เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปริยัติธรรม

ดัชนี ปริยัติธรรม

ปริยัติธรรม (อ่านว่า ปะริยัดติทำ) หมายถึงธรรมที่พึงศึกษาเล่าเรียน ได้แก่พระพุทธพจน์หรือพระไตรปิฎก เรียกเต็มว่า พระปริยัติธรรม ปริยัติธรรมหรือพระพุทธพจน์ที่พึงศึกษาเล่าเรียนนั้นมี 9 อย่าง คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นวังคสัตถุศาสน์ (คำสอนของพระศาสดา 9 ประเภท) การศึกษาเล่าเรียนปริยัติธรรมทั้ง 9 อย่างนี้ของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน เรียกว่า เรียนนักธรรม เรียนบาลี และแบ่งปริยัติธรรมออกเป็น 2 คือ พระปริยัติธรรมแผนกธรรม พระปริยัติธรรมแผนกบาลี.

สารบัญ

  1. 35 ความสัมพันธ์: พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร)พระมหาวิชาญ สุวิชาโนพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)พระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท)พระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)พระครูศรีสุนทรสรกิจ (เริงศักดิ์ เขมวีโร)พระครูธรรมภาณโกศล (เอม)พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการสอบสนามหลวงวัดชัยมงคล (จังหวัดพิจิตร)วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)วัดคลองโพธิ์วัดตระพังทองวัดโพธิ์ชัยวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหารศาสนาพุทธในประเทศพม่าสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)หลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณรอรัญวาสีผงอิทธิเจคามวาสีโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยาโรงเรียนเมธีวุฒิกรเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาเปรียญ

พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร)

ระพรหมวชิรญาณ (นามเดิม ประสิทธิ์ บางแห่งว่าปสฤทธิ์ นามสกุล สุทธิพันธ์) (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 - ปัจจุบัน) กรรมการมหาเถรสมาคม, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 10 (ฝ่ายศาสนศึกษา) กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ดู ปริยัติธรรมและพระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร)

พระมหาวิชาญ สุวิชาโน

ระมหาวิชาญ สุวิชาโน (บัวบาน) เป็นพระนักเผยแผ่ พระวิทยากร นักบรรยายธรรม ที่เป็นที่รู้จักดีรูปหนึ่งของเมืองไทยในปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและพระมหาวิชาญ สุวิชาโน

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

ระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกาภาษาไทย เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง.

ดู ปริยัติธรรมและพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

พระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท)

ระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท) อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย) และอดีตเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร์ เหรียญที่ระลึกพระสิทธิการโกศล (เทพ นนฺโท) ต้อนรับสัญญาบัตรพัดยศประกอบสมณศักดิ์พระราชสิทธิโกศล(เทพ นนฺโท).

ดู ปริยัติธรรมและพระราชสิทธิโกศล (เทพ นนฺโท)

พระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ดู ปริยัติธรรมและพระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล)

พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (นามเดิม: สมชาย แสงสิน) น.ธ.เอก, ปบ.ส., พธ.บ., พธ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 - ปัจจุบัน) เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓, รองเจ้าคณะตำบลคุ้งตะเภา พระอุปัชฌาย์ และเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภารูปปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)

ระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคำ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6.

ดู ปริยัติธรรมและพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ)

พระครูศรีสุนทรสรกิจ (เริงศักดิ์ เขมวีโร)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ดู ปริยัติธรรมและพระครูศรีสุนทรสรกิจ (เริงศักดิ์ เขมวีโร)

พระครูธรรมภาณโกศล (เอม)

หลวงพ่อเอม วัดคลองโป่ง หรือพระครูธรรมภาณโกศล (เอม,พ.ศ.2415-พ.ศ. 2484) อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองโป่ง เป็นเกจิคณาจารย์ที่เกิดในยุคต้นรัชกาลที่ 5 ที่มีผู้นิยมในวัตถุมงคลที่ท่านจัดสร้าง และนิยมแสวงหานำมาเป็นของดีประจำกาย ท่านเป็นอดีตเจ้าคณะอำเภอศรีสำโรง และเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัยด้ว.

ดู ปริยัติธรรมและพระครูธรรมภาณโกศล (เอม)

พระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)

ระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งพระสังฆาธิการเป็นเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร์,รองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ ฝ่ายมหานิกาย และตำแหน่งอื่นๆอีกอาทิเช่น,ประธานกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ ๑๑ รับผิดชอบในเขต ๕ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดศรีสะเกษ,กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนสุรวิทยาคาร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ดู ปริยัติธรรมและพระครูปริยัติกิจธำรง (สมหวัง อคฺคเสโน)

พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)

ระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) (17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 16 มกราคม พ.ศ. 2535) ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน หลวงปู่ชา สุภทฺโท ขณะมีชีวิตอยู่ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อการปฏิบัติธรรมและเผยแผ่พุทธศาสนา ทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งบังเกิดผลทำให้ผลงานที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์แก่พระศาสนา ทั้งที่เป็นพระธรรมเทศนา และสำนักปฏิบัติธรรมในนามวัดสาขาวัดหนองป่าพงมากมาย ซึ่งแม้ท่านจะมรณภาพไปนานแล้ว แต่ศิษยานุศิษย์ของท่านก็ยังคงรักษาแนวทางปฏิบัติธรรมที่ท่านได้สั่งสอนไว้จนถึงปัจจุบัน.

ดู ปริยัติธรรมและพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)

พระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)

ระเทพญาณมงคล ว. นามเดิม เสริมชัย พลพัฒนาฤทธิ์ ฉายา ชยมงฺคโล เจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม เจ้าสำนักและอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนา สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดราชบุรี ผู้จัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดราชบุรี ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์ราชบุรี ประธานศูนย์ประสานงานสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดแห่งประเทศไทย (ศปท.) ประธานศูนย์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ ประจำวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม (ศสค.) Director, Wat Luang Phor Sodh Buddhist Meditation Institute, an Affiliated Institution of the World Buddhist University.

ดู ปริยัติธรรมและพระเทพญาณมงคล (เสริมชัย ชยมงฺคโล)

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ดู ปริยัติธรรมและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

การสอบสนามหลวง

อบสนามหลวง คือการสอบไล่วัดความรู้พระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ไทย โดยคำว่า "สนามหลวง" นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "การสอบพระปริยัติธรรมบาลีในพระราชวังหลวง" โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือพระภิกษุหรือสามเณรผู้ศึกษาบาลีมีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปลคัมภีร์ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย หรือแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลี ต่อหน้าพระที่นั่งและคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศ ไตรจีวร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ให้เป็นเปรียญ และรับนิตยภัตของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู.

ดู ปริยัติธรรมและการสอบสนามหลวง

วัดชัยมงคล (จังหวัดพิจิตร)

วัดชัยมงคล เลขที่ 332 ถนนประเวศน์ ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและวัดชัยมงคล (จังหวัดพิจิตร)

วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)

วัดร่ำเปิง (140px) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกทั้งอยู่ใกล้บริเวณวัดอุโมงค์ วัดป่าแดง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายในวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา วัดร่ำเปิงยังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ปี..

ดู ปริยัติธรรมและวัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)

วัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)

วัดท่าถนน เดิมชื่อ วัดวังเตาหม้อ อยู่ตรงข้ามสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ ประดิษฐานหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ 1 หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ทั้งองค์ ในบริเวณวัดมีอาคารศิลปะแบบตะวันตก สร้างเมื่อ พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและวัดท่าถนน (อุตรดิตถ์)

วัดคลองโพธิ์

วัดคลองโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงแห่งแรกของจังหวัดอุตรดิตถ์ วัดคลองโพธิ์ ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลบ้านเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันวัดคลองโพธิ์เป็นวัดจำพรรษาของเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ และมีสำนักเรียนพระปริยัติธรรมซึ่งถือได้ว่า เป็นสำนักเรียนของคณะสงฆ์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ มีการศึกษาทั้งแผนกนักธรรม แผนกบาลี โรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่ และโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิต.

ดู ปริยัติธรรมและวัดคลองโพธิ์

วัดตระพังทอง

วัดตระพังทอง ตั้งอยู่ที่ถนนจรดวิถีถ่อง หมู่ที่ 3 ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 44 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือยาว 5 เส้น 10 วา ติดต่อกับถนนจรดวิถีถ่อง ทิศใต้ยาว 3 เส้น 10 วา ติดต่อกับสวนป่ากล้วยของชาวบ้าน ทิศตะวันออก ยาว 8 เส้น ติดต่อกับหมู่บ้านประชาชน ทิศตะวันตกยาว 8 เส้น ติดต่อกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง โดยมี.1 เลขที่ 782 เป็นหลักฐาน พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีสระน้ำขนาดใหญ่อยู่ที่มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือ และมีสระน้ำโบราณหลายสระบริเวณพื้นที่วัดตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองเก่า สภาพแวดล้อมเป็นหมู่บ้าน ประชาชนและมีถนนหนทางติดต่อคมนาคมสะดวก อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีอุโบสถกว้าง 8.30 เมตร ยาว 15 เมตร สร้าง..

ดู ปริยัติธรรมและวัดตระพังทอง

วัดโพธิ์ชัย

วัดโพธิ์ชัย เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดนิกายมหานิกาย ตั้งอยู่ที่ถนนประจักษ์ศิลปาคม ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนอง.

ดู ปริยัติธรรมและวัดโพธิ์ชัย

วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร

วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร หรือชื่อลำลองว่า วัดท้ายตลาด เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เป็นวัดที่สร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง และเหตุที่เรียกว่าวัดท้ายตลาดเนื่องจากอยู่ต่อจากตลาดเมืองธนบุรี ปัจจุบันชาวบ้านยังนิยมเรียกชื่อนี้อยู่ ในสมัยธนบุรี วัดนี้เป็นวัดในเขตพระราชฐาน จึงไม่มีพระสงฆ์อยู่ตลอดช่วงรัชกาล ส่วนพระวิหาร สันนิษฐานว่าได้ใช้เป็นฉางเกลือของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภายในพระวิหารกั้นเป็น 2 ตอน ปัจจุบัน ตอนหน้าที่หันออกคลองบางกอกให้ ประดิษฐานพระพุทธรูปเป็นหมู่บนฐานชุกชี ส่วนตอนหลังเป็นพื้นที่ค่อนข้างแคบ ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ ในรัชกาลที่ 3 ได้รับการปฏิสังขรณ์ใหม่ทั่วทั้งพระอาราม และทรงเปลี่ยนนามใหม่ว่า "วัดโมลีโลกยสุธาราม" ภายหลังมาเรียกกันว่า "วัดโมลีโลกยาราม" วัดโมลีโลกยารามเคยเป็นสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีที่มีผู้สอบได้เปรียญธรรมมากเป็นระดับต้น ๆ ของประเทศ ที่ตั้ง พระราชวังเดิม ซอยวังเดิม 6 ถนนวังเดิม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ดู ปริยัติธรรมและวัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร

ศาสนาพุทธในประเทศพม่า

ทธศาสนาในพม่าส่วนใหญ่เป็นนิกายเถรวาทมีผู้นับถือโดยประมาณ 89% ของประชากรภายในประเทศ เป็นประเทศที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดในแง่ของสัดส่วนพระสงฆ์ต่อประชากรและสัดส่วนของรายได้ที่ใช้ในศาสนา พบการนับถือมากในหมู่ ชาวพม่า, ชาน, ยะไข่, มอญ, กะเหรี่ยง, และชาวจีนในพม่า พระภิกษุสงฆ์เป็นที่เคารพบูชาทั่วไปของสังคมพม่า ในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศพม่า ได้แก่ ชาวพม่า และ ชาน พุทธศาสนาเถรวาทมักเกี่ยวข้องกับการนับถือนัตและสามารถเข้าแทรกแซงกิจการทางโลกได้ พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศพม่า เมื่อคราวที่พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้อุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อ..

ดู ปริยัติธรรมและศาสนาพุทธในประเทศพม่า

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) (21 มีนาคม พ.ศ. 2410) - (26 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุปัฏนารามวรวิหาร อำเภอเมืองอุบลราชธานี วัดสุทธจินดาวรวิหาร มณฑลนครราชสีมา วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร กรุงเทพฯ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ แม่กองธรรมสนามมณฑลตลอดระยะที่ยังมิได้ยุบมณฑล รองแม่กองธรรมสนามหลวง กรรมการตรวจข้อสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวง กรรมการมหาเถระสมาคม กรรมการมหามกุฎราชวิทยาลัย กรรมการฝ่ายศึกษาประชาบาล เขตปทุมวัน รองเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต เจ้าคณะตรวจการภาค 3, 4, 5 องค์ประธานคณะวินัยธร ชั้นฎีกาตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)

สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง)

มเด็จพระสังฆราช (แตงโม) สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง).

ดู ปริยัติธรรมและสมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)

หลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร

หลวงพ่อเขียน ธัมมรักขิโต พระเกจิดังแห่ง วัดสำนักขุนเณร ต.วังตะกู อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร พระอริยสงฆ์ผู้ทรงวาจาศักสิทธิ์เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของเหล่าสาธุชนและคณะศิษยานุศิษย์ มีความเชี่ยวชาญวิทยาคมเป็นที่เลื่องลือไปทั่วสารทิศ จนได้รับการยกย่องจากชาวเมืองพิจิตร.

ดู ปริยัติธรรมและหลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร

อรัญวาสี

อรัญวาสี (อ่านว่า อะ-รัน-ยะ-วา-สี) แปลว่า ผู้อยู่ในป่า, ผู้อยู่ประจำป่า อรัญวาสี เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในป่าห่างชุมชน เรียกว่า คณะอรัญวาสี คู่กับ คณะคามวาสี ซึ่งตั้งวัดอยู่ในชุมชน อรัญวาสี ปัจจุบันหมายถึงภิกษุผู้อยู่ในป่าหรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า พระป่า ซึ่งมีกิจวัตรประจำวันเน้นหนักไปในทางวิปัสสนาธุระคืออบรมจิต เจริญปัญญา นุ่งห่มด้วยผ้าสีปอนหรือสีกรัก มุ่งการปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่เป็นหลัก ไม่เน้นงานด้านการบริหารปกครอง การศึกษาพระปริยัติธรรม และสาธารณูปการหรือการก่อสร้างพัฒนาวัด อรัญวาสี ถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะขึ้นไป เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระป.

ดู ปริยัติธรรมและอรัญวาสี

ผงอิทธิเจ

อิธะเจ หรือ อิทธิเจของเทพย์ สาริกบุตร เป็นวิชาทางไสยศาสตร์ว่าด้วยการทำผงตามคัมภีร์อิธะเจ ซึ่งเป็นหนึ่งในคัมภีร์หลักของระบบไสยศาสตร์ไทยโบราณ อันประกอบด้วยคัมภีร์ปถมัง อิธะเจ ตรีนิสิงเห และมหาราช นอกจากนั้นชื่อวิชาอิธะเจยังปรากฏอยู่ในเสภาขุนช้างขุนแผนตอนพลายงามเรียนวิชาด้วย เนื้อหาของวิชาอิธะเจคือการทำผงด้วยการตั้งตัวตามสูตรบาลีมูลกัจจายน์ ซึ่งเป็นระบบบาลีไวยากรณ์ใหญ่ที่ปัจจุบันได้ล้มเลิกไป อิธะเจมีหลายตำรับด้วยกัน แต่ที่เป็นหลักสำคัญจะตั้งตัวด้วย อิทะ อิติ อิติ อัสสา อุทัง อะหัง อัคคัง อะหัง อะหัง อิถัง อัมมะ อัสสา จากนั้นจึงกระทำตามสูตรสนธิโดยอ้างสูตรตามคัมภี์บาลีไวยากรณ์จนสำเร็จเป็น อิธเจตโสทฬฺหํคณฺหาหิถามสา เป็นอันขาดตัวในสูตรสนธิ ผงที่ได้จากการเขียนและลบอักขระตามคัมภีร์อิธะเจ เรียกว่าผงอิธะเจ เชื่อว่ามีอานุภาพทางเมตตามหานิยม เป็นเสน่ห์โดยเฉพาะแก่สตรี.

ดู ปริยัติธรรมและผงอิทธิเจ

คามวาสี

มวาสี (อ่านว่า คา-มะ-วา-สี) แปลว่า ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้าน หมายถึงภิกษุที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมือง มีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางคันถธุระ คือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่ธรรม และการก่อสร้างปฏิสังขรณ์วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ้าน พระเมือง ซึ่งเป็นคู่กับคำว่า อรัญวาสี คือ พระป่า คามวาสีถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน ทั้งพระสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย และพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ดู ปริยัติธรรมและคามวาสี

โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา

รงเรียนพุทธโกศัยวิทยา วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ต้นแบบในโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สังกัด มหาเถรสมาคม กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ที่ ๓๗ ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๐ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๖ ถนนเจริญเมือง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ภาพพระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร) หรือหลวงปู่จี๋ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร.

ดู ปริยัติธรรมและโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา

โรงเรียนเมธีวุฒิกร

รงเรียนเมธีวุฒิกร "วัดพระธาตุหริภุญชัย" เป็นโรงเรียนเอกชน มุ่งเน้นการเรียนการสอนด้านสามัญศึกษาควบคู่ปริยัติศึกษา เปิดสอนในระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 รับนักเรียนชาย-หญิง (คฤหัสถ์) และ พระภิกษุ สามเณร.

ดู ปริยัติธรรมและโรงเรียนเมธีวุฒิกร

เขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์

ตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ เป็นเขตปกครองของพระภิกษุสงฆ์เถรวาท ฝ่ายมหานิกายระดับอำเภอ ขึ้นตรงต่อเจ้าคณะเหนือกว่าภายในเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ตามการแบ่งเขตพื้นที่การปกครองคณะสงฆ์ไทยในกำกับของมหาเถรสมาคม เขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ มีอาณาเขตการปกครองคณะสงฆ์และรับผิดชอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาทครอบคลุมพื้นที่อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ปัจจุบันมีพระครูเกษมธรรมาลังการ (อุดร) (วัดหมอนไม้) เป็นเจ้าคณะอำเภอแห่งนี้ต่อจาก พระนิมมานโกวิท (หลวงปู่ทองดำ) เขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ มีสำนักเรียนพระปริยัติธรรมสำหรับพระสงฆ์ครบสองแผนกทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลี (วัดคลองโพธิ์ พระอารามหลวง) นอกจากนี้ยังมีห้องเรียนของวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เปิดการศึกษาในระดับปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต โดยตั้งอยู่ที่วัดหมอนไม้ อันเป็นวัดเจ้าคณะอำเภอในปัจจุบัน เขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ เป็นการแบ่งเขตการปกครองคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกายในจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามการแบ่งของมหาเถรสมาคม ในปัจจุบันมีการแบ่งเขตการปกครองคณะสงฆ์ในอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ออกเป็น 13 เขต (ตำบล).

ดู ปริยัติธรรมและเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์

เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา

ตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เป็นเขตปกครองของพระภิกษุสงฆ์เถรวาท ฝ่ายมหานิกายระดับตำบล ขึ้นตรงต่อเจ้าคณะเหนือกว่าภายในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ตามการแบ่งเขตพื้นที่การปกครองคณะสงฆ์ไทยในกำกับของมหาเถรสมาคม เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา มีอาณาเขตการปกครองคณะสงฆ์และรับผิดชอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาทครอบคลุมพื้นที่ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ และบางส่วนของตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ (ไม่มีวัดธรรมยุติในเขตพื้นที่ปกครองตำบลนี้) ปัจจุบันมีพระครูสุจิตพัฒนพิธาน (สมพงษ์ สมจิตฺโต) (วัดใหม่เจริญธรรม) เป็นเจ้าคณะตำบลแห่งนี้ตั้งแต่ ปี พ.ศ.

ดู ปริยัติธรรมและเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา

เปรียญ

ปรียญ (อ่านว่า ปะเรียน) บาเรียน ก็เรียก เป็นคำใช้เรียกภิกษุสามเณรผู้ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีและสอบไล่ได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ 3 ประโยคขึ้นไปจนถึง 9 ประโยค เรียกว่า พระเปรียญ หรือ พระเปรียญธรรม สามเณรเปรียญ หรือ สามเณรเปรียญธรรม มีอักษรย่อว่า ป.

ดู ปริยัติธรรมและเปรียญ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระปริยัติธรรม