โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศเอริเทรีย

ดัชนี ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

68 ความสัมพันธ์: บับเอลมันเดบช้างแอฟริกาพันธมิตรเพื่อการปลดปล่อยแห่งโซมาเลียกฤษณา ไกรสินธุ์กลุ่มภาษาเซมิติกใต้กวางน้อย...แบมบี้การทัพแอฟริกาตะวันออกการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลภาษาอาหรับภาษาอิตาลีภาษาตึกรึญญาภาษาซาบาเอียนระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐพรรคการเมืองเดียวราชอาณาจักรอิตาลีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอริเทรียรายการภาพธงชาติรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ลาป่าแอฟริกาลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)วันชาติวิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรปสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่หนึ่งสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดอักษรเอธิโอเปียอีซาเอียส อาเฟเวร์กีจะงอยแอฟริกาจักรวรรดิอิตาลีจักรวรรดิเอธิโอเปียธงชาติเอริเทรียทรามวัยกับไอ้ตูบทวีปแอฟริกาทอมัส คนีลลีย์ทะเลทรายสะฮาราทะเลแดงคริสต์สหัสวรรษที่ 3คาทอลิกตะวันออกคำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติกซาเฮลปฏิบัติการโซโลมอนประเทศจิบูตีประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล...ประเทศซูดานประเทศเอธิโอเปียแอฟริกาตะวันออกแอสมาราไส้กรอกแอฟริกาไฮแรกซ์จุดเหลืองไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเกรตริฟต์แวลลีย์เวลาสากลเชิงพิกัดเอร์ทรา เอร์ทรา เอร์ทราเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3เซอร์วัลHomo erectusISO 3166-2:2000-06-21ISO 4217UTC+03:00.er15 กันยายน ขยายดัชนี (18 มากกว่า) »

บับเอลมันเดบ

ทะเลแดง (บับเอลมันเดบอยู่ทางตอนล่างของภาพ) ภาพดาวเทียมขยายบริเวณบับเอลมันเดบ บับเอลมันเดบ (باب المندب;, Bab-el-Mandeb, "Gate of Scars") หรือ ช่องแคบมันเดบ เป็นช่องแคบอยู่ทางใต้สุดของทะเลแดง ตั้งอยู่ระหว่างประเทศเยเมนในคาบสมุทรอาหรับ กับประเทศจิบูตีและประเทศเอริเทรียในแอฟริกาตะวันออก บับเอลมันเดบเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียมาตั้งแต่โบราณ ตั้งแต่ก่อนการขุดคลองสุเอซ โดยจากคาบสมุทรไซนาย ผ่านทะเลแดง จะต้องผ่านบับเอลมันเดบก่อนเข้าสู่อ่าวเอเดน ทะเลอาหรับ และมหาสมุทรอินเดีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและบับเอลมันเดบ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและช้างแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรเพื่อการปลดปล่อยแห่งโซมาเลีย

ันธมิตรเพื่อการปลดปล่อยแห่งโซมาเลีย เป็นองค์กรอิสลามในจะงอยแอฟริกา ก่อตั้งขึ้นในเดือนกันยายน 2007 โดยสมาชิกของสหภาพศาลอิสลามและผู้นำฝ่ายค้านโซมาเลียพบปะกันในกรุงแอสมารา ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศเอริเทรีย และพร้อมใจกันที่จะต่อต้านประเทศโซมาเลียของรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน แต่หลังจากนั้นกลุ่มได้เจรจาสันติภาพกันรัฐบาลโซมาเลียและยุติบทบาทลง.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและพันธมิตรเพื่อการปลดปล่อยแห่งโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและกฤษณา ไกรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ (South Semitic) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก นอกเหนือจากกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก (เช่นภาษาอัคคาเดีย) และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (เช่น ภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิก ภาษาฮีบรู) กลุ่มภาษาเซมิติกใต้แบ่งได้อีกเป็นสองสาขาหลัก คือกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ที่ใช้พูดทางชายฝั่งตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย และกลุ่มภาษาเอธิโอปิกที่พบตามฝั่งทะเลแดงด้านจะงอยของทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ภาษาหลักในเอริเทรียเช่น ภาษาทีกรินยา ภาษาติเกร เป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกเหนือ ในขณะที่ภาษาอัมฮาราที่เป็นภาษาหลักในเอธิโอเปียเป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกใต้ บ้านเกิดของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ส่วนใหญ่เชื่อว่าอยู่ทางตอนเหนือของของเอธิโอเปียและเอริเทรีย หรือทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ สาขาเอธิโอปิกในแอฟริกา เชื่อว่าเกิดจากการอพยพของผู้พูดภาษาอาระเบียใต้จากเยเมนเมื่อไม่กี่พันปีที่ผ่านมา บางกลุ่มเชื่อว่า การอพยพนี้เป็นการอพยพกลับของกลุ่มผู้พูดตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกที่มีต้นกำเนิดในแอฟริกา และอพยพเข้าสู่ตะวันออกกลางและคาบสมุทอาระเบีย โดยกลุ่มของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิม แต่นักภาษาศาสตร์บางคน เช่น A. Murtonen (1967) เชื่อว่ากลุ่มภาษานี้มีต้นกำเนิดในเอธิโอเปีย หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กวางน้อย...แบมบี้

กวางน้อ...แบมบี้ (อังกฤษ:Bambi) คือภายนตร์การ์ตูนของวอลท์ดิสนีย์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและกวางน้อย...แบมบี้ · ดูเพิ่มเติม »

การทัพแอฟริกาตะวันออก

การทัพแอฟริกาตะวันออกเป็นการสู้รบในแอฟริกาตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สองโดยจักรวรรดิอังกฤษและประเทศเครือจักรภพ โดยสู้กับราชอาณาจักรอิตาลี โดยกองทัพอังกฤษและเครือจักรภพเป็นฝ่ายชนะ การทัพนี้เป็นส่วนหนึ่งของการทัพแอฟริกา หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับซูดาน da:Felttoget i Østafrika.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและการทัพแอฟริกาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตึกรึญญา

ษาตึกรึญญา (ትግርኛ, tigriññā) หรือ ภาษาทิกรินยา หรือ ภาษาทิกรีนยา (Tigrinya) เป็นภาษาที่ชาวตึกรึญญาใช้ในประเทศเอริเทรี.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและภาษาตึกรึญญา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาบาเอียน

ษาซาบาเอีย เป็นภาษาอาระเบียใต้ในยุคโบราณ ใช้พูดในเยเมนจนถึง..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและภาษาซาบาเอียน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพรรคการเมืองเดียว

รัฐพรรคการเมืองเดียว หรือ รัฐพรรคการเมืองเดี่ยว เป็นระบอบการปกครองของประเทศที่อนุญาตให้มีพรรคการเมืองเพียงพรรดเดียว ส่วนใหญ่ประเทศที่มีพรรคการเมืองเดียวจะเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ อาทิเช่น จีน,ลาว,คิวบา แต่ก็มีบางประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์แต่ก็อนุญาตหรือมีพรรคการเมืองเดียว อาทิ เอริเทรีย,เวสเทิร์นสะฮารา ทั้งนี้การขึ้นอยู่กับกฎหมาย สถานการณ์ภายใน และรัฐธรรมนูญของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรัฐพรรคการเมืองเดียว · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไตย บทความในหมวดหมู่นี้.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (D–I) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอริเทรีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเอริเทรียทั้งสิ้น 1 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ตารางต่อไปนี้จะแสดงข้อมูลส่วนหนึ่งในบรรดาซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ที่เป็นสายพันธุ์มนุษย์ (hominin) ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งขึ้นของวงศ์ย่อย "Hominini" ในสมัย Miocene ปลายคือประมาณ 6 ล้านปีก่อน (ดูการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ที่บทความการจำแนกชั้นของไพรเมต-วงศ์ลิงใหญ่) เนื่องจากว่า มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์เป็นพัน ๆ โดยมากไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งเป็นเพียงแค่กระดูกหรือฟันชิ้นเดียว และน้อยครั้งจะได้โครงกระดูกหรือแม้แต่กะโหลกศีรษะทุกชิ้น ตารางนี้ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแสดงซากดึกดำบรรพ์ที่ได้ค้นพบทั้งหมด แต่เพื่อจะแสดงสิ่งค้นพบที่สำคัญที่สุด รายการจะเรียงลำดับตามอายุโดยประมาณ ตามการหาอายุโดยสารกัมมันภาพรังสี (เช่นจากคาร์บอนกัมมันตรังสี) หรือเทคนิคอื่น ๆ (เช่น incremental dating) ชื่อสปีชีส์เป็นชื่อตามมติในปัจจุบัน หรือว่า ถ้าไม่มี ก็จะแสดงชื่ออื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วนชื่อสปีชีส์ที่เคยใช้แต่ตกไปแล้วอาจจะพบได้ในเว็บไซต์ของซากดึกดำบรรพ์เอง ให้สังเกตว่า ซากดึกดำบรรพ์ที่แสดงโดยมากไม่ได้รับการพิจารณาว่า เป็นสัตว์บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens) แต่เป็นญาติใกล้ชิดกับบรรพบุรุษมนุษย์ และดังนั้น จึงมีความสำคัญในการศึกษาเรื่องการสืบทอดสายพัน.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาป่าแอฟริกา

ลาป่าแอฟริกา (African Wild Ass) เป็นลาป่าที่อยู่ในวงศ์ Equidae เชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของลาบ้านซึ่งปกติจัดไว้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน อาศัยอยู่ในทะเลทรายและพื้นที่แห้งแล้งอื่นๆทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ในประเทศเอริเทรีย, ประเทศเอธิโอเปียและประเทศโซมาเลีย ก่อนหน้านี้ลาป่าแอฟริกามีการกระจายพันธุ์กว้างจากทางเหนือถึงตะวันตก ในประเทศซูดาน, ประเทศอียิปต์ และ ประเทศลิเบีย ปัจจุบันเหลือประมาณ 570 ตัวในป.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและลาป่าแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรป

ำขอที่ลี้ภัยในรัฐสหภาพยุโรปและสมาคมการค้าเสรียุโรประหว่าวันที่ 1 มกราคมถึง 30 มิถุนายน 2558 ตามข้อมูลของยูโรสแตต วิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรป หรือ วิกฤตการณ์ผู้ลี้ภัยยุโรป คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2558 จากการที่ผู้ลี้ภัยและผู้ย้ายถิ่นทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นจากพื้นที่อย่างตะวันออกกลาง เอเชียใต้ ทวีปแอฟริกา และคาบสมุทรบอลข่านตะวันตกหลั่งไหลสู่สหภาพยุโรปข้ามทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ และสมัครขอที่ลี้ภัย ผู้ลี้ภัยส่วนใหญ่มาจากประเทศซีเรีย อัฟกานิสถานและเอริเตรีย มีการใช้คำนี้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 เมื่อเรืออย่างน้อยห้าลำที่บรรทุกผู้ย้ายถิ่นมุ่งทวีปยุโรปเกือบสองพันคนล่มในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยมียอดผู้เสียชีวิตรวมประเมินไว้กว่า 1,200 คน วิกฤตการณ์นี้เกิดในบริบทความขัดแย้งที่ดำเนินอยู่ในประเทศแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลางหลายประเทศ ตลอดจนรัฐบาลสหภาพยุโรปหลายแห่งที่ปฏิเสธสมทบตัวเลือกช่วยเหลือปฏิบัติการมาเรนอสตรัม (Operation Mare Nostrum) ที่ประเทศอิตาลีดำเนินการ ซึ่งปฏิบัติการไทรทันของฟรอนเท็กซ์ (Frontex) รับช่วงต่อในเดือนพฤศจิกายน 2557 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 รัฐบาลสหภาพยุโรปตกลงอุดหนุนปฏิบัติการตระเวนชายแดนในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็นสามเท่าเพื่อให้เท่ากับขีดความสามารถของปฏิบัติการมาเรนอสตรัมก่อนหน้า แต่องค์การนิรโทษกรรมสากลพลันวิจารณ์การสั่งการของสหภาพยุโรปที่ไม่ "ขยายพื้นที่ปฏิบัติการของไทรทัน" ไปพื้นที่ซึ่งเดิมครอบคลุมในมาเรนอสตรัม หลายสัปดาห์ต่อมา สหภาพยุโรปตัดสินใจเริ่มปฏิบัติการใหม่ซึ่งมีฐานที่กรุงโรม ชื่อว่า อียูเนฟฟอร์เมด (EU Navfor Med) ภายใต้การบังคับบัญชาของพลเรือเอกชาวอิตาเลียน เอนรีโก กรีเดนดีโน ตามข้อมูลของยูโรสแตด รัฐสมาชิกสหภาพยุโรปได้รับคำขอที่ลี้ภัย 626,000 ครั้งในปี 2557 เป็นจำนวนสูงสุดนับแต่คำขอ 672,000 ครั้งที่ได้ในปี 2535 ในปี 2557 การตัดสินใจเรื่องคำขอที่ลี้ภัยในสหภาพยุโรปในชั้นต้นส่งผลให้ผู้ขอที่ลี้ภัยกว่า 160,000 คนได้รับสถานภาพคุ้มครอง ขณะที่อีก 23,000 คนได้รับสถานภาพคุ้มครองระหว่างอุทธรณ์ (on appeal) อัตราการรับรองผู้ขอที่ลี้ภัยอยู่ที่ 45% ในชั้นต้นและ 18% ในชั้นอุทธรณ์ สี่รัฐ ได้แก่ ประเทศเยอรมนี สวีเดน อิตาลีและฝรั่งเศสได้รับคำขอที่ลี้ภัยราวสองในสามของสหภาพยุโรปและให้สถานภาพคุ้มครองเกือบสองในสามในปี 2557 ขณะที่สวีเดน ฮังการีและออสเตรียติดประเทศที่รับคำขอที่ลี้ภัยของสหภาพยุโรปต่อหัวมากที่สุด เมื่อปรับกับประชากรของตนแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและวิกฤตการณ์ผู้ย้ายถิ่นยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่หนึ่ง

งครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่หนึ่ง เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิเอธิโอเปียกับราชอาณาจักรอิตาลีเกิดระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเอธิโอเปีย

อักษรเอธิโอเปีย อักษรเอธิโอเปีย หรือ อักษรกีเอส (Ge'ez) พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและอักษรเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

อีซาเอียส อาเฟเวร์กี

อีซาเอียส อาเฟเวร์กี (Isaias Afwerki, เกิด 2 กุมภาพันธ์ 1946) เป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนปัจจุบันของประเทศเอริเทรีย เข้ารับตำแหน่งตั้งแต่เอริเทรียได้รับเอกราชเมื่อปี 1993 เขานำแนวร่วมปลดปล่อยประชาชนเอริเทรีย (EPLF) สู่ชัยชนะในเดือนพฤษภาคม 1991 หลังจากสู้ในสงครามประกาศอิสรภาพมา 30 ปี ต่อมา EPLF เปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองใหม่เป็นแนวร่วมประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและความยุติธรรม (PFDJ) เพื่อสะท้อนความรับผิดชอบใหม่ พรรค PFDJ ที่มีอีซาเอียสเป็นหัวหน้าเป็นพรรคที่ปกครองเอริเทรียเพียงพรรคเดียวในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและอีซาเอียส อาเฟเวร์กี · ดูเพิ่มเติม »

จะงอยแอฟริกา

ประเทศในแหลมแอฟริกา แหลมแอฟริกา (القرن الأفريقي‎, Horn of Africa, หรือเรียกในชื่อ แอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ คาบสมุทรโซมาลี) เป็นคาบสมุทรในแอฟริกาตะวันออกที่มีแผ่นดินยื่นเข้าไปในทะเลอาหรับหลายร้อยกิโลเมตร และตั้งอยู่ทางด้านใต้ของอ่าวเอเดน เป็นส่วนที่อยู่ทางตะวันออกสุดของทวีปแอฟริกา จะงอยแอฟริกาเป็นที่ตั้งของประเทศเอริเตรีย, จิบูตี, เอธิโอเปีย และโซมาเลียRobert Stock, Africa South of the Sahara, Second Edition: A Geographical Interpretation, (The Guilford Press: 2004), p. 26Michael Hodd, East Africa Handbook, 7th Edition, (Passport Books: 2002), p. 21: "To the north are the countries of the Horn of Africa comprising Ethiopia, Eritrea, Djibouti and Somalia."Encyclopaedia Britannica, inc, Jacob E. Safra, The New Encyclopaedia Britannica, (Encyclopaedia Britannica: 2002), p.61: "The northern mountainous area, known as the Horn of Africa, comprises Djibouti, Ethiopia, Eritrea, and Somalia."Sandra Fullerton Joireman, Institutional Change in the Horn of Africa, (Universal-Publishers: 1997), p.1: "The Horn of Africa encompasses the countries of Ethiopia, Eritrea, Djibouti and Somalia.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและจะงอยแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอิตาลี

ักรวรรดิอิตาลี (Italian Empire) ก่อตั้งขึ้นโดยราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจากการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1861) โดยอิตาลีได้ร่วมมือกับมหาอำนาจอื่นๆ ในยุโรปใน “การล่าอาณานิคมในแอฟริกา” ในช่วงนี้จักรวรรดิโปรตุเกส, สเปน, เนเธอร์แลนด์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ต่างก็เป็นเจ้าของอาณานิคมกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ดินแดนสุดท้ายที่ยังคงเหลือสำหรับยึดเป็นอาณานิคมคือทวีปแอฟริกาเท่านั้น เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและจักรวรรดิอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเอธิโอเปีย

ักรวรรดิเอธิโอเปีย หรือที่รู้จักกันในประวัติศาสตร์ในชื่อ อะบิสซิเนีย เป็นจักรวรรดิที่ตั้งอยู่ในเขตประเทศเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ในช่วงที่รุ่งเรืองสูงสุดนั้นอาณาเขตของจักรวรรดิได้แผ่ขยายไปถึงอียิปต์ตอนใต้ ซูดานภาคตะวันออก เยเมน และซาอุดิอาระเบียภาคตะวันตก และดำรงอยู่ในหลายหลายลักษณะนับตั้งแต่การสถาปนาเมื่อราว 980 ปี ก่อน..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและจักรวรรดิเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเอริเทรีย

23px ธงชาติเอริเทรีย สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติเอริเทรีย ในปัจจุบัน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านค้นธงมีรูปสามเหลี่ยมสีแดง ฐานกว้างเท่ากับความกว้างธง และความยาวของรูปนั้นยาวเท่ากับความยาวธงพอดี ภายในรูปนั้นมีพวงมาลัยล้อมต้นมะกอกสีเหลืองซึ่งมีใบ 14 ใบ พื้นที่ส่วนที่เหลือซึ่งถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยรูปสามเหลี่ยมแดง ประกอบด้วยส่วนบนเป็นพื้นสีเขียว และส่วนล่างเป็นพื้นสีฟ้า เริ่มใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 แบบของธงนี้มาจากธงของกลุ่มแนวร่วมปลดปล่อยประชาชนเอริเทรีย (Eritrean People's Liberation Front) ซึ่งมีลักษณะที่เหมือนกันกับธงชาติเอริเทรียเกือบทุกประการ ผิดกันแต่ว่าในรูปสามเหลี่ยมสีแดงนั้นเป็นรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง อนึ่ง สัญลักษณ์พวงมาลัยมีต้นมะกอกนี้เริ่มปรากฏในธงชาติเอริเทรียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495 โดยลักษณะธงในขณะนั้นแตกต่างจากที่ใช้ในปัจจุบันมาก.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและธงชาติเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ทรามวัยกับไอ้ตูบ

ทรามวัยกับไอ้ตูบ (Lady and the Tramp) ออกฉายวันที่ 22 กรกฎาคม, พ.ศ. 2498 กำกับโดย Clyde Geronimi, Wilfred Jackson, & Hamilton Luske.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและทรามวัยกับไอ้ตูบ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส คนีลลีย์

ทอมัส คนีลลีย์ (Thomas Keneally) (7 ตุลาคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ทอมัส คนีลลีย์เป็นนักเขียนนวนิยาย, บทละคร และสารคดีชาวออสเตรเลีย ผลงานสำคัญของทอมัส คนีลลีย์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ “Schindler's Ark” (เรือโนอาห์ของชินด์เลอร์) ที่ได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและทอมัส คนีลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายสะฮารา

ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (Sahara) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นบริเวณแห้งแล้งใหญ่สุดเป็นอันดับสามรองจากทวีปแอนตาร์กติกาและอาร์กติก มีเนื้อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء) หมายถึง ทะเลทราย อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์ วิดีโอที่ถ่ายในมุมมองจากอวกาศ ของ ทะเลทรายสะฮารา และ แถวตะวันออกกลาง โดยสมาชิกนักบินอวกาศในการสำรวจที่ 29.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและทะเลทรายสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลแดง

วเทียมของทะเลแดง ทะเลแดง (Red Sea; البحر الأحمر, อัลบะฮฺรุ อัลอะฮฺมัร; Yam Suf) เป็นอ่าวในมหาสมุทรอินเดีย แบ่งระหว่างทวีปแอฟริกากับทวีปเอเชีย โดยทะเลแดงเชื่อมกับมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเอเดน (Gulf of Aden) ทะเลแดงมีความยาวประมาณ 1900 กิโลเมตร และกว้างประมาณ 300 กิโลเมตร ร่องทะเลที่ลึกที่สุดประมาณ 2,500 เมตร และความลึกเฉลี่ยประมาณ 500 เมตร ทะเลแดงมีชื่ออื่นคือ อ่าวอาหรับ (Arabian Gulf) ซึ่งเรียกกันก่อนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชื่อทะเลแดงไม่ได้หมายถึงสีของน้ำทะเล แต่หมายถึงสีของแบคทีเรียชนิดหนึ่งบริเวณผิวน้ำ.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและทะเลแดง · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิกตะวันออก

ระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก หรือ ศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออก (Eastern Catholic Churches) เป็นคริสตศาสนจักรตะวันออก 23 ศาสนจักรที่ร่วมเอกภาพสมบูรณ์กับพระสันตะปาปาแห่งโรมโดยยอมรับพระองค์เป็นประมุขสูงสุดของศาสนจักรแต่มีอำนาจปกครองตนเอง มีจารีตธรรมประเพณีเป็นของตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของนิกายคาทอลิกทั่วโลก สถานะพิเศษของศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกได้รับการรับรองโดยกฤษฎีกาจากสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ใน Orientalium ecclesiarum (กฤษฎีกาว่าด้วยพระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก) จากข้อมูลหนังสือ Annuario Pontificio ฉบับปี 2016 ได้ให้ข้อมูลว่ามีคริสตศาสนิกชนนิกายคาทอลิกที่เป็นคาทอลิกตะวันออกเกือบ 18 ล้านคน (จำนวนทั้งสิ้น 17,881,222 คน) คิดเป็นประมาณ 1.4-1.5% ของจำนวนคริสตศาสนิกชนคาทอลิกทั้งหมดและกระจายออกไปทั่วโลก ตราอาร์มของพระอัครสังฆราชใหญ่สวีอาโตสลาฟ เชฟชุคแห่งศาสนจักรยูเครนกรีกคาทอลิก.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและคาทอลิกตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก

แสดงการแพร่กระจายของภาษาตระกูลแอโฟรเอชีแอติกด้วยสีเหลือง ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afroasiatic languages) เป็นตระกูลภาษาที่มีสมาชิก 375 ภาษาและมีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคน แพร่กระจายในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (รวมผู้พูดภาษาอาหรับ 200 ล้านคน) ชื่อของภาษาตระกูลนี้ตั้งโดย Joseph Greenberg เพื่อใช้แทนชื่อเดิม ตระกูลภาษาฮามิโต-เซมิติก กลุ่มย่อยของภาษาตระกูลนี้ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก · ดูเพิ่มเติม »

ซาเฮล

ภาพแสดงบริเวณซาเฮล มีความยาวราว 1,000 กม. พาดระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับทะเลแดง ซาเฮล (Sahel) เป็นเขตรอยต่อ บริเวณกึ่งทะเลทราย บริเวณทะเลทรายสะฮารา แบ่งทวีปแอฟริกาเป็นเหนือและใต้ ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนทะเลแดง ซาเฮลเป็นภาษาอาหรับ มีความหมายว่า ชายหาด พื้นที่ของซาเฮลครอบคลุมตั้งแต่ (ไล่จากตะวันตกสู่ตะวันออก) ประเทศเซเนกัล, ทางใต้ของประเทศมอริเตเนีย, ประเทศมาลี, ประเทศบูร์กินาฟาโซ, ทางตอนใต้ของประเทศแอลจีเรีย, ประเทศไนเจอร์, ทางตอนเหนือของประเทศไนจีเรีย, ประเทศชาด, ทางตอนเหนือของประเทศแคเมอรูน, ประเทศซูดาน และประเทศเอริเทรีย หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปแอฟริกา.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและซาเฮล · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการโซโลมอน

ปฏิบัติการโซโลมอน เป็นปฏิบัติการลับทางทหารของอิสราเอลเพื่อนำพาชาวเอธิโอเปียเชื้อสายยิวมายังอิสราเอลใน..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและปฏิบัติการโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจิบูตี

ูตี (جيبوتي; Djibouti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐจิบูตี (جمهورية جيبوتي; République de Djibouti) เป็นนครรัฐในแอฟริกาตะวันออกในภูมิภาคจะงอยแอฟริกา จิบูตีมีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศเอริเทรีย ทางตะวันตกและใต้จดเอธิโอเปีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จดโซมาเลีย อาณาเขตส่วนที่เหลือคือชายฝั่งทะเลแดงและอ่าวเอเดน ในอีกด้านของทะเลแดงคือคาบสมุทรอาหรับในส่วนของประเทศเยเมน ห่างจากฝั่งของจิบูตี 20 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและประเทศจิบูตี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล

ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มักจะถูกนิยามว่าเป็นประเทศที่ถูกปิดล้อมหรือเกือบถูกปิดล้อมด้วยแผ่นดิน ในปี 2551 มีทั้งหมด 45 ประเทศ การเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลนับเป็นข้อด้อยทางภูมิศาสตร์ เพราะนอกจากจะถูกปิดกั้นจากทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังทำให้ไม่สามารถค้าขายทางทะเลได้อีกด้วย ประเทศที่มีชายฝั่งมีแนวโน้มที่จะร่ำรวยกว่าและมีประชากรมากกว่าประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล นอกจากนี้ยังมีคำว่า ทะเลปิด หมายถึงทะเลที่ไม่ได้เชื่อมกับมหาสมุทร เช่น ทะเลแคสเปียน ซึ่งในบางครั้งมองเป็นทะเลสาบ นอกจากนี้ทะเลอื่นๆ เช่น ทะเลดำ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลบอลติก และ ทะเลแดง มีช่องทางออกสู่ทะเลน้อ.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีในสมัยของเบนิโต มุสโสลินีได้เข้ายึดครองประเทศนี้ อังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและประเทศเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาตะวันออก

นแดนแอฟริกาตะวันออก แอฟริกาตะวันออก เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตะวันออกของทวีปแอฟริกา ซึ่งประกอบไปด้วย 18 ประเทศคือ.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและแอฟริกาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

แอสมารา

แอสมารา (Asmara) เป็นเมืองหลวงของประเทศเอริเทรีย มีประชากร 579,000 คน อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 2,325 เมตร (7,628 ฟุต) มีอุตสาหกรรมสิ่งทอ เมืองนี้อยู่ใต้การปกครองของอียิปต์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 ต่อมาใน..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและแอสมารา · ดูเพิ่มเติม »

ไส้กรอกแอฟริกา

้กรอกแอฟริกา เป็นพืชเพียงชนิดเดียวในสกุล Kigelia ในวงศ์ Bignoniaceae พบในเขตร้อนของแอฟริกาตั้งแต่เอริเทรียและชาด ไปจนถึงทางเหนือของแอฟริกาใต้ เซเนกัล และนามิเบี.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและไส้กรอกแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ไฮแรกซ์จุดเหลือง

แรกซ์จุดเหลือง หรือ ไฮแรกซ์พุ่มไม้ (Yellow-spotted rock hyrax, Bush hyrax) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) ในวงศ์ไฮแรกซ์ (Procaviidae) มีลักษณะรูปร่างคล้ายกับไฮแรกซ์หิน ซึ่งเป็นไฮแรกซ์อีกชนิดหนึ่ง มีน้ำหนักประมาณ 1.5-2.5 กิโลกรัม มีความสูง 20-25 เซนติเมตร ความยาว 35-57 เซนติเมตร อายุขัยเฉลี่ย 5-10 ปี ไฮแรกซ์จุดเหลืองมีรูปร่างลักษณะเหมือนไฮแรกซ์หิน แต่มีจุดสีขาวเหนือดวงตาแต่ละข้าง อาศัยอยู่ตามโขดหินและถ้ำเล็ก ๆ กินพืชต่าง ๆ และใบไม้บนต้นไม้เป็นอาหาร ไฮแรกซ์จุดเหลืองก็เหมือนกับไฮแรกซ์หินตรงที่ก็ตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น เสือดาว, เสือชีตาห์, แมวป่าต่าง ๆ, นกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ เช่น อินทรี, เหยี่ยว หรือนกฮูก รวมทั้งงู ไฮแรกซ์จุดเหลือง นับเป็นไฮแรกซ์ชนิดที่พบได้มากที่สุดและกระจายพันธุ์ในวงกว้างที่สุด โดยพบที่แองโกลา, บอตสวานา, บูรุนดี, คองโก, อียิปต์ตอนใต้, เอริเธรีย, เอธิโอเปีย, เคนยา, มาลาวี, โมซัมบิก, รวันดา, โซมาลี, ตอนเหนือของแอฟริกาใต้, ซูดาน, แทนซาเนีย, อูกันดา, แซมเบีย และ ซิมบับเว โดยไม่พบในอาระเบียเหมือนไฮแรกซ์หิน.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและไฮแรกซ์จุดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เกรตริฟต์แวลลีย์

แนวหุบเขาทรุดถ่ายจากดาวเทียม เกรตริฟต์แวลลีย์ (Great Rift Valley) คือหุบเขารอยเลื่อนขนาดใหญ่ เป็นรอยแยกยาวต่อเนื่องขนาดยาวที่สุดในโลก ขนาดความกว้างประมาณ 30-100 กิโลเมตร เป็นหน้าผาดิ่งจากที่ราบสูงรอบ ๆ ลึกกว่า 450-800 เมตร พาดผ่าน 19 ประเทศ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เรียงกันได้ดังนี้ เริ่มต้นจากประเทศซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน เวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์) ผ่านเข้าสู่ทะเลแดง เลียบชายฝั่งอียิปต์และซูดาน ก่อนจะเข้าสู่เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา ยูกันดา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) รวันดา บุรุนดี แทนซาเนีย แซมเบีย มาลาวี และสิ้นสุดในโมซัมบิก รวมความยาวที่พาดผ่านตั้งแต่เหนือจรดใต้ ประมาณ 6,750 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ 1 ใน 4 เท่าของเส้นรอบวงโลก (เส้นศูนย์สูตร) โดยที่ขอบด้านข้างของหุบเขาทรุดสูงมากกว่า 2,000 เมตร หุบเขาทรุดเกิดจากการที่แผนเปลือกโลก 2 แผ่นแยกออกจากกัน คือ แผ่นเปลือกโลกที่รองรับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกาตะวันออก กับแผ่นเปลือกโลกที่รอบรับทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ซึ่งค่อย ๆ แยกตัวออกจากกันอย่างสม่ำเสมอทำให้เกิดแนวทรุดตัวเป็นแนวยาว เกิดที่ที่ราบทรุดตัวแม่น้ำ ร่องธารลึก และภายในยุคหน้าน้ำทะเลจะท่วมเข้ามาจนกระทั่งตัดทวีปแอฟริกาขาดออกจากกัน.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและเกรตริฟต์แวลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เอร์ทรา เอร์ทรา เอร์ทรา

อร์ทรา เอร์ทรา เอร์ทรา เป็นเพลงชาติของประเทศเอริเทรียอย่างเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. 2536 หลังจากประเทศได้รับเอกราชจากประเทศเอธิโอเปียไม่นานนัก ประพันธ์เนื้อร้องโดย โซโลมอน เซฮายี เบรากี (Solomon Tsehaye Beraki) ทำนองโดย ไอแซค อับราฮัม เมฮาเรซกี (Isaac Abraham Meharezghi) และอารอน เตเกล เตสฟาทซิออน (Aron Tekle Tesfatsion) คำว่าเอร์ทรา (ኤርትራ) คือชื่อของประเทศเอริเทรียในภาษาทีกริน.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและเอร์ทรา เอร์ทรา เอร์ทรา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3

้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา, ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-ออสตา 28 ตุลาคม ค.ศ. 1898 — 1 มีนาคม ค.ศ. 1942) เป็นพระญาติของพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี และทรงเป็นดยุคแห่งเอออสตาลำดับที่ 3 พระนามหลังทรงได้รับศีลจุ่มในศาสนาคริสต์คือ "อาเมเดโอ อุมแบร์โต อิซาเบลลา ลุยจี ฟิลิปโป มาเรีย จูเซปเป โจวานนี ดี ซาวอย-เอออสตา" (Amedeo Umberto Isabella Luigi Filippo Maria Giuseppe Giovanni di Savoia-Aosta) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นอุปราชแห่งแอฟริกาตะวันออกของอิตาลี (Africa Orientale Italiana).

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์วัล

ซอร์วัล (serval, serval cat) สัตว์กินเนื้อขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae).

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและเซอร์วัล · ดูเพิ่มเติม »

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R. (2003) in An Overview of the Siwalik Acheulian & Reconsidering Its Chronological Relationship with the Soanian - A Theoretical Perspective.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและHomo erectus · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:2000-06-21

ISO 3166-2:2000-06-21 คือจดหมายข่าวของ ISO ฉบับที่ 1 ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของ ISO 3166-2 โดยมีผลต่อโค้ดดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและISO 3166-2:2000-06-21 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

UTC+03:00

UTC+03:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง ใช้ใน .

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและUTC+03:00 · ดูเพิ่มเติม »

.er

.er เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศเอริเทรีย เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและ.er · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศเอริเทรียและ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Eritreaรัฐเอริเทรียเอริเทรียเอริเตรีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »