเดียวกันสกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน โดยที่ยังเป็นปลาวัยอ่อนส่วนจมูกจะสั้นและหนามากจนแทบมองไม่เห็น แต่จะยาวขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อปลาโตขึ้น แต่รูปร่างจะผอมเพรียว แต่ก็ยังสั้นและหนาอยู่ดี โดยที่ปากมีขนาดเล็กและอยู่สุดปลายของจะงอยปากที่งองุ้มลงด้านล่าง ครีบหลังยาวติดต่อกันจนถึงโคนครีบหาง โคนครีบหางยาว ครีบหางยาวแยกเป็น 2 แฉก มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร นับว่าเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่มากชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยใช้กระแสไฟฟ้าอ่อน ๆ ที่ปล่อยออกมาช่วยนำทางแทนตาซึ่งใช้การได้ไม่ดี กินอาหารจำพวก ไส้เดือนน้ำหรือหนอนแดงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ รวมถึงปลาหมอสีที่มีอยู่ดาษดื่นในถิ่นที่อยู่ ในเวลากลางคืน โดยอาจจะรวมตัวกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ออกล่าอาหารร่วมกัน พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบวิกตอเรีย, ทะเลสาบคโยกา, ทะเลสาบมาลาวี, ทะเลสาบแทนกันยีกา, ลุ่มแม่น้ำไนล์ และแม่น้ำอติ ในประเทศเคนยา เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นที่นิยมอย่างมากเนื่องจากเป็นปลาที่ไม่ก้าวร้าวต่างกับปลาขนาดใหญ่ชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน อีกทั้งยังมีพฤติกรรมชอบเคลื่อนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ในที่เลี้ยงด้วยการใช้ส่วนหัวดัน หรือเล่นลูกบอลที่ลอยเหนือน้ำได้ด้วย และเชื่องกับผู้เลี้ยงได้เมื่อคุ้นเคยกันดีแล้ว ซึ่งพฤติกรรมการแสดงออกที่แสนรู้เช่นนี้ประกอบกับส่วนหัวที่แลดูคล้ายโลมา ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล จึงทำให้เป็นที่มาของชื่อสามัญที่ใช้เรียกขานกัน.

ใหม่!!: ปากและปลาโลมาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไม่มีขากรรไกร

ปลาไม่มีขากรรไกร (Jawless fish) เป็นปลาที่อยู่ในชั้นใหญ่ Agnatha (กรีก: ไม่มีขากรรไกร) เป็นปลาในชั้นหนึ่ง ที่แตกต่างไปจากปลากระดูกแข็ง หรือ ปลากระดูกอ่อน ซึ่งเป็นปลาส่วนใหญ่ที่พบได้ทั่วไปและเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี โดยปลาในชั้นนี้จะไม่มีกรามหรือขากรรไกร แต่จะมีปากแบบวงกลมและมีฟันแหลมคมจำนวนมากอยู่รอบ ๆ ใช้สำหรับดูดเลือดและเนื้อเยื่อของปลาชนิดอื่นกินเป็นอาหาร มีลำตัวยาวเหมือนปลาไหล มีโครงสร้างของกระดูกเป็นกระดูกอ่อน พบได้ทั้งน้ำจืดและทะเล บรรพบุรุษของปลาไม่มีขากรรไกร วิวัฒนาการมาจากปลาในชั้นออสตราโคเดิร์มซึ่งสูญพันธ์ไปแล้ว ฟอสซิลที่ถูกค้นพบครั้งล่าสุด พบว่า มีอายุกว่า 500 ล้านปีมาแล้ว และฟอสซิลที่ถูกค้นพบนั้นมีความสลับซับซ้อนมาก จึงเป็นที่น่าคาดการได้ว่า ออสตราโคเดิร์ม เก่าแก่มาก และน่าจะสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ปลาไม่มีขากรรไกร สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ Petromyzontida และ Myxini ซึ่งในปัจจุบัน กลุ่ม Petromyzontida มีเหลืออยู่เพียงประเภทเดียว คือ ปลาแลมป์เพรย์ ส่วน Myxini ก็เหลือเพียงประเภทเดียวเช่นกัน คือ แฮคฟ.

ใหม่!!: ปากและปลาไม่มีขากรรไกร · ดูเพิ่มเติม »

ปุ่มลิ้น

ปุ่มลิ้น (Lingual papillae เอกพจน์ papilla) เป็นโครงสร้างเล็ก ๆ คล้ายหัวนมที่ผิวบนของลิ้นโดยมีอยู่ 4 ชนิด ซึ่งมีรูปร่างต่าง ๆ กัน ดังนั้น จึงมีชื่อต่างกัน รวมทั้งปุ่มเซอร์คัมแวลเลต/ปุ่มล้อมด้วยกำแพง (circumvallate papillae, vallate papillae), ปุ่มรูปเห็ด (fungiform papillae), ปุ่มรูปด้าย (filiform papillae), และปุ่มรูปใบไม้ (foliate papillae) ทั้งหมดยกเว้นปุ่มรูปด้ายมีตุ่มรับรส (taste bud) ซึ่งทำให้รู้รสได้ ส่วนปุ่มรูปด้ายซึ่งมีมากที่สุดในลิ้นมนุษย์ นอกจากจะทำให้ลิ้นสาก ก็ยังมีส่วนในการทำให้รับรู้เนื้ออาหารที่ไม่ใช่รสได้.

ใหม่!!: ปากและปุ่มลิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ปูทหาร

ระวังสับสนกับ ปูลม ปูทหาร (Soldier crab) เป็นปูทะเลที่อยู่ในสกุล Mictyris จัดเป็นเพียงสกุลเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Mictyridae.

ใหม่!!: ปากและปูทหาร · ดูเพิ่มเติม »

นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า

แถบสีฟ้าที่ปีกมักเห็นได้ชัดจนเป็นเอกลักษณ์ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าเจอร์ดอน เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าพายัพ เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าโคชินไชน่า เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าชวา เพศผู้ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า (Blue-winged Leafbird) เป็นชนิดพันธุ์หนึ่งของสกุลนกเขียวก้านตองลักษณะพิเศษคือมีแถบสีฟ้าที่ขอบปีกด้านนอก ยาวตั้งแต่หัวปีกถึงปลายปีก โดยความเข้มอ่อนขึ้นอยู่กับอายุและชนิดพันธุ์ย่อยของนก ชนิดพันธุ์นี้พบครั้งแรกในเขตโคชินไชน่า (ปัจจุบันคือเวียดนามใต้) จึงนำชื่อสถานที่พบมาตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cochinchinensis.

ใหม่!!: ปากและนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

นิติเวชกีฏวิทยา

นิติเวชกีฏวิทยา (Forensic Entomology) เป็นสาขาหนึ่งของการทำงานทางด้านกีฏวิทยา ที่เพิ่งจะได้รับความสนใจจากนักกีฏวิทยาและนักวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านนิติอาชญากรรม หรือผู้ที่ทำงานที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านพิสูจน์ศพที่พบ หรือหลังจากถึงแก่ความตายในระยะเวลาหนึ่ง สาขานิติเวชกีฏวิทยาจึงได้เข้าไปมีบทบาทเกี่ยวข้องกับคดีความทางกฎหมายด้วยเช่นกัน งานศึกษาทางนิติเวชกีฏวิทยาเป็นการศึกษาถึงชนิดของแมลงที่ตรวจพบในซากศพ ซึ่งชนิดของแมลงที่พบจากซากศพนั้นจะเป็นข้อบ่งชี้กับระยะเวลาที่เกิดการตายของศพนั้น.

ใหม่!!: ปากและนิติเวชกีฏวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

นีโอมัยซิน

นีโอมัยซิน (Neomycin) เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีจำหน่ายในท้องตลาดในหลายรูปแบบเภสัชภัณฑ์ เช่น ครีม, ขี้ผึ้ง, และยาหยอดยา นีโอมัยซินถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: ปากและนีโอมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำลาย

แพทย์กำลังเก็บตัวอย่างน้ำลายของคนไข้ น้ำลาย คือสสารที่คล้ายน้ำและมักจะเป็นฟอง ถูกผลิตขึ้นในปากของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ น้ำลายถูกผลิตขึ้นจากต่อมน้ำลาย น้ำลายของมนุษย์ประกอบด้วยน้ำ 98% ส่วนที่เหลือเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมือก สารยับยั้งแบคทีเรีย และเอนไซม์ชนิดต่างๆ เอนไซม์ในน้ำลายสามารถย่อยแป้งที่อยู่ในอาหารในระดับโมเลกุล ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการย่อยอาหาร น้ำลายช่วยชะล้างอาหารที่ติดอยู่ตามซอกฟันและปกป้องไม่ให้เกิดการเน่าเสียจากแบคทีเรีย นอกจากนี้ น้ำลายยังช่วยหล่อลื่นและปกป้องฟัน ลิ้น และเนื้อเยื่ออ่อนบางภายในช่องปาก สัตว์หลายชนิดมีพัฒนาการการใช้น้ำลายเฉพาะทางมากไปกว่าการย่อยอาหาร นกนางแอ่นใช้น้ำลายที่เหนียวคล้ายยางในการสร้างรัง ซึ่งรังนกนางแอ่นนี้ใช้ทำเครื่องดื่มรังนก Marcone, M. F. (2005).

ใหม่!!: ปากและน้ำลาย · ดูเพิ่มเติม »

แบบสิ่งเร้า

แบบสิ่งเร้า หรือ แบบความรู้สึก (Stimulus modality, sensory modality) เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของสิ่งเร้า หรือเป็นสิ่งที่เรารับรู้เนื่องจากสิ่งเร้า ยกตัวอย่างเช่น เราจะรู้สึกร้อนหรือเย็นหลังจากมีการเร้าตัวรับอุณหภูมิของระบบรับความรู้สึกทางกาย เช่น ด้วยวัตถุที่ร้อน แบบสิ่งเร้าบางอย่างรวมทั้งแสง เสียง อุณหภูมิ รสชาติ แรงดัน กลิ่น และสัมผัส ประเภทและตำแหน่งของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ทำงานเนื่องจากสิ่งเร้า จะเป็นตัวกำหนดการเข้ารหัสความรู้สึก แบบความรู้สึกต่าง ๆ อาจทำงานร่วมกันเพื่อเพิ่มความชัดเจนของสิ่งเร้าเมื่อจำเป็น.

ใหม่!!: ปากและแบบสิ่งเร้า · ดูเพิ่มเติม »

แมงสี่หูห้าตา

วาดแมงสี่หูห้าตาตามตำนวนวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว จังหวัดเชียงราย โดย พระครูบาสนอง สุมะโน เมื่อปี พ.ศ. 2528 แมงสี่หูห้าตา เป็นชื่อสัตว์ประหลาดตัวหนึ่งในตำนานว่าด้วยวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้ว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย มีลักษณะเหมือนหมีสีดำตัวอ้วน มีหูสองคู่และตาห้าดวง รับประทานถ่านไฟร้อนเป็นอาหาร และถ่ายมูลเป็นทองคำ ตำนานของแมงสี่หูห้าตานั้นเกี่ยวข้องกับการสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควายแก้วของจังหวัดเชียงราย และเชื่อกันว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ชายหลงรักอนุภรรยามากกว่าเอกภรรยาด้ว.

ใหม่!!: ปากและแมงสี่หูห้าตา · ดูเพิ่มเติม »

แผลร้อนใน

แผลร้อนใน (aphthous stomatitis) หรือ แอ็ฟทา (Aphthae) คือ แผลเปิดภายในช่องปากเกิดจากการแตกของ เยื่อเมือก.

ใหม่!!: ปากและแผลร้อนใน · ดูเพิ่มเติม »

ใบหน้า

ใบหน้า เป็นส่วนสำคัญของศีรษะในสัตว์ ในกรณีใบหน้ามนุษย์ ประกอบด้วย ผม หน้าผาก คิ้ว ขนตา จมูก หู แก้ม ปาก ริมฝีปาก ร่องริมฝีปาก ขมับ ฟัน ผิวหนัง และคาง.

ใหม่!!: ปากและใบหน้า · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ปากและโขน · ดูเพิ่มเติม »

ไบลาทีเรีย

ลาทีเรีย (Bilateria) คือ สัตว์ที่มีสมมาตรด้านข้าง กล่าวคือมีด้านหน้า หลัง บน ล่าง ซ้ายและขวา ในทางตรงกันข้าม สัตว์ที่มีสมมาตรรัศมี เช่น แมงกะพรุน มีด้านบนและด้านล่าง แต่ไม่มีด้านหน้าและหลังที่แน่ชัด ไบลาทีเรียเป็นกลุ่มใหญ่ของสัตว์ ประกอบด้วยไฟลัมส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่ฟองน้ำ ไนดาเรีย พลาโคซัว และทีโนฟอรา ตัวอ่อนของไบลาทีเรียมีไทรโพลบลาสตี คือ มีเนื้อเยื่อคัพภะสามชั้น ได้แก่ เอนโดเดิร์ม เมโซเดิร์ม และเอ็กโทเดิร์ม สิ่งมีชีวิตเกือบทุกตัวที่มีสมมาตรไบลาทีเรีย ยกเว้นอิคีเนอเดอร์เมอเทอ เมื่อเข้าสู่ช่วงวัยโตเต็มที่จะมีลักษณะที่ใกล้เคียงสมมาตรรัศมี แต่เมื่อยังเป็นตัวอ่อนจะมีสมมาตรด้านข้าง สัตว์สมมาตรด้านข้างยกเว้นบางไฟลัม (เช่น หนอนตัวแบน) มีทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ และมีปากกับทวารหนักแยกออกจากกัน สัตว์ไบลาทีเรียบางตัวไม่มีช่องว่างระหว่างลำตัว.

ใหม่!!: ปากและไบลาทีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ไบโอติน

อติน (biotin) หรือ วิตามินเอช (vitamin H) หรือ วิตามินบี7 (vitamin B7) เป็นวิตามินในกลุ่มวิตามินบีซึ่งสามารถละลายน้ำได้, วันที่สืบค้น 17 เมษายน 2559 จาก www.health.haijai.com.

ใหม่!!: ปากและไบโอติน · ดูเพิ่มเติม »

ไมน็อกซิดิล

มน็อกซิดิล (Minoxidil) เป็นยาขยายหลอดเลือดหรือลดความดันโลหิตสูง โดยการรับประทาน ในปัจจุบันใช้สำหรับกระตุ้นการงอกใหม่ของเส้นผม.

ใหม่!!: ปากและไมน็อกซิดิล · ดูเพิ่มเติม »

ไฮดรอกซิซีน

รอกซิซีน (Hydroxyzine) เป็นสารต้านฮิสตามีนรุ่นแรกที่อยู่ในกลุ่ม diphenylmethane และ piperazine ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยบริษัทเบลเยียม (Union Chimique Belge) ในปี 2499 และยังเป็นยาที่ใช้อย่างกว้างขวางทุกวันนี้ เนื่องจากฤทธิ์ต้านหน่วยรับความรู้สึกหลายอย่างในสมอง ยาจึงมีฤทธิ์คลายกังวลที่มีกำลัง ต้านความหมกมุ่น และรักษาโรคจิตอย่างอ่อน ๆ ทุกวันนี้ มันมักจะใช้โดยหลักเพื่อคลายกังวลและความเครียดที่สัมพันธ์กับโรคจิตประสาท (psychoneurosis) และเป็นยาเพิ่ม (adjunct) ในโรคทางกายอื่น ๆ ที่คนไข้รู้สึกกังวล เนื่องจากฤทธิ์ต้านฮิสตามีน จึงสามารถใช้รักษาความคัน ภาวะรู้สึกเจ็บมากกว่าปรกติ (hyperalgesia) และความคลื่นไส้ที่เกิดจากการป่วยจากการเคลื่อนไหว (เช่นเมารถเมาเรือ) และยังใช้ในบางกรณีเพื่อบรรเทาผลการขาดยากลุ่มโอปิออยด์ แม้ว่ามันจะมีฤทธิ์ระงับประสาท (sedative) ให้นอนหลับ (hypnotic) และคลายกังวล (anxiolytic) แต่มันไม่มีลักษณะของสารที่ใช้เสพติด รวมทั้งการติดและโอกาสเป็นพิษเหมือนกับยาอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์คล้าย ๆ กัน ยาสามารถใช้เพิ่มผลระงับความเจ็บปวดของยากลุ่มโอปิออยด์ต่าง ๆ และบรรเทาผลข้างเคียงของพวกมัน เช่น ความคัน ความคลื่นไส้ และการอาเจียน การซื้อยาในบางประเทศต้องอาศัยใบสั่งยาจากแพทย์ โดยขายในสองรูปแบบ คือ pamoate และ hydrochloride salt ยาที่คล้าย/สัมพันธ์กับไฮดร๊อกซิซีนรวมทั้ง ไซคลิซีน, บิวคลิซีน และ meclizine ซึ่งมีประโยชน์ ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง และผลข้างเคียงเหมือนกับไฮดร๊อกซิซีน สารต้านฮิสตามีนรุ่นสองคือ เซทิไรซีน จริง ๆ ก็คือ เมแทบอไลต์ของไฮดร๊อกซิซีนที่เกิดในร่างกายมนุษย์ แต่ว่าโดยที่ไม่เหมือนกับไฮดร๊อกซิซีน เซทิไรซีนดูเหมือนจะไม่ข้ามตัวกั้นเลือด-สมอง (blood-brain barrier) อย่างสำคัญ แม้ว่าจะมีรายงานว่ามีผลต่อกล้ามเนื้อและมีฤทธิ์ระงับประสาท ดังนั้น ทำให้เป็นสารต้านฮิสตามีนที่ดี เพราะมีผลระงับความกังวลและฤทธิ์ต่อจิตใจอย่างอื่น ๆ น้อยลง แต่ว่าก็ยังสามารถมีผลต่อกล้ามเนื้อและทำให้ง่วงนอนสำหรับคนไข้บางคนได้.

ใหม่!!: ปากและไฮดรอกซิซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไข้หวัดใหญ่

้หวัดใหญ่ (influenza หรือ flu) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ อาจมีอาการเล็กน้อยไปถึงรุนแรง อาการที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ ไข้สูง คัดจมูก เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ ไอและรู้สึกเหนื่อย อาการเหล่านี้จะออกอาการหลังได้รับไวรัสสองวันและส่วนมากอาการอยู่นานไม่เกินสัปดาห์ ทว่า อาการไออาจกินเวลานานกว่าสองสัปดาห์ได้ ในเด็ก อาจมีคลื่นไส้อาเจียน แต่ไม่ใช่อาการปกติในผู้ใหญ่ อาการคลื่นไส้อาเจียนเกินบ่อยกว่าในกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบซึ่งเป็นโรคติดเชื้ออีกโรคหนึ่ง ที่บ้างเรียกผิด ๆ ว่าเป็น "ไข้หวัดลงกระเพาะ" (stomach flu) หรือ "ไข้หวัด 24 ชั่วโมง" (24-hour flu) อาการแทรกซ้อนของไข้หวัดใหญ่อาจมีปอดบวมจากไวรัส ปอดบวมจากแบคทีเรียตาม โพรงอากาศ (sinus) ติดเชื้อ และปัญหาสุขภาพที่มีอยู่เดิมแย่ลง เช่น โรคหอบหืดหรือภาวะหัวใจล้มเหลว โดยทั่วไป ไข้หวัดใหญ่ติดต่อผ่านอากาศโดยการไอหรือจาม ซึ่งปลดปล่อยละอองลอยที่มีไวรัส ไข้หวัดใหญ่ยังสามารถส่งผ่านโดยการสัมผัสโดยตรงกับมูลหรือสารคัดหลั่งจากจมูกของนก หรือผ่านการสัมผัสกับพื้นผิวที่ปนเปื้อน คาดกันว่าละอองลอยที่มาทางอากาศก่อให้เกิดการติดเชื้อมากที่สุด แต่ยังไม่ทราบช่องทางการส่งผ่านที่สำคัญที่สุด ไวรัสไข้หวัดใหญ่สามารถลดฤทธิ์ด้วยแสงแดด สารฆ่าเชื้อและสารชะล้างได้ การล้างมือบ่อย ๆ ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ เพราะสบู่สามารถลดฤทธิ์ไวรั.

ใหม่!!: ปากและไข้หวัดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไตรโพรลิดีน

ตรโพรลิดีน (triprolidine).

ใหม่!!: ปากและไตรโพรลิดีน · ดูเพิ่มเติม »

เม็ดรู้สัมผัส

ม็ดรู้สัมผัส หรือ เม็ดไวสัมผัส (Meissner's corpuscle, Tactile corpuscle) เป็นปลายประสาทรับแรงกลชนิดหนึ่งที่ผิวหนังซึ่งไวสัมผัสแบบเบา ๆ โดยเฉพาะก็คือ ไวสูงสุดเมื่อรับรู้แรงสั่นระหว่าง 2-50 เฮิรตซ์ เป็นตัวรับความรู้สึกที่ปรับตัวอย่างรวดเร็ว โดยหนาแน่นมากสุดที่ปลายนิ้วมือ (เป็นใยประสาทที่มีมากที่สุดในมือมนุษย์ คือ 40%).

ใหม่!!: ปากและเม็ดรู้สัมผัส · ดูเพิ่มเติม »

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ใหม่!!: ปากและเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงนาสิก ลิ้นไก่

ียงนาสิก ลิ้นไก่ เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาญี่ปุ่น ภาษาสเปน ภาษาเกชัว ภาษาพม่า ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ N\ ออกเสียงคล้าย ŋ แต่ดันโคนลิ้นแตะที่ลิ้นไก่แทนเพดานอ่อน การทับศัพท์เสียงนี้มักใช้ ง.

ใหม่!!: ปากและเสียงนาสิก ลิ้นไก่ · ดูเพิ่มเติม »

เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ มีชื่อเล่นว่า ไทด์ เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เป็นน้องชายฝาแฝดของบิณฑ์ บรรลือฤทธิ์ เข้าสู่วงการบันเทิงมาพร้อมกับบิณฑ์พี่ชาย มีชื่อเสียงโด่งดังมาจากการรับบท พี่มาก จากละครโทรทัศน์เรื่อง แม่นาคพระโขนง ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2532 ประกบคู่กับ ตรีรัก รักการดี และ "สมเด็จพระนเรศวรมหาราช" ทางช่องเดียวกัน โดยรับบทเป็นตัวละครตามชื่อเรื่อง เอกพันธ์และบิณฑ์ เป็นแฝดร่วมไข่จึงมีรูปร่าง หน้าตาที่คล้ายกันมาก แต่เอกพันธ์มีจุดสังเกตที่ต่างจากบิณฑ์พี่ชาย คือ คางบุ๋ม และผมบริเวณหน้าผากที่เถิกสูงกว่า ไทด์ เอกพันธ์จบปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผลงานทางด้านภาพยนตร์ ได้แก่ อ้ายจันบ้านมหาโลก จากสุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 ผลงานระยะหลัง ๆ ได้แก่ ผู้พันเขียว จากละครเรื่อง นรกตัวสุดท้าย ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2548 เฮียใหญ่ จากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นพิธีกร รายการ2505alive หมวดหมู่:นักแสดงไทย หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสระแก้ว‎ หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี หมวดหมู่:พิธีกรไทย หมวดหมู่:นักแสดงฝาแฝดเหมือน หมวดหมู่:บุคคลฝาแฝดจากประเทศไทย หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทยในศตวรรษที่ 20 หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทยในศตวรรษที่ 21.

ใหม่!!: ปากและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอนโดเดิร์ม

อนโดเดิร์ม (endoderm) เป็นหนึ่งใน germ layer ที่สร้างขึ้นระหว่างการเกิดเอ็มบริโอของสัตว์ เกิดจากเซลล์เดินทางเข้าด้านในผ่านอาร์เคนเทอรอน (archenteron; ส่วนเจริญเป็นทางเดินอาหาร) เกิดเป็นชั้นด้านในของแกสตรูลา ซึ่งจะพัฒนาไปเป็นเอนโดเดิร์ม ในระยะแรกเอนโดเดิร์มประกอบด้วยชั้นเซลล์แบนๆ ซึ่งต่อมาจะมีรูปทรงกระบอก (columnar) เนื้อเยื่อชั้นนี้จะสร้างเป็นเนื้อเยื่อบุผิวของท่อทางเดินอาหารทั้งหมด ยกเว้นส่วนปาก และคอหอย และส่วนปลายของไส้ตรง (ซึ่งดาดโดยส่วนหวำของเอ็กโทเดิร์ม) นอกจากนี้ยังสร้างเป็นเซลล์บุของต่อมทั้งหมดที่เปิดออกสู่ท่อทางเดินอาหาร รวมทั้งตับและตับอ่อน; เนื้อเยื่อบุผิวของท่อหู (auditory tube) และโพรงหูส่วนกลาง (tympanic cavity); ท่อลม, หลอดลม, และถุงลมภายในปอด, กระเพาะปัสสาวะ, และส่วนของท่อปัสสาวะ; ฟอลลิเคิลของต่อมไทรอยด์และต่อมไทมั.

ใหม่!!: ปากและเอนโดเดิร์ม · ดูเพิ่มเติม »

เฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิ

หน้าคนที่ประกอบด้วยตัวอักษรทั้งเจ็ดตัว เฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิ หรือ เฮะเฮะโนะโนะโมเฮะจิ เป็นภาพโครงสร้างใบหน้าที่วาดโดยเด็กนักเรียนชาวญี่ปุ่น โดยใช้ตัวอักษรฮิรางานะ 7 ตัวมาประกอบกันเป็นใบหน้า เด็กชาวญี่ปุ่นมักวาดเฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิลงบนใบหน้าของหุ่นไล่กาและตุ๊กตาไล่ฝน.

ใหม่!!: ปากและเฮะโนะเฮะโนะโมเฮะจิ · ดูเพิ่มเติม »

เต่ามะเฟือง

ต่ามะเฟือง หรือ เต่าเหลี่ยม (Leatherback turtle) เป็นเต่าทะเล จัดเป็นเต่าชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ในบรรดาสัตว์เลื้อยคลานทั้งหมดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์อยู่จนถึงปัจจุบัน จึงเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวในวงศ์ Dermochelyidae และสกุล Dermochelys เต่ามะเฟืองสามารถแยกออกจากเต่าประเภทอื่นได้โดยการสังเกตที่กระดองจะมีขนาดคล้ายผลมะเฟือง และครีบคู่หน้าไม่มีเล็บ ตั้งแต่ออกจากไข่ ความลึกที่เต่ามะเฟืองสามารถดำน้ำได้ถึง 1,280 เมตร.

ใหม่!!: ปากและเต่ามะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

เตโตรโดท็อกซิน

ตโตรโดท็อกซิน (tetrodotoxin, ตัวย่อ: TTX) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เตโตรด็อก (tetrodox) มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น Anhydrotetrodotoxin, 4-epitetrodoxin, Tetraodonic acid เป็นชื่อเรียกพิษที่อยู่ในตัวปลาปักเป้า เตโตรโดท็อกซินมีสูตรเคมีว่า C11 H17 N3 O8 มีน้ำหนักโมเลกุล 319.268 โดยสกัดครั้งแรกได้จากนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่นชื่อ ดร.โยชิซุมิ ทะฮะระ ในปี ค.ศ. 1909 เตโตรโดท็อกซิน เป็นสารพิษชนิดที่ออกฤทธิ์ทำลายระบบประสาท โดยจะเข้าไปจับกับ fast sodium channel ของผนังหุ้มเซลล์ประสาทก่อให้เกิดการ action potential ทำให้ไม่สามารถส่งสัญญาณประสาทได้ ซึ่งส่งผลต่อเซลล์ประสาททั่วร่างกายยกเว้นเซลล์ประสาทที่หัวใจ เมื่อพิษดังกล่าวส่งผลทำลายประสาทจะทำให้เซลล์ประสาทของกล้ามเนื้อไม่สามารถส่งสัญญาณให้กล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวทำงานได้ กล้ามเนื้อจึงเป็นอัมพาต และเมื่อกล้ามเนื้อเป็นอัมพาตก็ส่งผลต่อกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจเป็นอัมพาตตามด้วย ทำให้ผู้ได้รับพิษหายใจไม่ออกและเสียชีวิตจากการหายใจไม่ออก อาการกว่าพิษจะกำเริบใช้เวลาประมาณ 20 นาทีถึง 3 ชั่วโมง ในบางกรณีอาจแสดงอาการเพียงแค่ 4 นาที เท่านั้นจากการรับประทานปลาปักเป้าเข้าไป โดยจะมีอาการชาที่ปากและลิ้น มีอาการชาและชักกระตุกบริเวณใบหน้าและแขนขา ปวดศีรษะ ปวดท้อง มีอาการคลื่นไส้อาเจียน และอาจมีอาการท้องเสีย กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต ชัก หมดสติ การเต้นของหัวใจช้าลง ความดันโลหิตต่ำ และเสียชีวิตได้ ส่วนอาการที่รุนแรงที่สุดคือ เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว และเสียชีวิตในเวลา 4-6 ชั่วโมง แต่ก็มีรายงานการเสียชีวิตเร็วที่สุดหลังจากได้รับพิษไปเพียง 20 นาทีเท่านั้น แท้จริงแล้วการสร้างพิษในปลาปักเป้ามิได้เกิดจากเซลล์ของตัวปลาเอง นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเกิดจากการที่ปลาปักเป้าไปเกินแพลงก์ตอนบางชนิดในกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลตที่มีพิษ หรือกินหอยหรือหนอนที่กินแพลงก์ตอนดังกล่าวเข้าไป ทำให้เกิดสารพิษสะสม หรืออาจเกิดจากแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำไส้ของปลา เตโตรโดท็อกซิน มีความรุนแรงกว่าไซยาไนด์ถึง 1,200 เท่า และทนความร้อนได้สูงถึง 200 องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงไม่สามารถทำลายพิษได้ด้วยการใช้ความร้อนปกติในการปรุงอาหาร และไม่มียาแก้พิษใด ๆ ต่อต้านได้ ซึ่งเตโตรโดท็อกซินนั้นอยู่ในอวัยวะทุกส่วนของปลาปักเป้า โดยที่มีปริมาณการสะสมของพิษไม่เท่ากัน ส่วนที่สะสมพิษมาก ได้แก่ รังไข่, อัณฑะ, ตับ, ผิวหนัง และลำไส้ พบน้อยในกล้ามเนื้อ แต่แม้การรับประทานเนื้อปลาไปเพียงแค่ 1 มิลลิกรัม ก็ทำให้เสียชีวิตได้ ยิ่งโดยเฉพาะผู้มีอาการแพ้อย่างรุนแรงมีโอกาสเสียชีวิตได้สูงถึงร้อยละ 50 หากได้รับพิษเข้าไป การที่ปลาปักเป้ามีพิษที่ร้ายแรงเช่นนี้ในร่างกายก็เพื่อป้องตัวกันจากการถูกกินจากสัตว์อื่นนั่นเอง ซึ่งพิษของปลาปักเป้านั้นไม่ได้แปรเปลี่ยนไปตามสภาพสิ่งแวดล้อมหรือฤดูกาลเช่นเดียวกับแมงดาทะเล นอกจากนี้แล้ว ในตัวปลาปักเป้าเองยังมีพิษอีกชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะคล้ายเตโตรโดท็อกซิน นั่นคือ ซาซิท็อกซิน (Saxitoxin, STX) ซึ่งมักพบในปลาปักเป้าที่อยู่ในน้ำจืด ซึ่งการปรุงปลาปักเป้าเพื่อการรับประทาน นิยมกันมากในแบบอาหารญี่ปุ่น โดยเฉพาะการทำเป็นซาซิมิหรือปลาดิบ ในประเทศญี่ปุ่น พ่อครัวที่จะแล่เนื้อปลาและปรุง ต้องขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจากทางการเสียก่อน ซึ่งจากการศึกษาวิจัยในประเทศญี่ปุ่น พบว่าผู้ที่ได้รับพิษจากปลาปักเป้าร้อยละ 50 เกิดจากการกินตับของปลา ร้อยละ 43 เกิดจากการกินไข่ และร้อยละ 7 เกิดจากการกินหนัง โดยปลาปักเป้าชนิดที่มีสารพิษในตัวน้อยที่สุดหรือแทบไม่มีเลย คือ Takifugu oblongus ที่พบในน่านน้ำของแถบอินโด-แปซิฟิก แต่กระนั้นก็ยังสามารถทำให้ผู้ที่รับประทานเข้าไปเสียชีวิตอยู่ดี.

ใหม่!!: ปากและเตโตรโดท็อกซิน · ดูเพิ่มเติม »

เป็ด เชิญยิ้ม

ัญญา โพธิ์วิจิตร หรือ เป็ด เชิญยิ้ม (เกิด 8 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง) เป็นนักแสดงตลก และเป็นผู้ก่อตั้งคณะ เชิญยิ้ม ร่วมกับโน๊ต เชิญยิ้ม - (บำเรอ ผ่องอินทรกุล), สรายุทธ สาวยิ้ม, สีหนุ่ม เชิญยิ้ม - (บุญธรรม ฮวดกระโทก)เมื่อ พ.ศ. 2523 อดีตนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย และเป็นรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็ด เชิญยิ้ม หรือ ดร.ธัญญา โพธิ์วิจิตร สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง จากวิทยาลัยครูจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ระดับปริญญาตรี จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม และปริญญาเอก ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ปากและเป็ด เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเยื่อบุผิว

นื้อเยื่อบุผิว (Epithelium) เป็นเนื้อเยื่อพื้นฐานหนึ่งในสี่ชนิดของสัตว์ ร่วมกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อประสาท เนื้อเยื่อบุผิวบุโพรงและพื้นผิวของโครงสร้างทั่วร่างกาย และยังเกิดเป็นต่อมจำนวนมาก หน้าที่ของเซลล์บุผิวรวมไปถึงการหลั่ง การเลือกดูดซึม การป้องกัน การขนส่งระหว่างเซลล์และการตรวจจับการรู้สึก ชั้นเนื้อเยื่อบุผิวนั้นไร้หลอดเลือด ฉะนั้น เนื้อเยื่อบุผิวจึงได้รับอาหารผ่านการแพร่ของสสารจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อยู่ข้างใต้ ผ่านเยื่อฐาน เนื้อเยื่อบุผิวสามารถจัดเป็นกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่เป็นต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อได้.

ใหม่!!: ปากและเนื้อเยื่อบุผิว · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเยื่อคัพภะ

อวัยวะที่เจริญมาจาก Germ layer ในแต่ละชั้น ชั้นเนื้อเยื่อคัพภะ (Germ layer) เป็นเนื้อเยื่อ (กลุ่มของเซลล์) ที่เกิดขึ้นระหว่างการเกิดเอ็มบริโอ (embryogenesis) ของสัตว์ แม้ว่ามักกล่าวถึงในแง่การเจริญในสัตว์มีกระดูกสันหลัง แต่ความจริงแล้วสัตว์ทุกชนิดที่มีวิวัฒนาการซับซ้อนกว่าฟองน้ำ มีการสร้างชั้นเนื้อเยื่อปฐมภูมิ (primary tissue layers, บางครั้งเรียกว่า primary germ layers) 2 หรือ 3 ชั้น แล้ว สัตว์ที่มีสมมาตรในแนวรัศมี เช่น ไนดาเรีย (cnidarian) หรือทีโนฟอรา (ctenophore) สร้าง germ layer ขึ้นมา 2 ชั้น ได้แก่ เอ็กโทเดิร์ม และเอนโดเดิร์ม จึงเรียกว่า ไดโพลบลาสติก (diploblastic) ส่วนสัตว์ที่มีสมมาตรแบบ 2 ด้านคือตั้งแต่หนอนตัวแบนจนถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมจะมีการสร้างเนื้อเยื่อชั้นที่ 3 ขึ้นมา เรียกว่า เมโซเดิร์ม จึงเรียกสัตว์ชนิดนี้ว่า ไตรโพลบลาสติก (triploblastic) Germ layer จะเจริญต่อไปเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะของสัตว์ทุกชนิดผ่านกระบวนการเกิดอวัยวะ (organogenesis).

ใหม่!!: ปากและเนื้อเยื่อคัพภะ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 11: โรคของระบบย่อยอาหาร

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ปากและICD-10 บทที่ 11: โรคของระบบย่อยอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ปากและICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ปากและICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ปากและICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

MouthOral cavityช่องปาก👄

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »