โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศไอซ์แลนด์

ดัชนี ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

337 ความสัมพันธ์: บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่องบอบบี ฟิชเชอร์ชาวนอร์สชาวนอร์เวย์ชาวไวกิงฟยอร์ดฟุตบอลทีมชาติหมู่เกาะแฟโรฟุตบอลทีมชาติไอซ์แลนด์พ.ศ. 2461พ.ศ. 2487พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2569พฤกษาพักตร์พลังอักษะ เฮตาเลียพอเมอเรเนียนพันเอกกริมสวอทน์กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มตะวันตกกลุ่มนอร์ดิกกษัตริย์อาเธอร์กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลกการพลัดถิ่นการยึดครองประเทศไอซ์แลนด์การลงโทษทางกายการสำรวจการอยู่กินด้วยกันการท่องเที่ยวในประเทศไอซ์แลนด์การท่องเที่ยวในประเทศไทยการประกวดเพลงยูโรวิชันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983การปะทุของกริมสวอทน์ พ.ศ. 2554การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลการไม่มีศาสนากิลวี ซีกืร์ดซอนก้นทะเล...ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษานอร์สโบราณภาษาแฟโรภาษาไอซ์แลนด์ภาษาเดนมาร์กภูมิศาสตร์ยุโรปภูเขาไฟลาไคมหาศึกชิงบัลลังก์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)มหาสมุทรอาร์กติกยุโรปภาคพื้นทวีปยุโรปตะวันตกยุโรปเหนือระบบรัฐสภาระบบสภาเดี่ยวระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่รัฐร่วมประมุขราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์กรายชื่อการครอบครองของประเทศนอร์เวย์รายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อธงในประเทศไอซ์แลนด์รายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมายรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียมรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไอซ์แลนด์รายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายการภาพธงชาติรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งริสก์ฤดูหนาวจากภูเขาไฟลัทธิอาณานิคมลาดตีนทวีปลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลิเวอร์พูลลูนาวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรปวัลดีมาร์ แบร์กสตาวัลตารีวัดไทยไอซ์แลนด์วันชาติวันแม่วันแรงงานวาตนาเยอคูตล์วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปวิลเลียม มอร์ริสวิทยาการระบาดวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาศาสตร์โลกศิลปศาสตรบัณฑิตสกุลปลาชาร์สมาคมการค้าเสรียุโรปสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สหพันธ์กีฬาเมืองเรยคยาวิคสหภาพยุโรปสหภาพคาลมาร์สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาหร่ายมะริโมะสุราสุริยุปราคา 12 สิงหาคม พ.ศ. 2569สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558สงครามต่อต้านการก่อการร้ายสตาร์ วอร์ส: อุบัติการณ์แห่งพลังสแกนดิเนเวียสแตตินสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2017–18สโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดในฤดูกาล 2017–18สเคทาเฟียลักเรคยาวิเกอร์หมาจิ้งจอกอาร์กติกหมู่เกาะแฟโรหินบะซอลต์หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอัลแฟรด ฟินปอกาซอนอันดับของขนาด (พื้นที่)อาร์กติกอาสนวิหารองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาแรมซาร์ฮัลล์กรีมสคิร์คยาฮันแนส โซร์ ฮัตล์โตร์ซอนจันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553จุลรัฐจุดร้อนจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดผลิตน้ำมันสูงสุดธงชาติเดนมาร์กทรายดำทวีปยุโรปทวีปอเมริกาทะเลกรีนแลนด์ทะเลนอร์วีเจียนข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลกดวงอาทิตย์เที่ยงคืนดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คดาย อนัทเธอร์ เดย์ 007 พยัคฆ์ร้ายท้ามรณะดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดิอะเมซิ่งเรซ 6ดินแดนของสหรัฐอเมริกาดีพวันคริสต์สหัสวรรษที่ 3คริปโทเคอร์เรนซีความตกลงเชงเกนคาราเต้เฟียลาโกโฟซามาคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะมนตรีนอร์ดิกตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตัวแบบนอร์ดิกต้นสมัยกลางซึร์ทเซย์ซีกือร์โรสซีแอตเทิลปฏิบัติการเบอร์ลิน (แอตแลนติก)ประชาธิปไตยสังคมนิยมประชาธิปไตยเสรีนิยมประมุขแห่งรัฐประวัติศาสตร์เดนมาร์กประเทศลิทัวเนียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศนอร์เวย์ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1844ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1852ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1858ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1864ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1869ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1874ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1880ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1886ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1892ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1894ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1900ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1902ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1903ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1904ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1908ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1911ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1912ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1914ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1919ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1922ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1923ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1926ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1927ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1930ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1931ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1933ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1934ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1936ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1937ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1946ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1948ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1949ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1953ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1956ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1963ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1967ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1971ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1972ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1974ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1976ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1978ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1979ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1980ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1983ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1984ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1987ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1988ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1991ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1992ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1994ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1995ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1996ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1998ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1999ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2000ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2002ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2003ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2004ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2006ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2007ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2008ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2009ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2010ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2012ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2013ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2014ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2016ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2018ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2020ประเทศเดนมาร์กปลาเทราต์สีน้ำตาลปีร์กีร์ ปียาร์ตนาซอนปีเยิร์กนักการเมืองอิสระนางงามจักรวาล 1956นางงามจักรวาล 1958นางงามจักรวาล 1959นางงามจักรวาล 1973นางงามจักรวาล 1974นางงามจักรวาล 1987นางงามจักรวาล 1988นางงามจักรวาล 1998นางงามจักรวาล 2003นางงามจักรวาล 2006นางงามจักรวาล 2007นางงามจักรวาล 2009นางงามจักรวาล 2010นางงามจักรวาล 2016นางงามนานาชาติ 2013นางงามนานาชาติ 2014นิติภาวะนีล ไรเบิร์ก ฟินเซนนีโอนาซีแบทแมน บีกินส์แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลกแผ่นยูเรเชียแผ่นอเมริกาเหนือโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโลกที่หนึ่งโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016โอเอซิสโจรสลัดบาร์บารีโซโนตไลต์โปเกมอน โกไวน์ร้อนไออ้อน ไจแอนท์ หุ่นเหล็กเพื่อนยักษ์ต่างโลกไทกาเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)เพอร์แลนเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมืองซ่อนบาปเรคยาวิกเร็ว..แรงทะลุนรก 8เลฟ เอริกสันเวสมาร์นายาสเวียโชลาอิโฟทาคลูบูรินเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนียเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันตกเอกสารปานามาเอยาฟยาตลาเยอคุตล์เอย์ดืร์ กวึดยอนแซนเอลฟ์เอียน แอชบีเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเขตเวลาเขตเศรษฐกิจยุโรปเดอะชูการ์คิวส์เดิมพันชาติรุกฆาตโลกเดนมาร์ก–นอร์เวย์เดนลอว์เครือข่ายบิตคอยน์เต็มเวลาเนโทUTC±00:00.is1 ธันวาคม1 E+11 m²16 พฤศจิกายน17 มิถุนายน8 กันยายน8 มิถุนายน ขยายดัชนี (287 มากกว่า) »

บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง

นไมโครเวฟ MMDS บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service) หรือรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า MMDS หรือ Wireless Cable เป็นเทคโนโลยีทางการสื่อสารแบบไร้สาย มีเป้าหมายสำหรับบริการเครือข่ายบรอดแบนด์ หรือเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นวิธีการรับสัญญาณโทรทัศน์เคเบิลทางเลือกหนึ่ง MMDS นั้นมีการใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก รวมถึง แคนาดา เม็กซิโก ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ บราซิล บาร์เบโดส ออสเตรเลีย ไนจีเรีย ปากีสถาน ศรีลังกา ไทย อุรุกวัย อินเดีย และเวียดนาม โดยส่วนใหญ่แล้วมีการใช้บริการในบริเวณชนบทที่มีประชากรเบาบาง ซึ่งธุรกิจเคเบิลต่อสายไม่สามารถเติบโตได้.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และบริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง · ดูเพิ่มเติม »

บอบบี ฟิชเชอร์

อบบี ฟิชเชอร์ หรือ โรเบิร์ต เจมส์ บอบบี ฟิชเชอร์ (Robert James Bobby Fischer; 9 มีนาคม พ.ศ. 2486 — 17 มกราคม พ.ศ. 2551) เป็นนักหมากรุกชาวอเมริกันเชื้อสายยิว-เยอรมัน ฟิชเชอร์เป็นชาวอเมริกันเพียงคนเดียวในประวัติศาสตร์ที่เคยเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากล โดยเป็นฝ่ายชนะโบริส สปัสสกี อดีตแชมป์โลกชาวโซเวียตในการแข่งขันที่เรคยาวิก ประเทศไอซ์แลนด์ เขาเป็นแชมป์โลกระหว่างปี พ.ศ. 2515 ถึง 2518 ในบั้นปลายชีวิต เขาประกาศตัวว่าต่อต้านอเมริกัน และต่อต้านยิว (ถึงแม้มารดาของเขาจะเป็นยิว) จึงถูกถอนสัญชาติอเมริกัน และถูกควบคุมตัวโดยทางการญี่ปุ่นเป็นเวลาหลายเดือนในฐานะที่เป็นบุคคลไร้สัญชาติ และใช้พาสปอร์ตอเมริกันที่ถูกระงับแล้ว ในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และบอบบี ฟิชเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวนอร์ส

แผนที่แสดงบริเวณการตั้งถิ่นฐานของไวกิงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 11 รวมทั้งบริเวณที่ปล้นสะดมและค้าขายที่ส่วนใหญ่แทบจะแยกกันไม่ได้ ชาวนอร์ส (Norsemen) เป็นคำที่เคยใช้ในการเรียกกลุ่มชนทั้งกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ (North Germanic language) เป็นภาษาแม่ (“นอร์ส” โดยเฉพาะหมายถึงภาษานอร์สโบราณที่เป็นสาขาของภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน โดยเฉพาะภาษานอร์เวย์ ภาษาไอซ์แลนด์ ภาษาสวีเดน และภาษาเดนมาร์กแบบโบราณ) “นอร์สเม็น” หมายความว่า “ผู้มาจากทางเหนือ” และเป็นคำที่ใช้สำหรับชนนอร์ดิกที่เดิมมาจากทางตอนไต้และตอนกลางของสแกนดิเนเวีย ชาวนอร์สได้ตั้งถิ่นฐานและอาณาบริเวณการปกครองในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งบางส่วนของหมู่เกาะแฟโร อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ ไอร์แลนด์ รัสเซีย อิตาลี แคนาดา กรีนแลนด์ ฝรั่งเศส ยูเครน เอสโตเนีย ลัตเวีย และเยอรมนี “นอร์ส” และ “นอร์สเม็น” หมายถึงประชากรสแกนดิเนเวียของปลายคริสต์ศตวรรษ 8 ถึง 11 ส่วนคำว่า “นอร์มัน” ต่อมาหมายถึงผู้ที่ดั้งเดิมคือผู้มาจากทางเหนือที่ตั้งถิ่นฐานในนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส ที่รับวัฒนธรรมและภาษาฝรั่งเศส คำว่า “Norse-Gaels” (เกลลิคต่างประเทศ) เป็นคำที่ใช้เรียก “นอร์ส” ที่มาจากไอร์แลนด์และสกอตแลนด์ผู้ยอมรับวัฒนธรรมเกลส์ ไวกิงเป็นคำทั่วไปที่ใช้สำหรับ “นอร์สเม็น” ในต้นสมัยกลางโดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงการปล้นสดมสำนักสงฆ์ต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และชาวนอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวนอร์เวย์

วนอร์เวย์ (Nordmenn) คือประชาชนที่เกิดในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และชาวนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

ฟยอร์ด

ฟยอร์ด เป็นอ่าวเล็ก ๆ บริเวณชายฝั่งทะเลซึ่งถูกน้ำกัดเซาะจนเว้าแหว่งมีลักษณะแคบและยาว เว้าลึกเข้าไปในฝั่งระหว่างแผ่นดินสูงชันหรือระหว่างหน้าผาสูงชันตามเชิงเขา ฟยอร์ดเกิดจากการกัดเซาะของธารน้ำแข็งฟยอร์ดสามารถพบได้หลายที่ในบริเวณชายฝั่งเช่น อะแลสกา, บริติชโคลัมเบีย, ชิลี, กรีนแลนด์, ไอซ์แลนด์, นิวซีแลนด์, นอร์เวย์, สก็อตแลนด์, ลาบราดอร์, นูนาวุต, นิวฟันด์แลนด์รวมถึงรัฐวอชิงตัน ฟยอร์ดสามรถพบได้มากในบริเวณชายฝั่งของประเทศนอร์เวย์ซึ่งมีความยาวประมาณและมีฟยอร์ดกว่า 1,190 แห่ง แต่มีพื้นที่ชายฝั่งประมาณเท่านั้นที่ไม่มีฟยอร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฟยอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติหมู่เกาะแฟโร

ฟุตบอลทีมชาติหมู่เกาะแฟโรในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2013 อิตาลีเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2011 นัดนั้นจบลงด้วยชัยชนะ 1-0 ของอิตาลี ฟุตบอลทีมชาติหมู่เกาะแฟโร (Føroyska fótbóltsmanslandsliðið; Færøernes fodboldlandshold) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของหมู่เกาะแฟโร อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลหมู่เกาะแฟโร โดยเข้าร่วมเป็นสมาชิกของฟีฟ่าในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฟุตบอลทีมชาติหมู่เกาะแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไอซ์แลนด์

ฟุตบอลทีมชาติไอซ์แลนด์ (Íslenska karlalandsliðið í knattspyrnu) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนทีมชาติจากประเทศไอซ์แลนด์ ปัจจุบันอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมฟุตบอลไอซ์แลนด์ (Knattspyrnusamband Íslands) โดยที่ไอซ์แลนด์เป็นประเทศขนาดเล็กในกลุ่มนอร์ดิกใกล้กับเขตอาร์กติกหรือขั้วโลกเหนือ มีขนาดพื้นที่พอ ๆ กับกรุงลอนดอน ประชากรมีราว 300,000 คน สภาพอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี แต่ร้อยละ 10 ของประชากรในชาติมีอาชีพเกี่ยวกับฟุตบอล เช่น ผู้ฝึกสอน โดยกระจายไปอยู่ตามสโมสรต่าง ๆ ของหลายประเทศ และไอซ์แลนด์ไม่มีลีกฟุตบอลอาชีพเป็นของตนเอง ไอซ์แลนด์เป็นทีมขนาดเล็ก ที่มีประวัติเคยผ่านเข้าเล่นรอบสุดท้ายของมหกรรมการแข่งขันฟุตบอลระดับใหญ่เพียงแค่ 2 ครั้งเท่านั้น นั่นคือ ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 หรือยูโร 2016 ที่ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ได้สร้างประวัติศาสตร์ผ่านเข้าสู่การแข่งขันรอบสุดท้ายได้เป็นครั้งแรก โดยเอาชนะทีมใหญ่อย่างเนเธอร์แลนด์ไปได้ด้วย โดยไอซ์แลนด์ได้กลายเป็นทีมที่น่าจับตามองในการแข่งขันคราวนี้ เนื่องจากเป็นทีมขนาดเล็กแต่กลับเล่นได้อย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะในรอบที่สอง หรือรอบ 16 ทีมสุดท้าย ที่สามารถเอาชนะอังกฤษมาได้ ก่อนที่รอบ 8 ทีมสุดท้ายหรือรอบก่อนรองชนะเลิศ ไอซ์แลนด์แพ้ต่อฝรั่งเศสซึ่งเป็นเจ้าภาพไป 5–2 และอีกครั้ง ในฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซียเป็นเจ้าภาพ ไอซ์แลนด์สร้างประวัติศาสตร์ผ่านเข้าไปเล่นได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ในฐานะที่เป็นแชมป์รอบคัดเลือกแถบยุโรป กลุ่มไอ ด้วยการมี 22 คะแนน จากทั้งหมด 10 นัด ซึ่งนับว่าเป็นการแข่งขันสำคัญ 2 ครั้งติดต่อกัน และยังสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการเป็นชาติที่มีขนาดเล็กที่สุดที่สามารถผ่านเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกได้ ด้วยการที่มีจำนวนประชากรทั้งประเทศประมาณ 3500,000 เท่านั้น ทั้งที่ผู้เล่นที่มีชื่อเสียงระดับโลกก็มีน้อยรายมาก เช่น เอย์ดืร์ กวึดยอนแซน ที่เคยเป็นกองหน้าในเชลซี สโมสรระดับชั้นนำในพรีเมียร์ลีกของอังกฤษ หรือรายอื่น เช่น จิลวี ซีกืร์ดซอน ที่อยู่กับเอฟเวอร์ตันเท่านั้น และก่อนหน้านั้นในรอบคัดเลือกฟุตบอลโลก 2014 ที่บราซิล ก็เกือบจะได้เข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้าย ทว่าไปพ่ายแพ้ต่อโครเอเชียเสียก่อน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฟุตบอลทีมชาติไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2569

ทธศักราช 2569 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2026 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพ.ศ. 2569 · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษาพักตร์

ันทวยพฤกษพักตร์ในรูปของลายใบอาแคนธัสรองรับประติมากรรมนายอาชาแห่งแบมเบิร์กภายในมหาวิหารแบมเบิร์กที่แกะสลักเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 พฤกษาพักตร์ หรือ รุกขามนุษย์ (Green Man) คือประติมากรรม, จิตรกรรม หรือรูปสัญลักษณ์อื่นๆ ของใบหน้าที่ล้อมรอบไปด้วยใบไม้ กิ่งไม้ หรือเถาไม้เลื้อย ที่งอกออกมาจากจมูก ปาก หรือส่วนอื่นๆ ของใบหน้า ไม้ที่งอกออกมาอาจจะมีดอกมีผลด้วยก็ได้ การตกแต่งด้วยพฤกษพักตร์มักจะใช้สำหรับเป็นสิ่งตกแต่งของสถาปัตยกรรม พฤกษาพักตร์มักจะพบในรูปของประติมากรรมทั้งภายนอกและภายในคริสต์ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ของคฤหัสน์ นอกจากนั้น “The Green Man” ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้กันสำหรับสิ่งก่อสร้างสารธาณะ และปรากฏในหลายรูปหลายลักษณะเช่นบนป้ายโรงแรมเล็กๆ ที่บางครั้งอาจจะเป็นรูปเต็มตัวที่ไม่แต่จะเป็นเพียงเป็นใบหน้าเท่านั้น ลักษณะพฤกษาพักตร์มีด้วยกันหลายแบบหลายลักษณะ และพบในวัฒนธรรมต่างๆ ทั่วโลก พฤกษาพักตร์มักจะเป็นเทพารักษ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่มีมาในวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วก็มักจะตีความหมายกันว่าพฤกษาพักตร์เป็นนัยยะของการเกิดใหม่ที่เป็นสัญลักษณ์ของวัฏจักรของการเจริญเติบโตเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิของแต่ละปีที่มาถึง บ้างก็สันนิษฐานว่าพฤกษาพักตร์เป็นตำนานที่พัฒนาขึ้นมาต่างหากจากความเชื่ออื่นๆ ในสมัยโบราณ และวิวัฒนาการต่อมาจนแตกแยกกันออกไปในวัฒนธรรมต่างๆ ที่เห็นได้จากตัวอย่างในของพฤกษาพักตร์ในสมัยต่างๆ ของประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพฤกษาพักตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พลังอักษะ เฮตาเลีย

ลังอักษะ เฮตาเลีย เขียนโดย ฮิมะรุยะ ฮิเดคาสึ โดยเขียนเป็นการ์ตูนลงในเว็บไซต์ ก่อนที่จะได้ออกเป็นหนังสือการ์ตูน และกลายเป็นแอนิเมชันในที่สุด ลักษณะพิเศษของเรื่องนี้คือการสร้างตัวละครขึ้นมาเป็นตัวแทนของประเทศต่างๆในโลก และนำเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ยุคสงครามโลกและปัจจุบันมาเล่าอย่างน่ารัก โดยเลียนแบบลักษณะของคนในชาตินั้นๆ เช่น ให้อิตาลีชอบกินพาสต้า ให้รัสเซียไม่ชอบอากาศหนาว หรือให้อเมริกาชอบแฮมเบอเกอร์ ในเรื่องนี้การรวมประเทศเข้าด้วยกัน หมายถึง การแต่งงานของตัวละคร การทำสัมพันธมิตร หมายถึง การเป็นเพื่อนกัน และการแยกประเทศ หมายถึง การหย่าร้างของตัวละคร หรือเป็นการตัดขาดจากการเป็นเพื่อน ชื่อเรื่องเฮตาเลียเกิดจากการรวมสองคำเข้าด้วยกัน ได้แก่ Hetare (ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าใช้ไม่ได้) และ Italia (ชื่อของประเทศอิตาลีในภาษาอิตาลี) เมื่อนำมารวมกันแล้ว เฮตาเลียจึงมีความหมายว่า "อิตาลีผู้ไม่ได้เรื่อง" การตั้งชื่อดังกล่าวนี้เป็นการล้อเลียนถึงความอ่อนแอของอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เดิมฮิมะรุยะเขียนเรื่องเฮตาเลียลงในเว็บไซต์ส่วนตัวในลักษณะเว็บคอมมิค ต่อมาจึงได้มีการรวบรวมตีพิมพ์เป็นรูปเล่มโดยสำนักพิมพ์เก็นโตฉะครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2008 ปัจจุบันมีการตีพิมพ์รวมเล่มแล้ว 3 เล่ม ต่อมาจึงได้มีการดัดแปลงการตูนชุดนี้ในรูปแบบของดราม่าซีดีและภาพยนตร์แอนิเมชั่นโดยสตูดิโอดีน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

พอเมอเรเนียน

อเมอเรเนียน พอเมอเรเนียน (Pomeranian) หรือที่บางครั้งเรียกสั้น ๆ ว่า ปอม (Pom) เป็นสุนัขที่อยู่ในตระกูลสปิตซ์ ชื่อของพันธุ์นี้มาจากพอเมอเรเนียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประเทศโปแลนด์และประเทศเยอรมนีตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพอเมอเรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

พันเอก

ันเอก (Colonel อักษรย่อ:Col., Col หรือ COL) เป็นชั้นยศระหว่าง พันโท และ พลจัตวา โดยพันเอกใช้เป็นยศในกองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ และตำรวจ โดยในประเทศไอซ์แลนด์ และ นครรัฐวาติกัน ยศพันเอกถือเป็นยศทหารที่สูงที่สุด โดยในกองทัพเรือยศพันเอกได้ถูกเรียกว่านาวาเอก หรือ ship-of-the-line captain ส่วนในระบบการเทียบยศในกองทัพอากาศเครือจักรภพ ยศพันเอกได้ถูกเรียกว่านาวาอากาศเอก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และพันเอก · ดูเพิ่มเติม »

กริมสวอทน์

กริมสวอทน์ (Grímsvötn) เป็นทะเลสาบใต้ธารน้ำแข็งและภูเขาไฟในชื่อเดียวกัน ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของไอซ์แลนด์ กริมสวอทน์ตั้งอยู่ ณ ที่ราบสูงของไอซ์แลนด์ทางฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของชั้นน้ำแข็งปกคลุมวัทนาโจกุล ทะเลสาบมีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 64°25′N 17°20′W ที่ระดับความสูง 1,725 เมตร ใต้ทะเลสาบเป็นกระเปาะหินหนืดของภูเขาไฟกริมสวอทน์ กริมสวอทน์เป็นภูเขาไฟชั้นบะซอลต์ ซึ่งมีประวัติการปะทุบ่อยครั้งที่สุดในไอซ์แลนด์ และมีระบบรอยแยกที่วางตัวในทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากภูเขาไฟส่วนใหญ่อยู่ใต้วัทนาโจกุล การปะทุส่วนใหญ่จึงเกิดขึ้นใต้ธารน้ำแข็งเช่นกัน และปฏิกิริยาระหว่างแมกมากับน้ำที่ละลายจากธารน้ำแข็งทำให้เกิดกิจกรรมการปะทุแบบพรีอะตอมแมกมาติก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกริมสวอทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มตะวันตก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันตกในยุคสงครามเย็น. สีน้ำเงินคือฝ่ายตะวันตก ค่ายตะวันตก (อังกฤษ: Western Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงประเทศรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ด้วยเช่นกัน คำว่า "ค่ายตะวันตก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) ประเทศรัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันตกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูกสหรัฐอเมริกาและสัมพันธมิตรทำการช่วยเหลือปลดปล่อยให้พ้นจากการปกครองของนาซีเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกลุ่มตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนอร์ดิก

แผนที่ภูมิศาสตร์การเมืองของกลุ่มนอร์ดิก กลุ่มประเทศนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic countries) หรือรวมเรียกเป็นภูมิภาคนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic region) หมายถึงภูมิภาคในยุโรปเหนือ ประกอบด้วย เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และดินแดนปกครองตนเองในสังกัดประเทศเหล่านั้นสามแห่ง ได้แก่ กรีนแลนด์ (เดนมาร์ก) หมู่เกาะแฟโร (เดนมาร์ก) และหมู่เกาะโอลันด์ (ฟินแลนด์) ประเทศในกลุ่มนอร์ดิกมีประวัติศาสตร์ร่วมกันมายาวนาน และมีสิ่งต่างๆที่คล้ายคลึงกันในสังคม เช่น ระบบการเมืองการปกครอง กลุ่มนอร์ดิกมีประชากรรวมกันราว 24 ล้านคน คำว่านอร์ดิก มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า Pays Nordiques ซึ่งเทียบเท่ากับคำภาษาท้องถิ่นว่า Norden (ภาษากลุ่มสแกนดิเนเวีย – สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก) Pohjola/Pohjoismaat (ภาษาฟินแลนด์) และ Norðurlönd (ภาษาไอซ์แลนด์และภาษาแฟโร) โดยมีความหมายว่า (ดินแดนทาง)ทิศเหนือ ปัจจุบัน มีการใช้คำว่าสแกนดิเนเวีย ในความหมายของกลุ่มนอร์ดิกในภาษาอังกฤษ ซึ่งส่งผลมาถึงการใช้ในภาษาไทยด้วยเช่นกัน กลุ่มนอร์ดิกมีความสัมพันธ์กันในทางการเมือง ในองค์กรที่เรียกว่าคณะมนตรีนอร์ดิก ในระยะหลัง ประเทศเอสโตเนียได้วางภาพตัวเองเป็นประเทศนอร์ดิก แต่โดยทั่วไปแล้วมักถือว่าเอสโตเนียเป็นรัฐบอลติก เอสโตเนียมีความใกล้ชิดทางด้านภาษา เชื้อชาติ และวัฒนธรรมกับฟินแลนด์ และมีความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุนจำนวนมากกับกลุ่มประเทศนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกลุ่มนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริย์อาเธอร์

รูปปั้นกษัตริย์อาเธอร์ ที่โบสถ์ Hofkirche, Innsbruck, ออสเตรีย ออกแบบโดย Albrecht Dürer และสร้างโดย Peter Vischer ผู้พ่อ ในคริสต์ทศวรรษ 1520Barber, Richard (2004), ''The Holy Grail: Imagination and Belief'', London: Allen Lane, ISBN 978-0713992069. กษัตริย์อาเธอร์ (King Arthur) เป็นกษัตริย์อังกฤษผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในตำนานเล่าขานในฐานะวีรบุรุษในยุคกลาง ซึ่งได้ปกป้องเกาะบริเตนจากการรุกรานของชาวแซกซันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 รายละเอียดส่วนใหญ่เกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าขาน ตำนานพื้นบ้าน และวรรณกรรมที่แต่งขึ้น นักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ากษัตริย์อาเธอร์มีตัวตนอยู่ในประวัติศาสตร์จริงหรือไม่Higham, N. J. (2002), King Arthur, Myth-Making and History, ลอนดอน: Routledge, ISBN 978-0415213059.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกษัตริย์อาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก

กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก (Captain America: Civil War) เป็นภาพยนตร์แนวซูเปอร์ฮีโร สร้างโดยมาร์เวลสตูดิโอส์ ในบทบาทตัวละคร กัปตันอเมริกา และจำหน่ายโดยวอลท์ ดิสนีย์ พิคเจอร์ส เป็นภาพยนตร์ที่เป็นภาคต่อของภาพยนตร์ กัปตันอเมริกา: อเวนเจอร์ที่ 1 (ค.ศ. 2011) และ กัปตันอเมริกา: มัจจุราชอหังการ (ค.ศ. 2014) และเป็นภาพยนตร์ลำดับที่สิบสามในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวล ดูแลการผลิตโดยแอนโทนี รัสโซ และโจ รัสโซ บทภาพยนตร์โดยคริสโตเฟอร์ มาร์คัส และสตีเวน แมกฟีลี และมีนักแสดงนำประกอบไปด้วยคริส อีแวนส์, รอเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์, สการ์เลตต์ โจแฮนส์สัน, เซบาสเตียน สแตน, แอนโทนี แมกกี, พอล เบตทานี, เจเรมี เรนเนอร์, ดอน ชีเดิล, อลิซาเบท โอลเซน และพอล รัด การพัฒนาของ กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก เริ่มต้นในช่วงปลายปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองประเทศไอซ์แลนด์

การบุกรุกไอซ์แลนด์ หรือที่เรียกว่า ปฏิบัติการฟอร์ก เป็นปฏิบัติการทางการทหารของสหราชอาณาจักรนำโดยกองทัพเรือและราชนาวิกโยธินในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อควบคุมไอซ์แลนด์และกีดกันเยอรมัน ในช่วงเริ่มต้นของสงคราม อังกฤษได้มีความเข้มงวดในการขนส่งสินค้ากับไอซ์แลนด์และกีดกันผลประโยชน์ที่จะก่อเกิดกับเยอรมันในการลำเลียงสินค้า อังกฤษได้เสนอความช่วยเหลือแก่ไอซ์แลนด์และชักชวนเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรแต่ก็ถูกปฏิเสธ โดยการคงสถานะเป็นกลางในสงคราม แต่การปรากฏตัวของทูตเยอรมันในไอซ์แลนด์ยิ่งทำให้อังกฤษเกิดความวิตกกังวล จนกระทั่งในวันที่ 10 พฤษภาคม ปี 1940 หลังจากที่อังกฤษถูกรุกรานจากเยอรมัน หน่วยราชนาวิกโยธินที่ 746 ภายใต้การบัญชาของพันเอกโรเบิร์ต สตักร์เกส ได้ขึ้นฝั่งที่เมืองเรคยาวิก เมืองหลวงของไอซ์แลนด์ เจ้าหน้าที่ได้บุกเข้าตัดการสื่อสาร จับกุมชาวเยอรมัน ควบคุมการขนส่งและส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปยังเมือง Hvalfjörður, Kaldaðarnes, Sandskeið และ Akranes เพื่อป้องกันความเป็นไปได้ที่เยอรมันจะโจมตีสวนกลั.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการยึดครองประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

การอยู่กินด้วยกัน

คู่ชีวิต (Civil union) หรือรู้จักกันในภายใต้ชื่ออื่นๆ คือการรับรองความสัมพันธ์ทางกฎหมายที่คล้ายคลึงกับการสมรส โดยคู่ชีวิตนี้ได้จัดตั้งขึ้นในประเทศต่างๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา ซึ่งมักจะพัฒนามาจากการรับรองความสัมพันธ์แบบคู่อาศัย (Domestic partnership) ที่มีสถานะเป็นทางการน้อยกว่า ในประเทศเดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน ได้ทำการแทนที่ความสัมพันธ์แบบคู่ชีวิตด้วยการสมรสเพศเดียวกัน ในขณะที่ประเทศอื่นได้เสริมการสมรสเพศเดียวกันเข้าไปในระบบกฎหมาย ความสัมพันธ์แบบคู่ชีวิตนั้นมักถูกมองว่าเป็น "ก้าวแรก" ที่จะนำไปสู่ความเท่าเทียมกันทางการสมรสสำหรับบุคคลเพศเดียวกัน ในบางประเทศคู่ชีวิตนั้นสามารถรับรองบุคคลต่างเพศและบุคคลเพศเดียวกันได้ แต่ทว่า บางประเทศความสัมพันธ์รูปแบบนี้เปิดโอกาสให้กับคู่ชีวิตเพศเดียวกันเท่านั้น ส่วนในประเทศกรีซ ความสัมพันธ์คู่ชีวิตเปิดโอกาสให้กับคู่ชีวิตต่างเพศเท่านั้น หมวดหมู่:สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการอยู่กินด้วยกัน · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวในประเทศไอซ์แลนด์

การท่องเที่ยวในประเทศไอซ์แลนด์ ได้เติบโตขึ้นอย่างมากตามเศรษฐกิจสำคัญในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา ในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการท่องเที่ยวในประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวในประเทศไทย

วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหารในจังหวัดน่าน การท่องเที่ยว เป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจที่สำคัญในประเทศไทย มีส่วนทำให้ค่าจีดีพีของไทยอยู่ที่ประมาณ 6.7% ใน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเอดินบะระ ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Après toi ขับร้องโดย Vicky Leandros ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tu te reconnaîtras ขับร้องโดย Anne-Marie David ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮาร์โรเกต ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ein bißchen Frieden ขับร้องโดย Nicole ตัวแทนจากเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุของกริมสวอทน์ พ.ศ. 2554

กริมสวอทน์เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ขณะกำลังพ่นเถ้าภูเขาไฟ การปะทุของกริมสวอทน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการปะทุของกริมสวอทน์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

UTC ของวันที่ 19 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ http://www.metoffice.gov.uk/aviation/vaac/vaacuk_vag.html London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร) ประเทศซึ่งได้รับผลกระทบ (18 เมษายน พ.ศ. 2553): '''สีแดง''' – ปิดน่านฟ้าโดยสมบูรณ์ตามระเบียบเครื่องมือการบิน; '''สีส้ม''' – ปิดน่านฟ้าบางส่วนตามระเบียบเครื่องมือการบิน; อย่างไรก็ตาม น่านฟ้าของไอซ์แลนด์ได้รับผลกระทบน้อยมาก การจราจรทางอากาศเกือบเป็นปกติ ภายหลังจากการปะทุครั้งที่สองของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ในไอซ์แลน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กิลวี ซีกืร์ดซอน

กิลวี โซร์ ซีกืร์ดซอน (Gylfi Þór Sigurðsson) เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และกิลวี ซีกืร์ดซอน · ดูเพิ่มเติม »

ก้นทะเล

วนของก้นสมุทร ก้นสมุทร (seabed) อาจเรียกว่า พื้นท้องมหาสมุทร หรือ ก้นสมุทร คือช่วงตอนกลางของมหาสมุทรและเป็นบริเวณที่ต่อเนื่องจากลาดตีนทวีปเป็นต้นไป เป็นอาณาเขตส่วนใหญ่ของพื้นที่ใต้ทะเลจึงมีขนาดกว้างขว้างมาก มีลักษณะภูมิประเทศหลากหลาย มีพื้นที่ราบเรียบเป็นส่วนใหญ่แต่มีส่วนสูงส่วนต่ำด้วยเช่นกัน ได้แก่ หุบผาชันใต้ทะเล เทือกเขากลางสมุทร ที่ราบสูง แอ่งมหาสมุทร ภูเขา เช่น เทือกเขามิดแอตแลนติก ซึ่งทอดจากไอซ์แลนด์ลงมาเกือบถึงทวีปแอนตาร์กติกา บางตอนสูงขึ้นมาเหนือน้ำเป็นเกาะ เช่น หมู่เกาะอะโซร์ส เกาะเล็ก ๆ อื่น ๆ สันเขานี้ยาวประมาณ 720 กิโลเมตร ส่วนแอ่งลึกบนพื้นท้องมหาสมุทรขนาดใหญ่นั้นก็คือบริเวณอ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน ทะเลแดง ระดับความลึกของน้ำบริเวณนี้จะลึกประมาณ 4,000-6,000 เมตร ส่วนของมหาสมุทร (พื้นท้องมหาสมุทร).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และก้นทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์สโบราณ

ภาษานอร์สโบราณ (Norrœnt mál) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ พูดในสแกนดิเนเวียและอาณานิคมโพ้นทะเลของชาวสแกนดิเนเวียในยุคไวกิงจนถึงประมาณค.ศ. 1300 ภาษานอร์สโบราณพัฒนามาจากภาษานอร์สดั้งเดิมในคริสต์ศตวรรษที่ 8 และพัฒนาไปเป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือหลายภาษาหลังยุคไวกิง ภาษาในปัจจุบันที่มาจากภาษานอร์สโบราณได้แก่ภาษาไอซ์แลนด์ แฟโร นอร์เวย์ เดนมาร์ก และสวีเดน นอร์สโบราณ นอร์สโบราณ นอร์สโบราณ หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภาษานอร์สโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแฟโร

ษาแฟโร (føroyskt) เป็นภาษากลุ่มสแกนดิเนเวียตะวันตก มีความคล้ายคลึงกับภาษาไอซ์แลนด์ มีผู้พูดภาษาแฟโรเป็นภาษาแม่ทั่วโลกประมาณ 80,000 คน แบ่งเป็นผู้พูดในหมู่เกาะแฟโรประมาณ 48,000 คน ผู้พูดในเดนมาร์กประมาณ 25,000 คน นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาแฟโรกลุ่มเล็ก ๆ (ประมาณ 5,000 คน) ในไอซ์แลนด์ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภาษาแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไอซ์แลนด์

ษาไอซ์แลนด์ (íslenska อีสฺแลนฺสฺกา) เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือ ภาษาราชการของประเทศไอซ์แลนด์ มีผู้พูดประมาณ 300 000 คน ภาษาไอซ์แลนด์เป็นภาษาเจอร์แมนิกเหนือที่ใกล้เคียงกับภาษานอร์สโบราณมากที่สุด ภาษาไอซ์แลนด์ยังคงรูปแบบทางไวยากรณ์หลายอย่างของภาษาเจอร์แมนิกแบบโบราณ โดยยังคงการผันคำที่ซับซ้อน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภาษาไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเดนมาร์ก

ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภาษาเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภูมิศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟลาไค

ูเขาไฟลาไค (Lakagígar) เป็นภูเขาไฟที่ปะทุตามรอยแยกที่ตั้งอยู่ระหว่างธารน้ำแข็งวาตนาเยอคูตล์และมีร์เดาเจียคุสต์ในพื้นที่รอยแยกที่แยกจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือไม่ไกลจากหุบผาชันเอนเกียวและหมู่บ้านเล็ก ๆ แห่งหนึงในเคิร์กยูแบยาร์กลุสทุสร์ในภาคใต้ของไอซ์แลนด์ ช่องของภูเขาไฟกว้างเพียงไม่กี่เมตรแต่อาจยาวได้หลายกิโลเมตร ลาไคเป็นชื่อของภูเขาธรรมดาที่ไม่ปะทุบนภูเขาแต่จะปะทุตามรอยแยกด้านข้างของมัน ภูเขาไฟลาไคเป็นส่วนหนึ่งของระบบภูเขาไฟกริมสวอทน์และธอห์ดอร์ฮีร์นะ ภูเขาไฟลาไคและกริมสวอทน์ได้ปะทุอย่างรุนแรงเป็นระยะเวลา 8 เดือนตั้งแต่มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และภูเขาไฟลาไค · ดูเพิ่มเติม »

มหาศึกชิงบัลลังก์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)

มหาศึกชิงบัลลังก์ (Game of Thrones) เป็นภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์แนวแฟนตาซีย้อนยุคของสถานีโทรทัศน์เอชบีโอ สร้างสรรค์โดยเดวิด เบนิออฟฟ์ และดี. บี. ไวส์ ดัดแปลงจากชุดหนังสือนิยายขายดีของจอร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน ชุด มหาศึกชิงบัลลังก์ เรื่อง เกมล่าบัลลังก์ มีการถ่ายทำทั้งในเบลฟาสต์และที่อื่น ๆ ในสหราชอาณาจักร แคนาดา โครเอเชีย ไอซ์แลนด์ มอลตา โมร็อกโก สเปนและสหรัฐอเมริกา ฉายครั้งแรกทางช่อง HBO ในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2554 และมีกำหนดฉายฤดูกาลที่แปดซึ่งเป็นฤดูกาลสุดท้ายในปี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และมหาศึกชิงบัลลังก์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรอาร์กติก

มหาสมุทรอาร์กติก (Arctic Ocean) ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ และส่วนใหญ่อยู่ในเขตขั้วโลกเหนืออาร์กติก เป็นมหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดและตื้นเขินที่สุดในห้ามหาสมุทรตามการแบ่งมหาสมุทรหลักของโลก องค์กรอุทกศาสตร์โลก (IHO) ยอมรับว่ามหาสมุทรอาร์กติกเป็นมหาสมุทร แม้นักอุทกศาสตร์บางคนจะเรียกบริเวณนี้ว่า ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอาร์กติก หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ทะเลอาร์กติก โดยจัดว่าบริเวณนี้เป็นหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของมหาสมุทรแอตแลนติก หรืออาจมองว่า เป็นส่วนเหนือสุดของมหาสมุทรโลกที่ล้อมรอบทั้งหมด มหาสมุทรอาร์กติกมีรูปร่างคล้ายวงกลม ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ เกือบเท่ากับขนาดของทวีปแอนตาร์กติกา แนวชายฝั่งยาว ล้อมรอบด้วยทวีปยุโรป, ทวีปเอเชีย, ทวีปอเมริกาเหนือ และกรีนแลนด์ รวมทั้งเกาะต่างๆ และทะเลแบเร็นตส์, ทะเลโบฟอร์ต, ทะเลชุกชี, ทะเลคารา, ทะเลลัปเตฟ, ทะเลไซบีเรียตะวันออก, ทะเลลิงคอล์น, ทะเลแวนเดล, ทะเลกรีนแลนด์ และทะเลนอร์เวย์ เชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกที่ช่องแคบเบริง และเชื่อมกับมหาสมุทรแอตแลนติกที่ทะเลกรีนแลนด์ มหาสมุทรอาร์กติกบางส่วนปกคลุมด้วยทะเลน้ำแข็งตลอดทั้งปีและเกือบทั้งมหาสมุทรในฤดูหนาว อุณหภูมิและความเค็มของมหาสมุทรอาร์กติกแตกต่างกันไปตามฤดูกาล เมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวและแข็งตัว ความเค็มของมหาสมุทรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในมหาสมุทรหลักทั้งห้า เนื่องจากการระเหยที่ต่ำ กระแสไหลเข้าอย่างหนักของน้ำจืดจากแม่น้ำและลำธาร การเชื่อมโยงที่จำกัดและการไหลออกไปยังมหาสมุทรโดยรอบที่มีความเค็มสูงกว่า การหดตัวของน้ำแข็งในฤดูร้อนมีบันทึกว่าลดลงถึง 50% ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติสหรัฐ (NSIDC) ใช้ข้อมูลดาวเทียมเพื่อหาบันทึกประจำวันของน้ำแข็งที่ปกคลุมมหาสมุทรอาร์กติก และอัตราการหลอมเหลวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเฉลี่ยและปีที่ผ่านมา สันลอมอนอซอฟ (Lomonosov ridge) ซึ่งเป็นสันมหาสมุทรที่อยู่ใต้ทะเล แบ่งมหาสมุทรอาร์กติกออกเป็น 2 ส่วน คือ แอ่งยูเรเชีย (เรียกบริเวณนี้ว่าแนนสัน - Nansen) มีความลึก 4,000-4,500 เมตร และแอ่งอเมริกาเหนือ (เรียกบริเวณนี้ว่าไฮเพอร์โบเรียน - Hyperborean) มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรอาร์กติก คือ 1,038 เมตร (3,407 ฟุต).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และมหาสมุทรอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปภาคพื้นทวีป

รปภาคพื้นทวีป ยุโรปภาคพื้นทวีป (Continental Europe) หรือยุโรปแผ่นดินใหญ่ (Mainland Europe) หรือทวีป (the Continent) คือแผ่นดินทวีปยุโรปที่ยกเว้นเกาะต่างๆ และบางครั้งก็ยกเว้นคาบสมุทร ในการใช้ในอังกฤษคำนี้นี้หมายถึงทวีปยุโรปที่ยกเว้นสหราชอาณาจักร, เกาะแมน, ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์ ความหมายโดยทั่วไปของ “ยุโรปภาคพื้นทวีป” หมายถึง “ยุโรปแผ่นดินใหญ่ที่ไม่รวมสหราชอาณาจักร ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์” ประเทศเกาะอื่นที่ไม่รวมคือไซปรัสและมอลตา แต่ในบริเวณอื่นของยุโรปความหมายของคำนี้อาจจะแตกต่างออกไป เช่นในบางคำจำกัดความก็ขยายไปถึงประเทศภายในเทือกเขายูราลและเทือกเขาคอเคซัสWA.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และยุโรปภาคพื้นทวีป · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปเหนือ

ยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปเหนือ ประกอบไปด้วย ดินแดนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์ อยู่ประมาณละติจูดที่ 55 องศาเหนือ - 71 องศาเหนือ ประกอบไปด้วยประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ซึ่งได้แก่ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไอซ์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์ดิก ในปีพ.ศ. 2541 มีประชากรทั้งหมด 35,086,982 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,502,7863 ตารางกิโลเมตร สำหรับภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาติวโตนิก ได้แก่ภาษาของพวกสแกนดิเนเวีย (ยุโรปเหนืออาจหมายถึงหมู่เกาะอังกฤษ และบางประเทศที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้)เ่รรร หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17 โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และระบบรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสภาเดี่ยว

ระบบสภาเดี่ยว (unicameralism) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติหรือรัฐสภาแห่งเดียว ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียวส่วนใหญ่เป็นประเทศเล็กและเป็นรัฐที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน จึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีสภาสูง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และระบบสภาเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่

ต้นฉบับรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ที่ลงนามโดยคณะผู้แทนฝ่ายต่าง ๆ รัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ หรือ รัฐบัญญัติ 11 มีนาคม (Aktas dėl Lietuvos nepriklausomos valstybės atstatymo; Act of the Re-Establishment of the State of Lithuania; Act of March 11) เป็นรัฐบัญญัติของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย ร่างขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรัฐบัญญัติจัดตั้งรัฐลิทัวเนียขึ้นใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก

ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก (Slesvig-Holsten-Sønderborg-Lyksborg, House of Schleswig-Holstein-Sonderburg-Glücksburg) เป็นราชตระกูลจากกลึคสบวร์กทางเหนือสุดของเยอรมนี ที่เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์โอลเดินบูร์กที่สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก สมาชิกของตระกูลนี้มาจากดยุคแห่งชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-เบ็ค ผู้สืบเชื้อสายคนสุดท้ายเป็นดยุคแห่งกลึคสบวร์กและเปลี่ยนบรรดาศักดิ์ตามฟรีดิช วิลเฮล์ม ดยุคแห่งชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก ฟรีดิช วิลเฮล์มสมรสกับเจ้าหญิงหลุยส์ คาโรไลน์ แห่งเฮสส์-คาสเซิลพระราชธิดาของพระเจ้าคริสเตียนที่ 5 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อการครอบครองของประเทศนอร์เวย์

ื้นที่โพ้นทะเลทั้งหมดของนอร์เวย์ ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีเทศบาลปกครองตนเอง ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อการครอบครองของประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศไอซ์แลนด์

นื้อหาต่อไปนี้แสดงภาพธงชนิดต่างๆ ที่ใช้ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อธงในประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย

ระบบกฎหมายทั่วโลก รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย ปัจจุบันระบบกฎหมายทั่วโลกอยู่บนพื้นฐานของระบบกฎหมายสำคัญหนึ่งในสามระบบได้แก่ ระบบซีวิลลอว์ ระบบคอมมอนลอว์ และกฎศาสนา หรือผสมกันมากกว่าสองระบบขึ้นไป อย่างไรก็ดีแต่ละประเทศอาจมีระบบกฎหมายที่มีลักษณะจำเพาะไปที่แตกต่างกันไปตามประวัติศาสตร์ของตน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม

้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม ข้อมูลจากปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไอซ์แลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไอซ์แลนด์ทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง

รายนามสตรีซึ่งได้รับการการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในแต่ละประเทศ โดยรายนามนี้ไม่รวมรายนามประมุขแห่งรัฐที่เป็นสตรีและไม่นับรวมหัวหน้าของระบบประธานาธิบดีที่อำนาจอยู่กับฝ่ายบริหาร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ริสก์

ริสก์ (Risk) เกมกระดานลักษณะการวางแผนในการรบ คิดค้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดย Albert Lamorisse ชาวฝรั่งเศส จัดจำหน่ายโดยบริษัทพาร์เกอร์บราเธอรส์บริษัทลูกของบริษัทแฮสโบร ลักษณะเกมของริสก์เป็นการวางแผนในการวางทหารในเขตประเทศต่างๆ และทำการบุกยึดดินแดนข้างเคียง โดยผู้เล่นแต่ละคนจะได้ภารกิจมา เมื่อทำภารกิจสำเร็จ จะเป็นผู้ชนะของเกม ภารกิจจะมีหลายรูปแบบ เช่น ยึดครอง 2 ทวีป หรือปราบผู้เล่นสีใดสีหนึ่ง ลักษณะการเล่นเกมจะใช้ลูกเต๋าสู้กันในการโจมตีและการป้องกันดินแดน เกมได้มีการทำออกมาหลายรุ่นนอกจากแผนที่โลก ยังได้มีการทำแผนที่และตัวละครอื่นเช่น ริสก์รุ่นเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ นาร์เนียและรุ่นสตาร์วอร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และริสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูหนาวจากภูเขาไฟ

ูหนาวจากภูเขาไฟ คือการที่โลกมีอุณหภูมิลดลงจากการระเบิดของภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่ทำให้เกิดเถ้าภูเขาไฟ, กรดซัลฟิวริกและน้ำจำนวนมากในชั้นบรรยากาศจนทำให้บดบังแสงจากดวงอาทิตย์และมีการเพิ่มอัลบีโด (ค่าการสะท้องแสง) ของโลกมากขึ้น ความหนาวเย็นของปรากฏการณ์นี้จะกินเวลานานเท่าไหร่ก็ขึ้นอยู่กับจำนวนก๊าซกำมะถันที่เปลี่ยนรูปเป็นอนุภาคชื่อว่าละอองลอยของกรดซัลฟิวริกซึ่งจะรวมตัวกันที่ชั้นสตราโทสเฟียร์Robock, Alan (2000).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฤดูหนาวจากภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลาดตีนทวีป

วนของท้องทะเล ลาดตีนทวีป (continental rise) เป็นบริเวณที่ต่อเนื่องจากลาดทวีปไปจนถึงพื้นท้องสมุทร (seabed) มีลักษณะเป็นที่ราบเรียบและอาจมีความชันเล็กน้อย และอาจมีบางส่วนลึกหรือเป็นที่สูงต่ำ เกิดจากการตกทับถมของตะกอนต่าง ๆ ที่พัดพามากับกระแสน้ำ บ้างปรากฏเป็นเขาก้นสมุทร (abyssal hill) ไม่สูงมาก พบได้ทั่วไป บางส่วนของลาดตีนทวีปนั้นก็มีความราบเรียบเท่ากันกับพื้นท้องมหาสมุทรที่เป็นพื้นที่ของมหาสมุทรนั้นมีลักษณะภูมิประเทศหลากหลายอันได้แก่ สันเขา ที่ราบสูง แอ่ง ภูเขา เช่น เทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทอดยาวจากไอซ์แลนด์ลงมาเกือบถึงทวีปแอนตาร์กติก มีบางตอนสูงขึ้นมาเหนือน้ำทะเลกลายเป็นเกาะ เช่น หมู่เกาะอะโซร์สหรือหมู่เกาะฮาวาย ลักษณะภูมิประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ภูเขาใต้ทะเล พบที่พื้นท้องมหาสมุทร บางลูกมียอดตัด เรียกว่า เขายอดราบใต้สมุทร (guyout) พบมากบริเวณตอนกลางและด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่างหมู่เกาะมาเรียนากับหมู่เกาะฮาวาย สำหรับยอดเขายอดราบใต้สมุทรนั้นมักอยู่ที่ระดับน้ำลึก 1,200–1,800 เมตร ส่วนของมหาสมุทร(ลาดทวีป).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และลาดตีนทวีป · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

ลิเวอร์พูล

มืองลิเวอร์พูล (Liverpool) เป็นเมืองที่มีฐานะเป็นนครและเป็นเมืองเมโทรโพลิตันของเมอร์ซีย์ไซด์ในภาคการปกครองตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษ ลิเวอร์พูลตั้งอยู่ทางตะวันออกของปากน้ำเมอร์ซีย์ (Mersey Estuary) ลิเวอร์พูลก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

ลูนา

ลูนา (LOONA; มักเขียนว่า LOOΠΔ) หรือ อีดัลเอ โซนยอ (이달의 소녀; "หญิงสาวประจำเดือน") เป็นกลุ่มไอดอลหญิงชาวเกาหลีใต้ ซึ่งวางแผนจะเปิดตัวในอนาคต สังกัดบล็อกเบร์รีครีเอทีฟ (Blockberry Creative) บริษัทย่อยของโพลาริสเอนเตอร์เทนเมนต์ (Polaris Entertainment) ตามโครงการที่ให้สมาชิกเปิดตัวและออกซิงเกิลเดี่ยวเดือนละคน นับแต่เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และลูนา · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือกโซนยุโรป จะมีสมาชิก 7 ประเทศเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายในประเทศอิตาลีและประเทศบัลแกเรี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วัลดีมาร์ แบร์กสตา

วัลดีมาร์ แบร์กสตา (Valdimar Bergstað; 19 ธันวาคม ค.ศ. 1989 —) เป็นนักขี่ม้าชาวไอซ์แลนด์ เขาได้เริ่มขี่ม้าตั้งแต่อายุสามขวบ และเริ่มเข้าแข่งขันเมื่ออายุได้แปดขวบใน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวัลดีมาร์ แบร์กสตา · ดูเพิ่มเติม »

วัลตารี

วัลตารี (Valtari) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 6 ของวงโพสต์-ร็อกจากไอซ์แลนด์ ซีกือร์โรส ออกวางขายวันที่ 23 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวัลตารี · ดูเพิ่มเติม »

วัดไทยไอซ์แลนด์

วัดไทยไอซ์แลนด์ เป็นวัดของคณะสงฆ์เถรวาทไทย สังกัดมหานิกาย ที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรับชุมชนชาวพุทธในประเทศไอซ์แลนด์ ทั้งชุมชนชาวไทย ศรีลังกา จีน กัมพูชา ลาว หรือชาวต่างชาติอื่น ๆ ที่นับถือพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวัดไทยไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วันแรงงาน

หรดวันแรงงานในโทรอนโตในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1900 วันแรงงาน (Labour Day) เป็นวันหยุดประจำปีที่เฉลิมฉลองไปทั่วโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน เพื่อที่จะฉลองผลงานทางการเศรษฐกิจและสังคมของผู้ใช้แรงงาน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวันแรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

วาตนาเยอคูตล์

ก้อนน้ำแข็ง บริเวณวาตนาเยอคูตล์ วาตนาเยอคูตล์ (Vatnajökull) เป็นทุ่งหิมะ ในประเทศไอซ์แลนด์ เป็นธารน้ำแข็งที่ใหญ่ที่สุดในไอซ์แลนด์และยุโรป ตั้งอยู่ทางทิศใต้-ตะวันออกของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ 8,100 กม² หรือคิดเป็นร้อยละ 8 ของประเทศ ธารน้ำแข็งมีความหนาเฉลี่ย 400 ม. (1,300 ฟุต) มีความหนาสุด 1,000 ม. (3,300 ฟุต) หมวดหมู่:ประเทศไอซ์แลนด์.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวาตนาเยอคูตล์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป

last.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม มอร์ริส

วิลเลียม มอร์ริส (William Morris) (24 มีนาคม ค.ศ. 1834 - 3 ตุลาคม ค.ศ. 1896) เป็นศิลปิน นักเขียน และนักสังคมนิยมชาวอังกฤษ เป็นหนึ่งในผู้วางรากฐานของ British Arts and Crafts movement และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในสหราชอาณาจักร รวมถึงเป็นกวีและนักประพันธ์นวนิยายด้วย เขาเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ออกแบบลวดลายบนผนัง มอร์ริสเคยเป็นนักศึกษาที่วิทยาลัย Exeter มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เมื่อจบการศึกษาได้ทำงานเป็นสถาปนิก ต่อมาจึงพบว่าตัวเองชอบศิลปะการวาดมากกว่า มอร์ริสได้ตั้งบริษัทร่วมกับเพื่อน และสร้างงานศิลปะเช่น ภาพวาดบนกระจกสี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวิลเลียม มอร์ริส · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการระบาด

วิทยาการระบาด เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชากร และเป็นพื้นฐานและตรรกะที่ทำให้เกิดแนวคิดความสนใจในสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน สาขาวิชานี้วิธีที่สำคัญพื้นฐานของงานวิจัยด้านสาธารณสุข และเกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์อิงหลักฐาน (evidence-based medicine) ในการหาปัจจัยเสี่ยงของโรคและประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด งานของนักวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีขอบเขตตั้งแต่การสืบค้นการระบาดของโรค (outbreak investigation) ไปจนถึงการออกแบบการศึกษา การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ รวมทั้งการพัฒนาแบบจำลองทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและการเตรียมผลการวิจัยเพื่อเสนอผลการวิจัย นักวิทยาการระบาดอาจอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หลายอย่างเช่นชีววิทยาในการทำความเข้าใจการดำเนินโรค และระเบียบวิธีทางสังคมศาสตร๋ เช่นสังคมศาสตร์และปรัชญาเพื่อช่วยในการทำความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงใกล้เคียงและไกล.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวิทยาการระบาด · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์โลก

อซ์แลนด์ กำลังพวยพุ่ง วิทยาศาสตร์โลก, โลกวิทยา, โลกศาสตร์, พิภพวิทยา, วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ (Earth Sciences) เป็นศัพท์ที่ใช้เรียกครอบคลุมแขนงต่าง ๆ ของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาวเคราะห์โลก วิทยาศาสตร์โลกอาจถือได้ว่าเป็นกรณีพิเศษของวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ เนื่องจากโลกเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวเท่าที่เรารู้จักที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ แนวทางในการศึกษาวิทยาศาสตร์โลกนั้น มีทั้งคตินิยมแบบลดทอนและแบบองค์รวม สาขาวิชาสำคัญ ๆ ของวิทยาศาสตร์โลกเท่าที่ผ่านมานั้น จะใช้วิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี และชีววิทยา เพื่อสร้างความเข้าใจเชิงปริมาณในพื้นที่หรือภาค (sphere) หลัก ๆ ของระบบโลก ซึ่งได้แก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และวิทยาศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

สกุลปลาชาร์

กุลปลาชาร์ (Salvelinus) เป็นสกุลปลาในวงศ์ปลาแซลมอน บางสปีชีส์ถูกเรียกว่า "ปลาเทราต์" กระจายพันธุ์อยู่ใกล้กับขั้วโลกเหนือ สายพันธุ์ปลาในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นปลาน้ำเย็นและอาศัยอยู่ในน้ำจืด แต่ก็มีบางสปีชีส์ที่อาศัยอยู่ในทะเล ปลาชาร์ส่วนมากจะมีสีครีมอ่อน, ชมพู หรือมีจุดแดงแต้มตามลำตัวสีมืด มีขนาดตัวเล็กเมื่อวัดจากเส้นข้างลำตัว มีครีบอก, ครีบเชิงกราน, ครีบหาง และครีบส่วนหลังเป็นสีขาวหิมะหรือสีครีบบริเวณปล.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสกุลปลาชาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมการค้าเสรียุโรป

อดีตรัฐสมาชิก ปัจจุบันเป็นรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป สมาคมการค้าเสรียุโรปหรือเอฟตา เป็นกลุ่มการค้าของทวีปยุโรป ตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2503 เป็นอีกกลุ่มนอกจากประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในตอนนั้น มีสมาชิกก่อตั้งคือออสเตรีย เดนมาร์ก นอร์เวย์ โปรตุเกส สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร ปัจจุบันเอฟตามีสมาชิกคือไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ ฟินแลนด์เริ่มเป็นสมาชิกสมทบในปีพ.ศ. 2504 และกลายมาเป็นสมาชิกเต็มในปีพ.ศ. 2529 และไอซ์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกในปีพ.ศ. 2513 สหราชอาณาจักรและเดนมาร์กเข้าร่วมประชาคมยุโรปในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสมาคมการค้าเสรียุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์กีฬาเมืองเรยคยาวิค

หพันธ์กีฬาเมืองเรยคยาวิค (Íþróttabandalag Reykjavíkur; อักษรย่อ: ÍBR) เป็นสหพันธ์สโมสรกีฬาในเรคยาวิก ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้น ณ วันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1944 โดยมีเจ้าหน้าที่สมาชิก ÍBR 66 คน ซึ่งมีพันธมิตรมอบเงินอุดหนุน รวมถึงรางวัลให้แก่สมาชิกที่มีการประสานงานกับเมืองเรคยาวิก ซึ่งองค์กรนี้เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของสหพันธ์กีฬาและโอลิมเปียแห่งประเทศไอซ์แลนด์ สหพันธ์กีฬาเมืองเรยคยาวิค จัดเป็นสหพันธ์กีฬาที่รวบรวมสมาคมกีฬาต่าง ๆ ทั่วประเทศรวมทั้งสิ้น 70 สถาบัน และมีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมฝึกซ้อมกว่า 30,000 คน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสหพันธ์กีฬาเมืองเรยคยาวิค · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพคาลมาร์

สหภาพคาลมาร์ (Kalmarunionen) คือรัฐร่วมประมุขที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1397 จนถึง ค.ศ. 1523 เกิดจากการรวมประเทศเดนมาร์ก ประเทศนอร์เวย์ (รวมถึงไอซ์แลนด์ กรีนแลนด์ หมู่เกาะฟาโร เชตแลนด์ และออร์กนีย์) และสวีเดน (รวมบางส่วนของฟินแลนด์) เข้าอยู่ภายใต้พระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศสวีเดน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศนอร์เวย์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศเดนมาร์ก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสหภาพคาลมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาหร่ายมะริโมะ

หร่ายมะริโมะ (Marimo; 毬藻 ความหมาย พืชน้ำที่มีลักษณะเป็นก้อนกลม; หรือ Cladophora aegagropila var. linnaei) พืชน้ำชนิดหนึ่ง จำพวกสาหร่าย นับเป็นสาหร่ายประเภทเดียวกับสาหร่ายสีเขียว หรือสาหร่ายน้ำจืดประเภทที่พบได้ทั่วไปในแหล่งน้ำของประเทศไทย เช่น สาหร่ายไก ที่เป็นเส้นยาว และนิยมนำมารับประทานเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสาหร่ายมะริโมะ · ดูเพิ่มเติม »

สุรา

ราที่วางขายในร้าน สุรา (liquor หรือ spirit) หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการกลั่นสารบางประเภท อาทิ เอทิลแอลกอฮอล์ และเมรัย คือ น้ำเมาที่เกิดจากการหมักหรือแช่ให้เกิดสารบางประเภท เมื่อดื่มแล้วสารนั้นจะออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง หากดื่มไม่มากอาจรู้สึกผ่อนคลายเนื่องจากสารกดจิตใต้สำนึกที่คอยควบคุมตนเองทำให้กล้าแสดงออกมากขึ้น แต่เมื่อดื่มมากขึ้นก็จะกดสมองบริเวณอื่น ๆ ทำให้เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด จนแม้กระทั่งหมดสติในที่สุด ทั้งสุราและเมรัยเรียกโดยภาษาปากว่า "เหล้า" ประเทศต่าง ๆ ได้วางกฎเกณฑ์สำหรับการผลิต การขาย และการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ตัวอย่างเช่น กฎหมายที่กำหนดอายุขั้นต่ำสำหรับผู้ที่สามารถบริโภคได้อย่างถูกกฎหมาย ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น อายุไม่ต่ำกว่า 16 ปีสำหรับประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส ออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์, ไม่ต่ำกว่า 18 ปีในประเทศไทย หรือไม่ต่ำกว่า 21 ปีในสหรัฐอเมริกา การบริโภคทั้งสุราและเมรัยเป็นข้อห้ามในข้อสุราเมรยมัชปมาทัฏฐานหรือข้อที่ 5 แห่งเบญจศีลของพุทธศาสนา ซึ่งว่า "สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ" แปลได้ว่า "เราจักถือศีลโดยเว้นจากการบริโภคสุรายาเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท".

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสุรา · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 12 สิงหาคม พ.ศ. 2569

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสุริยุปราคา 12 สิงหาคม พ.ศ. 2569 · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

กิดสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 สุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์ผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ฉะนั้นจึงขวางภาพดวงอาทิตย์ทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ผู้สังเกตบนโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดเมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงสกัดแสงอาทิตย์โดยตรงทั้งหมด แล้วทำให้ความมืดปกคลุม คราสเต็มดวง (totality) เกิดในวิถีแคบผ่านพื้นผิวโลกโดยสามารถเห็นสุริยุปราคาบางส่วนได้เหนือภูมิภาคโดยรอบกว้างหลายพันกิโลเมตร มีโชติมาตร (magnitude) 1.045 ช่วงเวลาคราสเต็มดวงนานที่สุด คือ 2 นาที 47 วินาที นอกหมู่เกาะแฟโร เป็นสุริยุปราคาเต็มดวงสุดท้ายที่เห็นได้ในทวีปยุโรปจนอุปราคา 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์ วอร์ส: อุบัติการณ์แห่งพลัง

ตาร์ วอร์ส: อุบัติการณ์แห่งพลัง (Star Wars: The Force Awakens) หรือ สตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 7: อุบัติการณ์แห่งพลัง (Star Wars Episode VII: The Force Awakens) เป็นภาพยนตร์อเมริกาแนวมหากาพย์เทพนิยายอวกาศ นำแสดงโดย จอห์น โบเยกา, เดซี ริดลีย์, อดัม ไดรเวอร์, ออสการ์ ไอแซ็ค, แอนดี เซอร์คีส, ดอมห์แนล กลีสัน, และ แม็กซ์ วอน ซีโดว์ โดยมี แฮริสัน ฟอร์ด, แคร์รี ฟิชเชอร์, มาร์ก แฮมิลล์, แอนโทนี แดเนียลส์, ปีเตอร์ เมย์ฮิว และ เคนนี เบเกอร์ กลับมารับบทเดิมจากภาพยนตร์ภาคก่อน ๆ โดยจะดำเนินเรื่องในช่วงเวลาประมาณ 30 ปี หลังจากเหตุการณ์ใน การกลับมาของเจได หลังจากเดอะวอลต์ดิสนีย์คอมพานีซื้อลูคัสฟิล์มไปใน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสตาร์ วอร์ส: อุบัติการณ์แห่งพลัง · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวีย

แกนดิเนเวีย (Scandinavia; Skandinavia; Skandinavien) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ มีศูนย์กลางอยู่ที่คาบสมุทรสแกนดิเนเวียในยุโรปเหนือ มาจากชื่อเดิมว่า มณฑลสกาเนียน (Scanian Province) ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ราชอาณาจักรสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก อาจรวมถึงประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนอร์ดิก เช่น ประเทศไอซ์แลนด์ และประเทศฟินแลนด์ จากความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภาษาและวัฒนธรรม นิยามของสแกนดิเนเวียอาจขยายไปถึงดินแดนที่เคยมีการพูดภาษานอร์เวย์โบราณและดินแดนที่มีการพูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ ดังนั้น ในทางภาษาและวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียจึงรวมถึงประเทศไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร นอกจากนี้ ในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียอาจรวมถึงฟินแลนด์ จากการที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าฟินแลนด์จะมีความเกี่ยวข้องทางวัฒนธรรมกับชาติสแกนดิเนเวียอื่นๆ แต่ชาวฟินแลนด์มีเชื่อชาติและภาษาแบบฟินโน-ยูกริก ซึ่งมีลักษณะของทั้งยุโรปตะวันตกและตะวันออก ถึงแม้ว่าความหมายของสแกนดิเนเวียอาจขึ้นอยู่กับบริบท กลุ่มนอร์ดิก นั้นหมายถึงนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ รวมถึงหมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันทั้งในด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสแกนดิเนเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สแตติน

pmid.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2017–18

ูกาล 2017–18 เป็นฤดูกาลที่ 116 ของ สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี แต่เป็นฤดูกาลที่ 89 ในฟุตบอลอังกฤษและเป็นฤดูกาลที่ 21 ใน พรีเมียร์ลีก นับตั้งแต่ลีกได้กำเนิดก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกโดยแมนเชสเตอร์ซิตีเป็นหนึ่งใน 22 สมาชิกระบบลีกแบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีในฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดในฤดูกาล 2017–18

ูกาล 2017–18 เป็นฤดูกาลที่ 22 ของสโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดในพรีเมียร์ลีก และเป็นฤดูกาลที่ 6 ที่ได้ลงเล่นในพรีเมียร์ลีกติดต่อกัน นับตั้งแต่ขึ้นชั้นในฤดูกาล 2011–12 รวมทั้งได้ร่วมแข่งขันในพรีเมียร์ลีก, เวสต์แฮม ยูไนเต็ดจะมีส่วนร่วมใน เอฟเอคัพ และ ลีกคัพ, เข้าสู่รอบสามในเอฟเอคัพและรอบสองในอีเอฟแอลคั.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสโมสรฟุตบอลเวสต์แฮมยูไนเต็ดในฤดูกาล 2017–18 · ดูเพิ่มเติม »

สเคทาเฟียลักเรคยาวิเกอร์

ทาเฟียลักเรคยาวิเกอร์ (Skautafélag Reykjavíkur) เป็นทีมฮอกกี้น้ำแข็งในเรคยาวิก ประเทศไอซ์แลนด์ โดยเข้าร่วมแข่งขันในรายการไอซ์แลนดิคฮอกกี้ลีก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และสเคทาเฟียลักเรคยาวิเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกอาร์กติก

หมาจิ้งจอกอาร์กติก, หมาจิ้งจอกขั้วโลก หรือ หมาจิ้งจอกหิมะ (Arctic fox, Snowy fox, Polar fox; หรือ Alopex lagopus) เป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก อาศัยอยู่ทั่วไปในเขตชายผั่งมหาสมุทรอาร์กติก ตลอดจนเขตทุนดราที่เต็มไปด้วยหิมะและน้ำแข็ง จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอีกชนิดหนึ่ง ที่มีขนสีขาวเพื่อให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ช่วยให้ล่าเหยื่อได้ง่าย และสามารถพรางตัวจากศัตรูได้ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และหมาจิ้งจอกอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแฟโร

หมู่เกาะแฟโร (Føroyar เฟอรยาร แปลว่า "เกาะแห่งแกะ") เป็นหมู่เกาะในทวีปยุโรป ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างสกอตแลนด์ นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์ หมู่เกาะแฟโรเป็นเขตการปกครองตนเองของเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 โดยมีสถานภาพเหมือนกับกรีนแลนด์ มีอำนาจในการปกครองตนเองทุกด้าน ยกเว้นด้านการต่างประเทศและการทหาร (ไม่มีกองทัพ มีเพียงตำรวจและหน่วยลาดตระเวนชายฝั่งเท่านั้น) แต่อย่างไรก็ตาม หมู่เกาะแฟโรก็มีตัวแทนเป็นของตนเองในคณะมนตรีนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

หินบะซอลต์

หินบะซอลต์ บะซอลต์ (basalt) เป็นหินอัคนีพุที่พบได้โดยทั่วไป มักพบมีสีเทาถึงสีดำ มีเนื้อละเอียดเนื่องจากเกิดจากการเย็นตัวของลาวาอย่างรวดเร็วบนพื้นผิวโลก อาจพบมีเนื้อสองขนาดที่มีผลึกขนาดโตกว่าอยู่ในพื้นเนื้อละเอียด หรือมีเนื้อเป็นโพรงข่าย หรือมีเนื้อเป็นตะกรันภูเขาไฟ (สคอเรีย) เนื้อหินบะซอลต์สดๆจะมีสีดำหรือสีเทา ปรกติหินบะซอลต์จะถูกนำไปใช้เป็นวัสดุก่อสร้างถนน เทพื้นรองหมอนและรางรถไฟ และทำเป็นแผ่นปูพื้นหรือผนัง และยังใช้เป็นส่วนผสมที่สำคัญในการผลิตแอสฟัลต์ ในโลกของเรานี้หินหนืด (แมกมา) เป็นวัตถุต้นกำเนิดของหินบะซอลต์ เกิดจากการพองตัวของวัตถุหลอมในชั้นเนื้อโลก หินบะซอลต์ก็เกิดได้บนดวงจันทร์ของโลกเรา รวมถึงบนดาวอังคาร ดาวศุกร์ และแม้แต่ดาวเคราะห์น้อย 4 เวสต้า หินต้นกำเนิดเพื่อการกึ่งหลอมละลายอาจจะเป็นทั้งเพริโดไทต์และไพรอกซีไนต์ (เช่น Sobolev et al., 2007) เปลือกโลกส่วนของมหาสมุทรโดยส่วนใหญ่แล้วจะประกอบไปด้วยหินบะซอลต์ที่เกิดจากการปะทุขึ้นมาจากชั้นเนื้อโลกที่อยู่ด้านล่างตรงบริเวณเทือกเขากลางสมุทร คำว่าบะซอลต์บางครั้งก็ถูกใช้เรียกหินอัคนีแทรกซอนในระดับตื้นๆที่มีองค์ประกอบเป็นแบบหินบะซอลต์ แต่หินที่มีองค์ประกอบดังกล่าวที่มีเนื้อหยาบโดยทั่วไปจะเรียกว่าโดเลอไรต์ (อาจเรียกเป็นไดอะเบสหรือแกบโบร) หินบะซอลต์ที่มีแนวแตกเสาเหลี่ยมที่ชีฟอีสเตอร์ในเยลโลสโตน หินบะซอลต์มีเนื้อเป็นโพรงข่ายที่ซันเซ็ตเครเตอร์ อะริโซนา สหรัฐอเมริกา ใช้เหรียญ 25 เซนต์เทียบเป็นมาตราส่วน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และหินบะซอลต์ · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อัลแฟรด ฟินปอกาซอน

อัลแฟรด ฟินปอกาซอน (ไอซ์แลนด์: Alfreð Finnbogason; เกิดวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989) เป็นนักฟุตบอลชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรฟุตบอลเอาก์สบวร์คและทีมชาติไอซ์แลนด์ อัลแฟรด เป็นผู้ทำประตูสูงสุดในลีกเอเรอดีวีซีของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในฤดูกาล 2013–14 ยิงได้ 29 ประตู มากที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ของลีกยุโรป รองจาก ลุยส์ ซัวเรซ, คริสเตียโน โรนัลโด และ Jonathan Soriano อัลแฟรดลงเล่นให้กับทีมชาตินัดแรก พบกับหมู่เกาะแฟโร ในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และอัลแฟรด ฟินปอกาซอน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (พื้นที่)

หมวดหมู่:พื้นที่ หมวดหมู่:อันดับของขนาด (พื้นที่).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และอันดับของขนาด (พื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กติก

้นสีแดงในภาพเป็นบริเวณของอาร์กติกที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่าๆกัน อาร์กติก (Arctic) เป็นพื้นที่ในบริเวณขั้วโลกเหนือ ซึ่งบริเวณของอาร์กติกนี้ประกอบไปด้วยพื้นที่บางส่วนของประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา, กรีนแลนด์ (ดินแดนของเดนมาร์ก), รัสเซีย, สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), ไอซ์แลนด์, นอร์เวย์, สวีเดน และฟินแลนด์ รวมถึงบริเวณของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาร์กติกจะเป็นพื้นที่กว้าง มหาสมุทรปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง พื้นที่รอบ ๆ ปราศจากพืชพันธุ์และผืนดินก็ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งเช่นเดียวกัน แต่กลับอุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ทั้งที่อาศัยอยู่ในน้ำแข็ง, ปลา,สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, นก และรวมถึงมนุษย์ด้วย ตามธรรมชาติของบริเวณอาร์กติกจะเป็นที่ที่แตกต่างจากที่อื่นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนที่อาศัยอยู่ในอาร์กติกจะมีการปรับตัวและใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความหนาวเหน็บและธรรมชาติอันโหดร้าย อาร์กติกจะมีความอ่อนไหวได้ง่ายมากจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา เช่น อุณหภูมิบนโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ความอ่อนไหวได้ง่ายนี้ทำให้อาร์กติกนี้ถูกมองเสมือนเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้แก่โลกของเรา คำว่า อาร์กติก มากจากภาษากรีกโบราณ αρκτος ซึ่งมีความหมายว่า หมี และยังอ้างอิงไปถึงกลุ่มดาวหมีใหญ่และหมีเล็กที่อยู่ใกล้กับดาวเหนือด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัลล์กรีมสคิร์คยา

ัลล์กรีมสคิร์คยา (ไอซ์แลนด์: Hallgrímskirkja) เป็นโบสถ์นิกายลูเทอแรน ในกรุงเรคยาวิก ประเทศไอซ์แลนด์ มีความสูง 73 เมตร เป็นโบสถ์ที่ใหญ่ที่สุดในไอซ์แลนด์และเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดเป็นอันดับ 6 ของไอซ์แลนด์ โบสถ์แห่งนี้ตั้งชื่อตามชื่อของ ฮัลล์กรีมูร์ เพทูร์สซอน (1614 - 1674) กวีและนักบวชชาวไอซ์แลนด์ ฮัลล์กรีมสคิร์คยาตามศัพท์แปลว่า "โบสถ์ของฮัลล์กรีมูร์" โบสถ์ได้รับการออกแบบในสถาปัตยกรรมแบบเอ็กซ์เพรสชันนิสต์ โดยสถาปนิกชาวไอซ์แลนด์ Guðjón Samúelsson ในปี 1937 เริ่มก่อสร้างในปี 1945 ใช้เวลาสร้างถึง 38 ปีจึงสำเร็จในปี 1986 ฮัลล์กรีมสคิร์คยานับเป็นหนึ่งในแลนด์มาร์กสำคัญของกรุงเรคยาวิก และเป็นหนึ่งในแบบอาคารเอ็กซ์เพรสชันนิสต์ที่หาชมได้ยาก เช่นเดียวกับโบสถ์กรุนด์ทวิก (Grundtvig's Church) ในกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ที่สร้างเสร็จในปี 1940.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฮัลล์กรีมสคิร์คยา · ดูเพิ่มเติม »

ฮันแนส โซร์ ฮัตล์โตร์ซอน

ันแนส โซร์ ฮัตล์โตร์ซอน (Hannes Þór Halldórsson; เกิดวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1984) เป็นผู้ผลิตภาพยนตร์ และนักฟุตบอลอาชีพชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งผู้รักษาประตูให้กับสโมสรฟุตบอลราเนอส์และทีมชาติไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และฮันแนส โซร์ ฮัตล์โตร์ซอน · ดูเพิ่มเติม »

จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553

ันทรุปราคา 20.28 น. UTC ถ่ายจากรัฐฟลอริดา จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และจันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

จุลรัฐ

รัฐเอกราชที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก 5 อันดับ ได้แก่: นครรัฐวาติกัน, โมนาโก, นาอูรู, ตูวาลู และซานมารีโน โดยแผนที่แสดงมาตราส่วนที่เท่ากันเพื่อเปรียบเทียบขนาดของแต่ละประเทศ จุลรัฐ (microstate หรือ ministate) เป็นรัฐที่มีอธิปไตยเป็นของตนเองแต่มีขนาดพื้นที่ประเทศหรือจำนวนประชากรที่น้อยมาก อาทิ ประเทศลิกเตนสไตน์, ประเทศมอลตา, ประเทศซานมารีโน, ประเทศสิงคโปร์ และนครรัฐวาติกัน เป็นต้น จุลรัฐมักมีปัญหาพิเศษโดยเฉพาะด้านการป้องกันประเทศ และการป้องกันการแทรกแซงจากภายนอก ส่วนจุลรัฐที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก คือ นครรัฐวาติกัน ที่มีประชากรเพียง 842 คน (จากการสำรวจในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556) กับพื้นที่ 0.44 ตารางกิโลเมตร จุลรัฐ (Microstate) แตกต่างจากประเทศจำลอง (Micronation) เนื่องจากจุลรัฐจะได้รับการยอมรับจากประเทศต่าง ๆ แต่ตรงกันข้ามประเทศจำลองจะไม่ได้รับการยอมรับนานาชาติว่าเป็นรัฐอธิปไตย ส่วนเขตปกครองพิเศษ (Special territory) อาทิอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หรือเขตปกครองพิเศษของจีน ไม่จัดว่าเป็นจุลรั.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และจุลรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

จุดร้อน

การแสดงให้เห็นภาพตัดขวางของชั้นธรณีฐาน(สีเหลือง)เมื่อมีแมกม่าขึ้นมาจากชั้นเนื้อโลก จุดร้อน (Hotspot) ในทางธรณีวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของพื้นผิวโลกที่คาดว่าอยู่ห่างจากขอบเขตการแปรสัณฐานของเปลือกโลก และเป็นปรากฏการณ์ทางภูเขาไฟอย่างหนึ่งซึ่งเกิดเนื่องมาจาก Mantle plume.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และจุดร้อน · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเดนมาร์ก

งชาติเดนมาร์ก หรือ "ธงแดนเนอบรอก" (Dannebrog, IPA) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีสีแดง มีรูปกางเขนแบบสแกนดิเนเวียสีขาวปลายจดขอบธง โดยที่ส่วนหัวของกางเขนนั้นอยู่ชิดกับทางด้านคันธง รูปกางเขนบนผืนธงดังกล่าว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนศาสนาคริสต์ ได้มีการนำไปปรับใช้ในธงของกลุ่มประเทศนอร์ดิก อันได้แก่ สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ หมู่เกาะโอลันด์ และหมู่เกาะแฟโร เช่นเดียวกับธงของกลุ่มเกาะเชตแลนด์และออร์คนีย์ของสกอตแลนด์ ในระหว่างที่ประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์รวมตัวเป็นสหภาพเดียวกันนั้น ธงแดนเนอบรอกยังได้ใช้เป็นธงชาติสำหรับนอร์เวย์ และยังคงมีการใช้ต่อมาโดยมีการดัดแปลงเล็กน้อย ตราบจนกระทั่งนอร์เวย์ได้เริ่มใช้แบบธงปัจจุบันในปี ค.ศ. 1821 ธงแดนเนอบรอกนับเป็นธงประจำรัฐชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกซึ่งยังคงใช้อยู่โดยรัฐชาติที่เป็นอิสร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และธงชาติเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลกรีนแลนด์

ูเขาน้ำแข็งในทะเลกรีนแลนด์ right ทะเลกรีนแลนด์ เป็นบริเวณผืนน้ำทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก นับเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก แต่บางครั้งก็จัดรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก แต่ในทางสมุทรศาสตร์จัดให้ทะเลกรีนแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของทะเลนอร์ดิกรวมกับทะเลนอร์เวย์และทะเลไอซ์แลนด์ ทะเลกรีนแลนด์มีอาณาเขตติดต่อกับเกาะกรีนแลนด์ทางทิศตะวันตก หมู่เกาะสฟาลบาร์ทางทิศตะวันออก ช่องแคบแฟรมและมหาสมุทรอาร์กติกทางทิศเหนือ ทะเลนอร์เวย์และไอซ์แลนด์ทางทิศใต้.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และทะเลกรีนแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลนอร์วีเจียน

ทะเลนอร์เวย์ ทะเลนอร์วีเจียน (Norskehavet; Norwegian Sea) เป็นทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศนอร์เวย์ ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนติดกับตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก และทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแบเร็นตส์ (Barents Sea) และแยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกโดยสันใต้ทะเลที่แล่นระหว่างไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร ทางตอนเหนือสันยานไมเอนแยกทะเลนอร์เวย์ออกจากทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนและทะเลกรีนแลนด์บางครั้งก็เรียกรวมกันว่า ทะเลนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และทะเลนอร์วีเจียน · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก

ปรดสังเกตว่า รายการจัดอันดับการตลาดนี้ขึ้นอยู่กับมูลค่าการค้าปลีก (มากกว่าหน่วย) แต่ละตลาดจะมีการสร้างเป็นรายปี มูลค่าการค้าปลีกจะแบ่งเป็นปีต่อปี ตัวเลขที่อยู่บนพื้นฐานของรายงานประจำปีของสมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน

วงอาทิตย์เที่ยงคืนที่ประเทศนอร์เวย์ ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน คือ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในฤดูร้อนของทวีปยุโรปและบริเวณใกล้เคียง ทางตอนเหนือของเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และตอนใต้ของเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ที่ดวงอาทิตย์ยังคงมองเห็นในเวลาเที่ยงคืน โดยมีโอกาสตามสภาพอากาศ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้สำหรับอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลและตอนใต้ของแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ดวงอาทิตย์เที่ยงคืนที่อาจเกิดขึ้นในจำนวนวันที่ไม่แน่นอน ไม่มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ถาวรทางตอนใต้ของขั้วโลกเหนือ ดังนั้นประเทศและดินแดนที่สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์เที่ยงคืนได้จะจำกัดให้คนข้ามเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล เช่น แคนาดา (ยูคอน, นูนาวุต), สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), เดนมาร์ค (กรีนแลนด์), นอร์เวย์, สวีเดน, ฟินแลนด์, รัสเซีย, ไอซ์แลนด์ โดยดินแดนของ นอร์เวย์ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลเป็นจุดที่ดวงอาทิตย์ไม่ได้ตกดินเป็นเวลายาวนานที่สุด (73 วัน) ในช่วงฤดู​​ร้อนในสฟาลบาร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดวงอาทิตย์เที่ยงคืน · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค

ับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค (WWE Network) เป็นช่องโทรทัศน์ผ่านอินเทอร์เน็ต ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เดิมทีทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศว่าดับเบิลยูดับเบิลยูอี เนตเวิร์กจะเปิดใช้บริการในปี 2012 แต่มีเหตุต้องเลื่อนออกไป จนล่าสุดทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศอีกครั้งว่าดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คจะเปิดให้ใช้บริการวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2014 ในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นที่แรก ทั้งนี้ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คมีคิวจะเปิดให้บริการในต่างประเทศต่อไป ไม่ว่าจะเป็น สหราชอาณาจักร, แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, สิงคโปร์, ฮ่องกง, เม็กซิโก, สเปน, ตุรกี และกลุ่มประเทศแถบนอร์ดิก ช่วงสิ้นปี 2014 หรือต้นปี 2015 นี้.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ดาย อนัทเธอร์ เดย์ 007 พยัคฆ์ร้ายท้ามรณะ

อนัทเธอร์ เดย์ 007 พยัคฆ์ร้ายท้ามรณะ (Die Another Day) เป็นภาพยนตร์เรื่องที่ 20 ในภาพยนตร์ชุดเจมส์ บอนด์ ซีรีส์ ที่ค่ายภาพยนตร์อีโอเอ็นโปรดัคชั่น (EON Productions) จัดทำขึ้น เป็นครั้งที่ 4 และครั้งสุดท้ายที่เพียร์ซ บรอสแนน แสดงเป็น เจมส์ บอนด์ เป็นครั้งที่ 4 และครั้งสุดท้ายของ ซาแมนธา บอนด์ ในบท มันนี่เพ็นนี ให้กับค่ายภาพยนตร์อีโอเอ็นนี้ ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายใน พ.ศ. 2545 กำกับโดย ลี ทามาโฮรี เขียนบทโดย เนล เพอร์วิสและโรเบิร์ต เวด ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ทุนรวม 142 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เทียบเท่าเงิน 170,178,988 ดอลลาร์สหรัฐในพ.ศ. 2551 และกวาดรายได้รวม 456 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เทียบเท่าเงิน 546,490,272 ดอลลาร์สหรัฐในพ.ศ. 2551 เป็นภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ ที่ขายดีเป็นอันดับที่ 10 จากภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ อย่างเป็นทางการ 22 เรื่อง และเป็นเรื่องสุดท้ายที่เป็นไปตามลำดับเวลาของชุด ก่อนที่จะเริ่มต้นใหม่ใน พยัคฆ์ร้ายเดิมพันระห่ำโลก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดาย อนัทเธอร์ เดย์ 007 พยัคฆ์ร้ายท้ามรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 1 สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 2 ดิ อะเมซิง เรซ (The Amazing Race) หรือชื่อย่อว่า TAR เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ ผลิตโดยสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็นทีมละสองคน (มียกเว้น 1 ครั้ง คือครั้งที่ 8) ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุดและระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ได้รางวัล แอมมี่อวอร์ด เรียลลิตี้เกมส์โชว์ประเภทพรามไทม์มาตลอดนั้นตั้งแต่เริ่มมีการประกวดรางวัลนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แบบผูกขาด ซึ่งทำให้รายการนี้โด่งดังเป็นอย่างมาก จุดเด่นของรายการจะถ่ายทำยากมากและใช้งบประมาณสูงเนื่องจากค่าเดินทางและจ้างคนท้องถิ่นทำงานเพื่อถ่ายทำในแต่ละฤดูกาล โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวฉายทางซีบีเอสและเริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดิอะเมซิ่งเรซ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนของสหรัฐอเมริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดินแดนของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ดีพวัน

ีพวัน (Deep One) เป็นอมนุษย์ในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Over Innsmouth (พ.ศ. 2474) มีลักษณะคล้ายกับกบและปลา อาศัยอยู่ในทะเล และสามารถสืบพันธุ์กับมนุษย์ได้ สิ่งที่ปรากฏในเรื่องชุดตำนานคธูลูมากมายที่เกี่ยวโยงกับดีพวัน เช่น เมือง Innsmouth นครใต้สมุทร Y'ha-nthlei กลุ่มภาคีแห่งดากอน และอสุรกายซึ่งเรียกว่า เจ้าพ่อดากอนกับเจ้าแม่ไฮดรา หลังจากที่ปรากฏตัวในงานของเลิฟคราฟท์แล้ว ดีพวันยังปรากฏตัวในงานประพันธ์ของนักเขียนคนอื่นๆ โดยเฉพาะออกัสต์ เดอเล.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และดีพวัน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริปโทเคอร์เรนซี

ริปโทเคอร์เรนซี (cryptocurrency, crypto currency) เป็นสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งออกแบบให้เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน ที่ใช้วิทยาการเข้ารหัสลับเพื่อรับประกันธุรกรรม เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนทรัพย์ เป็นรูปแบบหนึ่งของเงินดิจิทัล (digital currency) เงินทางเลือก (alternative currency) และเงินเสมือน (virtual currency) เป็นเงินที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลาง เทียบกับเงินดิจิทัลที่ควบคุมโดยศูนย์กลาง หรือกับระบบธนาคารกลาง การควบคุมแบบกระจายศูนย์จะทำผ่านบล็อกเชน ซึ่งเป็นฐานข้อมูลธุรกรรมสาธารณะ โดยใช้เป็นบัญชีแยกประเภทแบบกระจาย บิตคอยน์ที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และคริปโทเคอร์เรนซี · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงเชงเกน

ป้ายข้ามเขตแดนระหว่างประเทศเยอรมนีและประเทศออสเตรีย ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มเชงเกนซึ่งไม่มีป้อมตรวจคนเข้าเมือง ความตกลงเชงเกน (Schengen Agreement) เป็นความตกลงระหว่างประเทศส่วนใหญ่ในทวีปยุโรปอันให้สัตยาบันเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และความตกลงเชงเกน · ดูเพิ่มเติม »

คาราเต้เฟียลาโกโฟซามา

ราเต้เฟียลาโกโฟซามา (Karatefélagið Þórshamar) เป็นสถาบันฝึกสอนคาราเต้ในประเทศไอซ์แลนด์ ซึ่งทำการฝึกสอนในสังกัดคาราเต้สายโชโตกัน และดำเนินการมาอย่างยาวนานกว่า 20 ปี โดยทางสถาบันมีหลักสูตรที่หลากหลายสำหรับทุกเพศทุกวัย โดยแบ่งออกเป็นสามรุ่น ซึ่งได้แก่อายุ 6-9 ปี, 10-13 ปี และ 14 ปีขึ้นไป นอกจากนี้ยังมีค่ายพิเศษที่ทำการฝึกฝนอย่างน้อยสามครั้งในแต่ละช่วงฤดูหนาว สถาบันคาราเต้เฟียลาโกโฟซามา ยังได้รับการสนับสนุนจากนายกเทศมนตรีของเรคยาวิก ซึ่งได้มีการเซ็นสัญญามอบทุนสนับสนุนโครงการดังกล่าว ด้วยเงินสนับสนุนที่ 15 ล้านโครนาไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และคาราเต้เฟียลาโกโฟซามา · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีนอร์ดิก

ณะมนตรีนอร์ดิก เป็นความร่วมมือกันระหว่างสภาและรัฐบาลของประเทศกลุ่มนอร์ดิก จัดตั้งขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง และเริ่มเห็นผลชัดเจนครั้งแรกเมื่อมีการเปิดตลาดแรงงานและระบบประกันสังคมร่วม และการอนุญาตผ่านแดนโดยไม่ต้องใช้หนังสือเดินทางในกลุ่มสมาชิก ในปีพ.ศ. 2495 คณะมนตรีนอร์ดิกมีสมาชิก 5 ชาติ ได้แก่ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และ 3 เขตปกครองตนเอง ได้แก่ หมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลัน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และคณะมนตรีนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ (Skjaldarmerki Íslands, Coat of arms of Iceland) เป็นตราอาร์มของประเทศไอซ์แลนด์เป็นตรากางเขนเงินบนพื้นตราสีน้ำเงินโดยมีกาเขนสีแดงเพลิงกลางกางเขนเงิน (เช่นเดียวกับที่ปรากฏบนธงชาติไอซ์แลนด์) รอบโล่เป็นเครื่องหมายผู้พิทักษ์สี่อย่างประคองตรา ยืนอยู่บนแผ่นหินลาวา (Pāhoehoe) ที่รวมทั้งวัว (Griðungur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงใต้, เหยี่ยว หรือ กริฟฟิน (Gammur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงเหนือ, มังกร (Dreki) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ยักษ์ (Bergrisi) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีตไอซ์แลนด์ให้ความสำคัญกับผู้พิทักษ์ทั้งสี่จนถึงกับออกฎหมายระหว่างสมัยไวกิงห้ามมิให้เรือยาวไวกิง (Longship) ที่มีสัญลักษณ์หน้าตาดุร้าย (ส่วนใหญ่เป็นหัวมังกรบนหัวเรือ) เข้าใกล้ท่าเรือในไอซ์แลนด์ เพราะอาจจะเป็นสิ่งที่ทำให้ไม่เป็นที่พอใจของผู้พิทักษ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และตราแผ่นดินในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแบบนอร์ดิก

งของประเทศนอร์ดิก ตัวแบบนอร์ดิก หรือ ทุนนิยมแบบนอร์ดิก หรือ ประชาธิปไตยสังคมนิยมแบบนอร์ดิก (Nordic model, Nordic capitalismThe Nordic Way, Klas Eklund, Henrik Berggren and Lars Trägårdh.) หมายถึงนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมที่สามัญในประเทศกลุ่มนอร์ดิก รวมทั้งเดนมาร์ก ฟินแลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และสวีเดน ซึ่งรวมระบบทุนนิยมตลาดเสรี กับรัฐสวัสดิการและการร่วมเจรจาต่อรองของแรงงานในระดับประเทศ เป็นตัวแบบที่เริ่มได้ความสนใจหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ประเทศต่าง ๆ จะต่างกันอย่างสำคัญ แต่ก็มีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน รวมทั้ง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และตัวแบบนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซึร์ทเซย์

ซึร์ทเซย์ 16 วันหลังเริ่มต้นการปะทุ ซึร์ทเซย์ (ออกเสียงว่า แปลว่า"เกาะของซึร์ท") เป็นเกาะภูเขาไฟ ที่ตั้งอยู่ในหมู่เกาะเวสมาร์นายาส ซึ่งห่างจากชายฝั่งทางใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ เกาะนี้เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไอซ์แลนด์ เกาะนี้ก่อตัวขึ้นจากการปะทุของภูเขาไฟซึ่งซึ่งอยู่ใต้ทะเล 130 เมตรและอยู่กลุ่มภูเขาไฟใต้น้ำ เวสมาร์นายาส ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกกลางมหาสมุทรแอตแลนติกได้เกิดการปะทุขึ้นและก่อตัวขึ้นเรื่อยๆจนโผ่ลพ้นผิวน้ำในในวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 การปะทุสิ้นสุดลงในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2510 โดยมีพื้นที่ประมาณ 2.7 ตารางกิโลเมตร หลังจากนั้นเกาะก็ถูกกัดเซาะจากลมและคลื่นจนทำให้ในปี พ.ศ. 2555 เกาะเหลือพื้นที่เพียง 1.3 ตารางกิโลเมตร จาการสำรวจล่าสุดในปี พ.ศ. 2550 พบว่าจุดที่สูงที่สุดของเกาะคือ จากระดับน้ำทะเล เกาะนี้มีชื่อมาจากเทพเจ้าเซิร์ทในตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เกาะนี้ถูกศึกษาโดยนักวิทยาภูเขาไฟอย่างละเอียดในช่วงที่มันเกิดการประทุ, และได้รับการศึกษาโดยนักพฤกษศาสตร์และนักชีววิทยาเพื่อศึกษารูปแบบของชีวิตในเกาะใหม่แห่งนี้ การปะทุครั้งนี้ไม่ได้ทำให้เกิดเกาะซึร์ทเซย์เกาะเดี่ยวแต่ทำให้เกิดเกาะJólnirและยอดเขาอื่นๆที่ยังไม่ได้รับการตั้งชื่อด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และซึร์ทเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีกือร์โรส

ซีกือร์โรส เป็นวงโพสต์-ร็อกจากไอซ์แลนด์ ที่มีองค์ประกอบเมโลดิก คลาสสิก และมินิมอลิสต.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และซีกือร์โรส · ดูเพิ่มเติม »

ซีแอตเทิล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และซีแอตเทิล · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเบอร์ลิน (แอตแลนติก)

ปฏิบัติการเบอร์ลิน (Operation Berlin) เป็นการโจมตีเส้นทางทางการค้าที่ประสบความสำเร็จโดยเรือประจัญบานของเยอรมัน ชาร์นฮอร์ชต (Scharnhorst) และ ไกเซเนา (Gneisenau) ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และปฏิบัติการเบอร์ลิน (แอตแลนติก) · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยสังคมนิยม

ประชาธิปไตยสังคมนิยม (Social democracy) เป็นอุดมการณ์ทางการเมือง ทางสังคม และทางเศรษฐกิจ ที่สนับสนุนการแทรกแซงของรัฐทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อความยุติธรรมทางสังคมภายในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ตลอดจนนโยบายการปกครองอันผูกมัดกับระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน การกระจายรายได้ และการควบคุมเศรษฐกิจเพื่อประโยชน์ส่วนรวมและที่เป็นไปตามเงื่อนไขของรัฐสวัสดิการ ดังนั้น จึงเป็นระบอบที่มุ่งสร้างเงื่อนไขให้กับระบอบทุนนิยมเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่เป็นประชาธิปไตย ที่เท่าเทียมกัน และที่เป็นปึกแผ่นมากกว่า โดยบ่อยครั้งสัมพันธ์กับนโยบายทางสังคมเศรษฐกิจที่กลายเป็นเรื่องสำคัญในประเทศยุโรปตะวันตกและยุโรปเหนือ โดยเฉพาะรูปแบบที่มีในกลุ่มประเทศนอร์ดิก (คือ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน) ในช่วงครึ่งหลังคริสต์ทศวรรษที่ 20 ระบบนี้มาจากอุดมการณ์ทางการเมืองที่สนับสนุนการปฏิรูปแบบสันติ เพื่อเปลี่ยนจากระบบทุนนิยมเป็นสังคมนิยมผ่านกระบวนการทางเมืองที่มีอยู่แล้ว เทียบกับการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของลัทธิมากซ์ดั้งเดิม ในยุโรปตะวันตกช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมได้ปฏิเสธรูปแบบทางการเมืองและเศรษฐกิจของลัทธิสตาลินที่ตอนนั้นปฏิบัติอยู่ในสหภาพโซเวียต โดยใช้ทางเลือกเพื่อดำเนินสู่สังคมนิยมอีกแบบหนึ่ง หรือใช้ระบบอะลุ้มอล่วยระหว่างทุนนิยมและสังคมนิยม ในช่วงเวลานี้ นักประชาธิปไตยสังคมนิยมได้นำเศรษฐกิจแบบผสมมาใช้ อิงอาศัยทรัพย์สินส่วนบุคคลที่มีมากกว่า บวกกับสาธารณูปโภคที่จำเป็นและบริการสาธารณะซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่มีน้อยกว่า ดังนั้น ระบอบนี้จึงสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์ การแทรกแซงของรัฐ และรัฐสวัสดิการ โดยได้ละทิ้งเป้าหมายสังคมนิยมดั้งเดิมที่จะแทนที่ระบบทุนนิยม (รวมทั้งตลาดการผลิต ทรัพย์สินส่วนบุคคล และแรงงานแลกกับค่าจ้าง) ด้วยระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่ต่างกัน ประชาธิปไตยสังคมนิยมในปัจจุบันมีลักษณะเฉพาะคือ การผูกมัดกับนโยบายที่เล็งระงับความไม่เท่าเทียมกัน ระงับการกดขี่กลุ่มคนที่ไร้อภิสิทธิ์ และระงับความยากจน รวมทั้งการสนับสนุนบริการสาธารณะที่เข้าถึงได้ทั่วกัน เช่น การดูแลผู้สูงอายุ การดูแลเด็ก การศึกษา การดูแลสุขภาพ และค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ใช้แรงงาน ขบวนการประชาธิปไตยสังคมนิยมยังมีความสัมพันธ์ที่แข็งแรงกับขบวนการแรงงานและสหภาพแรงงาน สนับสนุนสิทธิการร่วมเจรจาต่อรองสำหรับแรงงาน ตลอดจนนโยบายที่ขยายการตัดสินใจแบบประชาธิปไตยนอกเหนือจากเรื่องการเมืองเข้าไปในประเด็นทางเศรษฐกิจ ในรูปแบบสิทธิเพื่อการเลือกผู้แทนในคณะกรรมการของบริษัท (co-determination) สำหรับทั้งลูกจ้างและผู้ได้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ขบวนการ "ทางที่สาม" (Third Way) ซึ่งหวังเชื่อมเศรษฐกิจฝ่ายขวาเข้ากับนโยบายสวัสดิการแบบประชาธิปไตยสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์ที่พัฒนาขึ้นต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1990 และบางครั้งนำมาใช้โดยพรรคการเมืองประชาธิปไตยสังคมนิยม แต่ก็มีนักวิเคราะห์ที่จัดทางที่สามว่า เท่ากับขบวนการเสรีนิยมใหม.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประชาธิปไตยสังคมนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประวัติศาสตร์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนีย

ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1844

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1844 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1844 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1852

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1852 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1852 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1858

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1858 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1858 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1864

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1864 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1864 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1869

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1869 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1869 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1874

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1874 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1874 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1880

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1880 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1880 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1886

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1886 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1886 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1892

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1892 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1892 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1894

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1894 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1894 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1900

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1900 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1902

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1902 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1902 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1903

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1903 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1903 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1904

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1904 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1904 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1908

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1908 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1908 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1911

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1911 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1912

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1914

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1914 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1914 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1919

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1919 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1919 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1922

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1922 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1922 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1923

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1923 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1923 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1926

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1926 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1926 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1930

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1930 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1930 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1933

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1933 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1933 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1937

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1937 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1937 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1946

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1946 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1946 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1948

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1949

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1949 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1949 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1953

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1953 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1956

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1956 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1963

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1963 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1963 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1967

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1967 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1971

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1971 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1974

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1974 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1974 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1978

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1978 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1979

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1979 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1979 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1983

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1983 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1983 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1987

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1987 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1987 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1991

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1991 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1994

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1995 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1998

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1999 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2002

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2003 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2006

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2007 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2009

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2009 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2010

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2013

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2013 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2014

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2018

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2020

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 2020 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทราต์สีน้ำตาล

ปลาเทราต์สีน้ำตาล (Salmo trutta) เป็นสายพันธุ์ปลาที่มีต้นกำเนิดในยุโรป จัดอยู่ในวงศ์ปลาแซลมอน ปลาสายพันธุ์นี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ปลาเทราต์ทะเล โดยปกติพวกมันจะอาศัยอยู่ในน้ำทะเล แต่ในฤดูวางไข่พวกมันจะว่ายทวนแม่น้ำขึ้นมาวางไข่ในแหล่งนี้สะอาดเท่านั้น ปราเทราต์ทะเลในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์นั้นมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปตามภูมิภาค เช่นในเวลส์เรียกว่า เซวิน, ในสก็อตแลนด์เรียกว่า ฟินน็อก, ภาคตะวันตกเรียกว่า พีล, ภาคตะวันตกเฉียงเหนือเรียกว่า มอร์ท และในไอร์แลนด์เรียกว่า ไวต์เทราต์ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในปลาเศรษฐกิจที่ผู้คนนิยมรับประทาน ปลาเทราต์สีน้ำตาลนั้น มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติตั้งแต่ตอนเหนือของนอร์เวย์และบริเวณโดยรอบทะเลขาวของรัสเซียในมหาสมุทรอาร์กติก ไปจนถึงเทือกเขาแอตลาสในแอฟริกาตอนเหนือ ทา ตะวันตกมีการกระจายพันธุ์ไม่เกินไปกว่าไอซ์แลนด์ในแอตแลนติกตอนเหนือ ในขณะที่ทางตะวันออกมีการกระจายพันธุ์ไม่เกินไปกว่าบริเวณทะเลอารัลในอัฟกานิสถานและปากีสถาน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และปลาเทราต์สีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปีร์กีร์ ปียาร์ตนาซอน

ปีร์กีร์ ปียาร์ตนาซอน (Birkir Bjarnason; เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1988) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลบาเซิลในสวิตเซอร์แลนด์และฟุตบอลทีมชาติไอซ์แลนด์ ในบ้านเกิดเขามีชื่อเล่นว่า "โซร์" (ทอร์).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และปีร์กีร์ ปียาร์ตนาซอน · ดูเพิ่มเติม »

ปีเยิร์ก

ปีเยิร์ก กืดมึนด์สตอตตีร์ เกิดเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965 รู้จักกันในนาม ปีเยิร์ก เป็นนักร้องชาวไอซ์แลนด์, นักแต่งเพลง, นักดนตรี, โปรดิวเซอร์ และบางครั้งก็เป็นนักแสดง เธอเป็นที่รู้จักจากการเป็นนักร้องนำวงแนว ออลเทอร์นาทิฟ เดอะชูการ์คิวส์, หลังปล่อยซิงเกิ้ล Birthday ในปี 1987 ซึ่งติดชาร์จเพลงอินดี้ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร และเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักวิจารณ์เพลง ปีเยิร์กเริ่มผลงานเดี่ยวในปี 1993, อัลบั้มเดี่ยว Debut เป็นผลงานแนวเพลง ดนตรีอิเล็คทรอนิกส์, เฮาส์ (แนวดนตรี), แจ๊ส, ทริปฮอป และเป็นหนึ่งในอัลบั้มแรกที่ที่ทำให้แนวเพลงอิเล็คทรอนิกส์อยู่ในกระแสหลัก ในการครบรอบสามสิบปีที่ในวงการดนตรีของเธอ, ปีเยิร์กได้พัฒนารูปแบบดนตรีโดยเอาลักษณะของการเต้น, ร็อค, ทริปฮอป, แจ๊ส, ดนตรีคลาสสิก, ดนตรีทดลอง และ อาว็อง-การ์ด ปีเยิร์กมี 30 ซิงเกิ้ลที่ได้ท็อป 40 ในป็อปชาร์จทั่วโลก ซิงเกิ้ลเพลงของปีเยริ์คติดลำดับ 22 ท็อปใน 40 ฮิตในสหราชอาณาจักร อย่างชาร์จซิงเกิ้ลในสหราชอาณาจักรโดยติดเป็นเวลา 10 สัปดาห์ "It's Oh So Quiet", "Army of Me", และ "Hyperballad" ยิ่งไปกว่านั้น, "Big Time Sensuality", "Hyperballad" และ "I Miss You" ยังติดอันดับในชาร์จเพลงแดนซ์ในอเมริกา ค่ายเพลงปีเยิร์ก One Little Indian รายงานว่าเธอขายไปได้มากกว่า 15 ล้านแผ่นในปี 2003 ปัจจุบันยอดขายของปีเยิร์กอยู่ในระหว่าง 20 ถึง 40 ล้านแผ่น ปีเยิร์กได้รางวัล บริตอะวอดส์ สี่ครั้ง, เอ็มทีวี วิดิโอ มิวสิคอะวอดส์สี่ครั้ง, โมโจ อวอร์ดส์หนึ่งครั้ง, ยูเคมิวสิควิดิโออวอร์ดส สามครั้ง, ไอซแลนด์ มิวสิค อวอร์ดส 21 ครั้ง และในปี 2010, เดอะ โพลาร์ มิวสิค ไพรซ์ จาก รอยัลสวีเดนอาคเดมีออฟซอง บอกลักษณะแนวเพลงของปีเยิร์กว่า เป็นแนวเพลงที่แหวกแนว และการจัดการที่ละเอียด พร้อมโดยเสียงอันเป็นเอกลักษณ์ของเธอ เธอยังได้รับเสนอชื่อแกรมมี่อะวอร์ดสถึง 13 ครั้ง นอกจากนี้ยังเสนอชื่อรางวัลออสการ์ 1 ครั้ง และเสนอชื่อสองครั้งใน รางวัลลูกโลกทองคำ เธอเข้าชิงรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมในเทศกาลภาพยนตร์ 2000 Cannes Flim Festival จากการแสดงของเธอใน จังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลง (Dancer in the Dark) อัลบั้มของเธอในปี 2011 Biophilia เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีการปล่อยลงในแอปพลิเคชันแบบสัมผัสได้และในปี 2014 แอพดังกล่าวยังเป็นแอพแรกๆที่ถูกนำเข้าใน พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และปีเยิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

นักการเมืองอิสระ

นักการเมืองอิสระ หมายถึงนักการเมืองที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมือง นักการเมืองอิสระในบางประเทศก็ไม่มีบทบาทมากนัก เพราะประชาชนโดยมากมักจะเลือกนักการเมืองที่สังกัดพรรคการเมืองใหญ่ แต่ในบางประเทศนักการเมืองอิสระก็ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญอย่าง ประธานาธิบดี เช่น เยอรมนี ไอซ์แลนด์ คอซอวอ อิตาลี รัสเซีย ปัจจุบันยังมีนักการเมืองอิสระเป็นสมาชิกรัฐสภาในหลายประเท.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนักการเมืองอิสระ · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1956

นางงามจักรวาล 1956 (Miss Universe 1956) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 5 จัดในวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1956 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1958

นางงามจักรวาล 1958 (Miss Universe 1958) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 7 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1958 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1959

นางงามจักรวาล 1959 (Miss Universe 1959) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 8 จัดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1959 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1973

นางงามจักรวาล 1973 (Miss Universe 1973) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 22 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1973 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1974

นางงามจักรวาล 1974 (Miss Universe 1974) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 23 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1974 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1987

นางงามจักรวาล 1987 (Miss Universe 1987) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 36 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1987 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1988

นางงามจักรวาล 1988 (Miss Universe 1988) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 37 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1988 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1998

นางงามจักรวาล 1998 (Miss Universe 1998) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 47 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 1998 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2003

นางงามจักรวาล 2003 (Miss Universe 2003) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 52 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 2003 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2006

นางงามจักรวาล 2006 (Miss Universe 2006) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 55 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 2006 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2007

นางงามจักรวาล 2007 (Miss Universe 2007) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 56 จัดในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 2007 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2009

นที่จัดการประกวด เกาะแอตแลนติส พาราไดซ์, บาฮามาส. นางงามจักรวาล 2009 (Miss Universe 2009) เป็นการจัดการประกวดครั้งที่ 58 จัดในวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 2009 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2010

นที่ในการจัดการประกวดรอบตัดสิน มันดาเลย์ เบย์ รีสอร์ต. นางงามจักรวาล 2010 (Miss Universe 2010) เป็นการจัดการประกวดครั้งที่ 59 จัดในวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 2010 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2016

นางงามจักรวาล 2016 (Miss Universe 2016) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 65 จัดเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2017 ณ มอลล์ออฟเอเชียอารีนา ภายในศูนย์การค้าเอสเอ็มมอลล์ออฟเอเชีย เขตเมโทรมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นการจัดประกวดครั้งที่สามของฟิลิปปินส์ต่อจากการประกวดในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามจักรวาล 2016 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2013

นางงามนานาชาติ 2013 การประกวดนางงามนานาชาติครั้งที่ 53 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามนานาชาติ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นีล ไรเบิร์ก ฟินเซน

นีล ไรเบิร์ก ฟินเซน (Niels Ryberg Finsen; 15 ธันวาคม ค.ศ. 1860 – 24 กันยายน ค.ศ. 1904) เป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวไอซ์แลนด์/หมู่เกาะแฟโร/เดนมาร์ก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนีล ไรเบิร์ก ฟินเซน · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส. โกเยอร์ (ผู้เขียนบทภาพยนตร์) ที่มาร่วมงานกันเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ซึ่งภาคนี้ถือเป็นภาพยนตร์แบทแมนเรื่องแรก หลังจากที่ภาค แบทแมนแอนด์โรบิน (Batman & Robin) เมื่อ พ.ศ. 2540 ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบและประสบความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ โดยในภาคนี้ เขาทั้งสองคนได้ดัดแปลงให้มีโทนสีมืดและมีความสมจริงของเนื้อเรื่องมากกว่าที่ภาคที่ผ่านมา การถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ใช้วิธีการแสดงผาดโผนแบบดั้งเดิมและอาศัยการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก โดยสถานที่ที่ใช้ในการถ่ายทำในเบื้องต้น คือ อังกฤษและชิคาโก แบทแมน บีกินส์ ได้รับกระแสที่ดีทั้งจากคำวิจารณ์และการตอบรับเชิงพาณิชย์ โดยได้มีการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อชื่อว่า แบทแมน อัศวินรัตติกาล (The Dark Knight) ขึ้นมา ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน และนำแสดงโดยคริสเตียน เบล เช่นเดิม.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และแบทแมน บีกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก (IHF World Men's Handball Championship) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลชายระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และแฮนด์บอลชายชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นยูเรเชีย

แผ่นยูเรเชียแสดงในสีเขียว แผ่นยูเรเชีย (Euresian Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับพื้นที่เกือบทั้งหมดของทวีปยูเรเชียแต่ไม่ได้รองรับประเทศอินเดีย อนุภูมิภาคอาหรับและพื้นที่ทางตะวันออกของเทือกเขาเชอร์สกีทางตะวันออกของไซบีเรีย นอกจากนี้ยังมีส่วนที่รองรับมหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนเหนือไปจนถึงเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกและเทือกเขาการ์กเกิลทางตอนเหนือและมีพื้นที่ประมาณ 67,800,000 ตารางกิโลเมตร การปะทุของภูเขาไฟทั้งหมดในไอซ์แลนด์อย่างเช่นการปะทุของภูเขาไฟแอลเฟจในปี 1973 การปะทุของภูเขาไฟลาไคปี 1783 และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553ล้วนเกิดจากการแยกตัวออกจากกันของแผ่นอเมริกาเหนือกับแผ่นยูเรเชีย ธรณีพลศาสตร์ของเอเชียกลางมักเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแผ่นยูเรเชียและแผ่นอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และแผ่นยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นอเมริกาเหนือ

แผ่นอเมริกาเหนือแสดงในสีน้ำตาล แผ่นอเมริกาเหนือ (North American Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ คิวบา บาฮามาส เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือไอร์แลนด์ และบางส่วนของไอซ์แลนด์ แผ่นเปลือกโลกนี้รองรับทั้งทวีปและมหาสมุทร หมวดหมู่:แผ่นเปลือกโลก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และแผ่นอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโลกที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกมส์โอเวอร์วอตช์ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมส์ดังกล่าวขึ้น การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันครั้งแรกของชุด และเกิดขึ้นที่งานบลิซซ์คอน ณ ศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 4 ถึง 5 พฤศจิกายน 2016.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โอเอซิส

อเอซิสแห่งหนึ่งในลิเบีย ส่วนหนึ่งของทะเลทรายซาฮารา โอเอซิสอีกแห่งในลิเบีย ในทาง ภูมิศาสตร์ โอเอซิส หมายถึงอาณาบริเวณส่วนใดของทะเลทราย ที่มีพืชขึ้นอยู่ในลักษณะที่ไม่ใช่สังคมพืชทะเลทราย ซึ่งโดยปกติ จะปรากฏรอบๆตาน้ำ หรือแหล่งน้ำประเภทอื่นๆ โอเอซิสมักเป็นแหล่งพักพิงของสัตว์ต่างๆ และอาจรวมถึงมนุษย์ด้วย หากโอเอซิสนั้นมีพื้นที่มากพอ ตำแหน่งที่ตั้งของโอเอซิสนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด ในการค้า หรือการขนส่งผ่านทะเลทราย กองคาราวานจำเป็นที่จะต้องแวะพักยังโอเอซิสต่างๆ เพื่อสะสมน้ำและอาหาร ในการเดินทางต่อๆไป.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโอเอซิส · ดูเพิ่มเติม »

โจรสลัดบาร์บารี

รสลัดบาร์บารี (Barbary corsairs) เป็นโจรสลัดมุสลิมที่ก่อความไม่สงบในบริเวณแอฟริกาเหนือตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างสงครามครูเสดจนกระทั่งถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บาร์บารีตั้งหลักแหล่งอยู่ตามเมืองท่าทางตอนเหนือของแอฟริกาเช่นตูนิส ตริโปลี แอลเจียร์ส ซาเล และเมืองท่าในโมร็อกโก และมักจะทำการรังควานในบริเวณฝั่งทะเลบาร์บารี เหยื่อของบาร์บารีอยู่ในทะเลเมดิเตอเรเนียน ทางตอนใต้ตามชายฝั่งทะเลทางด้านมหาสมุทรแอตแลนติกของแอฟริกาตะวันตก และ ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงไอซ์แลนด์ บาร์บารีมักจะเลือกโจมตีเรือของชาวยุโรปตะวันตกทางตะวันตกของทะเลเมดิเตอเรเนียน นอกจากนั้นก็ยังทำการโจมตีเมืองชายฝั่งทะเลของยุโรปและจับคริสเตียนเป็นทาสเพื่อขายให้แก่อิสลามในบริเวณเช่นแอลจีเรีย และ โมร็อกโก การโจมตีของบาร์บารีต่อเรือฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ และตามชายฝั่งทะเลในสเปนและอิตาลีทำให้ผู้คนละทิ้งจากบริเวณต่างๆ เหล่านั้นจนกระทั่งมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โจรสลัดบาร์บารีจับชาวยุโรปราว 800,000 ถึง 1.25 ล้านคนไปเป็นทาส ส่วนใหญ่จากหมู่บ้านตามชายฝั่งทะเลในอิตาลี สเปน และ โปรตุเกส และบางครั้งก็ในฝรั่งเศส อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์ และบางครั้งก็ไปถึงอเมริกาเหนือ บาร์บารีที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา และ โอรุค ไรส์ (Oruç Reis) ผู้มีอำนาจในแอลเจียร์สเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นการเริ่มการมีอิทธิพลของจักรวรรดิออตโตมันในแอฟริกาเหนือเป็นเวลาสี่ร้อยปี และเป็นการก่อตั้งศูนย์กลางของกิจการโจรสลัดในทะเลเมดิเตอเรเนียน หลังจากสงครามนโปเลียนและการประชุมแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 และการเข้าเกี่ยวข้องของรัฐนาวีของสหรัฐอเมริกาในสงครามบาบารีครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1801 ถึงปี ค.ศ. 1805 และ ครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1815 เมื่อมหาอำนาจของยุโรปเห็นถึงความจำเป็นในการกำจัดอำนาจของโจรสลัดบาร์บารี หลังจากนั้นอำนาจของโจรสลัดบาร์บารีก็ลดถอยลง นอกจากนั้นฝรั่งเศสก็เข้ายึดบริเวณส่วนใหญ่ตามฝั่งทะเลบาร์บารีในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโจรสลัดบาร์บารี · ดูเพิ่มเติม »

โซโนตไลต์

ซโนตไลต์เป็นแร่ในกลุ่มแคลเซียม ซิลิเกตและออกไซ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโซโนตไลต์ · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไวน์ร้อน

วน์ร้อน (Mulled Wine, Glühwein) เป็นไวน์ที่ปรุงอีกแบบหนึ่ง ปัจจุบันนิยมดื่มในฤดูหนาว ไวน์เป็นเครื่องดื่มประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมในหลายประเทศทั่วโลก แต่เนื่องจากมีอายุในการจัดเก็บที่จำกัด หากเก็บรักษาไม่ดีจะไม่สามารถดื่มได้อีก การทำไวน์ร้อนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ไวน์ที่เสื่อมคุณภาพกลับมาดื่มได้อีกครั้ง โดยทั่วไปแล้วไวน์ร้อนมักหมายถึงไวน์ที่ถูกอุ่นโดยการต้ม แต่งรสด้วยน้ำตาลหรือน้ำผึ้ง และปรุงกลิ่นด้วยอ.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และไวน์ร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ไออ้อน ไจแอนท์ หุ่นเหล็กเพื่อนยักษ์ต่างโลก

หุ่นเหล็กเพื่อนยักษ์ต่างโลก (The Iron Giant) เคยออกฉายในปี พ.ศ. 2542 จำหน่ายโดย วอร์เนอร์บราเธอร์ส เพลงประกอบโดย Michael Kamen กำกับภาพยนตร์โดย แบรด เบิร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และไออ้อน ไจแอนท์ หุ่นเหล็กเพื่อนยักษ์ต่างโลก · ดูเพิ่มเติม »

ไทกา

ไทกา (taiga; тайга́) หรือป่าเขตหนาว (boreal forest) หรือป่าหิมะ (snow forest) เป็นชีวนิเวศซึ่งมีลักษณะเป็นป่าสนเขาที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยต้นไพน์ สพรูสและลาตช์ ไทกาเป็นชีวนิเวศบนดินที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในทวีปอเมริกา ไทกากินพื้นที่ส่วนใหญ่ของแคนาดาและรัฐอะแลสกาในแผ่นดิน ตลอดจนจุดเหนือสุดของสหรัฐอเมริกาภาคพื้นทวีป (รัฐมินนิโซตาตอนเหนือผ่านคาบสมุทรอัปเปอร์ของรัฐมิชิแกนและอัปสเตดนิวยอร์กถึงรัฐนิวอิงแลนด์ตอนเหนือ) ซึ่งเรียก นอร์ทวูดส์ ในยูเรเซีย ไทกากินพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ นอร์เวย์ส่วนมาก พื้นที่ราบและชายฝั่งบางส่วนของไอซ์แลนด์ พื้นที่กว้างใหญ่ของประเทศรัสเซียตั้งแต่คารีเลียทางตะวันตกถึงมหาสมุทรแปซิฟิก (ซึ่งรวมไซบีเรียไปมาก) และบางพื้นที่ของประเทศคาซัคสถานตอนเหนือ มองโกเลียตอนเหนือ และประเทศญี่ปุ่นตอนเหนือ (บนเกาะฮกไกโด) ทว่า ไม้ต้นสามสปีชีส์หลัก ระยะเวลาของฤดูเติบโตและอุณหภูมิฤดูร้อนแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ไทกาทวีปอเมริกาเหนือส่วนใหญ่เป็นสพรูส ไทกาสแกนดิเนเวียและฟินแลนด์ประกอบด้วยสพรูส ไพน์และเบิร์ชผสมกัน ไทการัสเซียมีสพรูส ไพน์และลาตช์ขึ้นอยู่กับภูมิภาค ขณะที่ไทกาไซบีเรียตะวันออกเป็นป่าลาตช์ขนาดใหญ่ หมวดหมู่:ไทกาและป่าเขตหนาว หมวดหมู่:ชีวนิเวศบนดิน หมวดหมู่:ป่า หมวดหมู่:การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และไทกา · ดูเพิ่มเติม »

เบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)

"เบบี้" เป็นเพลงที่ร้องโดยศิลปินชาวแคนาดา จัสติน บีเบอร์ เพลงนี้เป็นเพลงครึ่งของอัลบั้มบีเบอร์ มายเวิลด์ 2.0 เพลงนี้แต่งโดยบีเบอร์ ร่วมกับ ทริกกี้ สตีวาสตร์ และดิดรีม ทั้งสองเคยร่วมแต่งเพลงของบีเบอร์ เช่น เพลงวัน ทาม (One Time) และเพลงนี้เป็นเพลงแนวอาร์แอนด์บีร่วมสมัย แร็ปโดย ลูดาคริส เพลงนี้ให้ดาวน์โหลดทางดิจิทัลเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์แลน

อร์แลน เพอร์แลน (Perlan) เป็นอาคารแลนด์มาร์กของประเทศไอซ์แลนด์ ตั้งอยู่ที่เรคยาวิก เมืองหลวงของประเทศ สูง 25.7 เมตร (84.3 ฟุต) มีลักษณะเป็นอาคารขนาดใหญ่ด้านบนเป็นรูปทรงคล้ายลูกโลกครึ่งวง ตั้งอยู่บนฐานที่คล้ายถังน้ำขนาดใหญ่ 4 ฐาน ที่มองเห็นได้ในระยะไกลโดดเด่น มีความสูงของอาคารอยู่ 5 ชั้น มีพื้นที่ประมาณ 10,000 ตารางเมตร ซึ่งจัดแยกเป็นส่วนต่าง ๆ เช่น ร้านอาหาร ร้านไอซ์ครีม พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ไวกิ้ง สวนน้ำ จุดชมวิวที่สามารถดินได้รอบเป็นวงกลมคล้ายบนดาดฟ้าเรือ ร้านขายของที่ระลึก รวมไปถึงโซนจัดแสดงนิทรรศการในโอกาสต่าง ๆ เพอร์แลนออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ อิงกิมูนดูร์ (Ingimundur Sveinsson) และสร้างในสมัยที่เดวิด อัดด์สัน (Davíð Oddsson) อดีตนายกรัฐมนตรีของไอซ์แลนด์ (พ.ศ. 2534-2547) อดีตหัวหน้าพรรค Independence Party อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศ และผู้ว่าการธนาคารแห่งชาติ ในขณะที่ดำรงตำแหน่งผู้การกรุงเรกยาวิก (พ.ศ. 2525-2534) ได้มีนโยบายและจัดสรรงบประมาณให้สร้าง ในบริเวณที่เป็นถังน้ำเดิมประจำเมือง บนเนินเขาที่ชื่อว่า Öskjuhlíð คำว่า เพอร์แลน ในภาษาไอซ์แลนด์ มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า The Pearl ที่แปลว่าอ่าว โดยการสร้างสถานที่แห่งนี้จะให้หมายถึงว่าเป็นสัญลักษณ์ของอ่าวเรกยาวิก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเพอร์แลน · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เมืองซ่อนบาป

250px เมืองซ่อนบาป (Broadchurch) เป็นภาพยนตร์ชุดสืบเนื่องแนวชีวิตและสืบสวนซึ่งออกอากาศครั้งแรกทางเครือข่ายไอทีวีในสหราชอาณาจักร ได้รับการสร้างและเขียนบทโดยคริส ชิบนัลล์ และผลิตโดยคิวดอสฟิล์มแอนด์เทลิวิชัน, ไชน์อเมริกา และอิแมจินารีเฟรนส์ ภาพยนตร์ชุดที่ 1 (ซึ่งออกอากาศเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556) มีเนื้อเรื่องเน้นไปที่การเสียชีวิตของเด็กชายวัย 11 ปีคนหนึ่ง และผลกระทบจากความโศกเศร้า ความระแวงสงสัยต่อกัน และความสนใจของสื่อมวลชน ภาพยนตร์ชุดที่ 2 เริ่มถ่ายทำในปลายเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเมืองซ่อนบาป · ดูเพิ่มเติม »

เรคยาวิก

รคยาวิก (Reykjavík, IPA: ˈreiːcaˌviːk) เป็นเมืองหลวงของประเทศไอซ์แลนด์ และเป็นเมืองหลวงที่ตั้งอยู่ใกล้กับขั้วโลกเหนือมากที่สุด โดยตั้งอยู่ไม่ไกลจากเส้นอาร์กติกเซอร์เคิลมากนัก ทำเลที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ ด้านมุมล่างของอ่าว Faxaflói ซึ่ง Ingolfur Arnarson ชาวนอร์ดิค เป็นผู้อพยพคนแรกที่มาตั้งรกรากที่เรคยาวิกในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเรคยาวิก · ดูเพิ่มเติม »

เร็ว..แรงทะลุนรก 8

ร็ว..แรงทะลุนรก 8 (The Fate of the Furious) หรือ Fast & Furious 8 หรือ Fast 8 (บางครั้งใช้ F8) เป็นภาพยนตร์โลดโผน กำกับโดยเอฟ. แกรี เกรย์ เขียนบทโดยคริส มอร์แกน เป็นภาพยนตร์ลำดับที่ 8 ในชุด เดอะฟาสต์แอนด์เดอะฟิวเรียส นำแสดงโดยวิน ดีเซล, มิเชลล์ ราดรีเกซ, ดเวย์น จอห์นสัน, ไทรีส กิบสัน, ลูดาคริส, ชาร์ลิส โตรน, เจสัน สเตธัม, เคิร์ต รัสเซลล์และสกอตต์ อีสต์วุด ภาพยนตร์เข้าฉายในสหรัฐ วันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเร็ว..แรงทะลุนรก 8 · ดูเพิ่มเติม »

เลฟ เอริกสัน

ลฟ เอริกสัน (Leif Ericsson) (พ.ศ. 1523 - พ.ศ. 1563) เป็นนักสำรวจชาวไอซ์แลนด์ เป็นผู้ค้นพบทวีปยุโรป และ ทวีปอเมริกาเหนือ เลฟ อีริคสัน เขาได้ทำการสำรวจเกาะกรีนแลนด์สืบต่อจากพ่อของเขา และเขายังได้เคย เข้าร่วมขบวนเดินทางสำรวจที่พ่อของเขาส่งไปยัง ทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเลฟ เอริกสัน · ดูเพิ่มเติม »

เวสมาร์นายาส

วสมาร์นายาส (ในภาษาอังกฤษแผลงเป็น Westman Islands) เป็นชื่อเมืองและชื่อหมู่เกาะที่อยู่นอกชายฝั่งทางตอนใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ เวสมาร์นายาสประกอบด้วยเกาะใหญ่ที่สุดที่มีชื่อว่า Heimaey มีประชากรประมาณ 4,135 ซึ่งเกาะนี้ได้รับความสนใจอย่างมากจากเหตุการ์ณการปะทุของภูเขาไฟ Eldfell ซึ่งทำลายอาคารบ้านเรือนหลายแห่งจนต้องมีการอพยพประชาชนไปยังแผ่นดินใหญ่ของไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเวสมาร์นายาส · ดูเพิ่มเติม »

เวียโชลาอิโฟทาคลูบูริน

วียโชลาอิโฟทาคลูบูริน (Vélhjólaíþróttaklúbburinn; อักษรย่อ: VÍK) เป็นสโมสรที่ให้การสนับสนุนกีฬาจักรยานยนต์ออฟโรดในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเวียโชลาอิโฟทาคลูบูริน · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย

ประเทศลิทัวเนีย ใช้สกุลเงินลิตัส (Litas) เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2536 แทนเงินสกุลรูเบิล อัตราแลกเปลี่ยน 1 Euro.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเศรษฐกิจและการค้าของประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 168 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 12 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 167 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 13 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 166 องศาตะวันออก  .

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 14 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 165 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 164 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 16 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 163 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 17 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 162 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 18 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 161 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 19 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ ในบางรูปแบบทางภูมิศาสตร์ เส้นนี้มักถูกใช้เป็นเส้นลองจิจูดที่ดีที่สุดซึ่งใช้แบ่งแยกทางประวัติศาสตร์ ระหว่างโลกเก่าของยูเรเชีย และแอฟริกา และโลกใหม่ของอเมริกา เส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออก ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้หมายถึงเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีกับควีนมอดแลนด์ และระหว่างเส้นขนานที่ 5 องศาเหนือและเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ ถูกใช้เป็นเขตแดนด้านตะวันออกของเขตเสรีอาวุธนิวเคลียร์ละตินอเมริกัน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 20 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 21 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 159 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 22 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 157 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 23 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ไอซ์แลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 156 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 24 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เอกสารปานามา

dead-url.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเอกสารปานามา · ดูเพิ่มเติม »

เอยาฟยาตลาเยอคุตล์

อยาฟยาตลาเยอคุตล์ เอยาฟยาตลาเยอคุตล์ (Eyjafjallajökull) เป็นชื่อเรียกของธารน้ำแข็งขนาดเล็กแห่งหนึ่งทางตอนใต้ของประเทศไอซ์แลนด์ ธารน้ำแข็งแห่งนี้ตั้งอยู่ทิศเหนือของหมู่บ้านสโกอาร์และทางทิศตะวันตกของธารน้ำแข็งมีร์ตัลส์เยอคุตล์ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ชั้นน้ำแข็งของธารน้ำแข็งดังกล่าวได้ปกคลุมภูเขาไฟ (สูง 1,666 เมตรหรือ 5,466 ฟุต) ซึ่งได้ปะทุค่อนข้างบ่อยนับตั้งแต่ยุคน้ำแข็ง เมื่อเวลาที่มันนำหินไรโอไลต์ขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก ในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ · ดูเพิ่มเติม »

เอย์ดืร์ กวึดยอนแซน

อย์ดืร์ สเมารี กวึดยอนแซน (Eiður Smári Guðjohnsen; เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1978) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันเล่นให้กับมอลเดในประเทศนอร์เวย์ ตำแหน่งกองหน้าหรือกองกลางตัวรุก ก่อนหน้านี้เคยเล่นให้กับเชลซีของอังกฤษ และบาร์เซโลนาของสเปน และเคยเล่นให้กับโบลตันวอนเดอเรอส์มาก่อนหน้านี้แล้ว ยังเป็นกัปตันทีมชาติไอซ์แลนด์ จนกระทั่งโอว์ลาวืร์ โยว์ฮันแนสซอน เข้ามาเป็นผู้จัดการทีมชาติคนใหม่ โดย กวึดยอนแซน ถือเป็นเจ้าของสถิติการยิงประตูได้มากที่สุดในทีมชาติไอซ์แลนด์ คือ 25 ประตู และเป็นบุตรชายของอานอร์ กวึดยอนแซน อดีตนักฟุตบอลกองหน้าในตำนานของไอซ์แลนด์ โดยกวึดยอนแซนผู้ลูกติดทีมชาติครั้งแรกเมื่ออายุ 17 ปี เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเอย์ดืร์ กวึดยอนแซน · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟ์

''Ängsälvor'' "เอลฟ์แห่งท้องทุ่ง" ภาพวาดของนิลส์ บลอมเมอร์ ในปี ค.ศ. 1850 เอลฟ์ (elf) คือสิ่งมีชีวิตอมนุษย์ในตำนานนอร์สและตำนานปรัมปราในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิก (สแกนดิเนเวียและเยอรมัน) เมื่อแรกเริ่ม แนวคิดเกี่ยวกับพวกเอลฟ์คือ ชนเผ่าที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์ ภาพวาดของชนเหล่านี้มักเป็นมนุษย์ทั้งชายและหญิงที่แลดูอ่อนเยาว์และงดงาม อาศัยอยู่ในป่า ในถ้ำ ใต้พื้นดิน หรือตามบ่อน้ำและตาน้ำพุ มักเชื่อกันว่าพวกเขามีชีวิตยืนยาวมากหรืออาจเป็นอมตะ รวมทั้งมีพลังเวทมนตร์วิเศษ แต่หลังจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ผลงานอันโด่งดังของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏออกมา ภาพของเอลฟ์ก็กลายเป็นผองชนผู้เป็นอมตะและเฉลียวฉลาด ทั้งที่คำว่า เอลฟ์ ในวรรณกรรมของโทลคีนมีความหมายแตกต่างไปคนละทางกับตำนานโบราณโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเอลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอียน แอชบี

อียน แอชบี(เกิด 6 กันยายน 2519) เป็นนักฟุตบอลชาวอังกฤษ ปัจจุบันสังกัดอยู่กับสโมสรฟุตบอลฮัลล์ซิตี ในอดีตเขาเคยสังกัดอยู่กับสโมสรฟุตบอลดาร์บีเคาน์ตีและสโมสรฟุตบอลเคมบริดจ์ยูไนเต็ด และยังเคยเล่นให้สโมสรIR Knattspyrnudeildในลีกไอซ์แลนด์อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเอียน แอชบี · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์

้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ (Prinsesse Märtha Louise av Norge; ประสูติ: 22 กันยายน ค.ศ. 1971) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีของ เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ หลังจากการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลในปี ค.ศ. 1990 ส่งผลให้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 4 ของการสืบราชบัลลังก์นอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์

้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ (Prinsessan Lilian, Hertiginna av Halland; ประสูติ: 30 สิงหาคม ค.ศ. 1915 — สิ้นพระชนม์: 10 มีนาคม ค.ศ. 2013) มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ลิลเลียน เมย์ เดวีส์ (Lillian May Davies) เป็นพระชายาในเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ พระองค์เป็นพระปิตุลานี (อาสะใภ้) ในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และเป็นพระมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงลิเลียนถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์สวีเดนที่มีพระชันษายืนที่สุดในรัชกาล พระองค์สิ้นพระชนม์ลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เขตเศรษฐกิจยุโรป

เขตเศรษฐกิจยุโรป หรืออีอีเอ (European Economic Area หรือ EEA) เป็นผลจากข้อตกลงระหว่างรัฐสมาชิกของสมาคมการค้าเสรียุโรป (เอฟตา) ประชาคมยุโรป (อีซี) และสหภาพยุโรป (อียู) ทำให้ประเทศสมาชิกของเอฟตาสามารถเข้าร่วมตลาดร่วมกับสมาชิกสหภาพยุโรปได้ สมาชิกของเขตเศรษฐกิจยุโรปได้แก่ 27 รัฐสมาชิกอียูและอีอีซี และอีกสามประเทศจากเอฟตา ได้แก่ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และนอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์เป็นสมาชิกของเอฟตา แต่ไม่เข้าร่วมเขตเศรษฐกิจยุโรปนี้ ขเตเศรษฐกิจยุโรป ขเตเศรษฐกิจยุโรป ขเตเศรษฐกิจยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเขตเศรษฐกิจยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เดอะชูการ์คิวส์

อะชูการ์คิวส์ (The Sugarcubes) เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากไอซ์แลนด์นักร้องนำของวงซึ่งก็คือ ปีเยิร์ก ก่อตัวขึ้นในปี 1986 และแยกวงในปี 1992 พวกเขาได้รับเสียงวิจารณ์ชื่นชมและความเป็นที่นิยมในระดับสากล.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเดอะชูการ์คิวส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดิมพันชาติรุกฆาตโลก

มพันชาติรุกฆาตโลก (Pawn Sacrifice) เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติอเมริกัน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเดิมพันชาติรุกฆาตโลก · ดูเพิ่มเติม »

เดนมาร์ก–นอร์เวย์

นมาร์ก-นอร์เวย์ (Dänemark-Norwegen, Danmark-Norge, Denmark-Norway) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ และรวมทั้งดินแดนอิสระไอซ์แลนด์ของนอร์เวย์ หลังจากการล่มสลายของสหภาพคาลมาร์แล้ว สองราชอาณาจักรก็ทำการตกลงรวมกันเป็นราชอาณาจักรร่วมประมุขใหม่ในปี ค.ศ. 1536 และรุ่งเรืองมาจนถึง ค.ศ. 1814 บางครั้งคำว่า "ราชอาณาจักรเดนมาร์ก" ก็จะหมายถึงทั้งสองอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1536 จนถึง ค.ศ. 1814 เพราะอำนาจทางการเมืองและทางการเศรษฐกิจมีศูนย์กลางอยู่ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก คำนี้ครอบคลุมส่วนที่เป็น "ราชอาณาจักร" โอลเดนบูร์กของปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเดนมาร์ก–นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนลอว์

“โกลด์:” บริเวณการปกครองของเดนส์ บริเวณการปกครองของเดนส์ หรือ บริเวณเดนลอว์ (Danelaw, Danelagh; Dena lagu; Danelov) ที่บันทึกใน “พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน” เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์ของบริเวณในบริเตนใหญ่ที่ปกครองด้วยกฎหมายของ “เดนส์” ที่อยู่เหนืออิทธิพลของกฎของแองโกล-แซ็กซอน บริเวณบริเตนใหญ่ที่อยู่ใต้การปกครองของเดนส์ในปัจจุบันอยู่ในบริเวณทางเหนือและตะวันออกของอังกฤษ ที่มาของบริเวณการปกครองของเดนส์มาจากการขยายตัวของไวกิงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 แม้ว่าคำนี้จะมิได้ใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 การขยายตัวของไวกิงมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในสแกนดิเนเวียที่ทำให้นักรบไวกิงมีความจำเป็นในการไปล่าทรัพย์สมบัติในอาณาบริเวณใกล้เคียงเช่นเกาะอังกฤษ นอกจากจะใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์แล้ว “บริเวณการปกครองของเดนส์” ก็ยังหมายถึงชุดกฎหมายและคำจำกัดความที่ระบุในสนธิสัญญาระหว่างพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชและขุนศึกชาวเดนส์กูธรัมผู้อาวุโส (Guthrum the Old) ที่เขียนขึ้นหลังจากกูธรัมพ่ายแพ้ต่อพระเจ้าอัลเฟรดในยุทธการเอธาดัน (Battle of Ethandun) ในปี..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเดนลอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายบิตคอยน์

แผนภาพแสดงข้อมูลเพื่อโอนบิตคอยน์ในระหว่างบัญชีต่าง ๆ #9865c3) จะอยู่นอกโซ่ซึ่งดีที่สุด เครือข่ายบิตคอยน์ (bitcoin network) เป็นระบบการจ่ายเงินที่ดำเนินงานโดยใช้โพรโทคอลวิทยาการเข้ารหัสลับ คือผู้ใช้จะส่งหรือรับบิตคอยน์ ซึ่งเป็นเงินคริปโทสกุลหนึ่ง โดยแพร่สัญญาณเป็นข้อความที่ได้ลงนามแบบดิจิทัลไปยังเครือข่าย ผ่านการใช้โปรแกรมกระเป๋าเงินคริปโท (cryptocurrency wallet) ธุรกรรมจะบันทึกไว้ในฐานข้อมูลสาธารณะแบบกระจายและมีสำเนาซ้ำซ้อนที่เรียกว่า บล็อกเชน โดยเครือข่ายจะถึงความเห็นพ้องเกี่ยวกับสถานะบัญชีผ่านระบบ Proof-of-work system ซึ่งเรียกว่า ไมนิง/การขุดหาเหรียญ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ใช้นามแฝง ซาโตชิ นากาโมโตะ ผู้ออกแบบบิตคอยน์อ้างว่า การออกแบบและการทำให้เกิดผลได้เริ่มในปี 2007 แล้วต่อมาจึงเผยแพร่เป็นซอฟต์แวร์แบบโอเพนซอร์ซในปี 2009 เครือข่ายมีโครงสร้างไม่มากเพื่อให้สามารถแชร์ธุรกรรมได้ คือ การมีเครือข่ายสถานีอาสาแบบไร้ศูนย์ ซึ่งออกแบบให้ทำงานเฉพาะกิจ ก็เพียงพอแล้ว ข้อความจะแพร่สัญญาณ (broadcast) ในรูปแบบพยายามดีที่สุด (best-effort delivery) โดยสถานีต่าง ๆ จะสามารถออกจากเครือข่าย แล้วกลับเข้าร่วมใหม่ตามใจชอบ เมื่อเชื่อมกับเครือข่ายใหม่ สถานีก็จะดาวน์โหลดและพิสูจน์ยืนยันบล็อกใหม่ ๆ จากสถานีอื่น ๆ เพื่อบูรณาการก๊อปปี้บล็อกเชนของตนเอง.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเครือข่ายบิตคอยน์ · ดูเพิ่มเติม »

เต็มเวลา

การทำงานเต็มเวลา (full-time) เป็นการที่ลูกจ้างทำงานเต็มครบตามจำนวนชั่วโมงที่กำหนดโดยนายจ้าง การจ้างงานเต็มเวลามักมากับสวัสดิการที่ไม่มีในการจ้างงานแบบ part-time จ้างงานแบบชั่วคราว จ้างงานแบบยืดหยุ่น สวัสดิการเหล่านี้ได้แก่ วันลาพักร้อน วันลาป่วย และประกันสุขภาพ งานที่ทำเต็มเวลาถือเป็นอาชีพ และมักจะมีชั่วโมงทำงานต่อสัปดาห์มากกว่างาน part-time นิยามของคำว่า เต็มเวลา แตกต่างกันสำหรับแต่ละนายจ้าง และกะงานที่ลูกจ้างทำ สัปดาห์ทำงาน "มาตรฐาน" ทั่วไปประกอบไปด้วย 5 วัน โดยทำงานวันละ 8 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้นเป็น 40 ชั่วโมง ในขณะที่สัปดาห์ทำงานที่มี 4 วัน มักจะทำงานวันละ 10 ชั่วโมง ในขณะที่งานกะละ 12 ชั่วโมง เพียงสามวันต่อสัปดาห์ (36 ชั่วโมง) มักนับเป็นงานเต็มเวลา เพื่อชดเชยกับความเหนื่อยหล้าจากการทำงานติดต่อกันเป็นเวลานาน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเต็มเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และเนโท · ดูเพิ่มเติม »

UTC±00:00

UTC - 2010: สีฟ้า (มกราคม), สีส้ม (กรกฎาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีฟ้าอ่อน - บริเวณทะเล UTC±00:00 เขตเวลานี้ใช้ใน.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และUTC±00:00 · ดูเพิ่มเติม »

.is

.is เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศไอซ์แลนด์ เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ.is · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+11 m²

ประเทศเกาหลีใต้ มีพื้นที่ 100,032 ตร.กม. ทะเลแคสเปียน มีพื้นที่ 370,000 ตร.กม. ประเทศไทย มีพื้นที่ 513,000 ตร.กม. อุทยานแห่งชาตินอร์ทอีสท์กรีนแลนด์ มีพื้นที่ 972,000 ตร.กม. 1 E+11 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 100,000 ถึง 1,000,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 100,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ1 E+11 m² · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤศจิกายน

วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ16 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ8 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศไอซ์แลนด์และ8 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

IcelandÍslandสาธารณรัฐไอซ์แลนด์อีสลันด์ประเทศสาธารณรัฐไอซ์แลนด์ไอซ์แลนด์เกาะไอซ์แลนด์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »