เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปรัชญาปารมิตา

ดัชนี ปรัชญาปารมิตา

ระปรัชญาปารมิตา ปรัชญาปารมิตาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 429-430 (อักษรเทวนาครี: प्रज्ञा पारमिता, Shes-rab-pha-rol-phyin ་ཤེས་རབ་ཕ་རོལ་, 般若波羅蜜多/般若波罗蜜多, Pinyin: bō'ruò-bōluómìduō; hannya-haramitta (般若波羅蜜多, hannya-haramitta?) banya-paramilda (般若波羅蜜多/반야파라밀다); Bát Nhã Ba La Mật Đa) เป็นพระสูตรสำคัญชุดหนึ่งในนิกายมหายาน ที่สำคัญ เช่น มหาปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ในทางศิลปกรรมช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 -12 มักแสดงในเชิงบุคลาธิษฐานเป็นรูปพระโพธิสัตว์ชื่อ "พระปรัชญาปารมิตา" มีฐานะเป็นมารดาของพระพุทธเจ้า หรือเป็นภาคสำแดงของพระอักโษภยพุทธะ เป็นสัญลักษณ์ของสุญญต.

สารบัญ

  1. 7 ความสัมพันธ์: พระปรางค์สามยอดภาษาสันสกฤตผสมรายนามพระโพธิสัตว์อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตรนาคารชุนะโปเยโปโลเย

พระปรางค์สามยอด

ระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ลักษณะเป็นปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ.

ดู ปรัชญาปารมิตาและพระปรางค์สามยอด

ภาษาสันสกฤตผสม

ภาษาสันสกฤตผสม (Hybrid Sanskrit) หรือ ภาษาสันสกฤตผสมในพุทธศาสนา (Buddhist Hybrid Sanskrit; BHS) เป็นภาษาที่พบในคัมภีร์พุทธศาสนาฝ่ายมหายาน มีลักษณะของภาษาสันสกฤตในรุ่นหลัง มีลำดับชั้นทางภาษาศาสตร์ถัดจากภาษาสันสกฤตแบบแผน จัดเป็นภาษาอินดิกยุคกลาง (Middle Indic language) คัมภีร์ที่แต่งด้วยภาษาสันสกฤตแบบผสมนี้ ได้แก่ ปรัชญาปารมิตา, และมหาวัสตุอวทาน หมวดหมู่:ภาษาสันสกฤต.

ดู ปรัชญาปารมิตาและภาษาสันสกฤตผสม

รายนามพระโพธิสัตว์

ระโพธิสัตว์ คือบุคคลที่บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พระโพธิสัตว์สำคัญตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายานมีดังนี้ พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์ พระจันทรประภาโพธิสัตว์ และพระสุริยประภาโพธิสัตว์ พระจุนทีโพธิสัตว์ พระนางตารา พระนาคารชุนะ พระปัทมสัมภวะ พระนางปรัชญาปารมิตา พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ นางวสุธระ พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระอากาศครรภโพธิสัตว.

ดู ปรัชญาปารมิตาและรายนามพระโพธิสัตว์

อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

ปรางค์ประธาน โบราณสถานหมายเลข 1 อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำแควน้อยทางทิศเหนือในเขตตำบลสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี แวดล้อมด้วยทิวเขาเป็นแนวยาวอยู่โดยรอบ ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กำแพงเมืองก่อด้วยศิลาแลง กว้างประมาณ 800 เมตร หมายถึงส่วนกว้างของเมือง ยาวประมาณ 850 เมตร และกำแพงสูง 7 เมตร มีประตูเข้าออก 4 ด้าน มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ ภายในเมืองมีสระน้ำ 6 สร.

ดู ปรัชญาปารมิตาและอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร

ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร (प्रज्ञापारमिताहृदय, สันสกฤต-โรมาไนซ์: Prajñāpāramitā Hṛdaya; 摩訶般若波羅蜜多心經; རིན་ཆེན་སྡེ.) คือพระสูตรที่สำคัญและเป็นที่นิยมยิ่งในพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ชื่อ "ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร" มีความหมายตามตัวอักษรว่า "พระสูตรอันเป็นหัวใจแห่งปฏิปทาอันยวดยิ่งแห่งความรู้แจ้ง" ในภาษาอังกฤษมักแปลโดยสังเขปว่า "หฤทัยสูตร" (The Heart Sūtra) พระสูตรนี้มักได้รับการยอมรับว่าเป็นพระสูตรที่มีผู้รู้จักและนิยมที่สุดมากกว่าพระสูตรใดของพุทธศาสน.

ดู ปรัชญาปารมิตาและปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร

นาคารชุนะ

ระนาคารชุนะ รูปปั้นของพระนาคารชุนะ ในวัดพุทธแบบทิเบตแห่งหนี่งในสหราชอาณาจักร นาคารชุนะ (नागार्जुन; Nāgārjuna; నాగార్జునా;; มีชีวิตในช่วงประมาณ พ.ศ.

ดู ปรัชญาปารมิตาและนาคารชุนะ

โปเยโปโลเย

หลียวไจจื้ออี้ ("เรื่องประหลาดจากห้องหนังสือ") เป็นที่รู้จักในประเทศไทยว่า โปเยโปโลเย หรือสำเนียงกลางว่า ปัวเหร่อปัวหลัวหมี่ ("ปรัชญาปารมิตา") เป็นนิยายของ ผู ซงหลิง (蒲松龄) แต่งขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิงจากเรื่องเล่าของจีน ตอนที่นำมาทำเป็นภาพยนตร์ที่ทำให้โด่งดังในหลาย ๆ ประเทศได้แก่ตอนที่มีชื่อว่า "เนี่ย เสี่ยวเชี่ยน" มีเนื้อเรื่องย้อนไปสมัยราชวงศ์ถังเล่าถึงความรักต้องห้ามระหว่างมนุษย์ที่มีนามว่า หนิงไฉ่เฉิน และปีศาจที่มีนามว่า เสี่ยวเชี่ยน พร้อมกับเล่าถึงสงครามระหว่างปีศาจและมนุษย์ นิยายเรื่องนี้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์หลายครั้ง ได้แก.

ดู ปรัชญาปารมิตาและโปเยโปโลเย

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระนางปรัชญาปารมิตานางปรัชญาปารมิตา